You are on page 1of 77

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและ

กีฬา

คู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวและราย
ได้ด้านการท่องเที่ยว

ปรับปรุง -
ครัง้ ที่
ผู้จัดทำ นางสาวนัดดา ศิริปะชะนะ
ผู้ทบทวน นางสาววิมลิน พฤกษานุพงศ์
ผูอ
้ นุมัติ นายชาคริต ปิ ตานุพงศ์

กุมภาพันธ์ 2564
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

คูม
่ ือปฏิบัติงาน เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยว
และรายได้ด้านการท่องเที่ยว

ผู้จัดทำ นางสาวนัดดา ศิริ


ปะชะนะ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

ผู้ทบทวน นางสาววิมลิน ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน


พฤกษานุพงศ์ ชำนาญการ

ผู้อนุมัติ นายชาคริต ปิ ตา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจการ


นุพงศ์ ท่องเที่ยวและกีฬา

บันทึกการแก้ไข
แก้ไข วัน เดือน ปี ผู้จัดทำการ รายละเอียดการแก้ไข
ครัง้ ที่ แก้ไข
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

สารบัญ
เรื่อง
หน้า
1. วัตถุประสงค์
1
2. ขอบเขต
1
3. คำจำกัดความ
1
4. หน้าทีค
่ วามรับผิดชอบ
2
5. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน
2
6. แบบฟอร์มที่ใช้
30
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1.
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวและรายได้ด้านการ
ท่องเที่ยว
1. วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้การรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวและรายได้ด้านการ
ท่องเที่ยวมีมาตรฐานการดำเนินงาน และดำเนินการอย่างเป็ นระบบ
2. เพื่อให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ (PMQA)

2. ขอบเขต

เอกสารฉบับนีเ้ ป็ นกระบวนงานการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการ
บริการจัดการภาครัฐ คลอบคลุมถึงระเบียบวิธีขน
ั ้ ตอนการรวบรวมข้อมูล
สถิตินักท่องเที่ยวและรายได้ด้านการท่องเที่ยว มีขอบเขตของการดำเนิน
งานดังนี ้
1) การรวบรวมข้อมูลนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
2) การสำรวจค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว
3) การสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายใน
ประเทศปี
4) การสำรวจข้อมูลสถานพักแรมและวิเคราะห์อัตราการเข้าพักใน
สถานประกอบการที่พัก

3. คำจำกัดความ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมายถึง


กรอบการบริหารจัดการองค์การ
ที่สำนักงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการได้ส่งเสริมและ
สนับสนุนให้ส่วนราชการนำไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองที่
ครอบคลุมภาพรวมในทุกมิติเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้
เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้น ให้หน่วยงานราชการปรับปรุง
องค์การอย่างรอบด้านและอย่างต่อเนื่อง
สถิติ หมายถึง ศาสตร์ของการเก็บรวบรวมข้อมูลตามความเป็ นจริง
ของสิ่งต่างๆ และจัดหมวดหมู่ของข้อมูลตามคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องแล้ว
กำหนด ค่าตัวเลข จัดหมวดหมู่ของข้อมูลตามคุณลักษณะนัน
้ ๆ เช่น ค่า
เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็ นต้น
การสำรวจ หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากรเคหะ
การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอื่นเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ
โดยการแจงนับ จากบางหน่วยเป็ นตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องนัน
้ ๆ
ผู้เยี่ยมเยือน (Visitors) หมายถึง ผู้ที่เดินทางไปยังสถานที่ยังสถานที่
อื่นที่ไม่ใช่ถิ่นพำนักปกติ (Usual environment) เป็ นเวลาน้อยกว่า 1 ปี
เพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ เช่น ท่องเที่ยว พักผ่อน ติดต่อธุรกิจ เป็ นต้น โดยที่
ไม่ได้รับผลตอบแทนจากนายจ้างที่เป็ นผู้พำนักในถิ่นพำนักนัน
้ ๆ ดังนัน

การเดินทางตามลักษณะดังกล่าวจะถือว่าเป็ นการเดินทางเพื่อการท่อง
เที่ยว (Tourism trips) และเรียกผู้ที่เดินทางว่า “ผู้เยี่ยมเยือน” ซึ่ง
สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1) นักท่องเที่ยว (Tourist) คือ ผู้มาเยี่ยมเยือน ที่เดินทางไปเยือน


