You are on page 1of 34

กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน...

๒๔ กรกฎาคม

W ประวัติสว
 นตัวและผลงานวิชาการ
E
ศาสตราจารยเกียรติคณ
ุ ดร.พันธุทพ
ิ ย
รามสูต

ประวัตส
ิ ว
 นตัว
๑) วัน เดือน ป เกิด ๒๓ พฤศจิกายน ๒๔๘๐
๒) อายุ ๗๒ ป
๓) การศึกษาระดับอุดมศึกษา
คุณวุฒิ ป พ.ศ. ที่จบ ชื่อสถานศึกษา
Doctor of Public Health ๒๕๒๖ Tulane University
(Social Epidemiology) U.S.A.
Master of Public Health ๒๕๑๔ Hebrew University,
(Social Medicine) Israel
Bachelor of Science ๒๕๐๖ Johns Hopkins
(Sociology) University, U.S.A

ทุนและรางวัลที่เคยไดรับ
๑) ทุนสวนพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ศึกษา
ตอปริญญาตรีทางสังคมวิทยา – มหาวิทยาลัยจอหนส ฮ็อปกินส
สหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๘.


ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๒) ทุ น องค ก ารอนามั ย โลกศึ ก ษาต อ ปริ ญ ญาโทเวชศาสตร สั ง คม


มหาวิทยาลัยฮีบรู อิสราเอล พ.ศ. ๒๕๑๓-๒๕๑๔.
๓) ทุ น องค ก ารอนามั ย โลกศึ ก ษาต อ ปริ ญ ญาเอกระบาดวิ ท ยาสั ง คม
มหาวิทยาลัยทูเลน สหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๒๔-๒๕๒๖.
๔) โลศิษยเกาดีเดนดานวิชาการ – สมาคมศิษยเกาแม็คคอรมิค ภาคกลาง
พ.ศ. ๒๕๒๖
๕) โลศิษยเกาดีเดนดานวิชาการสมาคมศิษยเกาคณะสาธารณสุขศาสตร
พ.ศ. ๒๕๔๐
๖) โลศิษยเกาดีเดนดานวิชาการสมาคมศิษยเกาคณะพยาบาลสาธารณสุข
พ.ศ. ๒๕๔๐
๗) โลศิษยเกาดีเดน คณะพยาบาลศาสตรแม็คคอรมิค มหาวิทยาลัยพายัพ
พ.ศ. ๒๕๔๕
๘) โลศิษยเกาดีเดน มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. ๒๕๔๗
๙) โลรางวัลแมดีเดนแหงชาติ สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย ใน
พระบรมราชูปถัมภ พ.ศ. ๒๕๕๑

เครือ
่ งราชอิสริยาภรณชน
ั้ สายสะพาย
พ.ศ. ๒๕๓๓ ประถมาภรณมงกุฎไทย
พ.ศ. ๒๕๓๖ ประถมาภรณชางเผือก
พ.ศ. ๒๕๔๑ มหาวชิรมงกุฎ

ตําแหนงบริหาร
๑) ผูชวยคณบดีฝายงานประชาสัมพันธ – คณะสาธารณสุขศาสตร พ.ศ.
๒๕๒๖-๒๕๒๙


กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

๒) รองผูอํานวยการฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ ศูนยฝกอบรมและวิจัย
สาธารณสุขมูลฐานอาเซียน พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๓๓
๓) รองหัวหนาภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร พ.ศ. ๒๕๓๔-
๒๕๓๕
๔) รองผูอํานวยการฝายวิจัยและสารสนเทศ สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข
อาเซียน พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๓๗
๕) รองผูอํานวยการสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน พ.ศ. ๒๕๓๗-
๒๕๔๑

ตําแหนงที่ปรึกษาและกรรมการวิชาการ
H นอกมหาวิทยาลัย I
๑) ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) ดานนโยบาย
สาธารณสุขและสังคม พ.ศ. ๒๕๒๖-๒๕๒๘
๒) ที่ปรึกษาการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การวิจัยอยางมีสวนรวม
จัด โดยโครงการ คานาดา-อาเซียน พาร ท เนอร ชิป ที่
มหาวิทยาลัยดาเวา ประเทศฟลิปปนส เดือนกันยายน ๒๕๓๓
๓) ที่ปรึกษาองคการยูนิเซฟ เรื่อง การเรงรัดงานสรางเสริม
ภูมิคุมกันโรค พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๕
๔) กรรมการแต ง ตั้ ง โดยทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ในการพิ จ ารณา
หลั ก สู ต รสั ง คมศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต ที่ เ สนอขออนุ มั ติ โ ดย
มหาวิทยาลัยตางๆ พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๖
๕) กรรมการฝายฝกอบรมของสภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๔๐
๖) กรรมการทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ในการตรวจสอบคุ ณ ภาพของ
มหาวิทยาลัยเอกชน พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๓๖


ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๗) คณะทํางานโครงการองคการอนามัยโลก กระทรวงสาธารณสุข
ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๙
๘) กรรมการฝายวิจัยของสภาพยาบาลแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๗
๙) อุปนายกสมาคมนักวิจัยทางสังคมศาสตร พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๓๕
๑๐) นายกสมาคมนักวิจัยทางสังคมศาสตร พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๗
๑๑) คณะทํางานโครงการวิจัยธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอม สถาบัน
สิ่งแวดลอมไทย ๒๕๔๘-ปจจุบัน
๑๒) กรรมการพัฒนาและสรางเสริมมหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. ๒๕๔๓ -
ปจจุบัน
๑๓) กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานวิชาการมหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ.
๒๕๔๘ – ปจจุบัน
๑๔) กรรมการฝ า ยพั ฒ นาหลั ก สู ต ร การฝ ก อบรม และการ
ประเมิ น ผล ของสํ า นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห ง ชาติ พ.ศ.
๒๕๔๙ - ปจจุบัน
H ในมหาวิทยาลัย I
๑) เปนกรรมการฝายประชาสัมพันธของมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๖-
๒๕๒๙
๒) เปนผูประสานงานหลักสูตรสาธารณสุขมหาบัณฑิตนานาชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๒
๓) เปนกรรมการหลักสูตรระบาดวิทยาการแพทยมหาบัณฑิต
นานาชาติ พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๕
๔) เปนกรรมการพัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาคลินิกระดับปริญญา
โท-เอก พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๐
๕) เปนกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๒๕๔๑
๖) เปนกรรมการบริหาร,กรรมการนโยบายของสถาบันพัฒนาการ
สาธารณสุขอาเซียน พ.ศ. ๒๕๓๗ ถึงปจจุบัน

กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

๗) เ ป น ร อ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า ค ณ า จ า ร ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ด ล
พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๔๑
๘) เปนกรรมการรางวัลมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๙-ปจจุบัน


ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

ผลงานทางวิชาการ
H งานแตง เรียบเรียง แปลตํารา หรือหนังสือ I
๑) ระเบียบวิธีวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๑ สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข
อาเซียน พ.ศ. ๒๕๔๐, พ.ศ. ๒๕๔๓
๒) การวิจัยอยางมีสวนรวม สภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๔
๓) การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารอย า งมี ส ว นร ว ม สถาบั น พั ฒ นาการ
สาธารณสุขอาเซียน พ.ศ. ๒๕๔๐, พ.ศ. ๒๕๔๕
๔) ระบาดวิทยาสังคม พี.เอ.ลิฟวิ่ง พ.ศ. ๒๕๔๐
๕) คูมือนักวิจัยมือใหม สภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
H งานวิจัยที่พิมพในวารสาร I
๑) พันธุทิพย รามสูต, สมใจ ทุนกุล. “การยอมรับบทบาทขยาย
ของพยาบาลสาธารณสุข เวชปฏิบัติ” วารสารพยาบาล.
๒๕๒๓, ๓ : ๑๓๗-๑๕๑.
๒) พันธุทิพย รามสูต, “การศึกษาสถานะการณดานการวิจัย
เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพในประเทศไทย” วารสารพยาบาล
สาธารณสุข. ๒๕๓๑, ๒. ๒ : ๘๑-๘๙.
๓) พันธุทิพย รามสูต, จรรยา เสียงเสนาะ, “ผลการทํางาน
เปนผลัดตอภาวะสุขภาพของพยาบาลประจําการ” วารสาร
กระทรวงสาธารณสุข. ๒๕๓๑. ๗, ๑๑ : ๓๗๐-๗๔๕.
๔) พันธุทิพย รามสูต. “สถานะการณบทบาทแพทยเวชปฏิบัติ
เอกชน, ในชุมชนเขตเมืองในการพัฒนาอัตราอยูรอดของ
เด็ก”, วารสารกรมการแพทย. ๒๕๓๑, ๑๒, ๓ : ๗๒๗-๗๓๔.
๕) จรรยา เสียงเสนาะ, พันธุทิพย รามสูต, “การประเมิน
สภาวะการทําหนาที่ทางรางกายและจิตใจของผูสูงอายุในเขต


กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
อําเภอยานนาวา กรุงเทพมหานคร”, วารสารสาธารณสุข
ศาสตร, ๒๕๒๙, ๑๖, ๒ : ๑๓๔-๑๔๑.
๖) สมจิตต สุพรรณทัสน, พันธุทิพย รามสูต, จรรยา เสียง
เสนาะ และจารุวรรณ เหมะธร” ความรู ทัศนคติ และการ
ปฏิ บั ติ ใ นการวางแผนครอบครั ว ของสตรี วั ย เจริ ญ พั น ธุ ใ น
ชุมชนแออัด ๓๖ แหงในกรุงเทพมหานคร” วารสารสุขศึกษา.
๑๑, ๔๒ : ๔๔-๕๔.
๗) Pantyp Ramasoota. A Case-Control Study of Self-
Esteem of Young Male Heroin Addicts and non-Addicts in
Urban Thailand. Proceedings second International
Symposium on Public Health in Asia and the Pacific
Basin. Bangkok, January 7-11. 1986.
๘) พันธุทิพย รามสูต. และคณะ. ปจจัยทํานายพฤติกรรมเสี่ยง
ทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเขตเมืองกับเขต
ชนบท นครราชสีมา”. วารสารวิทยาการระบาด. ปที่ ๑ เลมที่
๑ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๓๕. หนา ๓๙-๔๙.
๙) พันธุทิพย รามสูต. และคณะ. “ปจจัยที่เกี่ยวของกับ
ภาวะการเปนพาหะในระยะพักฟนของโรคชิเกโลลิส. ในผูปวย
โรงพยาบาลแพร”. วารสารวิทยาการระบาด ปที่ ๑ เลมที่ ๒
มกราคม-เมษายน ๒๕๓๖. หนา ๓๖-๔๔.
๑๐) พันธุทิพย รามสูต. และคณะ. ความสัมพันธระหวางการให
ความรวมมือในการปฏิบัติ ตนตามคํ า สั่ ง แพทย แ ละภาวะ
ความดันโลหิตของผูปว ย, ความดันโลหิตสูงในคลินิ ก
โรงพยาบาลศิริราช. วารสารวิทยาการระบาด ปที่ ๒ ฉบับที่ ๑
กันยายน-ธันวาคม ๒๕๓๖. หนา ๔๐-๔๕.


ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๑๑) Pantyp Ramasoota. Evaluation of Impact of Handicap


International Prosthetics, Physiotherapy, and PRESS
program in Cambodia. รายงานตอองคการ. Interchurch
Organization. ประเทศฝรั่งเศส.
๑๒) พันธุทิพย รามสูต. และคณะฯ การชวยเหลือตนเองของ
ชุมชนในการดูแลผูพิการ : อําเภอศรีบุญเรือง จังหวัด
อุดรธานี. วารสารสาธารณสุขมูลฐานและการพัฒนา. ปที่ ๗
ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๓๗. หนา ๒๙-๔๔.
๑๓) พันธุทิพย รามสูต. สุชาดา ทวีสิทธิ์, สมใจประมาณพล.
การประเมินผลโครงการฟนฟูเด็กพิการ อําเภอศรีบุญเรือง
จังหวัดอุดรธานี. มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ มีนาคม ๒๕๓๗.
๑๔) พันธุทิพย รามสูต. สุชาดา ทวีสิทธิ์, สมใจ ประมาณพล.
การชวยเหลือตนเองของชุมชนในการดูแลผูพิการ อําเภอศรี
บุญเรือง จังหวัดอุดรธานี. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข
อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. มิถุนายน ๒๕๓๗.
๑๕) พันธุทิพย รามสูต. สมใจ ประมาณพล, สมศักดิ์ วงศาวาส,
ดวงสมร ชินโชติเกษม และบุษบา รุจจนเวท. การ
ประเมินผลโครงการบัณฑิตอาสาสมัครปองกันและควบคุม
โรคเอดส ใ นโรงงานอตุ ส าหกรรมเขตกรุ ง เทพมหานคร
(เอกสารหมายเลข ๕ โครงการ บอก.) สถาบันพัฒนาการ
สาธารณสุขอาเซียนมหาวิทยาลัยมหิดล. โดยการสนับสนุน
AIDSCAP/FHI มีนาคม ๒๕๓๙.


กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
๑๖) Pantyp Ramasoota. Lesson Learned from GAV project.
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol
University. Supported by AIDSCAP/FHI. Aug.1997.
๑๗) พันธุทิพย รามสูต. สัจพยากรณ : งานสาธารณสุขมูลฐาน
ในทศวรรษหนา. โดยทุน สนั บ สนุ น องค ก ารอนามั ย โลก.
สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล.
กรกฎาคม ๒๕๔๐.
๑๘) Pantyp Ramasoota. The Future of PHC in Thailand. WHO
SEARO Forum,1999.
๑๙) Pantyp Ramasoota. The Disabled in Thailand, supported
by JICA, Report to JICA ,2000.
๒๐) พันธุทิพย รามสูต. การเขาถึงขอมูลขาวสารดานสิ่งแวดลอม
ของประชาชน : การถึงไขหวัดนก, สถาบันสิ่งแวดลอมไทย,
๒๕๔๘.
๒๑) พันธุทิพย รามสูต, สมใจ ประมาณพล. สมรรถนะและ
ความตองการการพัฒนาของบุคลากร กรมควบคุมโรค และ
องคกรเครือขาย ; กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
๒๕๔๙.
H ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นๆ (บทความวิชาการ) I
๑) พันธุทิพย รามสูต. “ความไมเปนระเบียบของสังคมกับภาระ
งานชุมชน วารสารสาธารณสุขศาสตร. ๒๕๑๖, ๖, ๑ : ๘-๒๑.
๒) พันธุทิพย รามสูต. “การวินิจฉัยภาวะอนามัยชุมชน” วารสาร
สาธารณสุขศาสตร ; ๒๕๒๐, ๙, ๓ : ๒๒-๓๕.


ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๓) พัน ธุทิพ ย รามสูต. “พยาบาลสาธารณสุขกับโอกาสใน


การศึกษาตอ” วารสารพยาบาล, ๒๕๒๒, ๒๘, ๑ : ๔๗-๕๔.
๔) พันธุทิพย รามสูต. “ปจจัยทางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
ที่มีผลตอการใชบริการสุขภาพ” หนังสืออนุสรณ ๓๐ ป ของ
ภาควิชาพยาบาลสาธารณสุข, ๒๕๒๖, : ๔๔-๕๖.
๕) พันธุทิพย รามสูต. “ความตองการของคนสูงอายุ” วารสาร
สุขศึกษา, ๒๕๒๗, ๗, ๒๗ : ๓๒-๓๙.
๖) พันธุทิพย รามสูต. “วิเคราะหความสัมพันธระหวางแพทยกับ
ผูปวยตามแนวความคิดเกี่ยวกับบทบาทผูปวยของ Talcot
Parson”, วารสารสุขศึกษา, ๒๕๒๗, ๗, ๒๘ : ๑๔-๒๓.
๗) พันธุทิพย รามสูต. “บทบาทของพยาบาลสาธารณสุขตอการ
พัฒนาทฤษฎีทางการพยาบาล” วารสารพยาบาล, ๒๕๒๗,
๓๓, ๔ : ๔๑๐-๔๑๘.
๘) พันธุทิพย รามสูต. “ปจจัยทางสังคมจิตวิทยาในโรคติดเชื้อ”.
วารสารโรคติดตอ, ๒๕๒๙, ๑๒, ๔ : ๓๒๙-๓๔๐.
๙) พันธุทิพย รามสูต. “บทบาทของปจจัยทางสังคมวัฒนธรรมตอ
การควบคุมโรค”, วารสารโรคติดตอ, ๒๕๓๑, ๑๔, ๑ : ๗๕-๙๖.
๑๐) พันธุทิพย รามสูต. “ขอเสนอสําหรับแนวทางปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพ” วารสารกระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๓๑, ๗,
๖ : ๓๙๔-๔๑๒.

๑๐
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

๑๑) พันธุทิพย รามสูต. “คุณลักษณะที่พึงประสงคของสังคมไทย


ในอนาคต” เอกสารนําการประชุม (Preceding) สาธารณสุข
แหงชาติ ครั้งที่ ๒- พ.ศ. ๒๕๓๑ หนา .๑๕-๔๐.
๑๒) พันธุทิพย รามสูต. “การวิจัยสาธารณสุขเพื่อพัฒนางาน
สาธารณสุขมูลฐาน” วารสารสาธารณสุขศาสตร : ๒๕๓๗.
๑๓) พันธุทิพย รามสูต. การสาธารณสุขมูลฐานในโรงพยาบาล.
วารสารสาธารณสุขมูลฐานและการพัฒนา. ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒
กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๓๔. หนา ๓๑-๔๐. โรงพิมพสถาบัน
พัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
๑๔) พันธุทิพย รามสูต. ชีวิตคนไทยที่พึงปรารถนาในบริบทของ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ. เอกสารการประชุม
วิชาการสาธารณสุขแหงชาติ. ครั้งที่ ๕ คุณภาพชีวิตไทยที่พึง
ปรารถนา : แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน. บริษัท ประยูรวงค
พริ้นติ้ง จํากัด ๒๕๓๔, หนา ๕๒-๗๙
๑๕) พันธุทิพย รามสูต. การวิจัยอยางมีสวนรวม. ในการวิจัย
ปฏิบัติการอยางมีสวนรวม. เยาวรัตน ปรปกษขาม, สมใจ
ประมาณพล. บรรณาธิการ. CAP-THAILAND Publication
Series, No.๕. เมษายน ๒๕๓๖. หนา ๑๓-๒๒. สถาบัน
พัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
๑๖) พันธุทิพย รามสูต. การวิจัยชุมชนในงานสาธารณสุข.
วารสารสาธารณสุขศาสตร. ปที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม
๒๕๓๗. หนา ๓๗-๔๓.

๑๑
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๑๗) พันธุทิพย รามสูต. การพัฒนาดานสุขภาพของคนไทยใน


รอบสองทศวรรษ. เอกสารหมายเลข ๒. ผลงานทางวิชาการ.
การประชุมวิชาการประเพณีมหิดล-ธรรมศาสตร ครั้งที่ ๕
ประชาธิปไตย คุณภาพชีวิตและสิทธิมนุษยชนในรอบ ๒๐ ป
๑๘) Pantyp Ramasoota. Role of nurses in Primary Health
Care. WHO Health Forum. 1999.

๑๒
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

ภาพกิจกรรม และการทํางาน ณ สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข

๑๓
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

คุณภาพชีวต
ิ หลังเกษียณอายุ
ราชการ
Keywords: คุณภาพชีวิต เกษียณอายุราชการ

คุณภาพชีวิต มาจากคํา ๒ คํา คือ คุณภาพ กับชีวิต


คําวา คุณภาพ เปนนามธรรม จากพจนานุกรมฉบับมหาวิทยาลัยของ
วิทย เที่ยงบู รณธรรม ใหความหมายคุณภาพวา เปน “ลักษณะประจําของ
สิ่งของ หรือบุคคล” กับ “ลักษณะความดีของบุคคล”
อานจากคําอธิบายของพจนานุกรมดังกลาว ก็คงเห็นวา ความหมาย
ของคุณ ภาพจํา เป น ตอ งมี เ กณฑ หรื อตั ว ชี้วั ด ประกอบ เพื่อ จะบอกวา สิ่ง หรื อ
บุคคลมีคุณภาพอยางไร จะบอกเพียงลักษณะประจําทั่วไปวา มีสีขาว รูปราง
กลม บาง น้ําหนักนอย ไมมีกลิ่น ก็คงไมใชคุณภาพอยางที่เราคิด หรือจะบอก
ลักษณะความดี ของบุคคล เชน ซื่อสัตย สุภาพ สะอาด เรียบรอย ก็คงไมใช
ความหมายของคุณภาพที่ควรเปน ดังนั้นจึงมีการกําหนดเปนเกณฑมาตรฐาน
เพื่อจะบอกวา ถามีคุณภาพตองบรรลุเกณฑมาตรฐานอะไรบาง ดังที่เราพบใน
ปจจุบันนี้วา มีการควบคุมคุณภาพ (Quality Control, QC.) ของผลิตภาพ
(Products) ของการกระทํา (Performance) และขององคกร (Organization) ดวย
ตัวชี้วัดที่เปนเกณฑมาตรฐาน
คุณภาพ เปนนามธรรมที่ตองวัดผานตัวชี้วัดอื่น ที่กําหนดไวเปนเกณฑ
เพื่อบอกมาตรฐาน หรือระดับของคุณภาพ นั่นคือ เราไมสามารถวัด “คุณภาพ”
โดยตรง แตตองวัดออมผานตัวชี้วัด ที่เรียกวา “Proxy measure”

๑๔
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
เชนวัดคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิง ก็ตองวัดที่คาออกเทน คาความ
บริสุทธิ์ ปริมาณสวนผสมของตะกั่ว ฯลฯ
สําหรับคุณภาพชีวิต ยิ่งเปนแนวคิดที่ซับซอนเปนนามธรรมยิ่งกวา ที่
ยังไมมีการพัฒนาคํานิยาม หรือตัวชี้วัดที่สมบูรณ ยังไมมีคําจํากัดความที่เปน
อันเดียวกันโดยทั่วไป และยังไมมีมาตรฐานกลางที่จะใชวัดคุณภาพชีวิต เพราะ
เปนแนวคิดที่รวมเอาทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวของกับปจจัยทุกชนิดที่มีผลกระทบตอ
ชีวิต ของบุคคล และมีสวนสัมพันธกับทุกดานที่มีอยูของบุคคล
คําที่สองคือ เกษียณอายุราชการ ซึ่งก็มาจากคํา ๒ คํา เหมือนกัน คือ
เกษียณ กับอายุราชการ เฉพาะคําวา เกษียณ แปลวา สิ้นไป หมดไป หรือ
ขีดคั่นอายุ เมื่อบวกกับคําวา อายุราชการ จึงแปลวา จบสิ้น หรือสิ้นกําหนด
อายุการทําราชการ ซึ่งในระบบราชการไทย ใชอายุที่ ๖๐ ป กําหนด แตในทาง
ปฏิบัติก็ไมไดใชวันที่อายุครบ ๖๐ ปบริบูรณ เปนวันยุติการปฏิบัติราชการ แต
ใหถือวาปงบประมาณที่บุคคลนั้นมีอายุครบ ๖๐ ป และถาวันอายุครบ ๖๐ ป อยู
ในเดือนตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม และมกราคม ถัดไป ก็ใหอยูตออายุ
ราชการไดอีก ๑ ป
แตการเกษียณอายุราชการ ไมไดมีความหมายแคคําอธิบายที่กลาว
มาแลวเทานั้น หากแตมีความหมายมากมายสําหรับผูเกษียณ ดังกลอนที่จะยก
มาเปนตัวอยาง ซึ่งจะสะทอนบทบาท และอิทธิพลของการเกษียณอายุราชการ
ของผูเกษียณไดอยางลึกซึ้ง ดังนี้
เคยแอบนับถอยหลังอยางชาชา
แตเวลาก็ผานไปเร็วใจหาย
วันตอวันเดือนตอเดือนคอยเคลื่อนคลาย
จนมาถึงวันสุดทายในรอบป
จากตําแหนงหนาที่เคยมีอยู

