You are on page 1of 11

การตรวจน้ําไขขอ

(Synovial Fluid Analysis)

อัจฉรา กุลวิสุทธิ*์

การตรวจน้ํ า ไขข อ ถื อ เป น การตรวจทางห อ งปฏิ บั ติ ก ารเบื้ อ งต น ที่ ทํ า ได ง า ย และมี
ความสําคัญอยางยิ่งในการชวยวินิจฉัยแยกโรคและดูแลรักษาผูปวยโรคขอ โดยเฉพาะในรายที่มี
ภาวะขออักเสบเพียงขอเดียว (monoarthritis)

ขอบงชี้ของการเจาะขอ
1. เพื่อการวินิจฉัยโรค
โรคที่สําคัญที่สุด ไดแก โรคขออักเสบติดเชื้อ และโรคขออักเสบที่เกิดจากผลึก เชน โรค
เกาท (gout) และโรคเกาทเทียม (pseudo-gout หรือ calcium pyrophosphate deposition disease
CPPD) เปนตน ผูปวยที่มีอาการขออักเสบที่ยังไมทราบการวินิจฉัยโรคแนชัดทุกราย สมควรไดรับ
1
การเจาะตรวจน้ําไขขอ
2. เพื่อการรักษาและติดตามผลการรักษา
ในโรคขออักเสบติดเชื้อ โดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียที่ไมใชโกโนเรีย การเจาะดูดน้ําไขขอออก
ถือเปนการระบายหนอง ลดปริมาณเชื้อ และสารคัดหลั่งตางๆ โดยเฉพาะเอ็นซัยมจากเม็ดเลือดขาว
ที่มีผลทําลายกระดูกออนและเนื้อกระดูกเฉพาะที่ ทําใหผลการรักษาดีขึ้นกวาการบริหารยาตาน
จุลชีพทางหลอดเลือดดําเพียงอยางเดียว โดยสําหรับขอที่สามารถเจาะดูดน้ําไขขอไดไมยาก เชน ขอ
เขา และ ขอเทา การเจาะดูดน้ําไขขอเปนระยะ มีประสิทธิภาพดีเทียบเทาการผาตัดระบายหนอง
ควรสงตรวจน้ําไขขอเปนระยะ เพื่อดูจํานวนเซลลลเม็ดเลือดขาว และการสงเพาะเชื้อซ้ําหลังการ
รักษา ซึ่งจะชวยในแพทยในการพิจารณาตัดสินวายาตานจุลชีพที่ไดรับอยูไดผลดีหรือไม
นอกจากนี้ในบางรายที่มีขออักเสบที่ไมใชการอักเสบติดเชื้อ ซึ่งมีอาการรุนแรงมากเพียง 1-
2 ขอ การฉีดยาสเตียรอยดเขาขอ อาจมีประโยชนในการควบคุมโรคเฉพาะที่ได
3. เพื่อลดหรือบรรเทาอาการปวด และ ทําใหการเคลื่อนไหวของขอดีขึ้น
ในรายที่มีปริมาณน้ําไขขอมากจนเกิดอาการปวด หรือทําใหการเคลื่อนไหวขอจํากัดอยาง
มาก การเจาะดูดน้ําไขขอชวยลดความดันของสารน้ําในขอและลด แรงกดที่กระทําตอเนื้อกระดูกออน
ทําใหลดอาการปวด และ ทําใหการเคลื่อนไหวของขอดีขึ้นได
*พ.บ. ผู ช ว ยศาสตราจารย สาขาวิ ช าโรคข อ และรู ม าติ ส ซั่ ม ภาควิ ช าอายุ ร ศาสตร คณะ
แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ขอหามและผลขางเคียงของการเจาะขอ
โดยทั่วไป ไมมีขอหาม ยกเวนผูปวยที่มีการติดเชื้อที่ผิวหนังบริเวณที่จะเจาะขอ สําหรับ
รายที่มีเกร็ดเลือดต่ํา หรือการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ สามารถเจาะขอไดตามปกติ แตสมควรเพิ่ม
ความระมัดระวัง และกดหามเลือดที่ตําแหนงเจาะนานกวาปกติ โดยดูแลเชนเดียวกับการเจาะเลือด
ทั่วไป
ผลขางเคียงของการเจาะขอ ไดแก การชักนําเชื้อจากผิวหนังและเนื้อเยื่อเขาขอ ซึ่งพบนอย
กวารอยละ 1 หากทําการเจาะขอที่ตําแหนงที่ถูกตองสําหรับขอนั้นๆ และใชขั้นตอนที่ปราศจากเชื้อ
(aseptic technique)2

