You are on page 1of 107

INFRASTRUCTURE

Air transport
CE 439

Chapter 6 page 1 INFRASTRUCTURE


Air transport

Chapter 6 page 2 INFRASTRUCTURE


World Principal Air Route 1920s

http://www.hipkiss.org/data/maps/london-geographical-institute_the-peoples-atlas_1920_the-world-principal-air-routes_3012_3992_600.jpg
Chapter 6 page 3 INFRASTRUCTURE
Early Intercontinental Air Routes, 1930s

http://people.hofstra.edu/geotrans/eng/ch3en/conc3en/earlyairnetworks.html
Chapter 6 page 4 INFRASTRUCTURE
World Airline Route Map 2009

http://www.norcalblogs.com/bored/World-airline-routemap-2009.png
Chapter 6 page 5 INFRASTRUCTURE
Progress in Airport Design (1920s Air field)

Chapter 6 page 6 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (1930s Marine Air terminal)

Chapter 6 page 7 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (1940s Modern Architecture)

Chapter 6 page 8 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (Functional - Mobile lounge)

Chapter 6 page 9 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (1980s Excitement & elegance)

Chapter 6 page 10 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (1990s – Elegant Shed)

Chapter 6 page 11 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design (1990s – Elegant Shed)

Chapter 6 page 12 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design

Chapter 6 page 13 INFRASTRUCTURE


Progress in Airport Design – Lightweight structure

Chapter 6 page 14 INFRASTRUCTURE


Changing pattern of airport design

(a) 1930s (b) 1950s (c) 1960s (d) 1980s Vertical segregation in typical terminals
Chapter 6 page 15 INFRASTRUCTURE
Airport Architecture
Incheon International, Seoul

TWA Terminal, JFK Airport, New York City Barajas Airport, Madrid

http://www.dwell.com/articles/an-introduction-to-airport-design.html Terminal 3, Beijing


Chapter 6 page 16 INFRASTRUCTURE
Terminal Configuration

• Simple terminal
• Linear terminal/ Curvilinear terminal
• Pier finger terminal
• Pier satellite terminal/ Remote satellite terminal
• Mobile lounge or transporter terminal (remote aircraft parking concept)

http://quest.arc.nasa.gov/aero/virtual/demo/design/tutorial/tutorial7.html
Chapter 6 page 17 INFRASTRUCTURE
Terminal Configuration – Simple terminal

Simple terminal
This configuration consists of one building holding a common ticketing and waiting
area with several exits leading to a small aircraft parking apron for boarding. This is
used at mainly small aircraft airports and some older large airports.

Chapter 6 page 18 INFRASTRUCTURE


ท่าอากาศยานเชียงใหม่

Chapter 6 page 19 INFRASTRUCTURE


Terminal Configuration – Linear/Curvilinear terminal

Linear terminal/ Curvilinear terminal


This is simply an extension of the simple terminal concept providing more gates
and more room within the terminal for ticketing and passenger processing.

Chapter 6 page 20 INFRASTRUCTURE


Kansai International Airport

Chapter 6 page 21 INFRASTRUCTURE


Kansai International Airport

Chapter 6 page 22 INFRASTRUCTURE


Kansai International Airport

Wing Shuttle

Chapter 6 page 23 INFRASTRUCTURE


Kansai International Airport

1st phase

2nd phase

Chapter 6 page 24 INFRASTRUCTURE


Dallas/Fort Worth International Airport

Chapter 6 page 25 INFRASTRUCTURE


Dallas/Fort Worth International Airport

Chapter 6 page 26 INFRASTRUCTURE


Terminal Configuration – Pier finger terminal

Pier finger terminal


This terminal configuration evolved during the 1950s when gate concourses were
added to the simple terminal building designs. A concourse is actually defined as
an open space where paths meet. Passengers are usually processed at the simple
terminal location and then routed down a "pier" where aircraft are parked in the
"finger" slots or gates for boarding.