๑๕
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

ก็จะกลายเปนผูไรหนาที่
รูวาตองมาถึงวันหนึ่งนี้
ถึงนาทีที่ตองปรับระดับใจ
วานี้คือ คืนวันการหลุดพน
เรียกวา คนนอกวงก็คงได
พนไปอยูทามกลางความรางไร
อยูกับชีวิตใหมแหงวัยวัน
หลุดพนจากอํานาจราชศักดิ์
จากความรักซึ่ง (อาจ) มีอยูที่นั่น
เดินทางพนพงหนามความบีบคั้น
พนจากภาวะอันเคยหนาวรอน
เพิ่งรูวาหนาที่คือ ชีวิต
เมื่อหมดสิทธิ์สรางสรรอยางวันกอน
ไมมีงาน มีแตเหงา แตราวรอน
วันเวลา จะบั่นทอน อยูยาวนาน...

โดยกระบวนทัศนเดิม การปลดเกษียณ เปนภาวะของการรักษาความ


สมดุลใหกับโครงสรา งการทํา งาน ที่สังคมสรางกฎเกณฑ โดยใชอายุ ๖๐ ป
เปนตัวกําหนด เปนกระบวนการที่ใหบุคคลไดมีการจัดเตรียมชีวิต เพื่อเริ่ม
แสวงหาสิ่งใหม เพื่อการปรับตัว หรือมีกิจกรรมอื่น หรือแมแตปลีกตัวจากสังคม
เมื่อเกษียณอายุราชการแลว เปนกลไกใหแตละบุคคลถอนตัวออกจากสังคมการ
ทํางาน เพื่อเปนการกระจายงานจากคนสูงอายุไปสูคนหนุมสาว เปนบทบาท
ทางสังคมที่กําหนดใหมีระบบการแทนที่บุคคลตามสิทธิหนาที่ และความสัมพันธ

๑๖
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
กับบุคคลอื่น เพราะการที่บุคคลไดทํางานมาจนถึงจุดหนึ่งแลว ก็เห็นวาสมควร
แกเวลาที่จะหยุดพักผอน หรือเปลี่ยนบทบาท เพราะถือวาความสามารถในการ
ทํางานไดลดลงไปตามอายุ
แตปจจุบัน วิธีคิดไดเปลี่ยนไปจากวิธีคิดภายใตกระบวนทัศนดั้งเดิม
ทางประชากรศาสตร ที่มองผูสูงอายุเปนผูพึ่งพิง หรือพึ่งพา (dependency) เปน
ภาระของสัง คม แม ว า จะคงใช แ รงงานจากผู สู ง อายุใ นหลายๆ ดา นอยู ซึ่ ง
สะทอนจากการเนนการจัดบริการทางสาธารณสุข และสังคมที่รองรับปญหา
ผูสูงอายุเปนสวนใหญ วิธีคิดแนวใหม มองผูสูงอายุเปนที่พึ่งของสังคม ใน
ประเทศที่ พัฒนาและเปน สังคมความรู จะมุงการผลิตผลงานเชิงปญ ญาจาก
ผูสูงอายุ แทนการทิ้งใหเปลาประโยชน หรือการใชเพียงแรงงาน ไดมีการจัดทํา
อนาคตศึกษาของสังคมผูสูงอายุ เพื่อชี้นําใหสังคมมองเห็นคุณคา และบูรณา
การผูสูงอายุเ ขา กับวัยอื่น ๆ ในสังคม โดยมุงใหผูสูงอายุเ ปน ผูนําทางปญญา
(Enlightening Aging) สําหรับสงเสริมสังคมใหสามารถสรางผลงานไดดีขึ้น
กรอบแนวคิดสําคัญคือ การเปลี่ยนทัศนะแมบทของไทยที่มีแนวโนมจะ
มองผู สู ง อายุ ใ นฐานะเป น ภาระของสั ง คม ไปสู สั ง คมที่ มี ก ระบวนทั ศ น เ ห็ น
ผูสูงอายุเปนแหลงภูมิปญญาสําคัญที่เอื้อความรู และรวมพัฒนาสังคมใหเปน
สังคมความรูที่เขมแข็งขึ้น ดังนั้นนโยบายใหมของรัฐ จึงมีโครงการขยายเวลา
การทํางานของผูเกษียณอายุ โดยการตออายุราชการ โดยเฉพาะในสาขาที่มี
ความจําเปนและขาดแคลน เชน อาจารยมหาวิทยาลัย ขาราชการตุลาการ
สวนอีกดานหนึ่งเพื่อใหคงความสมดุลของโครงสรางการทํางาน รัฐก็มีนโยบาย
ให ผู ที่ ส มั ค รใจจะถอนตั ว ออกจากการทํ า งานด ว ยเหตุ ผ ล ทางสุ ข ภาพ
สมรรถภาพ หรื อ การแสวงหาโอกาสของชี วิ ต อย า งอื่ น โดยจั ด โครงการ
เกษียณอายุกอนกําหนด (Early retirement) ที่เรียกวา “โครงการเปลี่ยนเสนทาง
ชีวิต” หรือ “โครงการจากกันดวยรัก” โดยมีการตอบแทนในอัตราที่พอใจ ซึ่งทํา

๑๗
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

ใหคนสิ้นสุดอายุการทําราชการเร็วขึ้น ทั้งสองมาตรการนี้ตางมีผลกระทบตอ
คุณภาพชีวิตผูสูงอายุที่ตองปรับตัวหลังเกษียณ
จะโดยการเกษียณอายุวิธีใดก็ตาม ผูเกษียณอายุ ซึ่งสวนใหญจะเปนผู
สูงวัย (ถาพิจารณาตาม Chronological age ไมใช Mental age หรือ Biological
age) ก็จะตองมีการปรับตัวตอบทบาทใหม การดําเนินชีวิตของผูเกษียณ ขึ้นอยู
กับการเตรียมตัว และการไดรับความรูเพื่อการเตรียมตัว ซึ่งจะทําใหผูเกษียณมี
ความพร อ ม และมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ ชี วิ ต ภายหลั ง เกษี ย ณ และส ง ผลต อ การ
ดํารงชีวิตอยางมีความสุขในบั้นปลาย
ดังกลาวแลววา คุณภาพชีวิตเปนนามธรรมที่มีความหมายสลับซับซอน
จึ ง ต อ งวั ด ผ า นการแสดงออกถึ ง การตอบสนองของบุ ค คลต อ ร า งกาย จิ ต ใจ
สิ่งแวดลอม และปจจัยทางสังคมที่มีผลตอการดํารงชีวิต
เกณฑการวัดคุณภาพชีวิต มี ๒ ดาน คือ ดานวัตถุวิสัย และจิตวิสัย
ดานวัตถุวิสัย วัดจากสิ่งที่บุคคลมี ซึ่งเปนสิ่งจําเปนแกความตองการ
ของชี วิ ต ได แ ก อาหาร เครื่ อ งนุ ง ห ม ที่ อ ยู อ าศั ย บ า นเรื อ น ความมั่ น คง
ปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน
ด า นจิ ต วิ สั ย วั ด จากความรู สึ ก และเจตคติ ต อ สิ่ ง ที่ บุ ค คลมี เช น
ประสบกาณชีวิต การรับรูสภาพความเปนอยู การดํารงชีวิต ความพึงพอใจใน
ชีวิต ความรูสึกวาชีวิตมีความผสมกลมกลืนกันดีทั้งดานความสําเร็จตามความ
ตองการ ความราบรื่นในครอบครัว ในชุมชน และสิ่งแวดลอม เชนการรับรู
ความเปนอยูที่ดี การที่บุคคลมีความรูสึกวาตนเองมีความสุข ความพอใจในชีวิต
ยอมแสดงวา มีสุขภาพจิตดี
ความพึ ง พอใจ เป น ตั ว แปรสํ า คั ญ ที่ ใ ช ป ระเมิ น คุ ณ ภาพ หรื อ เป น
มาตรฐานของคุณภาพ เชนใน HA. (Hospital Accreditation) ก็มีเกณฑขอหนึ่งที่
สําคัญ คือ ความพึงพอใจของผูรับบริการ