การเก็บน้ําไขขอเพื่อสงตรวจ
การสงตรวจที่จําเปนและควรทําทุกครั้งที่มีการตรวจน้ําไขขอ ไดแก การตรวจนับจํานวน
และแยกชนิดเซลลลเม็ดเลือดขาว, การเพาะและยอมเชื้อ และ การตรวจสารผลึก3 สวนการตรวจอื่น
มีความสําคัญในบางราย อาจไมจําเปนตองทําในทุกราย ดังจะไดกลาวตอไป
วิธีการเก็บน้ําไขขอสงตรวจทางหองปฏิบัติการ ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1. การเก็บน้ําไขขอสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
ขวด หรือภาชนะ ปริมาณ สารที่หลอในขวดหรือภาชนะ การสงตรวจ
เก็บสิ่งสงตรวจ (มิลลิลิตร)
1 2-5 - ย อ ม แ ล ะ เ พ า ะ เ ชื้ อ (gram
(อาจใชขวดเพาะเชื้อจากเลือดได) stain, acid fast stain, culture)

2 1-3 Sodium Heparin นั บ จํ า นวนและแยกชนิ ด ของ


เซลลลเม็ดเลือดขาว
3 1 - ตรวจสารผลึกในน้ําไขขอ
(fresh preparation for crystal
examination)

4 1-3 Fluoride ตรวจระดับน้ําตาลในน้ําไขขอ

การตรวจดูสารผลึกในน้ําไขขอ ควรตรวจทันที หรือเร็วสุดเทาที่ทําได เนื่องจากผลึกจะมี


รูปรางเปลี่ยนแปลงไปเมื่อทิ้งไวทั้งในอุณหภูมิหองหรือในตูเย็น ผลึกบางอยางอาจสลายตัวไป หรือ
จับเกาะกันเอง หรือจับกับดานขางของภาชนะ หรือเกิดการตกผลึกของสารอื่น ทําใหตรวจวินิจฉัย
ลําบากมากขึ้น สาร heparin หรือแปงที่ปนเปอนจากถุงมือ อาจมีรูปรางคลายผลึกยูเรต และแค
ลเซี่ยม ทําใหวินิจฉัยผิดพลาดวาเปนขออักเสบจากผลึกได4
ในรายที่มีน้ําไขขอนอยกวา 1 มิลลิลิตร ไมสามารถสงตรวจไดครบถวน ควรนํามาตรวจ
ยอมสีกรัม และการตรวจสารผลึก การพบเซลลลเม็ดเลือดขาวมากกวา 10 ตัวตอ field เมื่อใชหัว
กลองที่มีกําลังขยาย 40 สามารถประเมินไดวาจํานวนเซลลลคราวๆของสารน้ํานั้นนาจะเปนกลุมที่มี
การอักเสบ (inflammatory fluid)1 โดยสามารถประมาณคราวๆไดวาเซลลล 10-15 ตัว เทียบเทากับ
ประมาณ 5,000 เซลลลตอมิลลิลิตร5