และพำนักอยู่ใน สถานที่ดังกล่าว (ประเทศ/จังหวัด) เป็ นเวลาอย่างน้อย 1
คืน(Overnight Stay)
2) นักทัศนาจร (Excursionist) คือ ผู้มาเยี่ยมเยือน ที่เดินทางไป
เยือนสถานที่ดังกล่าว (ประเทศ/จังหวัด) โดยไม่พักค้างคืน (Same-day
visitor)

4. หน้าที่ความรับผิดชอบ

สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ได้จัดเก็บและวิเคราะห์ประมวลผล
ข้อมูลให้กับสำนักงานปลัดกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้นำข้อมูลที่ได้จาก
สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง เพื่อวิเคราะห์และประมวลผลเป็ นสถิตินักท่อง
เที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว

5. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน

ระเบียบวิธีการรวบรวมข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวและรายได้ด้านการ
ท่องเที่ยว มีการดำเนินการดังนี ้
1. การรวบรวมข้อมูลนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
เพื่อให้การรวบรวมข้อมูลนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ดำเนิน
การได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และรวดเร็ว จึงแบ่งการดำเนินงาน
ออกเป็ นขัน
้ ตอนต่างๆ ดังนี ้
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1.1 การติดต่อประสานงานกับสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง

เนื่องจากการบันทึกข้อมูลนักท่องเที่ยวดำเนินการโดย
รวบรวมและบันทึกข้อมูลของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่บันทึกไว้ใน
บัตร ตม. 6 ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ซึ่งเป็ นเอกสารสำคัญและมี
ระเบียบขัน
้ ตอนการจัดเก็บที่เข้มงวด นอกจากนี ้ ด่านตรวจคนเข้าเมือง
แต่ละแห่งมีระบบและรูปแบบ
การจัดเก็บบัตร ตม.6 ตลอดจนมีข้อจำกัดและอุปสรรคการดำเนินงานที่
แตกต่างกัน การประสานงานกับสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองทัง้ ในส่วน
กลางและส่วนภูมิภาคเพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
เพื่อทราบถึงวัตถุประสงค์ของโครงการและแนวทางการดำเนินงาน จึงเป็ น
ขัน
้ ตอนสำคัญซึ่งมีผลช่วยลดอุปสรรคและเพิ่มความร่วมมือจากด่านตรวจ
คนเข้าเมืองแต่ละแห่ง

1.2 การบันทึกข้อมูล
รวบรวมข้อมูลจำนวน ลักษณะรวมหน่วย และระยะเวลา
พำนักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยว จากบัตร ตม.6 และแหล่งข้อมูลทุติยภูมิอ่ น

ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีแนวทางการดำเนินการที่สำคัญดังนี ้
(1) การรวบรวมข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดิน
ทางเข้าประเทศไทย จำแนกตามถิ่นที่อยู่ (Country of Residence) และ
ตามสัญชาติ (Nationality) และช่องทางการเดินทางเข้า-ออก ได้แก่ ท่า
อากาศยานและด่านตรวจคนเข้าเมืองต่าง ๆ โดยรวบรวมข้อมูลจากจาก
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

บัตรขาเข้าของบัตร ตม.6 และ/หรือ แหล่งข้อมูลทุติยภูมิและรายงานที่


เกี่ยวข้อง
(2) การรวบรวมข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
จำแนกตามลักษณะรวมหน่วยของนักท่องเที่ยว (Profile) ได้แก่ เพศ อายุ
อาชีพ วัตถุประสงค์การเดินทาง ความถี่ในการเดินทาง ลักษณะ
การจัดการเดินทาง การเดินทางด้วยเที่ยวบินแบบเช่าเหมาลำ (Charter
Flights) การเดินทางด้วยเที่ยวบินตามตารางบิน (Schedule Flights)
สถานพักแรม รายได้ เป็ นต้น (รายละเอียดตามขอบเขตและแนวทาง
การดำเนินงานข้อ 3.1.1) รวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสุ่มแบบเป็ นระบบ
Systematic Sampling ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 หรือประมาณ
ร้อยละ 5 ของบัตร ตม.6 ทัง้ หมด สำหรับการรวบรวมข้อมูลวันพักเฉลี่ย
จะรวบรวมข้อมูลจากบัตรตม.6 และ/หรือแหล่งข้อมูลทุติยภูมิและ
รายงานที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นีข
้ ้อมูลในส่วนนีท
้ งั ้ หมดจะนำเสนอเฉพาะในระดับ
ภาพรวมของประเทศ และจำแนกประเทศตามรูปแบบการนำเสนอของ
ปี ที่ผ่านมา ทัง้ นี ้ หากเกิดกรณีทส
่ี ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองยกเลิก/ยกเว้น
การใช้บต
ั ร ตม. 6 สำหรับชาวต่างชาติ จะใช้วธิ ก
ี ารรวบรวมข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลหรือวิธก
ี ารอื่น ๆ ทีเ่ หมาะสม
(3) การรวบรวมข้อมูลจำนวนนักท่องเทีย
่ วชาวไทยและชาว
ต่างชาติทม
่ี ถ
ี น
่ิ ทีอ
่ ยูใ่ นประเทศไทยเดินทางออกนอกประเทศ จำแนกราย
เดือน จำแนกตามท่าอากาศยานและด่านตรวจคนเข้าเมืองต่างๆ และ
จำแนกตามประเทศสุดท้ายที่เดินทางไป จะรวบรวมข้อมูลจากบัตรตม.6
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