Chapter 6 page 27 INFRASTRUCTURE


ท่าอากาศยานดอนเมือง

Chapter 6 page 28 INFRASTRUCTURE


Changi Airport

Chapter 6 page 29 INFRASTRUCTURE


Changi Airport

Chapter 6 page 30 INFRASTRUCTURE


Changi Airport Skytrain

Chapter 6 page 31 INFRASTRUCTURE


Terminal Configuration – Pier satellite/ Remote satellite
Pier satellite terminal/ Remote satellite terminal
This configuration involves a single terminal where all the ticketing and
passenger processing takes place. Connected to this are numerous concourses
that lead to one or more satellite structures. At the end of each concourse the
aircraft are parked in a cluster. This increases the distance a passenger must
walk to get from one terminal to another or one gate to another. People-mover
systems are employed in these settings to reduce these walking distances. These
systems can be high speed escalators, monorails or electric-powered carts. This
design concept lends itself to a compact central terminal, but is difficult to
expand without disrupting airport operations.

Chapter 6 page 32 INFRASTRUCTURE


Hong Kong Airport

Chapter 6 page 33 INFRASTRUCTURE


Hong Kong Airport

Chapter 6 page 34 INFRASTRUCTURE


Hong Kong Airport – Ground Transportation

Chapter 6 page 35 INFRASTRUCTURE


Stockholm-Arlanda Airport

Chapter 6 page 36 INFRASTRUCTURE


Stockholm-Arlanda Airport

Chapter 6 page 37 INFRASTRUCTURE


Stockholm-Arlanda Airport

Chapter 6 page 38 INFRASTRUCTURE


JFK Airport

Chapter 6 page 39 INFRASTRUCTURE


JFK Airport – Ground Transportation

Chapter 6 page 40 INFRASTRUCTURE


Los Angles Airport

Chapter 6 page 41 INFRASTRUCTURE


Terminal Configuration – Mobile lounge terminal

Mobile lounge or transporter terminal (remote aircraft parking concept)


This concept is currently in use at Dulles International Airport and Tampa International Airport.
In this concept passengers are transported to and from the building to the parked airplane. The
mobile lounge can also be used as holding rooms for waiting passengers at gate positions. Airplanes
are parked at gates placed along parallel rows. Several sets of parallel parking rows can be created
as increased traffic deems such expansion necessary. This design has excellent expansion
capabilities and can maintain the pace with increased airport usage. With this concept, aircraft can
be parked remotely from the terminal buildings thus increasing the amount of aircraft enplaning
and deplaning passengers. Airplane taxiing time to and from the runway is decreased as well as the
amount of aircraft engine noise around the terminal.

Chapter 6 page 42 INFRASTRUCTURE


Dulles International Airport

Chapter 6 page 43 INFRASTRUCTURE


Dulles International Airport

Chapter 6 page 44 INFRASTRUCTURE


Tampa International Airport

Chapter 6 page 45 INFRASTRUCTURE


Denver International Airport

Chapter 6 page 46 INFRASTRUCTURE


ลักษณะการเคลื่อนที่ของผู้โดยสารและกระเป๋า

Chapter 6 page 47 INFRASTRUCTURE


ผังการเคลื่อนที่ของเที่ยวบินขาเข้า

Chapter 6 page 48 INFRASTRUCTURE


การเคลื่อนที่ของกระเป๋ามีผลต่อการวางผังอาคารผู้โดยสาร

Terminal 4, Heathrow Airport, UK

Chapter 6 page 49 INFRASTRUCTURE


เอกชนโวยประกาศกิจการรุนแรงล่าช้ากระทบธุรกิจ
โพสต์ ทูเดย์ วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 19:56 น.
เอกชนจวกรัฐไม่รีบประกาศรายชื่อกิจการรุนแรงจะทาให้เกิดผลกระทบ ต่อธุรกิจ เสนอ
กระทรวงอุตฯเร่งออกประกาศบางส่วนก่อน
นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ ผู้ช่วยรมว.อุตสาหกรรม เปิดเผยภายหลังการเข้าหารือร่วมกับ
ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากปัญหามาบ ตาพุดประมาณ 10 ราย ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
บริษัทในกลุ่มปตท. และเครือซีเมนต์ไทย (เอสซีจี) ว่า ผู้ประกอบการคาดว่า หากการ
ประกาศบัญชีรายชื่อกิจการที่อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชนล่าช้าไป
มากกว่านี้ อาจทาให้กิจการได้รับผลกระทบมากกว่าที่ประเมินไว้ ซึ่งจะกระทบต่อรายได้
ของแต่ละบริษัท ที่ขณะนี้มีแนวโน้มจะไม่เป็นบวก โดยเฉพาะกิจการที่ก่อสร้างเสร็จแล้ว
ดาเนินการไปแล้ว แต่ถูกสั่งระงับชั่วคราว