การตรวจและแปลผลน้ําไขขอ
1. การดูลักษณะ gross appearance ควรบันทึกทั้งปริมาณ (volume) สี (color) ความขุน
(clarity) และความหนืด (viscosity)
สํา หรั บ ความขุ น ขึ้ น กับ จํา นวนและชนิด ของสารที่ อยูใ นน้ํา ไขข อ ซึ่ งโดยทั่ว ไปมั กเป น
เซลลลเม็ดเลือดขาว และผลึกตางๆ การตรวจและรายงานผลทําไดโดยนําหลอดแกวใสที่บรรจุน้ําไข
ขอมาทาบบนกระดาษขาวที่มีอักษรสีดําพิมพอยู แลวสามารถมองเห็นตัวอักษรขางใตไดชัดเจน ถือ
วาน้ําไขขอนั้นใส (transparent) ถามองเห็นเพียงสีดําโดยไมสามารถอานได เรียกวา ขุนเล็กนอย
(translucent) ถามองไมเห็นเลย เรียกวา ขุน (opaque) การตรวจนี้เรียกวา “newsprint test”
1.1 ใส หรือเปนกลุมที่ไมมีการอักเสบ (clear, non-inflammatory) ลักษณะนี้พบไดใน
น้ําไขขอปกติ หรือโรคที่ไ มมีการอัก เสบหรือมีการอักเสบไมเดนชัด ที่สําคั ญไดแก โรคขอเสื่ อม
(osteoarthritis) โรคขอจากการกระทบกระแทก (traumatic arthritis) โรคขอจากเสนประสาทเสื่อม
(neuropathic หรือ Charcot’s joint) และโรคขอจากโรคทางกายอื่น เชน amyloidosis และ
acromegaly เปนตน
1.2 ขุน หรือเปนกลุมที่มีการอักเสบ (cloudy, inflammatory) แสดงถึงการมีจํานวนเม็ด
เลือดขาวเพิ่มมากขึ้น หรืออาจเกิดจากผลึก หรือสารอื่นที่มีปริมาณมากขึ้นในน้ําไขขอก็ได โรคที่พบ
ลักษณะน้ําไขขอแบบนี้ ไดแก โรคขออักเสบรูมาตอยด (rheumatoid arthritis), โรคเกาท และโรคขอ
อักเสบชนิด spondyloarthropathies (SpA) เชน Reiter’s syndrome และ psoriatic arthritis เปนตน
1.3 ขุนขนเปนหนอง (purulent) มักพบในโรคขออักเสบติดเชื้อตางๆ สวนภาวะอื่นที่อาจ
พบได ไดแก ผลึกยูเรตปริมาณมากที่พบในโรคเกาท และโรคขออักเสบรูมาตอยดที่รุนแรงมากเปน
ตน
ปนเลือดหรือเปนเลือด (hemorrhagic) มักเกิดจากการมีเลือดในขอ (hemathrosis)
เชน โรค hemophilia และโรคขอจากการกระทบกระแทก เปนตน สวนโรคอื่นๆ ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2. โรคหรือภาวะที่มีเลือดออกในขอ (hemorrhagic synovial fluid)

Anticoagulant Rx
Any intense inflammation with congested vessels
Arteriovenous fistula
Calcium pyrophosphate deposition disease ( CPPD )
Charcot’s or neuropathic joint
Hemangioma
Hemophilia or other bleeding disorders
Idiopathic hemarthrosis
Metastatic carcinoma
Myeloproliferative disease
Pigmented villonodular synovitis
Ruptured aneurysm
Scurvy
Thrombocytopenia
Traumatic arthritis with or without fracture
Tumors

1.4 สีคลายน้ํานม ครีม หรือน้ําเหลือง หรือเปนไขมัน (chylous หรือ fatty) โดยน้ําไขขอ


ลักษณะคลายน้ํานมหรือครีม จากการที่มีปริมาณไขมันมากกวา 800 มิลลิกรัมตอ 100 มิลลิลิตร
เชน โรคขออักเสบจากโรคตับออนอักเสบ ทําใหเกิด fat necrosis และโรคขอจากภาวะไขมันสูงใน
เลือด เปนตน
ลักษณะคลายคลึงกับ chylous (chyliform fluid) โดยมีสีเหลืองทอง จากการพบผลึก
cholesterol ในสารน้ํา พบไดในขอ, bursa หรือ tendon sheath ในผูปวยโรคขออักเสบรูมาตอยดที่
เปนมานานๆ
1.5 สีคลายชอลก (chalky) เกิดจากมีปริมาณสารสีขาวซึ่งมักเกิดจากผลึกยูเรตมาก เชน
ที่พบในขอและกอน tophi ในผูปวยโรคเกาท อาจพบไดในโรคขอจากผลึกอื่น เชน apatite และ แค
ลเซี่ยมชนิดอื่น
1.6 มีชิ้นเนื้อเยื่อปน (rice bodies และ อื่นๆ) พบชิ้นสวนของเยื่อหุมขอ (synovium) ที่มี
ไฟบรินเกาะ เห็นเปนสีขาวอมเหลืองเล็กนอย ที่เรียกวา “rice bodies” หรือพบชิ้นสวนของกระดูก
ออนปะปน
สวนการตรวจความหนืด ทําไดโดยวิธี String’s test โดยใชนิ้วหัวแมมือและนิ้วชี้จุมน้ําไข
ขอและยืดนิ้วออกจากกัน น้ําไขขอปกติหรือที่ไมมีการอักเสบ จะยืดจากกันโดยไมขาดไดยาว 1-2 นิ้ว
การตรวจที่สามารถทําไดงายและมีความเสี่ยงนอยกวาในการปนเปอน ทําโดยหยดน้ําไขขอจาก
หลอด syringe สังเกตความยาวของสายน้ําไขขอที่ตอเนื่องไมขาดจากกัน แปลผลเชนเดียวกับการ
ใชนิ้วมือ สวนน้ําไขขอที่มีการอักเสบ จะมีความหนืดลดลงจากเอ็นซัยมตางๆ จึงขาดสายไดงายกวา
และสั้นกวามาก สวนที่มีความหนืดมากกวาปกติ ไดแก น้ําจาก gangion หรือ osteoarthritic
synovial cyst และ โรคตอมไทรอยดทํางานต่ํา (hypothyroidism หรือ myxedema)
การตรวจอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีความจําเพาะต่ํา ไดแก “mucin clot test” ชวยบอกความ
หนาแนนและคุณภาพของสารประกอบของ hyaluronate-protein โดยหยดสารละลายของกรด
acetic 5%ลงในน้ําไขขอ สังเกตการณเกิด clot และ คุณภาพของ clot นั้นวาคงทนหรือแตกสลาย
งา ย ถา เกิด clot เป นกอนไดดี และไมแ ตกตัวเมื่อ เขยา บงชี้วา น้ําไขขอนั้นนาจะเปน non-
inflammatory fluid เชนที่พบในโรคขอเสื่อม ถาเกิด clot จับตัวไมดี หรือ ไมจับตัวเปนกอน หรือ
สลายงายเมื่อเขยา นาจะเปน inflammatory fluid
เนื่องจากการตรวจทั้งความหนืดและ mucin clot test ไมมีความจําเพาะและเกณฑการแปล
ผลที่ชัดเจน ปจจุบันจึงไมนิยมในการสงตรวจ6
2. การนับจํานวนและแยกชนิดของเม็ดเลือดขาว (leukocyte count & differential count)
มีความสําคัญมากทําใหสามารถแบงกลุมของน้ําไขขอไดเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ไมมีการอักเสบ
กลุมที่มีการอักเสบ และกลุมที่เปนหนอง ดังตารางที่ 3 บางแหงแบงกลุมน้ําไขขอ กลุมที่ 4 ซึ่งเปน
กลุมที่มีน้ําไขขอปนเลือด (hemorrhagic) รวมดวย