และ/หรือแหล่งข้อมูลทุตย
ิ ภูมแ
ิ ละรายงานทีเ่ กีย
่ วข้อง ทัง้ นีใ้ นการปฏิบต
ั งิ าน
จะสุม
่ เลือกบัตร ตม.6 โดยวิธก
ี ารสุม
่ แบบเป็ นระบบ Systematic
Sampling ณ ระดับความเชื่อมัน
่ ร้อยละ 95 หรือประมาณร้อยละ 10 ของ
บัตรตม.6 ทัง้ หมด สำหรับข้อมูลชาวต่างชาติทม
่ี ถ
ี น
่ิ พำนักในประเทศไทยจะ
รวบรวมข้อมูลดังกล่าวจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง และ/หรือแหล่ง
ข้อมูลทุตย
ิ ภูมแ
ิ ละรายงานทีเ่ กีย
่ วข้อง โดยรวบรวมข้อมูลในลักษณะภาพ
รวมของประเทศไม่จำแนกตามด่าน ทัง้ นี ้ หากเกิดกรณีที่สำนักงานตรวจ
คนเข้าเมืองยกเลิก/ยกเว้นการใช้บต
ั ร ตม. 6 สำหรับนักท่องเทีย
่ ว
ชาวไทย จะใช้วธิ ก
ี ารรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหรือวิธก
ี ารอื่น ๆ ที่
เหมาะสม
(4) การรวบรวมข้อมูลทัว่ ไป (Profile) และระยะเวลาพำนัก
(Average Length of Stay) เฉลีย
่ ของนักท่องเทีย
่ วชาวไทย เป็ นการบันทึก
ข้อมูลคุณลักษณะและข้อมูลทัว่ ไปของนักท่องเทีย
่ วชาวไทย ได้แก่ เพศ อายุ
อาชีพ เป็ นต้น ทัง้ นี้ เนื่องจากนักท่องเทีย
่ วมีเป็ นจำนวนมาก การบันทึก
ข้อมูลจะดำเนินการโดยวิธก
ี ารสุม
่ แบบเป็ นระบบ Systematic Sampling
ณ ระดับความเชื่อมัน
่ ร้อยละ 95 หรือประมาณร้อยละ 10 ของ
บัตร ตม.6 ทัง้ หมด สำหรับข้อมูลวันพักเฉลีย
่ ของนักท่องเทีย
่ วชาวไทยจะ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหรือรายงานทีเ่ กีย
่ วข้อง ทัง้ นีข
้ ้อมูลในส่วนนี ้
ทัง้ หมดจะนำเสนอเฉพาะในระดับภาพรวมของประเทศ และจำแนก
ประเทศตามรูปแบบการนำเสนอของปี ที่ผ่านมา นอกจากนี ้ ในกรณีท่ี
สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองยกเลิก/ยกเว้น การใช้บต
ั ร ตม.6 สำหรับ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

นักท่องเทีย
่ วชาวไทย จะรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหรือวิธก
ี ารอื่นๆ ที่
เหมาะสม