๑๘
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
การวิ เ คราะห ค วามพึ ง พอใจในชี วิ ต ตามทฤษฎี เ ศรษฐศาสตร มี
สมมติฐานวา ความพึงพอใจของมนุษยขึ้นอยูกับรายได การมีงานทํา และการ
พักผอน

๑๙
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

ความสําคัญของคุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิต เปนเกณฑที่ใชประเมินการจัดการดานสุขภาพ และ
เปนเปาหมายของการใหบริการสุขภาพ กลาวคือ การรักษาพยาบาล หรือการ
ดําเนินกิจกรรมใดๆ ตอสุขภาพ ตองคํานึงถึงผลลัพธที่สําคัญประการหนึ่งคือ
คุณภาพชีวิตของบุคคล
ศาสตร ข องคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ นํ า มาใช ใ นวงการสุ ข ภาพให เ ป น ตั ว ชี้ วั ด
ผลการรักษาพยาบาลวา การทําใหชีวิตคนยืนยาวออกไปนั้น เปนความยืนยาวที่
มีคุณภาพหรือไม คุมคาหรือไม เปนธรรมหรือไม เชนทําใหคนมีอายุยืนยาวขึ้น
แตการดูแลชีวิตในชวงที่ยืนยาวออกไปนั้นหรือไม มีการดูแลเหมาะสมหรือไม
ดังที่กลาววา เปน “The failure of success” เปนความสําเร็จที่ลมเหลว
เหตุ ผ ลที่ ใ ช คุ ณ ภาพชี วิ ต เป น เกณฑ พื้ น ฐานในการประเมิ น การ
ดําเนินงานทางสุขภาพ คือ
๑) การเปลี่ยนแปลงแบบแผนปญหาสุขภาพของประชาชน จากเดิมที่
มีโรคติดเชื้อในอัตราสูง ไปเปนโรคไรเชื้อ และโรคเรื้อรังที่ไมสามารถรักษาให
หายขาดได เพียงแตบรรเทาความรุนแรงใหผูปวยสามารถดํารงชีวิตอยูไดใน
สังคม ซึ่งการคงไว หรือการพัฒนาคุณภาพชีวิตเปนสิ่งสําคัญไมเพียงแตเยียวยา
เพื่อบรรเทาอาการรุนแรงเทานั้น
๒) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีนวัตกรรมใหมๆ เชน การผาตัด
หัวใจ การลางไต และอีกหลายวิธีการที่จะยืดชีวิตผูปวยใกลตายออกไป จึงมี
ความจําเปนจะตองมีการประเมินคุณภาพชีวิตผูปวย เพื่อประกอบการพิจารณา
และใชเปนเกณฑตัดสินในการนํานวัตกรรมใหมๆ มาใช เชนการที่ตองลางไต
ผูปวยทุกวัน หรือทุก ๒ วันเพื่อรักษาชีวิตในขณะที่ระบบอื่นๆ ลมเหลวหมดแลว
เปนความเหมาะสมหรือไม
๓) พิจารณาความคุ มคาของคาใชจา ยที่ตองใชในการยืดชีวิตผูปว ย
ออกไป โดยพิ จ ารณาจากคุ ณ ภาพชี วิ ต ด า นอื่ น ๆ เพราะประเทศเรายั ง มี

๒๐
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
ขอจํากัดทางทรัพยากร ดังนั้นการลงทุนสูงในการรักษา แตผูปวยตองแบกภาระ
คาใชจายสูง ก็ไมถือวา มีคุณภาพชีวิตที่ดี
๔) การเคลื่อนไหวในสังคมเกี่ยวกับบริการสุขภาพเพื่อมนุษยธรรมแก
กลุมคนดอยโอกาส กลุมผูหญิง กลุมเด็ก ชนกลุมนอย ทําใหตองชั่งน้ําหนัก
และดูความสมดุลของบริการ แทนที่จะทุมทรัพยากรเพื่อคุณภาพชีวิตของคนที่
มีสิทธิพิเศษ ก็ควรคํานึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของคนสวนใหญดวย ดังเชนมีคํากลาว
วา “The good for the most, the best for the few”

คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ
คุณภาพชีวิต เปนเปาหมายหลักของการพัฒนาประชากรในทุกกลุม
อายุ โดยเฉพาะกลุ ม ผู สู ง อายุ ที่ เ ป น กลุ ม ประชากรที่ มี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น อย า ง
รวดเร็ว จึงมีการพัฒนาเครื่องมือวัดคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ ซึ่งประกอบดวย
๑. สุขภาพกาย
๒. สุขภาพจิต
๓. สภาพสังคม
๔. สภาพเศรษฐกิจ
๕. สภาพแวดลอม
๑. สุขภาพกาย
เปนหนึ่งในองคประกอบที่สําคัญของคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ เพราะการที่
คนเรามีสุขภาพกายดีก็ทําใหรับรูตนเองวา มีคุณภาพชีวิตดี การประเมินสภาวะ
ทางกาย (Physical condition) จะรวมถึง
ภาวะสุขภาพ
การเจ็บปวย โรค และการบาดเจ็บ
การทํากิจกรรมประจําวัน (Activities of Daily Living : ADL)
ซึ่งรวมการดูแลตนเอง (Self Care) ไวดวย

๒๑
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

อวัยวะการรับรูและการใชอุปกรณเสริม
๑.๑ ภาวะสุขภาพ การสํารวจประชากรสูงอายุไทย พ.ศ. ๒๕๔๕
โดยใหผูสูงอายุ ประเมินสุข ภาพตนเองในระหวา ง ๗ วัน กอนสํารวจ พบว า
ผูสูงอายุ รอยละ ๕.๘ ประเมินตนเองวา มีสุขภาพดีมาก รอยละ ๓๙.๙ ประเมิน
วามีสุขภาพดี รอยละ ๓๐.๐ ประเมินวา มีสุขภาพระดับปานกลาง และรอยละ
๒๒.๑ ประเมินวา ไมดี รอยละ ๒.๒ ไมดีมากๆ โดยผูสูงอายุภาคเหนือ ประเมิน
ตนเองวา มีสุขภาพดีในสัดสวนสูงที่สุด (รอยละ ๔๑.๔) และไมดีมากๆ ต่ําที่สุด
(รอยละ ๑.๔) ในขณะที่ผูสูงอายุภาคใตประเมินตนเองวา มีสุขภาพดีมาก สูง
ที่สุด (รอยละ ๗) แตประเมินวา ไมดีมากๆ ก็สูงที่สุดดวย (รอยละ ๒.๗)
๑.๒ การเจ็บปวย/โรค กับคุณภาพชีวิต โรค และอาการของโรคที่
พบบอยในผูสูงอายุ พบวาผูสูงอายุสวนใหญมีอาการปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดขอ
ขอเสื่อม นอนไมหลับ ซึ่งอาการเหลานี้มีแนวโนมลดลง ยกเวนโรค ความจํา
เสื่อม (Alzheimer) ที่เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มมากขึ้นดวย