ตารางที่ 3. การแบงกลุมน้ําไขขอ

Normal Group 1 Group 2 Group 3


Non-inflammatory Inflammatory Purulent
wbc / mm3 <200 200-2,000 2,000-50,000 >50,000
%PMNs <25 <25 >50 >75
Glucose mg/dl
Absolute Normal Normal 70-90 <50
Serum-SF 0 0 10-30 >50
Wbc = white blood cell count ;PMN = polymorphonuclear cell; SF = synovial fluid

ในบางภาวะ การเปลี่ยนแปลงของจํานวนเซลลลและชนิดของเม็ดเลือดขาวอาจไมเปนไปใน
แนวเดียวกัน จึงจําเปนตองแปลผลอยางระมัดระวัง เชน ในโรคที่มีเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ํา การพบ
เซลลลในน้ําไขขอเพียง 150 เซลลล แตมี PMN รอยละ 80 ชวยบงชี้วานาจะมีการอักเสบในขอ เปน
ตน โรคที่พบลักษณะน้ําไขขอในแตละกลุม ดังตารางที่ 4
การตรวจนับเซลลล ใชวิธีการเชนเดียวกับการตรวจนับจํานวนเซลลลเม็ดเลือดขาวในเลือด
แตใช normal saline (NSS) เปนตัวทําเจือจาง (dilution)โดยความเขมขนที่แนะนํา คือ 0.3% NSS
ควร smear น้ําไขขอทันทีหลังเจาะ และปลอยใหแหง เพื่อชวยรักษารูปรางของเซลลลได
ดีกวาการทิ้งน้ําไขขอไวที่อุณหภูมิหองระยะหนึ่งกอนทําการ smear แลวนํามายอมสี Wright หรือ
Giemsa stain หรือ Supravital stain เพื่อแยกชนิดของเซลลล เซลลลเม็ดเลือดขาวแตละชนิดชวย
สนับสนุนการวินิจฉัยโรคที่แตกตางกัน ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 4. โรคที่เปนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงน้ําไขขอในแตละกลุม

Group 1 Group 2 Group 3


Non-inflammatory Inflammatory Purulent
Osteoarthritis RA Septic arthritis
Traumatic arthritis SpA
Avascular necrosis Crystal-induced arthritis
Subsiding crystal-induced arthritis Septic arthritis
Charcot’s/neuropathic joint Rheumatic fever
SLE Reactive arthritis
Hypothyroidism CNT diseases
Amyloidosis