Chapter 6 page 50 INFRASTRUCTURE


เอกชนโวยประกาศกิจการรุนแรงล่าช้ากระทบธุรกิจ (ต่อ)
ขณะนี้กลุ่มผู้ถือหุ้น ผู้ร่วมทุน หรือบริษัทแม่เริ่มตั้งคาถามว่าโรงงานในเมืองไทยจะ
สามารถเปิดดาเนินการได้ เมื่อไหร่ ซึ่งการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติไม่ประกาศ
รายชื่อกิจการรุนแรงเพื่อเป็นบรรทัดฐานให้กับภาคเอกชน ทาให้เอกชนเป็นห่วงว่าโรงงาน
จะไม่สามารถดาเนินการได้ภายในสิ้นปีตามที่คาดการณ์ไว้แต่แรก
ขณะที่กระทรวงอุตสาหกรรมเองก็อาจนาประเภทกิจการ 18 กิจการที่คณะกรรมการ 4 ฝ่าย
ทาไว้ มาพิจารณาว่าโครงการใดอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงอุตสาหกรรมก็จะ
ดาเนินการออกประกาศเป็นกิจการในส่วนของกระทรวงอุตสาหกรรมไปก่อน แต่ทั้งนี้ก็
ต้องขอความเห็นจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติด้วย
นอกจากนี้ เอกชนยังสอบถามว่าหากสุดท้ายไม่มีการประกาศบัญชีรายชื่อออกมา จะมี
แนวทางในการปฏิบัติอย่างไรต่อไป

Chapter 6 page 51 INFRASTRUCTURE


มลพิษระยองน่าห่วง สารปรอทกระทบหญิงท้อง
14 ก.ค. น.ส.เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้
ประสานงานกลุ่มศึกษาและ
รณรงค์มลภาวะอุตสาหกรรม
เปิดเผยผลการตรวจสุขภาพ
ประชาชนพื้นที่จังหวัดระยอง ตาม
โครงการสารวจสุขภาพประชาชน
ในเขตควบคุมมลพิษและนอกเขต
ควบคุมมลพิษ พบประชาชนมี
อนุพันธ์ของสารเบนซินมากกว่า
ปกติ 3.1% และพบโลหะหนัก
ประเภทปรอทและสารหนู อีก
34.8% แม้ผลการตรวจสุขภาพ
ประชาชนในพื้นที่จังหวัดระยอง
ครั้งนี้ จะพบสารอันตรายในระดับไม่สูงมากจนน่าวิตก และเป็นผลสารวจที่เสร็จเพียง 80% ก็ตาม
Chapter 6 page 52 INFRASTRUCTURE
ครม.อนุมัติ กฟผ. เดินหน้าระบบส่งไฟฟ้า 2.11 หมื่นล้าน
โพสต์ ทูเดย์ วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 เวลา 19:00 น.
ครม.อนุมัติ กฟผ.เดินหน้าระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากลาววงเงิน 2.11 หมื่นล้านบาท
รองรับแผนซื้อไฟฟ้าจากมาใช้ในภาคเหนือไทย
นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุม
คณะรัฐมนตรี ( ครม. ) อนุมัติโครงการระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความ
ร้อนหงสาลิกไนต์ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในวงเงินลงทุนรวม
2.11 หมื่นล้านบาท ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ โดยมีสาระสาคัญคือเพื่อให้ กฟผ.
สามารถก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหง สาลิกไนต์
ใน สปป.ลาว

