You are on page 1of 21

ผิวทางสโตนมาสติกแอสฟัลต์(SMA)

และ พอรัสแอสฟัลต์ (PA)

ส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ สานักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวง


Stone Mastic Asphalt คือ ?

คือ ผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตแบบผสมร้อน
ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Stone
และ Mastic

บางทีเรียก Stone Matrix Asphalt


Stone Mastic Asphalt
Stone
คือ หินก้อนโตหรือมวลหยาบ เป็น
โครงสร้าง แบบ Stone on Stone
Contact ที่ทาหน้าที่รับนาหนัก
ป้องกันการเกิดร่องล้อ (Rutting
Resistance) และป้องกันการลื่นไถล
(Skid Resistance)
Stone Mastic Asphalt
Mastic
คือ มวลละเอียด วัสดุผสมแทรก และ/หรือ
ไฟเบอร์ ผสมกับแอสฟัลต์ซีเมนต์
ทาหน้าที่
ป้องกันการไหลแยกตัว (Drain down) ของ
ยาง ในขณะผสม ขนส่ง ปูและบดทับ
และยึดหินก้อนโตให้อยู่กบั ที่ เพื่อรับแรงหรือนาหนักบรรทุกในช่วงอายุ
การใช้งาน พร้อมทังเพิ่มความคงทนแก่ส่วนผสม
Benefits of Stone Mastic Asphalt

ลักษณะ Benefits
เป็นโครงสร้างของมวลหยาบเป็นแบบ Stone on Stone
Rut resistance
Contact ถ่ายแรงจากหินใหญ่สู่หินใหญ่โดยตรง
มวลหยาบ ผิวหน้าด้านบนหยาบ Skid resistance

Mastic ที่มียางมาก ป้องกันการถูกทาลายจากสภาพแวดล้อม


Durability
Mastic มีความยืดหยุ่นลดการแตกร้าว
Reduce hydroplaning
ผิวหน้าด้านบนหยาบ มีความพรุน ลดการขังของนา และช่วย
Reduce spray
ดูดซับเสียง
Reduce noise
Stone Mastic Asphalt

Gap Gradation

SMA มีขนาดคละเป็นแบบ Gap Gradation


Porous Asphalt, PA
พอรัสแอสฟัลต์
8

คือ วัสดุผสมที่ได้จากการผสมร้อนระหว่าง มวลรวม กับ


โพลิเมอร์มอดิฟายด์แอสฟัลต์ซีเมนต์ มีลักษณะผิวหน้า
หยาบ มีความพรุนสูง น้าซึมผ่านได้ดี

ส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ สานักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวง


History of Porous Asphalt Pavements

•มีการคิดค้นและพัฒนา Porous asphalt ขึนในปี 1930 -1940


โดย State DOTs ของรัฐแคลิฟอร์เนีย

•ช่วงหลังปี 1970 ได้นามาใช้ลดปริมาณนาที่ขังบนผิวทาง

•ในปี 1979 มีการนา Geotextiles มาปูก่อนก่อนที่จะลงผิวทาง


Porous Asphalt
Brandon Milar
California Asphalt Pavement Association
พอรัสแอสฟัลต์ ทล.-ม.414/2542
10

มวลรวม วัสดุมวลหยาบ และมวลละเอียดที่มี


คุณสมบัติตามข้อก้าหนด

อื่นๆ Mineral Filler

ส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์
คุณสมบัติของพอรัสแอสฟัลต์

• มีความพรุนสูง น้้าสามารถซึมผ่านได้ดี ช่วยลดปัญหาน้้าขัง


(Hydroplaning) ลดการสาดกระเด็น และละอองน้้าในระหว่าง
ขับขี่ (Reduce Water Splash & Spray) ท้าให้ขับขี่ปลอดภัย
• ลดการสะท้อนของแสงไฟ ท้าให้ทัศนวิสัยในการขับขี่ดีขึ้น
คุณสมบัติของพอรัสแอสฟัลต์

• ลดระดับเสียงขณะรถวิ่งผ่าน (Noise Reduction)


คุณสมบัติของพอรัสแอสฟัลต์

• ผิวหน้ามีความหยาบมาก ช่วยเพิ่ม
ค่าความฝืดของผิวทางให้สูงขึน

(High Skid Resistance)
การดูแลรักษาพอรัสแอสฟัลต์

เนื่องจากผิวทางพอรัสแอสฟัลต์มีความพรุนสูง และมีวัตถุประสงค์
เพื่อการระบายน้้าไม่ให้ขังบนผิวจราจร แต่มักจะมีฝุ่นละออง เศษดิน
อุดรูพรุนอยู่เสมอ ซึ่งจะท้าให้ประสิทธิภาพในการระบายน้้าลดลง
อย่างมาก จึงต้องมีการท้าความสะอาดเป็นระยะๆตามความ
เหมาะสม
การดูแลรักษาพอรัสแอสฟัลต์
การเปรียบเทียบผิวทาง
Dense Graded HMA, SMA, PA
ขนาดคละผิวทาง Dense Graded HMA, SMA, PA
Wearing Porous
17 ผิวทาง SMA
Course Asphalt

ขนาดที่ใช้เรียก 12.5 mm
19.0 ¾” 100 100 100
12.5 ½” 80-100 80-100 70-100
9.5 3/8” - 26-78 50-80
4.75 #4 44-74 20-42 15-30
2.36 #8 28-58 15-28 10-22
1.18 #16 - - -
0.600 #30 - - 6-13
0.300 #50 5-21 - -
0.150 #100 - 9-14 -
0.075 #200 2-10 8-10 3-6
% AC by Mass of Agg. 3.0-7.0 3.0-7.0 4.0-6.0
ส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ สานักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวง
18

Dense Graded Mix Gap Graded Mix Open Graded Mix

AC SMA PA
MAC
AV. AV.
AV. >20 %
3- 5% 3 - 4%

ยาง ยาง ยาง


ส่วนออกแบบและตรวจสอบผิวทางแอสฟัลต์ สานักวิเคราะห์และตรวจสอบ กรมทางหลวง
Dense Graded Mix Gap Graded Mix Open Graded Mix

Dense Graded Asphalt Stone Mastic Asphalt Porous Asphalt


Open Gradation

Gap Gradation

Uniform
Gradation

Dense Gradation
แผนภูมเิ ปรียบเทียบค่ า Load Repetitions (เป็ นจานวนเท่าของ AC)
ในแต่ ละระดั บ หน่วยแรงทดสอบของผิวทางทีศ ่ ึ กษา มวลรวมเป็น Slag
Agg.
0
.5

35.0
Porous
32

30.0 SMA
Load Repetition (จานวนเท่าของAC)

25.0
PMA PA, SMA, PMA
7

ใช้ยาง Polymer
.5
21

Warm Mix
20.0
16.70 AC 60-70 Modified AC
1
.3
14

15.0 13.27
10.54
50
9.
8.38
10.0
WMA

30
6.65

6.
5.0 ใช้ยาง AC 60-70
08

00

92

85

78
2.

2.

1.

1.

1.
1.23 1.00 0.62 1.00
0.31
1.00
0.16
1.00
0.08
1.00
+ Sasobit
0.0
100 200 300 400 500
Horizontal Stress (kPa)

You might also like