You are on page 1of 38

การออกแบบกําแพงกันดิน

เหล็กเสริมแบกทาน

ศาสตราจารยสุขสันติ์ หอพิบลู สุข, Ph.D., P.E.


ศูนยวิจัยความเปนเลิศดานวิศวกรรมโยธา
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
School of Civil Engineering, Suranaree University of Technology
กําแพงกันดินเหล็กเสริมแบกทาน?
การพัฒนาเหล็กเสริมแบกทาน
• สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
• สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)
• มูลนิธโิ ทเรเพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทย
• บริษัท จีโอฟอรม จํากัด
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ขอดีของเหล็กเสริมแบกทาน
• ติดตั้งเขากับ Facing ไดงาย
• ขนยายเขาพื้นที่กอสรางและ Galvanization ไดงาย
• ความตานทานการฉีกขาดและ stiffness สูง
• ความตานทานแรงฉุดสูง ดวยปริมาณเหล็กนอย
• ตนทุนการผลิตต่ํา และไมยุงยาก
การตอเหล็กเสริมแบกทานเขากับ Facing
การตอเหล็กเสริมแบกทานเขากับ Facing
ทางเลี่ยงเมืองสระบุรี
อุตรดิตถ – เดนชัย ตอนที่ 1
สะพานทางหลวง 418 ปตตานี - ยะลา
หัวขอบรรยาย
• เสถียรภาพของ Element ระหวางดินและเหล็กเสริม
• เสถียรภาพของกําแพงกันดิน (Rigid body)
• หลักการออกแบบ
– Limit Analysis
– Finite Element Analysis
เสถียรภาพของ Element ระหวางดิน
และเหล็กเสริม
การเคลื่อนตัวของกําแพงกันดิน
ปฏิกริ ิยารวมระหวางดินและวัสดุเสริมแรงดึง
เสถียรภาพของมวลดินเสริมแรงดึง (Element)
เสถียรภาพของกําแพงกันดิน
(Rigid body)
กําแพงกันดินเสริมกําลัง (Rigid body)
เสถียรภาพของกําแพงกันดิน (Rigid body)
หลักการออกแบบกําแพงกันดิน
เหล็กเสริมแบกทาน
สรุปหลักการออกแบบ
• เสถียรภาพภาพใน (Element)
– การฉุกขาดของเหล็กเสริม
– การฉุดออกของเหล็กเสริม
• เสถียรภาพภายนอก (Rigid body)
– การลื่นไถล
– การพลิกคว่ํา
– แรงแบกทานใตกําแพงกันดิน
– Slope failure
การตรวจสอบเสถียรภาพภายใน
การตรวจสอบเสถียรภาพภายใน
• อัตราสวนปลอดภัยตานการฉีกขาด
– อัตราสวนระหวางกําลังครากของเหล็กตอแรงดึงสูงสุด
Fy A
FS rup = > 2.0
Pmax
• อัตราสวนปลอดภัยตานการฉุดออก
– อัตราสวนระหวางกําลังตานทานแรงฉุดระหวางดินและเหล็กเสริมตอ
แรงดึงสูงสุด
Ppullout
FS pull = > 1.5
Pmax
ตัวแปรทีต่ องการทราบคา
แรงกระทํา
• แรงดึงสูงสุดในที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริม, Pmax

แรงตานทาน (ขึน้ อยูก ับคุณสมบัติของวัสดุ)


• กําลังครากของเหล็กเสริม
• กําลังตานทานแรงฉุด, Ppullout
• ระนาบวิบตั ิ
Pullout test (Element test)
Universal joint
Reinforcment specimen for pullout test
Load cell & Hollow hydraulic Pressure cell
cylinder

LVDT

600

800
Air pressure inlet/outlet
800 2600
3400
PLAN
Air pressure inlet/
Speed control outlet
device
Air bag

LVDT
Air pressure 200
Compacted soil 100 500

200

Load cell & Hollow hydraulic Pressure cell


cylinder Reinforcment specimen for pullout test
800 2600
3400

SECTION
Full-scale test เทียบกับ AASHTO

Horpibulsuk, S., Suksiripattanapong, C., Niramitkornburee, A., Chinkulkijniwat, A., and Tangsuttinon, T.
(2011), “Performance of earth wall stabilized with bearing reinforcements”, Geotextiles and
Geomembranes, Vol.29, pp.514-524.
AASHTO’s Recommendation

0.80K0 K0
0

Ka = tan2(45-φ/2)
1

Wall depth (m)


2

Strain gauge at maximum


4 tension
Strain gauge at 23 cm
5 from facing
Earth pressure cell

6
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5
Coefficient of lateral earth perssure, K