Chapter 6 page 53 INFRASTRUCTURE


ครม.อนุมัติ กฟผ. เดินหน้าระบบส่งไฟฟ้า (ต่อ)
ทั้งนี้ได้วิเคราะห์ทางเลือกที่ผ่านการพิจารณาด้านเทคนิคตามมาตรฐานความมั่นคงระบบ
ไฟฟ้าที่กาหนดจานวน 3 ทางเลือก โดยเลือกแนวทางที่มีค่าใช้จ่ายต่าสุด คือ
ก่อสร้างสายส่ง 500 เควี หงสา – น่าน – แม่เมาะ 3 วงจรคู่ แนวใหม่ พร้อมทั้งรื้อสายส่ง
500 เควี แม่เมาะ 3 – ท่าตะโก วงจรเดี่ยว และก่อสร้างใหม่เป็นสายส่ง 500 เควี แม่เมาะ 3 –
ท่าตะโก วงจรคู่ (ใช้เขตเดินสายไฟฟ้าเดิมโดยไม่มีการขยายเพิ่มเติม) เป็นแนวทางที่มีความ
เหมาะสมที่สุด
มีระยะเวลาดาเนินการ ใช้เวลาศึกษาเตรียมงานจนก่อสร้างแล้วเสร็จประมาณ 5 ปี 6 เดือน
เริ่มกลางปี 2552 – ปลายปี 2557 คาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จประมาณเดือน ส.ค. 2557
ทั้งนี้เพื่อเป็นการรองรับการรับซื้อไฟฟ้าจากโครงการหงสา ลิกไนต์ ซึ่งเป็นการสนอง
นโยบายของรัฐในการรับซื้อไฟฟ้าจาก สปป.ลาว ภายใต้ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย
และรัฐบาล สปป.ลาว เพื่อสนองความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นในภาคเหนือ

Chapter 6 page 54 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ
• มีพื้นที่ประมาณ 20,000 ไร่
• รองรับผู้โดยสารได้ 45 ล้านคนต่อปี
• รองรับเที่ยวบินได้ 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง
• รองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี
• ในระยะแรกมี 2 ทางวิ่ง คือทางวิ่งฝั่งตะวันออก
ความยาว 4,000 เมตร กว้าง 60 เมตร และทางวิ่ง
ฝั่งตะวันตก ความยาว 3,700 เมตร และกว้าง 60
เมตร มีทางขับ 52 เส้น
• มีหลุมจอดอากาศยาน 120 หลุมจอด ในจานวน
นี้เป็นหลุมจอดที่มีสะพานเทียบเครื่องบิน
ให้บริการ 51 หลุมจอด หลุมจอดระยะไกล 69
หลุมจอด และมีหลุมจอดสาหรับเครื่องบิน
Airbus A380 ได้ 8 หลุมจอด เป็นหลุมจอด
ประชิดอาคาร 5 หลุมจอด
Chapter 6 page 55 INFRASTRUCTURE
สนามบินสุวรรณภูมิ – ผังอาคารต่างๆ ในสนามบิน

Chapter 6 page 56 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ - อาคารผู้โดยสาร

Chapter 6 page 57 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – Domestic, Concourse A & B

Chapter 6 page 58 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – International, Concourse C - G

Chapter 6 page 59 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – ผังอาคารผู้โยสาร

Chapter 6 page 60 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ

Chapter 6 page 61 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ

Chapter 6 page 62 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ

Chapter 6 page 63 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ

Chapter 6 page 64 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ –ระบบรับ-ส่งผู้โดยสารจากเครื่องบิน

Chapter 6 page 65 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ - ระบบส่งของให้เครื่องบิน

Chapter 6 page 66 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ - สายพานรับกระเป๋าผู้โดยสาร

Chapter 6 page 67 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ - ศูนย์การขนส่งสาธารณะ
รถโดยสารประจาทาง ขสมก. รถตู้สาธารณะ ขสมก.

• ใช้บริการที่ศูนย์การขนส่งสาธารณะ
• อัตราค่าโดยสารรถประจาทาง 24 - 35 บาท
• อัตราค่าโดยสารรถตู้ 25-70 บาท

Chapter 6 page 68 INFRASTRUCTURE


รถโดยสารประจาทาง ขสมก. ที่สนามบินสุวรรณภูมิ

Chapter 6 page 69 INFRASTRUCTURE


รถเวียนภายในสนามบิน (Airport Shuttle Bus)

• ให้บริการภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 4 สาย
• ให้บริการ 24 ชั่วโมง
• ให้บริการฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย

Chapter 6 page 70 INFRASTRUCTURE


เปรียบเทียบระยะเวลาก่อสร้างหอบังคับการบิน

Chapter 6 page 71 INFRASTRUCTURE


AIR TRAFFIC CONTROL TOWER SCHEDULE
COMPARISION BETWEEN SA AND IIA
100
90 SA OPEN AIRPORT: 29 SEP. 2005 3 MONTHS AIRPORT OPERATION READINESS
80
70
(NOV. 02 ~ SEP 05) 6 MONTHS
60
EQP. INSTALL. & TEST
50
20 MONTHS
40
30 26 MONTHS DESIGN & CONSTR.
20
6 MONTHS
10
TENDER & AWARD
0
1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005
100
6 MONTHS
90 IIA OPEN AIRPORT: 29 MAR. 2001 AIRPORT OPERATION READINESS
80
70
8 MONTHS
60
50 EQP. INSTALL. & TEST
28 MONTHS
40
30 36 MONTHS
20 CONSTRUCTION
16 MONTHS
10
0
DESIGN & AWARD
1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 ‘2000

Chapter 6 page 72 INFRASTRUCTURE


World's busiest airports by traffic movements (2009)

Chapter 6 page 73 INFRASTRUCTURE


World's busiest airports by passenger traffic (2009)

Chapter 6 page 74 INFRASTRUCTURE


World's busiest airports by international passenger (2006)

Chapter 6 page 75 INFRASTRUCTURE


World's busiest airports by international passenger (2010)

March

Chapter 6 page 76 INFRASTRUCTURE


แผนพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิ (original)

Chapter 6 page 77 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – การพัฒนาระยะที่ 1

Chapter 6 page 78 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – การพัฒนาเต็มศักยภาพ

2nd Phase (2005-2010)

Full Capacity

80~90 MAP in ultimate phase


Chapter 6 page 79 INFRASTRUCTURE
สนามบินสุวรรณภูมิ – เพิ่มทางวิ่งที่ 5

915 ~ 1035 m required for take-off and


landing in same time

100 MAP with 5 R/Ws


Chapter 6 page 80 INFRASTRUCTURE
สนามบินสุวรรณภูมิ – Max. Capacity Review

SA’s max. capacity is not directly influenced by the


number of runways , but by the small number of
gates and check-in counters

Chapter 6 page 81 INFRASTRUCTURE


สนามบินสุวรรณภูมิ – Airport Capacity

76 flights per hour 112 flights per hour


80~90 MAP in ultimate
45~50 MAP in 1st phase phase(100 MAP with 5 R/W)

Chapter 6 page 82 INFRASTRUCTURE


แผนการลงทุนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เฟส 2 (2551)
มติคณะกรรมการบอร์ด ทอท. เมื่อวันที่ 22 ส.ค. 51 สรุปแผนการลงทุน เฟส 2 มีระยะเวลา
ดาเนินการ 6 ปี (2552-2557) โดยมีเป้าหมายเพื่อรองรับผู้โดยสารให้ได้ 60 ล้านคนต่อปี
วงเงินลงทุนรวม 77,885.77 ล้านบาท มีโครงการหลักๆ ประกอบด้วย
1. การชดเชยผลกระทบด้านเสียง จานวน 7,249 ล้านบาท
2. โครงการสร้างทางวิ่งเส้นทางที่ 3 วงเงิน 3,746 ล้านบาท
3. โครงการออกแบบและก่อสร้างอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 วงเงิน 27,000 ล้านบาท
4. โครงการก่อสร้างลานจอดอากาศยานประชิดอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 วงเงิน 4,907 ล้านบาท
5. โครงการออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ด้านทิศใต้ 4,930 ล้านบาท
6. โครงการออกแบบและติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร (APM) 3,042 ล้านบาท
7. โครงการออกแบบและก่อสร้างส่วนขยายอาคารด้านทิศตะวันออก 6,780 ล้านบาท
8. โครงการออกแบบและก่อสร้างอาคารจอดรถยนต์ด้านทิศตะวันออก 625 ล้านบาท
9. โครงการออกแบบและก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค 2,693 ล้านบาท
10. โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาบริหารจัดการโครงการ วงเงิน 810 ล้านบาท
ที่มา: สยามธุรกิจ 27-08-2551
Chapter 6 page 83 INFRASTRUCTURE
มาร์คเบรกขยายสุวรรณภูมิเฟส 2 (2552)
ครม. เศรษฐกิจสั่งคมนาคม-ทอท.ศึกษาแผนพัฒนาท่าอากาศสุวรรณภูมิ-ดอน
เมืองเพิ่มเติม ก่อนพิจารณาลงทุนขยายสุวรรณภูมิ แนะใช้ดอนเมืองช่วยรับ
ปริมาณจราจร ยืดเวลาลงทุนสุวรรณภูมโิ ดยแนวทางการพัฒนาท่าอากาศยาน
ทั้งสองแห่งมี 2 ทางเลือกได้แก่
1. เปิดใช้ท่าอากาศยานดอนเมืองรองรับผู้โดยสาร 10 ล้านคนต่อปีเพื่อชะลอการลงทุนที่
สุวรรณภูมิ
2. เร่งลงทุนขยายสุวรรณภูมิ เพื่อรองรับผู้โดยสารเพิ่มขึ้นจาก 60 เป็น 65 ล้านคนต่อปี
ใน 5 ปีข้างหน้า ส่วนท่าอากาศยานดอนเมืองให้พัฒนาในเชิงพาณิชย์ด้านการบินอื่นๆ