1.3 พื้นที่ดำเนินงาน

ครอบคลุมด่านตรวจคนเข้าเมืองที่มีนักท่องเที่ยวเดินทาง
เข้าออกและมีจุดตรวจลงตราถาวร จำนวน 30 ด่าน ซึง่ ประกอบด้วย ท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยาน อู่
ตะเภา ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยาน
กระบี่ ท่าอากาศยานภูเก็ต
ท่าอากาศยานสมุย ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือสมุทรปราการ ท่าเรือคลองใหญ่
ท่าเรือศรีราชา ท่าเรือนครพนม ท่าเรือเชียงของ ท่าเรือเชียงแสน ท่าเรือ
กระบี่ ท่าเรือภูเก็ต ท่าเรือสตูล ท่าเรือสงขลา ท่าเรือตากใบ
ด่านอรัญประเทศ ด่านกาบเชิง ด่านมุกดาหาร ด่านหนองคาย ด่านพิบล
ู ย์
มังสาหาร ด่านเบตง ด่านควนโดน ด่านปาดังเบซาร์ ด่านสะเดา และ
ด่านสุไหงโกลก

1.4 การควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติงาน

เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ถก
ู ต้องสมบูรณ์ และรวดเร็ว จึงกำหนด
ให้มีหัวหน้าเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล มีหน้าที่ในการวางแผน กำกับ ติดตาม
และควบคุมการบันทึกข้อมูลให้เป็ นไปตามแผนที่กำหนด ตลอดจนตรวจ
สอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการบันทึกข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วนและ
สมบูรณ์ ซึ่งดำเนินการ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

โดยเจ้าหน้าที่ที่มีประสบการณ์ด้านการบันทึกและตรวจสอบข้อมูล โดย
กำหนดให้มีหัวหน้าเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลรับผิดชอบการปฏิบัติงานใน
แต่ละพื้นที่ ดังนี ้
1) พื้นที่ภาคกลาง รับผิดชอบควบคุมการบันทึกข้อมูลนัก
ท่องเที่ยวที่เดินทางเข้า-ออก ณ สนามบินสุวรรณภูมิ สนามบิน
ดอนเมือง สนามบินอู่ตะเภา ท่าเรือกรุงเทพ ด่านปากน้ำ ด่านศรีราชา
ด่านอรัญประเทศ และด่านคลองใหญ่
2) พื้นที่ภาคเหนือรับผิดชอบควบคุมการบันทึกข้อมูล ณ
สนามบินเชียงใหม่ ด่านเชียงของ และด่านเชียงแสน
3) พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รับผิดชอบควบคุมการ
บันทึกข้อมูล ณ สนามบินอุดรธานี ด่านหนองคาย ด่านพิบูลมังสาหาร
ด่านนครพนม ด่านมุกดาหาร และด่านกาบเชิง
4) พื้นที่ภาคใต้ รับผิดชอบควบคุมการบันทึกข้อมูล ณ
สนามบินภูเก็ต สนามบินหาดใหญ่ ด่านสะเดา ด่านปาดังเบซาร์ ด่าน
อำเภอเมืองสงขลา ด่านอำเภอเมืองภูเก็ต ด่านสุไหง โก-ลก ด่านตากใบ
ด่านควนโดน ด่านอำเภอเมืองสตูล ด่านเบตง ด่านสมุย และด่านกระบี่
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

แผนภาพที่ 1 สรุปขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลนักท่องเที่ยวระหว่าง

บันทึก
ประสานงาน หัวหน้าเจ้ข้าอมูาล
หน้ ที่ ส่วนกลางรวบรวม
สำนักงานตรวจคน บันทึกข้อมูล ข้อมูลจากแหล่ง
เข้าเมือง การ ควบคุม กำกับ ข้อมูลต่าง ๆ
ประสานงานท่า ตรวจสอบ การ จัดทำ
ประมวลผล และ
ประสาน
อากาศยาน บันทึกข้อมูล รายงาน
จัดทำรายงาน
งาน
ประเทศ

1.5 การประมวลผลและจัดทำรายงาน

1) การประมวลผลจำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
เนื่องจากข้อมูลที่ได้รับจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเป็ นจำนวนผู้เดิน
ทาง (Traveler) ซึง่ บางส่วนอาจเป็ นผู้ที่เดินทางเพื่อวัตถุประสงค์อ่ น
ื ทีไ่ ม่ใช่
นักท่องเทีย
่ ว ดังนัน
้ เพื่อให้สามารถประมวลผลจำนวนนักท่องเทีย
่ วได้ถก
ู ต้อง
สอดคล้องกับข้อเสนอแนะขององค์การการท่องเที่ยวโลก ซึง่ ได้ให้แนวทาง
โดยพิจารณาจากวัตถุประสงค์การเดินทางเป็ นหลัก (ตัวอย่างการจำแนก
ตามข้อเสนอ IRTS 2008 แสดงในแผนภาพที่ 2) แต่สามารถปรับเปลี่ยน
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