Pmax = Kσ v Sv Sh
AASHTO (2002)’s Recommendation
0.3H= 1.80 m.
10
6
5

10

5
5
0

10

0
4
10

Wall height (m)


0

Force (kN)
10
3
5
0

10

5
2
0

10

0
1 14 days after the
10
end of construction

5 10 days after applying


surcharge load
0

0
0 1 2 3 4
Distance from facing (m)
กําลังตานทานแรงฉุดเสียดทาน

Pf = ( ca + σ v tan δ ) As
กําลังตานทานแรงฉุดแบกทาน
C
σn = γ z

σ h = kσ n

φ′
θ = 45° +
σb Soil
B 2

D 2
Steel angle

Pb1 / bl = cN c + σ v N q
⎛π φ ⎞ 1 ⎛π φ ⎞
Nq =
1
exp [π tan φ ] tan ⎜ + ⎟ Nc = exp [π tan φ ] tan ⎜ + ⎟ − cot φ
cos φ ⎝ 4 2⎠ sin φ ⎝ 4 2⎠
ความตานทานแรงฉุดของเหล็กเสริมแบกทาน
Ppullout = Pf + Pbn
Pf = σ v tan δπ DL
Pbn = nFN qσ v bl
⎛S⎞ ⎡ 1⎤
F = a + b ln ⎜ ⎟ b = 0.527 ⎢1 − ⎥ a = 1 − 3.219b
⎝B⎠ ⎣ n⎦
Horpibulsuk, S., and Niramitkornburee, A. (2010), “Pullout resistance of bearing reinforcement
embedded in sand”, Soils and Foundations, Vol.50, No.2, pp.215-226.
Suksiripattanapong, C., Horpibulsuk, S., Chinkulkijniwat, A., and Chai, J.C. (2012), “Pullout
resistance of bearing reinforcement embedded in coarse-grained soils”, Geotextiles and
Geomembranes.
การตรวจสอบเสถียรภาพภายนอก
การพิจารณาน้ําหนักบรรทุกจร
• Case I: น้ําหนักบรรทุกจร
กระทําทั้งเฉพาะ
Unreinforced zone
• Case II: น้ําหนักบรรทุกจร
กระทําทั้งสองสวน
(Reinforced zone และ
Reinforced zone)
เสถียรภาพตานการลื่นไถล (Case I)

S
FS s = > 1.5
Ph
S = W tan φ

1
Ph = γ H 2 K a + qHK a
2
เสถียรภาพตานการพลิกคว่ํา (Case I)

Mr
FSO = > 2.0
Mo
B
Mr =W ×
2

⎛ H ⎞ ⎛ H⎞
M o = ⎜ F1 × ⎟ + ⎜ F2 × ⎟
⎝ 3 ⎠ ⎝ 2⎠
เสถียรภาพตานแรงแบกทาน (Case II)
qult
FS B = > 2.5
qav
1
qult = γ ( B − 2e ) Nγ
2
W + qB
qav =
( B − 2e )

B ⎛ Mr − Mo ⎞ B
e = −⎜ ⎟⎟ <
2 ⎜⎝ ∑ V ⎠ 6

⎛ B⎞ ⎛ B2 ⎞
M r = ⎜W × ⎟ + ⎜ q × ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠
ขั้นตอนการออกแบบ
• กําหนดใหระยะหางระหวางเหล็กเสริมทั้งในแนวนอนและแนวดิง่
ไมเกิน 75 เซนติเมตร
• จัดวางเหล็กเสริมใหมีความยาวไมนอยกวา 0.7 เทาของความสูง
กําแพงกันดิน
• ตรวจสอบใหทุกเหล็กเสริมทุกเสนมีเสถียรภาพเพียงพอ
– FSrup ไมพอใหเพิม่ หนาตัดเหล็กเสริมหรือลดระยะหางในแนวนอน
– FSpull ไมพอใหเพิม่ ความยาวเหล็กเสริมหรือเพิ่มจํานวนเหล็กฉาก
ขั้นตอนการออกแบบ (ตอ)
• ตรวจสอบเสถียรภาพภายนอก
– ถา FS ไมพอ ใหเพิ่มความยาวเหล็กเสริม
• ตรวจสอบดวยวิธีเชิงตัวเลข (PLAXIS)
การวิเคราะหเสถียรภาพโดยวิธี Finite Element

Suksiripattanapong, C., Chinkulkijniwat, A., Horpibulsuk, S., Rujikiatkamjorn, C., and


Tangsuttinon, T. (2012), “Numerical Analysis of Bearing Reinforcement Earth (BRE)
Wall”, Geotextiles and Geomembranes, Vol.32, pp.28-37.
http://eng.sut.ac.th/ce/

Thank You For Your Attention

School of Civil Engineering, Suranaree University of Technology

You might also like