๒๒
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
เปรี ย บเที ย บอั ต ราตายต อ แสนประชากรด ว ยโรคที่ สํ า คั ญ ใน
ผูสูงอายุ (พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๔๔)
พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๔๔ แนวโนม
เบาหวาน ๓๙.๙ ๘๔.๔ เพิ่มขึ้น
หัวใจ ๓๘๖.๗ ๑๘๒.๒ ลดลง
มะเร็ง ๒๕๓.๙ ๒๑๘.๒ ลดลง
ตับ ๖๒.๖ ๔๐.๖ ลดลง
ไต ๓๘.๓ ๘๙.๖ เพิ่มขึ้น
อัมพาต ๔๙.๕ ๓๔.๘ ลดลง
ปอดอักเสบ ๔๒.๐ ๗๓.๐ เพิ่มขึ้น
อุบัติเหตุ ๑๖.๙ ๒๑.๕ เพิ่มขึ้น
ที่มา : สถิติสาธารณสุข ๒๕๔๕

โรคเรื้อรังมีผลกระทบตอการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผูสูงอายุ เชน
โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคกระดูก ขอเขาเสื่อม ทําใหจํากัดความสามารถ
ในการเคลื่อนไหว ทําใหการทําหนาที่ของรางกาย การทําหนาที่ในสังคม การ
ดํารงบทบาทลดลง ดอยคุณภาพลง รวมทั้งทําใหเกิดความเครียด
โรคสมองเสื่อม (Alzheimer) โรคซึมเศรา (Depression) ความเหงา
ความวิตกกังวล ความเศรา ก็ทําใหรูสึกวาตนเองไรคา ไรคุณภาพ

๒๓
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

๑.๓ การปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน / การทํากิจกรรมประจําในชีวิต


(Activities of Daily Living : ADL)
การที่ผูสูงอายุ สามารถทํากิจกรรมประจําวันที่งาย ๆ ไดดวย
ตนเองโดยไมตองมีผูชวยเหลือ ตลอดจนดํารงชีวิตในชุมชนได ทําใหรูสึกวาตนมี
คุณคา มีความเปนอยูดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การเปลี่ยนแปลงบทบาทจากผูที่เคยอิสระพึ่งตนเองไดมาเปนผูที่
ตองพึ่งพา พึ่งพิง ทําใหผูสูงอายุยากที่จะทําใจยอมรับ และเกิดความรูสึกอับอาย
เปนปมดอย คิดวาตนเปนปญหาเปนภาระแกผูอื่น
แนวคิดเกี่ยวกับ ADL จึงถูกนํามาใชในการประเมินสภาวะทาง
กายของผูสูงอายุ และการเปลี่ยนแปลงของรางกายผูสูงอายุ ซึ่งประกอบดวย
๑.๓.๑ การดูแลตนเอง (Self care) เชน แตงตัว กินขาว อาบน้ํา
เขาสวมทําความสะอาดไดเอง
๑.๓.๒ การเคลื่อนยาย (Mobility) เชน การเดิน วิ่ง ยืน นั่ง ขึ้น
บันได
๑.๓.๓ การเดินทาง (Travelling) เชน การใชรถประจําทาง การ
ขับรถ การโดยสารพาหนะอื่น ๆ
๑.๓.๔ การเคลื่อนไหวรางกาย (Movement) เชน การยกแขน
กม เงย เอี้ยวตัว เอื้อมหยิบสิ่งของ พลิกตัว หมุนตัว นั่งพับเพียบ คุกเขา ตัดเล็บ
เทา หมุนโทรศัพท
๑.๓.๕ การจัดงานบาน (House chores) เชน การกวาดบาน ทํา
ความสะอาด เก็บที่นอน จับจายซื้อของ เตรียมอาหาร
๑.๓.๖ งานอดิเรก (Hobbies) เชน เลนดนตรี ทําสวน เลนไพ

๒๔
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
๑.๔ การสู ญ เสี ย หรื อ เสื่ อ มลงของอวั ย วะการรั บ รู ต า งๆ เช น
สายตา โรคตาตางๆ เชน ตอกระจก ตอเนื้อ ตอหิน, หูมีอาการหูเสื่อม
การไดยินเสียไป หรือมีเสียงรบกวน ตองใชเครื่องชวยฟง การรับรูรส,
กลิ่น, ความจําบกพรอง, การทรงตัว, การตองใชไมเทา, walker, ไมค้ํา
ยืน, หรือรถเข็น ฯลฯ

๒. สุขภาพจิต
ผู เ กษี ย ณอายุ ร าชการ ที่ มิ ไ ด มี ก ารเตรี ย มทางใจให ย อมรั บ การ
เปลี่ยนแปลง เมื่อตองเปลี่ยนผานเขาสูสภาพโดดเดี่ยวจากการที่ขาดจากเพื่อนฝูง
หรือผูสูงอายุที่ตองหางจากครอบครัว กรณีลูก ๆ แยกเรือนออกไป กรณีที่เปน
โสด หรือเปนหมาย ก็มักจะมีภาวะเหงา ซึมเศรา ซึ่งประเมินจากความวิตกกังวล
ความคับของใจ ความหวาดกลัว ความไมกลาเผชิญปญหา ความไมพอใจกับ
สภาพรางกาย ความรู สึกไมมั่นคงในชีวิต-ทรั พยสิน การขาดความรัก ความ
อบอุน ความผูกพัน จากครอบครัวญาติพี่นอง ขาดความรูสึกที่เปนที่ยอมรับนับ
ถือ ฯลฯ
ดัชนีที่ใชวัดสุขภาพจิตมี ๓ ตัว คือ
๑) วัดภาวะจิตเสื่อมสภาพ (Dementia) หรือภาวะ Alzheimer ดูจาก
ความบกพรองหรือลดลงในความสามารถดานตาง ๆ เชน
การรับรูเกี่ยวกับเวลาสถานที่ คือ รูวาตนเองอยูที่ไหน เวลา
อะไร
การบันทึก การจํา การคํานวณ ความสนใจ เชน บอกอะไรก็
จําได

๒๕
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

การระลึก – นึกเหตุการณ ทั้งเหตุการณที่เกิดขึ้นใหม และ


เหตุการณในอตีต
การใชภาษาและการสื่อสาร ใชถอยคําถูกตองตามบริบท
๒) การวัดภาวะการซึมเศรา (Depression) ดูจากอาการทั่วไปที่
แสดงออกถึงความรูสึกกังวล ความเหงา ความเศราซึม การบนถึงความรูสึกวา
ตัวเองไรคา ไมมีประโยชน การไมสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว ความเฉยเมยตอสิ่ง
ตาง ๆ การโทษตัวเอง ความรูสึกอยากตาย
๓) วัดความพึงพอใจในชีวิต (Life - satisfaction) ความพึงพอใจ เปน
ความสมดุลระหวางความคาดหวังและการตอบสนองความคาดหวัง ซึ่งหมาย
รวมถึงความสุข ความอิ่มเอม อิ่มอกอิ่มใจ พอใจในตนเอง ในชีวิต การยอมรับ
สภาพรางกายตามวัย ยอมรับตนเอง เชนผิวเหี่ยว คอเหี่ยวก็ยอมรับวา เพราะ
อายุมากแลว ยอมรับวาตนเองมีศักยภาพเทานี้ในวัยนี้ มีทัศนคติที่ดีตอตนเอง
ตอคนอื่น ตอโลก
เครื่องมือวัดความพึงพอใจในชีวิต ที่นิยมกันมาก คือ Life
Satisfaction Index (LSI) มี ๕ องคประกอบคือ
ความชื่นชมในชีวิต
ความตั้งใจ อดทนตอชีวิต
ความรูสึกวาตนประสบความสําเร็จ
ความคิดที่ดีตอตนเอง
ระดับอารมณ