ตารางที่ 5. โรคและการแยกชนิดของเซลลลเม็ดเลือดขาว
Neutrophil Lymphocyte Eosinophil ( > 2% ) Monocyte
- Septic arthritis, bacterial - Early RA - TB arthritis - Viral arthritis
- Acute crystal-induced - Viral arthritis - Parasitic arthritis - Chronic crystal-
arthritis - TB arthritis - Hypereosinophilic syndrome induced arthritis
- RA - SLE - Post-radiation arthritis - OA
- SpA - Hemathrosis - RA with peripheral blood - Serum sickness
- Endocarditis eosinophilia
- Synovial metastasis

นอกจากเซลลลเม็ดเลือดขาวแลว อาจพบเซลลลอื่นๆ เชน


- Synovial lining cell ซึ่งมี 2 ชนิด ไดแก type A cell ที่มีขนาด 20-38 ไมครอน รูปราง
กลมหรือยาวรี นิวเคลียสอยูขางใดขางหนึ่งของเซลลล มีสาร chromatin ลักษณะเหมือนเปนหยอม
เหมือนเชือกอยูที่ nuclear membrane เห็น nucleolus ไมชัดเจน มักมี vacuole หรือ สารที่กินเขา
ไปอยูใน cytoplasm สวน type B มีรูปรางเชนเดียวกับ type A แตใหญกวา โดยมีขนาด 28-41
ไมครอน นิวเคลียสเหมือนกัน แต chromatin มีลักษณะ homogeneous และ มีสวนnucleolus เห็น
ไดชัด สวน cytoplasm มี content ภายในนอยกวา
- LE cell ซึ่งเปน PMN ซึ่งกินนิวเคลียสของเซลลลเขาไปใน cytoplasm เห็นเปนสารสี
homogeneous สีออกมวงแดง (hematoxylin bodies) พบไดในโรค SLE
- Reiter’s cell (leukophagocytosis) ซึ่งเปน mononuclear cell หรือ phagocyte ขนาด
ใหญที่กินเซลลลเม็ดเลือดขาว เชน PMN และ lymphocyte ที่ตายแลว (pyknotic cell) เขาไปใน
cytoplasm พบไดไมจําเพาะ ในโรค Reiter’s syndrome, septic arthritis และ crystal-induced
arthritis
- เซลลลอื่นๆ ที่พบนอย ไดแก เซลลลมะเร็ง (malignant cell) และ เซลลลกระดูกออน
ความไวของการพบเซลลลเหลานี้จะสูงขึ้นมาก หากนําน้ําไขขอมาปน 1,500 รอบตอนาที
เปนเวลา 10 นาที แลวนําสวนตะกอน (cytospin preparation) มาตรวจยอม7
3. การตรวจสารผลึก (crystal analysis) ควรตรวจทันที โดยภาชนะที่บรรจุ ไมควรมีสาร
กันเลือดแข็งตัว โดยเฉพาะ heparin อยู เนื่องจากมีรูปรางเปนผลึกเชนเดียวกัน ทําใหแปลผลยาก
ลักษณะของผลึกตางๆ ที่พบบอย ดังตารางที่ 6

ตารางที่ 6. ลักษณะของผลึกตางๆ ที่พบบอย

ผลึก ขนาด รูปราง คุณสมบัติการเบี่ยงเบน โรค/ภาวะ


( µm ) แสง (birefringence)
Monosodium urate 2-20 Needle, rod Negative, strong Gout
(MSU)

CPPD 2-10 Rhomboid, rod Positive, weak Pseudogout

Calcium apatite 5-20 Round, irregular clumps None Peri-arthritis,


calcification

Calcium oxalate 2-10 Bipyramidal, polymorphic Positive, intense or weak Oxalosis

Cholesterol 10-80 Rectangular, Negative or positive Chronic


square with missing corner rheumatoid
effusion

Corticosteroid 4-15 Rod, rhomboid, Positive or negative, Steroid injection


Irregular clumps intense

Lipid liquid 2-8 Maltese cross Positive, intense Arthritis, bursitis


3.1 การตรวจโดยใชกลองจุลทรรศนธรรมดา (light microscopy) สามารถวินิจฉัยผลึก
ขนาดใหญที่พบบอย ไดแก เกาท ซึ่งมีลักษณะเปนรูปเข็ม (รูปที่ 1) และ เกาทเทียม ซึ่งมีรูปรางเปน
สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนหรือรูปแทงที่สวนปลายปาน (รูปที่ 2) ไดดี