แนวทางปฏิบัติได้เพื่อให้
เหมาะสมกับแต่ละประเทศ

สำหรับประเทศไทยที่ผ่านมากรมการท่องเที่ยว ได้ศึกษา
จากแนวทางและ ข้อเสนอแนะใน IRTS 2008 และข้อมูลผู้ผ่านแดนของ
สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง จึงได้กำหนดให้ใช้ข้อมูลประเภท
หนังสือเดินทาง (Visa) เป็ นเกณฑ์ในการกำหนดวัตถุประสงค์การเดินทาง
เนื่องจากเป็ นข้อมูลที่มีรายละเอียดสอดคล้องกับข้อเสนอแนะใน IRTS
2008 มากที่สุด และมีรายละเอียดแสดงเป็ นรายประเทศ (ตัวอย่าง
ประเภทหนังสือเดินทาง (Visa) ที่ไม่ใช่นักท่องเที่ยวแสดงในแผนภาพที่ 2
ทัง้ นี ้ แนวทางการดำเนินการดังกล่าว กรมการท่องเที่ยวได้มีโอกาสนำ
เสนอต่อที่ประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทำสถิติท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศขององค์การการท่องเที่ยวโลก UNWTO Statistics Capacity
rd
Building Programme-Asia/Pacific 3 Workshop และได้รับการคำ
ชมจากผู้เชี่ยวชาญด้านสถิติท่องเที่ยวระหว่างประเทศขององค์การการ
ท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ รวมถึงวิทยากรชำนาญการจากประเทศ
ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แนวทางดังกล่าว
สอดคล้องตามข้อเสนอแนะและมาตรฐานการจัดทำสถิติท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศ

แผนภาพที่ 2 การจำแนกนักท่องเที่ยวตามข้อเสนอใน IRTS 2008


สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

นอกจากนี ้ เพื่อให้การจัดทำสถิติท่องเที่ยวระหว่างประเทศของไทยมี
ความถูกต้อง ชัดเจน และสอดคล้องกับบริบทของประเทศไทย จึงได้
กำหนดให้มีการสำรวจพฤติกรรมการเดินทางของนักท่องเที่ยวบริเวณ
ชายแดนที่ใช้หนังสือเดินทาง (Passport) และ บัตรผ่านแดน (Border
pass) ที่เดินทางเข้ามาทางด่านตรวจคนเข้าเมือง
โดยวิธีการสุ่มจำนวนไม่น้อยกว่า 400 ตัวอย่าง เพื่อให้ทราบสัดส่วนผู้ที่
เดินทางข้ามแดนทัง้ ที่ใช้หนังสือเดินทางและบัตรผ่านแดนที่เป็ นผู้ที่เดิน
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ทางเพื่อการท่องเที่ยว ดังนัน
้ ในการประมวลผลจำนวนนักท่องเที่ยว
ระหว่างประเทศ จะใช้แนวทางดังกล่าวเป็ นหลักในการดำเนินงาน โดยจะ
จำแนกนักท่องเที่ยวจากผู้เดินทาง
ตามประเภทหนังสือเดินทาง (Visa) และวัตถุประสงค์การเดินทางของผู้
ผ่านด่านบริเวณชายแดน

แผนภาพที่ 3 สรุปขัน
้ ตอนการประมวล

ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยว
จะแสดงให้เห็นถึง
การเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในประเด็นต่าง ๆ โดยเปรียบเทียบกับช่วงเวลา
เดียวกันของปี ที่ผ่านมา สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงและคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

นอกจากนี ้ จะจัดทำรายชื่อของประเทศในกลุ่มประเท
ศอื่นๆ (Other) เช่น จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจำแนกตามถิ่นที่
อยู่ (Country of residence) และจำแนกตามสัญชาติ (Nationality) ที่
เดินทางเข้าประเทศ และจำนวนนักท่องเที่ยวคนไทยที่เดินทางออกนอก
ประเทศไทย