๒๖
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

๓. สภาพสังคม
สภาพสั ง คมเป น องค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ของคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู
เกษี ย ณอายุ / ผู สู ง วั ย และยั ง ทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว ป อ งกั น สภาพเสื่ อ มถอยของ
คุณภาพชีวิตดานอื่น ๆ ดวย องคประกอบคุณภาพชีวิตทางสังคม วัดไดจาก
๓.๑ ความผูกพันในสังคม (Social integration) ไดแก การมีสวนรวม
ในสังคม การมีเพื่อนฝูง มีกลุมทางสังคมที่ยังผูกพันกันอยู
๓.๒ การติดตอทางสังคม (Social contact) คือ ปฏิสัมพันธกับ
ครอบครัวและเพื่อนฝูง
๓.๓ ความใกลชิดสนิทสนม (Social intimacy) ดูจากจํานวนผูสนิท
สนมไววางใจ ที่ผูสูงอายุคิดวาจะขอความชวยเหลือหรือพึ่งพาได การรับรูหรือมี
ความรูสึกวาไดรับความชวยเหลือไมถูกทอดทิ้ง และความหนาแนนของเครือขาย
เชน จํานวนญาติมิตรที่อยูในเครือขาย
๓.๔ โอกาสในการไดรับความชวยเหลือ (Social opportunity) ความ
เทาเทียมกับคนอื่น ๆ ในการไดรับ หรือเขาถึงแหลงประโยชนตาง ๆ
เปน ธรรมดาที่คนเราตองอยูรว มกับคนอื่นๆ ในสังคม ชีวิตจะมี
ความหมาย มีชีวิตชีวา เมื่อมีความสัมพันธกับคนอื่น ดังนั้น ผูเกษียณอายุ ตอง
พยายามคงความสัมพันธในสังคมไว พยายามมีบทบาทมีสวนรวมในชุมชน อยา
แยกตั ว อย า อยู ค นเดี ย ว มี เ ครื อ ข า ยทางสั ง คม เช น ชมรมผู สู ง อายุ ชมรมผู
เกษียณอายุ สมาคมวิชาชีพ การติดตอพบปะเพื่อรวมรุน รวมสถาบัน การเขาไป
รวมกิจกรรมประเพณีตาง ๆ เชนงานรดน้ําดําหัวผูอาวุโส การไปเยี่ยมญาติมิตร
เหลานี้ควรใหมีอยูเสมอ
ที่สําคัญที่สุด คือ มีความสัมพันธกับลูกหลาน การมีสวนรวมใน
การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ กับครอบครัว ซึ่งเปนการดํารงคุณคาทางวัฒนธรรม ที่
มี ค รอบครั ว ที่ ผู สู ง อายุ เ ป น ที่ พึ่ ง เป น ที่ ป รึ ก ษา เป น แหล ง ความรู แ ละเป น ผู

๒๗
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

ตัดสินใจเรื่องสําคัญ ๆ ในครัวเรือน การเปนหลักของครอบครัวทําใหผูสูงอายุ


รูสึกวาตนเองมีประโยชน เปนการตอบสนองดานจิตใจ ที่ผูสูงอายุเองก็มีความสุข
มีความรูสึกวาตนเปนที่พึ่งของผูอื่นมากกวาเปนภาระ
นอกจากนี้ผูสูงอายุ ยังสามารถที่จะมีความสัมพันธกับคนวัยหนุม
สาวอื่น ๆ ที่ไมใชคนในครอบครัว เชน เพื่อนของลูกหลาน หรือลูกหลานของ
เพื่อน การไดคบหากับคนหนุมสาวทําใหชีวิตของผูสูงอายุแจมใส ไดเห็นความ
เจริญเติบโตของผูออนวัย สามารถนําประสบการณของตนมาเลาใหคนหนุมสาว
ไดฟง และใหเขานําไปแกไขปญหาชีวิตได การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคน
หนุมสาว ทําใหผูสูงอายุไมลาหลัง ไมตกรุน ตกขาว ทําตัวเองอยูในสภาวการณ
(in trend) ไดรูความเปนไปความเปลี่ยนแปลงของสังคมปจจุบัน นอกจากนั้น
ประสบการณของผูสูงอายุ ยอมเปนบทเรียนที่เปนประโยชนตอผูออนวัยกวา และ
ยังเปนการเติมหรือปดชองวางระหวางวัยดวย
ผูสูงอายุควรเรีย นรูที่จะเอาใจใส สนใจลูกหลาน แมจะเปนงาน
หนักเปนภาระ แตถาสามารถจะชวยเหลือแบงเบาไดก็ควรทํา เชน การชวยเลี้ยง
หลาน รับสงหลานไปโรงเรียน เลนกับหลาน ที่แมวาจะเปนงานหนักและเหนื่อย
บา ง ก็ ส มควรทํ า เพราะเปน แหลง ของความรั ก ความสุ ข ที่ ห ายาก เป น ความ
เหนื่อยที่ทําใหชื่นใจสุขใจ
ครอบครัวเปนสถาบันที่ผูสูงอายุ สามารถบรรลุถึงความตองการได
ทุกดาน ทั้งกายภาพ อารมณ และสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งดานอารมณ
ในเรื่องความสัมพันธทางสังคมกับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ มีทฤษฎี
ทางจิตวิทยาสังคม (Social Psychology) ที่นํามาใชหลายทฤษฎี เชน
๑) ทฤษฎีการถอนตัว (Disengagement Theory) กลาววา
ผูสูงอายุควรถอนตัว ออกจากบทบาททางสังคม โดยลดบทบาทลดความผูกพัน
ลงเรื่อย ๆ หรือทั้งหมด เพื่อเปดโอกาสใหคนรุนใหมเขามาแทนที่

๒๘
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

๒) ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory) กลาววา ผูสูงอายุควร


รั ก ษาระดั บ กิ จ กรรมในสั ง คมไว เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม และคงไว ซึ่ ง ภาวะสุ ข ภาพ
บุคลิกภาพ และการดํารงชีวิตในสังคมอยางมีคุณภาพ
๓) ทฤษฎีตอเนื่อง (Continuity Theory) กลาววา ความสุขใน
บั้นปลายชีวิต ขึ้นอยูกับบุคลิกภาพและการดําเนินชีวิต ที่เคยเปนมากอน ดังนั้น
คนที่เคยมีความสุขในสังคมนอกบาน ก็ควรดําเนินกิจกรรมตอไป คนที่มีความสุข
กับครอบครัว ก็เลือกที่จะกลับมาอยูกับครอบครัว โดยถอนตัวจากสังคมภายนอก
ทั้ง ๓ ทฤษฎี อาจนํามาบูรณาการเพื่อเปนทางเลือกที่เปนกลางไม
สุดโตง สําหรับผูสูงอายุ ที่จะบรรลุถึงคุณภาพชีวิตที่ดี

๔. สภาพเศรษฐกิจ
ภาวะเศรษฐกิจ เปนสิ่งสําคัญ ในการดํารงชีวิตของผูสูงอายุ ปจจัยทาง
เศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ กับความรูสึกมีคุณคาในตนเองของผูสูงอายุ คือ การ
ทํางานและรายได
๔.๑ การทํางานของผูสูงอายุ
การเกษียณอายุ ตองออกจากงาน หลังจากที่ทํางานมานานกวา
คอนชีวิต ทําใหรูสึกสูญเสียถึงความเปนอิสระ สูญเสียอํานาจ ความนับถือตนเอง
ลดลง เมื่อรูสึกวาตนเองไมไดทําประโยชนตอสังคมอีกตอไป และตองอยูในภาวะ
พึ่งพาผูอื่น สําหรับผูเกษียณอายุบางคนที่ยังคงทํางานในอาชีพของตนตอไปได ก็
ยังคงมีผลงานและมีความคลองตัวทางเศรษฐกิจอยู แตหลายคนก็อาจไมมีโอกาส
ดังกลาว ความวาง ความไมมีกิจกรรม มักทําใหผูสูงอายุหมกมุนกับตนเอง คิด
มากและไมมีความสุข
การทํางาน ทําใหคนมองโลกในแงดี มี Positive outlook ตอชีวิต