รูปที่ 1. ผลึกเกาท รูปที่ 2. ผลึกเกาทเทียม

3.2 การตรวจโดยใชกลองจุลทรรศนชนิดโพลาไรซ (polarized light microscopy และ


compensated polarized light microscopy) อาศัยหลักการวา ผลึกของสารตางๆ มีคุณสมบัติ
เฉพาะตัวในการเบี่ยงเบนแสง ทําใหเกิดความเร็วที่แตกตางกันของแสงในแตละแนว แสงโดยทั่วไปมี
หลายระนาบ เมื่อใช polarizer กรองแสงใหผานมาในระนาบเดียว และแสงระนาบนี้กระทบ analyzer
ซึ่งวางตัวในแนวตั้งฉากกับ polarizer จึงไมมีแสงสวนใดสามารถผานได จึงมองเห็น เพียงพื้นดํามืด
เมื่อมีผลึกที่มีคุณสมบัติเบี่ยงเบนแสงไดเปนสองแนว (birefringence) วางอยูระหวาง
polarizer และ analyzer แสงที่ผานจาก polarizer มากระทบผลึก เกิดการเบี่ยงเบนแนวแสง ทําให
แสงบางสวนสามารถผานระนาบของ analyzer จึงมองเห็นผลึกนั้นเรืองแสงวาวบนพื้นมืดเดิม เมื่อใช
red compensator วางตัวอยูในแนวเฉียง 45 องศาตอแนววางตัวของ polarizer และ analyzer โดย
อยูใตตอเลนสตา และ เหนือตอผลึกในน้ําไขขอ compensator นี้ทําหนาที่เปลี่ยนแปลงความเร็วของ
แสงเปน slow และ fast component ในขณะเดียวกัน ยังลดความเร็วของแสงที่ผาน polarizer ลง ทํา
ใหพื้นที่เคยเปนสีดําเปลี่ยนเปนสีแดง นอกจากนี้ compensator จะชวยแยกแยะชนิดของผลึกได
โดยเมื่อมีการปรับใหผลึกวางตัวในแนวขนานกับแนว slow component ของ compensator ผลึกที่
เปลี่ยนเปนสีฟาเมื่อวางตัวในแนวยาวขนานกับ slow component ของ compensator เรียกวา
“positively birefringent” ไดแกผลึก CPPD สวนผลึกยูเรต ที่พบในโรคเกาท จะเปลี่ยนเปนสีเหลือง
เรียกวา “negatively birefringent” หากหมุนเปลี่ยนไปอยูแนวตั้งฉากกับ slow component ของ
compensator ผลึก CPPD จะเปลี่ยนเปนสีเหลือง สวนยูเรต เปลี่ยนเปนสีฟา (รูปที่ 3)8,9,10
Eye piece

Analyzer
Analyzer

Compensator
Crystal
Objective lens
Rotating stage Polarizer

Polarizer
Light source

รูปที่ 3. Compensated polarized light microscopy

3.3 การตรวจผลึกโดยการตรวจพิเศษอื่น ที่สําคัญไดแก การยอมดวยสี Alizarin Red S


2% หยอดสีนี้ 1 หยดลงในน้ําไขขอหรือตะกอนที่ไดจากการปน ผสมใหเขากันดี ปดดวย แผนแกว
แลวดูปริมาณเม็ดสีแดงที่เกิดขึ้นจากการติดสีของผลึกที่มีแคลเซียมและฟอสเฟตเปนสวนประกอบ
ทุกชนิด โดยเฉพาะ calcium hydroxy apatite11 สวนวิธีการอื่นมีที่ใชนอยทางคลินิก

Yellow AXIS Blue

blue yellow

MONOSODIUM URATE CALCIUM PYROPHOSPHATE

4. การยอมเชื้อและเพาะเชื้อ สําคัญอยางยิ่งโดยเฉพาะรายที่สงสัยโรคขออักเสบติดเชื้อ ควร