2. การสำรวจค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว

เพื่อให้การสำรวจและจัดเก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้จ่ายของผู้เยี่ยม
เยือน (Visitor) ชาวต่างชาติ
ที่เดินทางมาเยือนประเทศไทย รวมถึง Oversea Thai (ชาวไทยที่มีถิ่น
พำนักในต่างประเทศ) และผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยที่เดินทางไปต่างประเทศ
มีความถูกต้องและสอดคล้องกับพฤติกรรมการบริโภคของนักท่องเที่ยว
ในการศึกษาจึงดำเนินการโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ และปฐมภูมิ โดยมีราย
ละเอียด ดังนี ้

2.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมรายงาน


การศึกษา บทวิเคราะห์ต่าง ๆเช่น สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวของไทย
และสถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวของโลก เป็ นต้น

2) ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากการสำรวจโดยใช้


แบบสอบถามสัมภาษณ์นักท่องเที่ยว เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะ
พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยว ค่าใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยว และ
โครงสร้างค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว เป็ นต้น

2.2 การกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่าง

ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
กำหนดให้ที่ปรึกษาดำเนินการสำรวจและจัดเก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้จ่าย
ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางมาประเทศไทย รวมถึง
ชาวไทยที่มีถิ่นพำนักถาวรในต่างประเทศ (Oversea Thai) และชาวไทยที่
เดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศในโดยใช้จำนวนตัวอย่างไม่น้อยกว่า
44,350 ราย ดังนัน
้ เพื่อให้ได้รับผลการสำรวจที่ถูกต้อง และสะท้อนให้
เห็นถึงพฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะ
สม จึงกำหนดกรอบแนวทางการกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างทัง้ หมด
62,803 ราย โดยมีรายละเอียดดังนี ้
1) การสำรวจข้อมูลนักท่องเที่ยว ดำเนินการสำรวจข้อมูล
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศและนักท่องเที่ยวชาวไทยทัง้ หมดประมาณ
59,803 ราย และดำเนินการโดยใช้วิธีการสุ่มหน่วยตัวอย่างแบบ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

Probability Sampling โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบเป็ นชัน


้ ภูมิ
(Stratified Random Sampling) ออกเป็ น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับ
ประเทศถิ่นที่อยู่ จากนัน
้ จึงจำแนกออกเป็ น 2 กลุ่มตามรูปแบบการจัด
การเดินทาง ทัง้ นีใ้ นการสำรวจจะดำเนินการครอบคลุมสนามบิน
นานาชาติและด่านตรวจคนเข้าเมืองที่สำคัญ ได้แก่ สนามบินสุวรรณภูมิ
สนามบินเชียงใหม่ สนามบินภูเก็ต สนามบินอู่ตะเภา ด่านตรวจคนเข้า
เมืองหนองคาย ด่านตรวจคนเข้าเมืองสะเดา และด่านตรวจคนเข้าเมือง
ปาดังเบซาร์ สำหรับจำนวนตัวอย่างที่จะสำรวจในแต่ละพื้นที่จะกำหนด
โดยใช้สัดส่วนจำนวนนักท่องเที่ยวล่าสุดของกรมการท่องเที่ยวเป็ นเกณฑ์
และจะกำหนดตัวอย่างจำแนกตามประเทศถิ่นที่อยู่เฉพาะการสำรวจในท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิเท่านัน

2) การสำรวจข้อมูลนักทัศนาจร ดำเนินการสำรวจนัก
ทัศนาจรชาวไทยที่เดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศมาเลเซีย และลาว และ
นักทัศนาจรชาวมาเลเซียและลาวที่เดินทางมาประเทศไทย โดยจะดำเนิน
การสำรวจนักทัศนาจรทัง้ หมดประมาณ 2,500 ราย ดำเนินการโดยใช้วิธี
การสุ่มหน่วยตัวอย่างแบบ Non-Probability Sampling ณ ด่านตรวจคน
เข้าเมืองสะเดา ด่านตรวจคนเข้าเมืองปาดังเบซาร์ และด่านตรวจคนเข้า
เมืองหนองคาย โดยใช้วิธีการสำรวจแบบ Random Sampling

3) นักท่องเทีย
่ วคนไทยทีม
่ ถ
ี น
่ิ พำนักในต่างประเทศและเดิน
ทางมาท่องเทีย
่ วในประเทศไทย ดำเนินการสำรวจรวม 500 ราย ดำเนิน
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

การโดยใช้วิธีการสุ่มหน่วยตัวอย่างแบบ Non-Probability Sampling ณ


สนามบินสุวรรณภูมิ โดยใช้วิธีการสำรวจแบบ Random Sampling และ
ไม่กำหนดจำนวนหน่วยตัวอย่างจำแนกตามประเทศ