๒๙
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

การทํางาน ของผูสูงอายุ อาจไมจําเปนตองเปนงานเพื่อเศรษฐกิจ


อยางเดียว แตก็เปนงานที่ทําใหผูสูงอายุรูสึกวา ตนเองเปนประโยชน เปนการ
ทํางานที่เพิ่มพูนความสุขสมบูรณ แกชีวิตในโลก ซึ่งอาจเปนอาสาสมัครในสังคม
หรืองานที่ทําเพื่อแบงเบาภาระลูกหลานได เชน การเปนอาสาสมัครคลังปญญา
ผูอาวุโส เปนตน
เวลาที่ มี ก ารประมู ล เครื่อ งลายคราม จะดู จ ากคลายความเก า
ความงาม ความเกา แตเวลาประเมินคุณคาคน จะประเมินจากผลงานและการ
ทํางานเพื่อคนอื่น ไมใชเพื่อตนเองหรือพวกพอง แตเปนการงานที่ทําใหคุณคา
ของมนุษยสูงขึ้น และเทาเทียมกัน เสมอภาคกัน
๔.๒ รายได
เปน ตัว ชี้วัด ความมั่น คงในชีวิ ตของผูสูง อายุ ซึ่ง นอกจากความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจแลว ยังสัมพันธกับการไดรับการดูแลจากลูกหลาน จาก
สังคม การประเมินสภาพเศรษฐกิจ ดูจากรายได ความเพียงพอของรายได ดู
จากทรัพยสิน ผลประโยชน หรือคาตอบแทน

๕. สภาพแวดลอม
มีอิทธิพลตอพฤติกรรมและความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ของ
รางกายของผูสูงอายุ ถาสิ่งแวดลอมเหมาะสม ก็ทําใหคุณภาพชีวิตดี
สิ่ ง แวดล อ ม รวมถึ ง สิ่ ง แวดล อ มทางกายภาพ เป น ลั ก ษณะ
บานเรือนที่อยูอาศัย ทางเดิน ราวจับ แสงสวาง พื้นผิวทางเดิน หรือพื้นบาน
การระบายถายเทอากาศ ความปลอดภัย เชน ไมลื่น ไมมีสิ่งกีดขวาง อุปกรณ
ภายในบ า น สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกภายในบ า น ความสะอาด สภาวะ
สุขาภิบาล รวมทั้งความเปนสวนตัว

๓๐
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม
สิ่งแวดลอมธรรมชาติ เชน ตนไม สวนดอกไม สนามหญา
ภูมิอากาศ และสภาพภูมิประเทศ
สิ่งแวดลอมดานบุคคล ไดแก คนที่อยูรอบตัว ลูกหลาน ญาติ
เพื่ อ นบ า น ซึ่ ง เป น ทั้ ง ส ว นที่ ส ง เสริ ม หรื อ ขั ด ขวางคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู สู ง อายุ
ความเคารพศรัทธา ความเปนมิตรไมตรี อัธยาศัย น้ําใจ ชวยเหลือ เอื้ออาทร
ดูแล ไววางใจ ลวนเปนปจจัยดานบวกจากบุคคลรอบขาง ที่ทําใหคุณภาพชีวิตผู
สูงวัยดี ทํานองกลับกันการมีคนรอบตัวที่ไมเปนมิตร เอารัดเอาเปรียบ ไมมี
น้ําใจ ไมเคารพคารวะ ไมใหเกียรติ ไมยกยอง ก็ทําใหคุณภาพชีวิตเปนลบ
ผู สู ง อายุ อ าจต อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง สิ่ ง แวดล อ มทุ ก อย า งเพื่ อ ให
เหมาะสมแกการดํารงชีวิต เชน ทางดานกายภาพ อาจตองตกแตงซอมแซม
บาน หรือปรับเปลี่ยนสภาพการอยู เชน ยายหองนอนมาอยูหนาบานเพื่อใหโปรง
รับลม ยายหองนอนลงมาขางลาง เพื่อไมตองขึ้นลงบันได ยายมาใกลหองน้ํา
เพื่อความสะดวก หรือยายมาอยูหองเล็กลงเพื่อความคล องตัว และอาจตอง
ปรับปรุงสภาพในบาน เชน ติดไฟทางเดิน มีราวจับในหองน้ํา เปลี่ยนพื้นบาน
ไมใหลื่นลมงาย
สิ่งแวดลอมดานธรรมชาติ ก็ตองมีการตกแตงบริเวณบานใหนา
อยู มีสวนดอกไม ตนไม ใหมีความสบายตา สบายใจ
สํ า หรั บ สิ่ ง แวดล อ มด า นบุ ค คล อาจแก ไ ขปรั บ เปลี่ ย นได ย าก
ผูสูงอายุจะตองเรียนรูที่จะปรับตัว ปรับใจ ของตนเอง ศึกษาธรรมะใหเขาใจ
ธรรมชาติ และปญหา ยอมรับสภาพปญหาดวยศีล สมาธิ และปญญา

๓๑
ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.พันธุทิพย รามสูต

โดยสรุป คุณภาพชีวิตของผูสูงอายุ/ผูเกษียณอายุ คือ


ชีวิตที่มีคุณคา มีประโยชน มีความหวัง และความหมาย
ชีวิตที่ไมเปนภาระแกใคร ไมกอใหเกิดปญหากับใคร
ชีวิตที่มีความสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ และสังคม
มีค วามเพีย บพร อม และสามารถจะดํ า รงสถานภาพทางเศรษฐกิ จ
สังคม การเมือง ใหสอดคลองกับ สภาพแวดลอม และคานิยมของสังคม
มีปญญาที่สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนา หรือปญหาสลับซับซอนได
สามารถดําเนินวิธีการที่ชอบธรรม เพื่อใหไดสิ่งที่ประสงค ภายใต
เครื่องมือ และทรัพยากรที่มีอยู
มีความเชี่ยวชาญ ประสบการณ และภูมิปญญาที่เปนแหลงประโยชน
แกสังคม ครอบครัว ชุมชน
คุณภาพชีวิต ถือวาเปนศิลปะของชีวิต (The Art of Life) เปนความ
อิ่มเอมในชีวิต เปนความพึงพอใจกับกิจกรรมในวิถีชีวิตประจําวันตามแนวทาง
ของแตละบุคคล ตามความสามารถของแตละบุคคลที่จะทําอะไร อยากเปน
อะไร ตามคานิยมของตน

๓๒
กตัญูกตเวทิตา อาเซียนมั่นยืน... ๒๔ กรกฎาคม

ปจฉิมลิขิต
ขอฝากกลอนเพื่อเปนกําลังใจแกผูเกษียณอายุราชการทุกคน สําหรับความ
ภาคภูมิใจในอดีตที่เปนประโยชน มีคุณคา และอนาคตที่จะมุงมั่นบําเพ็ญตอไป
ถึงเวลาตองอําลาตามวาระ
พนพันธะสิ้นภาระพึงสะสาง
เหมือนปลดแอกบนบาแบกผอนเบาบาง
ไดพักวางปลอยวางทุกอยางไป
มีเวลาเต็มเวลามาสรางสรร
ตกแตงวันชีวาวันอันสดใส
ไดผอนคลายเบาสบายดังหมายใจ
ตั้งตนใหมรับวันใหมไรกังวล
ฝากผลงานเมื่อวันวานไวขานไข
ฝากน้ําใจ ประทับใจ ไปทุกหน
ฝากฝมือ เลื่องระบือ ลือยุบล
นอมกมล ทุกกมล ลนศรัทธา
ทุกนาทีที่ผาน วันวานนี้
ลวนเปนทุกนาทีมีคุณคา
ขอใหทุกนาทีจะมีมา
เปนนาทีที่มีคากวาวันวาน
พันธุทิพย รามสูต

๓๓

You might also like