ที่มา: ASTVผู้จัดการรายวัน วันที่ 19 ตุลาคม 2552


Chapter 6 page 84 INFRASTRUCTURE
แผนการลงทุนท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เฟส 2 (2553)
มติคณะกรรมการบอร์ด ทอท. เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 ปรับแผนการลงทุนระยะที่ 2
ตัดงานก่อสร้างกลุ่มอาคารผู้โดยสารภายในประเทศ งานก่อสร้างทางวิ่งเส้นที่ 3 งานชดเชย
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของทางวิ่งเส้นที่ 3 และปรับราคางานจ้างที่ปรึกษาเพื่อควบคุมงาน
ก่อสร้างให้สอดคล้องกับเนื้องาน ที่มีการปรับลด เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ ทสภ. จาก
45 ล้านคนต่อปี เป็น 60 ล้านคนต่อปี วงเงินลงทุน 62,503.214 ล้านบาท มีระยะเวลา
ดาเนินการประมาณ 6 ปี (ปีงบประมาณ 2554-2559) ประกอบด้วย 4 กลุ่มงาน คือ
1. กลุ่มงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1
2. กลุ่มงานอาคารผู้โดยสาร
3. กลุ่มงานระบบสาธารณูปโภค
4. งานจ้างที่ปรึกษาบริหาร จัดการโครงการ

ที่มา: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 25 มีนาคม 2553


Chapter 6 page 85 INFRASTRUCTURE
Air Traffic Control

Chapter 6 page 86 INFRASTRUCTURE


Air Traffic Control

Chapter 6 page 87 INFRASTRUCTURE


การควบคุมการจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control)
วัตถุประสงค์ของการควบคุมจราจรทางอากาศ
1. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานที่บินอยู่ในอากาศ
2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุระหว่างอากาศยานกับสิ่งกีดขวางภาคพื้น
3. เพื่อให้การจราจรทางอากาศเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย

หน้าที่การควบคุมจราจรทางอากาศแยกเป็น 3 ชนิด ตามบริเวณที่ควบคุมคือ


1. การควบคุมจราจรทางอากาศบริเวณท่าอากาศยาน (Aerodrome Control Service)
2. การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดท่าอากาศยาน (Approach Control Service)
3. การควบคุมจราจรทางอากาศตามเส้นทางบิน (Area Control Service)

Chapter 6 page 88 INFRASTRUCTURE


การควบคุมจราจรทางอากาศบริเวณท่าอากาศยาน (ACS)
• ทาการควบคุมจราจรทางอากาศครอบคลุมรัศมี 5 - 10 ไมล์ทะเลโดยรอบท่าอากาศยาน
ที่ความสูงตั้งแต่พื้นดินถึง 2,000 ฟุต โดยเฉลี่ย
• รับผิดชอบในการควบคุมจราจรทางอากาศ ให้กับอากาศยานบนทางวิ่ง ทางขับ ลานจอด
• Aerodrome Control Service เรียกว่า Aerodrome Control Tower (TWR)

Chapter 6 page 89 INFRASTRUCTURE


การควบคุมจราจรทางอากาศเขตประชิดท่าอากาศยาน
• ทาการควบคุมจราจรทางอากาศครอบคลุมรัศมี 30 - 50 ไมล์ทะเลโดยรอบท่าอากาศยาน
ที่ความสูงตั้งแต่พื้นดินถึง 11,000 ฟุต โดยเฉลี่ย
• Approach Control Service เรียกว่า Approach Control Unit (APP)

