You are on page 1of 3

โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร http://psdp.eng.ku.ac.

th 1

Load Factor และ Demand Factor

โหลดแฟกเตอร (Load Factor) หมายถึงอัตราสวนของโหลดเฉลี่ยตอโหลดสูงสุดของการใชงาน


ของผูใชไฟฟา
สมมุติโหลดของผูใชไฟฟาที่จายจากหมอแปลงหนึ่งหรือเปนผูใ ชไฟฟารวมทั้งประเทศก็ได
แสดงในรูปที่ 1
Pmax
Power P (kW)

Pav

เวลา
3:00 6:00 9:00 12:00 15:00 18:00 21:00 24:00

รูปที่ 1 กราฟของโหลด (Load Curve)

Pav
จากรูปที่ 1 โหลดแฟกเตอรมีคา Load Factor =
Pmax

ลองพิจารณารูปที่ 2 ซึ่งแสดงความแตกตางระหวางโหลดที่มีคาโหลดแฟกเตอรต่ําและสูง

Power P(kW) Pmax Power P(kW)

Pav Pav Pmax

เวลา เวลา
ก. โหลดแฟกเตอรต่ํา ข. โหลดแฟกเตอรสูง

รูปที่ 2 กราฟของโหลดที่มโี หลดแฟกเตอรแตกตางกัน

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 12/09/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร http://psdp.eng.ku.ac.th 2

ในรูปที่ 2 แสดงกราฟของโหลดที่มีโหลดแฟกเตอรตางกัน รูปที่ 2 ก. มีคาโหลดเฉลี่ย


เทากับในรูปที่ 2 ข. โหลดแฟกเตอรต่ําหรือสูง ขึ้นกับการใชไฟฟาของผูใชไฟฟา แตถาการไฟฟา
ปลอยใหผูใชไฟฟาใชตามอําเภอใจก็อาจไดกราฟของโหลดเปนตามรูปที่ 2 ก. ซึ่งคือตอนกลางคืน
คนก็กลับไปบานทํางาน แตในขณะเดียวกันอุตสาหกรรมก็ยังมีการทํางานในชวงดังกลาวดวยทําให
เกิดกําลังไฟฟาสูงในชวงดึกดวย ถาเปนแบบนี้การไฟฟาตองเตรียมระบบกําเนิดไฟฟา ขนาดสถานี
ไฟฟายอย ขนาดหมอแปลงใหญเกินไป และขายไฟไดเทากับ Pav x 24 ชม. แตถาการไฟฟาบังคับ
เก็บเงินคาไฟฟาอุตสาหกรรมในชวงเวลาดึกแพงมาก ก็ทําใหอตุ สาหกรรมไปใชไฟฟาเวลาอื่นๆเพื่อ
หนีการเก็บคาไฟฟาแพง ก็จะไดกราฟของโหลดดังแสดงในรูปที่ 2 ข. ทําใหใชกาํ ลังไฟฟาสูงสุด
ต่ําลงมากจากรูปที่ 2 ก. ทําใหมีกําลังไฟฟาเหลือไปจายโหลดเพิ่มขึน้ ได
ดังนั้นโหลดแฟกเตอรเปนดัชนีบอกการจายไฟฟาใหกบั ผูใชไฟฟาวามีประสิทธิภาพหรือไม
การไฟฟาใดที่มีโหลดแฟกเตอรต่ําก็แสดงวามีการใชไฟฟาและจายไฟฟาอยางไมมีประสิทธิภาพ
ตองไปแกไขเรื่องการปรับการเก็บคาไฟฟาใหเหมาะสมเพือ่ รักษาทรัพยากรพลังงานไฟฟาใหไปใช
อยางเปนประโยชนมากที่สุด

ดีมานดแฟกเตอร (Demand Factor) หมายถึงอัตราสวนกําลังไฟฟาทีใ่ ชตอกําลังไฟฟาที่ตอ ไฟอยู


(DF = Pmax / Pinst) เชน โรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งมีอุปกรณไฟฟารวมที่ตอ อยูทั้งหมด 680 kW
แตมีการใชไฟฟาไมตรงเวลาหรือไมไดพรอมกันหมด บางเครื่องก็เปดใชตอนเชา บางเครื่องก็เปดใช
ตอนบาย และแตละเครือ่ งก็อาจใชไมเต็มพิกัดดวย เมื่อบันทึกการใชไฟฟาของโรงงานอุตสาหกรรม
แหงนี้ปรากฏวาไดกราฟของโหลดดังแสดงในรูปที่ 3

P Pinst = 680kW

รูปที่ 3 กราฟของโหลดแสดง
Pmax=340 kW
การใชกําลังไฟฟาสูงสุด Pmax
250 kW เทียบกับกําลังไฟฟาทั้งหมดที่
Pav ตออยู

3:00 6:00 9:00 12:00 15:00 18:00 21:00 24:00

เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 3 จะไดดีมานดแฟกเตอรมีคา = Pmax / Pinst = 340 / 680 = 0.5 ซึ่ง


ไมมีหนวย

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 12/09/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร http://psdp.eng.ku.ac.th 3

อุตสาหกรรมหรือผูใชไฟฟาซึ่งใชไฟมาก ตองถูกเรียกเก็บคาไฟฟาจากการไฟฟา 3 สวน


คือ พลังงานไฟฟาที่ใช (kW.Hr) กําลังไฟฟาสูงสุด 15 นาที (Pmax หมายถึงกําลังไฟฟาสูงสุดที่มี
การใชไฟฟานาน 15 นาที ถากําลังไฟฟาพุงขึ้นมาแตมีระยะเวลาที่เกิดกําลังไฟฟานั้นนานนอยกวา
15นาที ก็ไมนับ) และสวนที่สามที่ถูกเรียกเก็บคือ กําลังวาร (kVar) ดังนั้นอุตสาหกรรมตอง
พยายามลดกําลังไฟฟาสูงสุด Pmax ใหมีคาต่ําที่สุดเทาที่จะทําได นั่นก็คอื พยายามเพิ่ม Load
Factor ใหสูงขึ้นนั่นเอง สวนเรื่อง kVar ก็ตองพยายามตอคาปาซิเตอรเพือ่ ให power factor สูงขึ้น
เพื่อจะไดไมถกู เก็บคา kVar การไฟฟาจะเรียกเก็บคา kVar เฉพาะสวนทีท่ ําให power factor ต่ํา
กวา 0.85 เชน ผูใชไฟฟาใชกําลังไฟฟา P = 600 kW และ Q = 650 kVar แตถาปรับเปน PF =
0.85 จะได P = 600 kW, Q = P tan (cos-1 0.85) = 600 tan(cos-1 0.85) = 372 kVar ดังนั้น
โรงงานแหงนี้ใช Q = 650 kVar ซึ่งสูงกวาที่ PF 0.8 เทากับ 650 – 372 = 278 kVar คานี้ที่ตอ งถูก
การไฟฟาเรียกเก็บฐานที่ทาํ ให PF ต่ํากวา 0.85

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 12/09/47

You might also like