You are on page 1of 1

คำำชี้แจงประกอบกำรสัมภำษณ์

1. ตามที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นผู้ศึกษาเพื่อหาทาง
พัฒนายกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานของศูนย์การท่องเทียว ่ กีฬา และนันทนาการจังหวัดทัวประเทศนั
่ น้ บัดนี้
การดำาเนินงานดังกล่าวอยูในช่ ่ วงของการเก็บรวบรวมข้อมูล จึงจำาเป็นอย่างยิงที ่ จะต้
่ องได้รบั ความร่วมมือจากเจ้าหน้าทีผู่ ้
เกียวข้
่ องของ ศทกจ. ในการให้ข้อมูล
2. เนืองจากกระทรวงการท่
่ องเทียวและกีฬาเป็
่ นหน่วยงานทีตั่ งขึ
้ นใหม่
้ ดังนัน้ การพัฒนาแนวทางการปฏิบตั ิงานโดยเฉพาะของ
ศูนย์การท่องเทียว่ กีฬาและนันทนาการจังหวัด (ศทกจ.) เพือให้ได้ ่ มาตรฐานจึงเป็นเรืองที ่ สำ่ าคัญและจำาเป็นอย่างยิง่ เพราะหาก
การปฏิบตั งิ านของ ศทกจ. มีขนตอนและแนวทางที
ั้ ชั่ ดเจน ก็จะช่วยให้การปฏิบตั ริ าชการของ ศทกจ. และกระทรวงการ
ท่องเทียวในภาพรวมมี
่ ความก้าวหน้าเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพทัดเทียมกับกระทรวงหรือหน่วยงานอืน่ ๆ ทีได้ ่ มกี ารพัฒนาการ
ทำางานมาก่อนหน้านีแล้ว้
3. คณะผูศึ้ กษาได้กำาหนดแนวทางในการพัฒนาเพือยกระดั ่ บมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของ ศทกจ. เป็น 3 ขันตอน ้ ดังนี้
3.1 ขันศึ
้ กษาตนเองของ ศทกจ. ในขันนี ้ เป็
้ นการสำารวจเพือเก็
่ บข้อมูลตัวชี้วัดระดับพื้นฐาน (Basic indicator for
baseline) เพื่อให้ ศทกจ. ในแต่ละพื้นที่ได้ทราบว่า ณ จุดเริ่มต้นของกระบวนการพัฒนานี้ ตนเองอยู่
ณ จุ ด ใด มี เ รื่ อ งใดที่ ต นเองมี ค วามเข้ ม แข็ ง อยู่ แ ล้ ว และมี เ รื่ อ งใดที่ ต นเองต้ อ งการได้ รั บ การ
สนับสนุนจากส่วนกลาง ข้อมูลตัวชี้วัดระดับพื้นฐานนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อกระบวนการ
พัฒนา ศทกจ.ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพราะจะทำาให้การสนับสนุนจากส่วนกลางที่จะมีต่อ ศ
ทกจ.เป็นไปอย่างตรงจุด และเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง อันจะทำาให้การกระจายทรัพยากรของหน่วย
งานส่วนกลางเป็นไปอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เห็นแนวทางในการพัฒนา
องค์กรในขั้นต่อไปในอนาคต คณะผู้ศึกษาจึงได้ทำา การสำา รวจเพื่อเก็บข้อมูลตัวชี้วัดระดับพัฒนา
(Advance indicator) พร้อมกันไปด้วย
3.2 ขั้ นทดลองใช้ ตัว ชี้ วั ด ซึ่ งจะเป็ นขั้ น ตอนต่ อ ไปหลั ง จากที่ ก ารศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ สร็จ สิ้ น ลง โดย
เป็นการดำาเนินงานของกระทรวงการท่องเที่ยวฯ และ ศทกจ.ที่จะดำาเนินงานเอง (การทดลองใช้ตัวชี้
วัดนี้อาจจะต้องให้เวลาแก่ ศทกจ.ทำาความเข้าใจและปรับตัวอีกระยะหนึ่งซึ่งอาจต้องใช้วเลา 1-2 ปี
เป็นอย่างน้อย) ในขั้นของการทดลองใช้ตัวชี้วัดนี้ อาจจะต้องมีการปรับปรุงตัวชี้วัดบางตัวให้มี
ความเหมาะสมสอดคล้องกับ ศทกจ.ในแต่ละพื้นที่ให้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลจากการทดลองใช้
ตัวชี้วัดนี้ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ และ ศทกจ.สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ในการพิจารณาให้การ
สนับสนุนการปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
3.3 ขั้นนำาตัวชี้วัดไปใช้จริง จะเป็นขั้นตอนหลังจากการทดลองใช้ตัวชี้วัดมาระยะหนึ่ง จนกระทั่ง
ตัวชี้วัดได้รับการปรับปรุงพัฒนาในรายละเอียดอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง
และได้รับการยอมรับจาก ศทกจ.ทุกแห่งทั่วประเทศแล้ว กระทรวงฯ และ ศทกจ.ก็จะได้นำาชุดของ
ตัวชีว้ ัดเหล่านี้ ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานขององค์ กรต่อไป
4. ดังนั้น เพื่อประโยชน์สูงสุดที่กระทรวงการท่องเที่ยวฯ และ ศทกจ .จะได้รับจากการศึกษาครั้งนี้ การ
ให้ความร่วมมือกับคณะผู้ศึกษาเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงจึงเป็นมีความสำา คัญและจำา เป็นอย่างยิ่ง เพราะคำา ถามทุก
คำาถาม และข้อมูลทั้งหมด ล้วนจะช่วยให้ ศทกจ.แต่ละแห่งได้รู้พื้นฐานและจุดเริ่มต้นของตนเอง รวมทั้งจะได้เห็น
แนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อยกระดับและก้าวไปสู่มาตรฐานที่สูงขึ้นในโอกาสต่อไป

You might also like