Chapter 6 page 90 INFRASTRUCTURE


การควบคุมจราจรทางอากาศตามเส้นทางบิน
• Area Control Service เรียกว่า Area Control Center (ACC) or Upper Area Control
Center (UAC)

Chapter 6 page 91 INFRASTRUCTURE


Air Traffic Controller

Chapter 6 page 92 INFRASTRUCTURE


สัญลักษณ์บนจอเรดาห์

http://www.austrocontrol.at/en/content/atm/lotse/taetigkeit/taetigkeit.shtml
Chapter 6 page 93 INFRASTRUCTURE
Airspace

• Terminal Control Area (TMA)


• Control Zone (CTR)
• Airway (AWY)

http://academy.ivao.aero/node/38

Chapter 6 page 94 INFRASTRUCTURE


Airspace

http://academy.ivao.aero/node/38
Chapter 6 page 95 INFRASTRUCTURE
Clearance limit

http://www.austrocontrol.at/en/content/atm/lotse/taetigkeit/taetigkeit.shtml

Chapter 6 page 96 INFRASTRUCTURE


Flight Level

IFR - Instrument flight rules


VFR - Visual flight rules

Chapter 6 page 97 INFRASTRUCTURE


Vertical cross section of airapace

Chapter 6 page 98 INFRASTRUCTURE


บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย (บวท.)
•ก่อตั้งเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2491 โดยบริษัท Aeronautical Radio Inc.
(ARINC) จากสหรัฐอเมริกา บริษัท International Aeradio Ltd. (IAL) จาก
อังกฤษ และสายการบินต่างๆที่ทาการบินมายังประเทศไทย
• เปลี่ยนเป็นรัฐวิสาหกิจเมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506
•ดูแลการเดินอากาศทั่วประเทศเ มื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2541
• ดาเนินการแบบไม่ค้ากาไร ในการให้บริการภาคความปลอดภัย ได้แก่
บริการควบคุมจราจรทางอากาศ และสื่อสารการบินในอาณาเขตประเทศไทย
โดยมีเครือข่ายเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ นอกจากนั้นยังมีบริการภาคธุรกิจ คือ
บริการเกี่ยวเนื่องกับกิจการบินทั้งใน และต่างประเทศ

Chapter 6 page 99 INFRASTRUCTURE


ศูนย์ควบคุมการบินของ บวท.
• ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศทุ่งมหาเมฆ 1,523 คน
• ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศสุวรรณภูมิ 335 คน
• ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศดอนเมือง 189 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ 140 คน
• ศูนย์ควบคุมการบิน หาดใหญ่ 130 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต 131 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินพิษณุโลก 127 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินอุดรธานี 77 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี 80 คน
•ศูนย์ควบคุมการบินนครราชสีมา 42 คน
• ศูนย์ควบคุมการบินอุบลราชธานี 43 คน
• หอบังคับการบินหัวหิน 50 คน
• หอคบังคับการบินตราด
Chapter 6 page 100 INFRASTRUCTURE
ปริมาณจราจรทางอากาศของประเทศไทย

Chapter 6 page 101 INFRASTRUCTURE


ปริมาณจราจรทางอากาศของท่าอากาศยานหลัก

Chapter 6 page 102 INFRASTRUCTURE


รายได้-รายจ่าย ของ บวท.

Chapter 6 page 103 INFRASTRUCTURE


บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (ทอท.)
เชียงใหม่

ดอนเมือง

ภูเก็ต

หาดใหญ่

สุวรรณภูมิ

เชียงราย

Chapter 6 page 104 INFRASTRUCTURE


จานวนเที่ยวบินรวมของ ทอท. ปี 2552

Chapter 6 page 105 INFRASTRUCTURE


จานวนผู้โดยสารรวมของ ทอท. ปี 2552

Chapter 6 page 106 INFRASTRUCTURE


ปริมาณสินค้าและพัสดุไปรษณีย์ภัณฑ์ของ ทอท. ปี 2552

Chapter 6 page 107 INFRASTRUCTURE

You might also like