ตรวจยอมและเพาะเชื้อกอนบริหารยาตานจุลชีพทุกครั้ง เนื่องจากความไวในการพบเชื้อกอนการ
บริหารยาสูงถึงรอยละ 75-95 ในโรคขออักเสบติดเชื้อที่ไมใชเชื้อหนองใน ความไวนี้จะต่ําลงอยาง
มากถาผูปวยไดรับยาตานจุลชีพมากอน สําหรับผูปวยที่สงสัยการติดเชื้อหนองใน และไมเคยไดรับ
ยาตานจุลชีพมากอน แมความไวของการพบเชื้อในน้ําไขขอจะมีเพียงรอยละ 10-50 แตการสงตรวจ
นี้มีความจําเพาะอยางมาก จึงยังมีความจําเปนและชวยวินิจฉัยโรคไดอยางรวดเร็ว ในกรณีที่ไมพบ
ตําแหนงติดเชื้อที่ระบบ genitourinary tract2 เชื้อบางชนิดอาจตายงายเมื่อทิ้งไวในอุณหภูมิหอง
ดังนั้นการเพาะเชื้อลงในขวดที่ใชสําหรับเพาะเชื้อในเลือด อาจชวยใหโอกาสเจริญเติบโตของเชื้อมี
มากขึ้น บางรายอาจจําเปนตองใช transport media ชนิดพิเศษ เชน เชื้อหนองใน และเชื้อ
chlamydia เปนตน
5. การตรวจระดับน้ําตาลในน้ําไขขอ มีประโยชนบางในโรคขออักเสบติดเชื้อ โดยมักมีคา
ต่ํา โดยเฉพาะต่ํากวา 20 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ควรตรวจระดับน้ําตาลในเลือดพรอมกันไปดวย โดย
ไมควรหางกันเกิน 8 ชั่วโมง ระดับที่ต่ํามากในน้ําไขขอบงถึงการมีภาวะเมตาบอลิสซึ่มของเซลลลสูง
ในภาวะ non-inflammation ระดับในไขขอมักมีคาต่ํากวาในเลือดไมเกิน 10 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร
หรือ ประมาณรอยละ 10 ของในเลือด สวนในน้ําไขขอกลุมที่มี inflammation คามักตางกันมากกวา
50 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ความแตกตางจะมากขึ้นตามความรุนแรงของการอักเสบ ในรายที่มีขอ
อักเสบรุนแรงที่ไมมีการติดเชื้อ คาในน้ําไขขออาจต่ํามากได12 ดังนั้นระดับน้ําตาลในน้ําไขขอจึงไมมี
ความจําเพาะเพื่อชวยวินิจฉัยโรค ในบางสถาบัน ไมถือเปนการสงตรวจที่จําเปนในทุกราย ยกเวน
รายที่สงสัยขออักเสบติดเชื้อ13 เมื่อตองการสงตรวจระดับน้ําตาลในน้ําไขขอ ควรใชภาชนะเก็บที่มี
สาร fluoride ผสมอยู เพื่อลดการใชน้ําตาลในกระบวนการเมตาบอลิสซึ่มของเซลลล โดยเฉพาะกรณี
ที่น้ําไขขอนั้นมีจํานวนเซลลลเม็ดเลือดขาวมาก
สําหรับการตรวจระดับสารโปรตีน (total protein) ในน้ําไขขอ มีประโยชนนอย ปกติจะมี
ระดับต่ํากวาในเลือด 2กรัมตอเดซิลิตร โดยมักเปนไขขาว (albumin) โดยไมมีสารโมเลกุลขนาดใหญ
เชน fibrinogen จึงไมเกิดการแข็งตัวเปนกอน (clot) ดังที่พบในน้ําไขขอที่มีการอักเสบ เมื่อมีการ
อักเสบขึ้น ไมวาจะเกิดจากการติดเชื้อหรือไม สารโปรตีนขนาดใหญจะซึมเขาสูในขอมากเพิ่มขึ้นจน
เทียบเทากับในเลือด14
โดยสรุป การตรวจน้ําไขขอ เปนขอมูลที่สําคัญอยางยิ่งในการชวยวินิจฉัยโรค โดยเฉพาะ
โรคขออักเสบติดเชื้อ และโรคขออักเสบจากผลึก การตรวจที่สําคัญ ไดแก การนับและแยกชนิดของ
เซลลลเม็ดเลือดขาว การตรวจผลึก และการเพาะและยอมเชื้อ ในกรณีที่มีปริมาณน้ําไขขอนอยและ
ไมพอเพียงในการสงตรวจทุกชนิดโดยละเอียด การเพาะเชื้อและการตรวจผลึก จัดเปนที่สิ่งจําเปนที่
สมควรทําเปนอันดับแรก กระบวนการเก็บตัวอยางน้ําไขขอและขั้นตอนการตรวจที่ดี จะนํามาซึ่งการ
แปลผลที่ถูกตองและแมนยํา ทําใหสามารถใหการรักษาไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

