You are on page 1of 5

ไผตง ไผสีสุก

ชนิดของไมไผ

ไผลํามะลอก ไผดําหรือไผตาดํา
ไผตง

ไผตง (D.asper) เปนไผในสกุล Dendrocalamus นิยมปลูกกันในภาคกลางโดยเฉพาะที่


จังหวัดปราจีนบุรีปลูกกันมาก เปนไผขนาดใหญ ลําตนมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 6-12
เซนติเมตร ไมมีหนามปลองยาวประมาณ 20 เซนติเมตร โคนตนมีลายขาวสลับเทา มีขน
เล็ก ๆ อยูทั่วไปของลํา มีหลายพันธุ เชนไผตงหมอ ไผตงดํา ไผตงเขียว ไผตงหนู เปนตน
หนอใชรับประทานได ลําตนใชสรางอาคาร เชน เปนเสา โครงหลังคา เพราะแข็งแรงดี ไผ
ตงมีตนกําเนิดจากประเทศจีน ชาวจีนนํามาปลูกในประเทศไทยประมาณป พ.ศ. 2450 ปลูก
ครั้งแรกที่ตําบลพระราม จังหวัดปราจีนบุรี
ไผสีสุก

ไผสีสุก (B.flaxuosa) อยูในสกุล Bambusa ไผชนิดนี้มีอยูทั่วไปและมีมากในภาค


กลางและภาคใตลําตน เขียวสดเปนไผขนาดสูงใหญมีเสนผานศูนยกลางของตน
ประมาณ7-10 เซนติเมตร ปลองยาวประมาณ 4-10 เซนติเมตร บริเวณขอมีกิ่ง
เหมือนหนาม ลําตนเนื้อหนา ทนทานดี ใชทํานั่งรานในการกอสราง เชน นั่งราน
ทาสี นั่งรานฉาบปูน
ไผลํามะลอก

ไผลํามะลอก (D.longispathus) อยูในสกุล Dendrocalamus มีทั่วทุกภาคแตใน


ภาคใตจะมีนอยมาก ลําตนสีเขียวแกไมมีหนาม ขอเรียบ จะแตกใบสูงจาก
พื้นดินประมาณ 6-7 เมตร ปลองขนาดเสนผานศูนยกลาง 7-10 เซนติเมตร ลํา
ตนสูงประมาณ 10-15 เมตร ลําตนใชทํานั่งรานในงานกอสรางไดดี
ไผดําหรือไผตาดํา

ไผดําหรือไผตาดํา (B.sp.) อยูในสกุล Bambusa มีในปาทึบแถบจังหวัด


กาญจนบุรีและจันทบุรี ลําตนสีเขียวแก คอนขางดํา ไมมีหนาม ขนาดเสนผาน
เสนศูนยกลางของปลองประมาณ 7-10 เซนติเมตรปลองยาว 30-40 เซนติเมตร
เนื้อหนา ลําตนสูง 10-12 เมตร เหมาะจะใชในการกอสราง จักสาน

You might also like