You are on page 1of 6

ประมาณ 5000 ปี ที่ผ่านมา เริม่ ต้นการที่มนุษย์ร้จักการนับหรือการบวกลบเลข

โดยใช้นิ้วมือ ต่อมาชาวกรีกร้้จกั การขีดเขียนบนพื้นดินเป็ นร้ปเส้นตรงแนวตั้ง


และแนวนอนแล้วก้อนหินเรียงกันเป็ นแถวแทนจำานวนเลขในแต่ละหลัก

• [ ประมาณ 2,600 ปี ก่อนคริสตกาล ] ชาวจีนได้ประดิษฐ์


เครื่องมือเพื่อใช้ในการคำานวณขึ้นมาชนิ ดหนึ่ ง เรียกว่า ลูกคิด
( Abacus)

ลูกคิด ( Abacus)
• [ พ.ศ. 2158 ] นั กคณิ ตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ช่ ือ John
Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ท่ีใช้ช่วยในการคำานวณขึ้นมาเรียก
ว่า Napier’s Bones เป็ นอุปกรณ์ท่ีมีลักษณะคล้ายกับตาราง
สูตรคูณในปั จจุบัน

• [ พ.ศ.2173 ] วิลเลียม ออตเทรต( William Oughtred) นั ก


คณิ ตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคำานวณ ( Slide
Rule) ซึ่ง ต่อมากลายเป็ นพื้ นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์
แบบอนาลอก
• [ พ.ศ.2185 ] เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นั ก
คณิ ตศาสตร์ชาวฝรัง่ เศสได้ประดิษฐ์เครื่องบวกลบขึ้น โดยใช้
หลัการหมุนของฟั นเฟื อง และการทดเลขเมื่อฟั นเฟื องหมุน
ไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9 ออกที่หน้าปั ด

Pascal’s Calculato
• [ พ.ศ.2214 ] กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried
Wilhelm Leibniz ) นั กคณิ ตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุง
เครื่องคิดเลขปาสคาล ให้ทำางานได้ดีกว่าเดิม และเขายังค้น
พบเลขฐานสอง (Binary number)

กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz )


• [ พ.ศ.2288 ] โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie
Jacquard) เป็ นชาวฝรัง่ เศสได้คิด เครื่องทอผ้า โดยใช้คำาสัง่
จากบัตรเจาะรูควบคุมการทดผ้าให้มีสีและลวดลายต่าง ๆ

บัตรเจาะรู
• [ พ.ศ.2365 ] ชาร์ล แบบเบจ ( Charles Babbage) นั ก
คณิ ตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์เครื่องมือที่เรียกว่าเครื่อง
หาผลต่าง ( Difference Engine) เพื่อใช้คำานวณและพิมพ์ ค่า
ทางตรีโกณมิตแ
ิ ละฟั งก์ชันทางคณิ ตศาสตร์ แบบเบจได้
พยายามสร้าง เครื่องคำานวณอีกชนิ ดหนึ่ งเรียกว่า Analytical
Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทำางานของเครื่องออกเป็ น 3
ส่วนคือ ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit), ส่วนควบคุม (Control
unit) และส่วนคำานวณ (Arithmetic unit) ซึ่งแนวคิดนี้ ได้รบ

การนำามาใช้เป็ นต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในปั จจุบัน
จึงยกย่องแบบเบจ ว่าเป็ นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ เลดี้
เอดา ออคุสตา เลฟเลค ( Lady Ada Augusta Lovelace )
เป็ นนั กคณิ ตศาสตร์ที่เข้าใจผลงานของแบบเบจ ได้เขียนวิธี
การใช้เครื่องคำานวณของแบบเบจเพื่อแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์เล่มหนึ่ ง ต่อมา เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค จึง
ได้รบ
ั การยกย่องว่าเป็ นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

Differnce Engine
• [ พ.ศ.2393 ] ยอร์จ บูล ( George Boole) นั กคณิ ตศาสตร์
ชาวอังกฤษ ได้คิดระบบ พีชคณิ ตระบบใหม่เรียกว่า Boolean
Algebra โดยใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้
สภาวะเพียงสองอย่างคือ True (On) และ False (Off) ร่วม
กับเครื่องหมายในทางตรรกะพื้ นฐาน ได้แก่ NOT AND และ
OR ต่อมาระบบเลขฐานสอง และ Boolean Algebra ก็ได้ถูก
นำามาดัดแปลงให้เข้ากับวงจรไฟฟ้ า ซึ่งมีสภาวะ 2 แบบ คือ
เปิ ด , ปิ ด จึงนั บเป็ นรากฐานของการออกแบบวงจรในระบบ
คอมพิวเตอร์ในปั จจุบัน (Digital Computer)
[ พ.ศ.2480-2481 ] ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ

( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ด แบรี่ ( Clifford

Berry) ได้ประดิษฐ์เครื่อง ABC ( Atanasoff-Berry) ขึ้น โดยได้นำา

หลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC ถือเป็ นเครื่องคำานวณเครื่องแรก

ที่เป็ นเครื่องอิเล็กทรอนิ กส์

ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก

เมื่อปี 1975 มีนิตยสารต่างประเทศฉบับหนึ่ ง ชื่อว่า Popular Electronics ฉบับเดือน มกราคม ได้ลง


บทความ เกี่ยวกับเครื่อง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครื่องแรกของโลกที่มีช่ ือว่า อัลแตร์ 8800 (Altair) ซึ่ง
ทำาออกมาเป็ นชุดคิท โดยบริษท
ั MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะ
ของชุดคิท ก็คอ
ื จะอยู่ในรูปของอุปกรณ์แต่ละชิ้นโดยให้ คุณนำาไปประกอบขึ้นใช้เอง

คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การ

คำานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของ

คอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำาหน้ าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้

สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

เราได้ประโยชน์อะไรจากการเรียนคอมพิวเตอร์

1. ทันสมัย / ทันเหตุการณ์ / ทันข้อมูลข่าวสาร / ทันโลก ช่วยให้เราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทัว่ โลก

2. ช่วยให้การเรียน การทำางาน ทันสมัยและไรับความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น ได้เรียนรู้จากสื่อที่ทันสมัยที่สร้างด้วย


คอมพิวเตอร์
ทีเ่ รียกว่า โปรแกรม CAI
3. เป็ นแหล่งการเรียนรู้ท่ีดีเยี่ยม ช่วยในการค้นคว้าหาความรู้เป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่

4. ช่วยรับ - ส่งข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว

5. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด เช่น เกม ดูภาพยนตร์ ฟั งเพลง ร้องเพลง

6. ช่วยสร้างงานศิลปะ ออกแบบชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์ สวยงาม

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
สำาหรับคอมพิวเตอร์น้ ั น จะมีส่วนประกอบหลัก ๆ อยู่ 4 ส่วนด้วยกัน
คือ
1. โปรเซสเซอร์ (Processor)
2. หน่วยความจำา(Memory)
3. ส่วนอินพุต/เอาต์พุต (Input/Output)
4. สื่อจัดเก็บข้อมูล(Storage)

You might also like