เอกสารอางอิง
1. Dougados M. Synovial fluid analysis. Bailliere’s Clin Rheumatol 1996;10:519-34
2. Shmerling RH. Synovial fluid analysis. Rheum Dis Clin North Am 1994;20:503-12
3. Ward PCJ. Interpretation of synovial fluid data. Postgraduate Med 1980;68:175-84
4. Schumacher HR Jr, Reginato AJ. Synovial fluid analysis. In:Schumacher HR Jr, Reginato AJ, eds.
Atlas of synovial fluid analysis and crystal indentification. Philadelphia, Lea & Febiger 1991;1-5
5. Schumacher HR Jr, Clayburne G. Leukocyte count. In:Schumacher HR Jr, Reginato AJ, eds. Atlas of
synovial fluid analysis and crystal indentification. Philadelphia, Lea & Febiger 1991;27-9
6. อัจฉรา กุลวิสุทธิ์. การตรวจน้ําไขขอ. ใน:สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ, สุรวุฒิ ปรีชานนท, บรรณาธิการ.
กรุงเทพมหานคร, เรือนแกวการพิมพ. คูมือโรคขอ 2541:32-7
7. Schumacher HR Jr, Reginato AJ. Stained preparation. In:Schumacher HR Jr, Reginato AJ, eds. Atlas
of synovial fluid analysis and crystal indentification. Philadelphia, Lea & Febiger 1991;57-87
8. Schumacher HR Jr. Synovial fluid analysis and synovial biopsy. In:Ruddy S, Harris ED, Sledge CB,
eds. Kelly’s Textbook of Rheumatology, 6th ed. Philadelphia, WB.Saunders 2001;605-20
9. Gatter RA. The compensated polarized light microscope in clinical rheumatology. Arthritis Rheum
1974;17:253-55
10. Gatter RA, Schumacher HR Jr. Clinical application of the compensated polarized light and phase light
microscope. In:Gatter RA, Schumacher HR Jr, eds. A practical handbook of joint fluid analysis, 2nd ed.
Philadelphia, Lea & Febiger 1991;39-44
11. Gatter RA, Schumacher HR Jr. Special stains for cellular and crystalline material. In:Gatter RA,
Schumacher HR Jr, eds. A practical handbook of joint fluid analysis, 2nd ed. Philadelphia, Lea &
Febiger 1991;70-7
12. Baker DG. Chemistry, serology and immunology. In:Gatter RA, Schumacher HR Jr, eds. A practical
handbook of joint fluid analysis, 2nd ed. Philadelphia, Lea & Febiger 1991;70-7
13. Shmerling RH, Delbanco TL. Synovial fluid tests. JAMA 1990;264:1009-14
14. Yehia SR, Duncan H. Synovial fluid analysis. Clin Ortho Related Research 1975;107:11-24

ขอเชิญสมาชิก ครอบครัว และผูสนใจทุกทาน รวมงาน


☺ งานวันโรคขอสากล ป พ.ศ. 2546 โดยความรวมมือของ 8 องคกรรวมทศวรรษโรคกระดูกและ
ขอแหงประเทศไทย (ค.ศ. 2000-2010) ในวันอาทิตย ที่ 5 ตุลาคม 2546 เวลา 07.30-15.30 น.
ณ หองประชุมใหญ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 12 โรงพยาบาลราชวิถี
โดย รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข เปนประธาน
ติดตอสอบถามรายละเอียดที่ มูลนิธิโรคขอ ในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี โทรศัพท 02-665-4621 โทรสาร 02-656-8449
☺ การเดินรณรงควันโรคขอสากล โดย 8 องคกรรวมทศวรรษโรคกระดูกและขอแหงประเทศไทย
(ค.ศ. 2000-2010) ในวันเสาร ที่ 11 ตุลาคม 2546 เวลา 07.00 น. ณ สวนลุมพินี กรุงเทพ
มหานคร
โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปนประธาน
ติดตอสอบถามรายละเอียดที่ ราชวิทยาลัยแพทยออรโธปดิกสแหงประเทศไทย โทรศัพทและ
โทรสาร 02-716-5436-7
☺ กิจกรรมการ “เดิน-วิ่ง พิชิตโรคขอ” ชื่อ “ทศวรรษโรคกระดูกและขอ เดิน-วิ่งมินิมาราธอน ครั้งที่
2” โดย มูลนิธิทศวรรษโรคกระดูกและขอ (ประเทศไทย) ในวันอาทิตย ที่ 12 ตุลาคม 2546
เวลา 06.00-12.00 น. ณ บริเวณสวนอัมพร พรอมการบรรยายพิเศษเรื่อง “โรคกระดูกและขอ”
โดย ฯพณฯ พลเอกพิจิตร กุลละวณิชย องคมนตรี เปนประธาน
ติดตอสอบถามรายละเอียดที่ มูลนิธิทศวรรษโรคกระดูกและขอ (ประเทศไทย) โทรศัพทและ
โทรสาร 02-229-3111

You might also like