ตารางที่ 2 สรุปจำนวนตัวอย่างที่จะดำเนินการสำรวจ
รายการ จำนวนตัวอย่าง (ราย)*
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 47,096
นักท่องเที่ยวชาวไทยไปต่างประเทศ 12,707
นักทัศนาจรชาวไทยไปต่างประเทศ 1,250
นักทัศนาจรชาวต่างชาติมาไทย 1,250
นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีถิ่นพำนักถาวรในต่าง 500
ประเทศ
รวม 62,803
หมายเหตุ : * หมายถึง จำนวนตัวอย่างเบื้องต้น

2.3 วิธีการกำหนดขนาดตัวอย่าง

การกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ (ไม่รวมนักท่องเที่ยวคนไทยที่มีถิ่นพำนักในต่างประเทศและ
เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย) กำหนดขัน
้ ตอนการดำเนินงานดังนี ้

2.3.1 การกำหนดขนาดตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่าง
ชาติ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1) การคำนวณจำนวนหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาว
ต่างชาติในระดับภาพรวม
ที่เหมาะสม เนื่องจากวัตถุประสงค์สำคัญของการสำรวจคือ เพื่อให้ทราบ
พฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การกำหนดขนาดตัวอย่างในระดับ

2 2
NZ (CV )
n=
Z 2 ( CV )2 +( N −1 ) E2
ภาพรวมจะดำเนินการโดยใช้สูตรการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเมื่อ
ต้องการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรของ W.G. Cochran แต่เนื่องจาก
ข้อมูลที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวแต่ละกลุ่มจะถูกนำมาวิเคราะห์ตาม
ประเด็นที่แตกต่างกัน จึงกำหนดค่าความคลาดเคลื่อนในการสำรวจที่แตก
ต่างกัน แต่จะกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 5 เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ทัง้ นี ้ จากการประมวลผลด้วยสูตรคำนวณพบว่า ขนาดหน่วยตัวอย่างที่
เหมาะสม มีจำนวน 16,624 ราย

n = จำนวนหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
(n ปี 2560 = 16,624 คน)
N = จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทงั ้ หมด
(ปี 2559 = 32,529,588 คน)
Z = คะแนนมาตรฐาน ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

99
C ์ วามแปรผัน (CV = 0.5)
= สัมประสิทธิค
V
E = ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลจากหน่วยตัวอย่าง
ที่ยอมรับได้ (E = 1%)

2) การกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างตามคุณลักษณะ
และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว เพื่อให้ได้รับผลการศึกษาที่ถูกต้องและ
สอดคล้องกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว จึงเพิ่มเกณฑ์การกำหนดขนาด
หน่วยตัวอย่างโดยพิจารณาจากถิ่นที่อยู่ ลักษณะการจัดการเดินทาง และ
ระดับรายได้ ซึ่งมีแนวทางการดำเนินงานดังนี ้

2.1) การกำหนดจำนวนหน่วยตัวอย่างจำแนกตาม
ถิ่นที่อยู่ ดำเนินการโดยใช้สัดส่วนโครงสร้างนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
ที่เดินทางมาประเทศไทยในปี ล่าสุด จำแนกตาม
ถิ่นที่อยู่เป็ นกรอบในการกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่าง โดยมีสูตรการ
คำนวณ ดังนี ้

ni = pi × N
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

โดยที่ ni คือ จำนวนหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยว


ระหว่างประเทศของประเทศ i
Pi คือ สัดส่วนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศของ
ประเทศ i
N คือ ขนาดหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศทัง้ หมด

Ni
pi =
N

สูตรคำนวณหา Pi

โดยที่ Ni คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่าง


ประเทศของประเทศ i
N คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
ทัง้ หมดของทุกประเทศ

2.2) การกำหนดจำนวนตัวอย่างนักท่องเทีย
่ วชาวต่าง
ชาติจำแนกตามประเภท การจัดการเดินทาง ดำเนินการ
โดยใช้สัดส่วนโครงสร้างนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่เดินทางมา
ประเทศไทย
ปี ที่มีข้อมูลล่าสุด จำแนกตามประเภทการจัดการเดินทาง ซึง่ ประกอบด้วย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

กลุ่มที่จัดการเดินทางผ่านบริษัทนำเที่ยว (Package) และกลุ่มที่จัดการ


เดินทางด้วยตนเอง (Non Package) โดยใช้สูตรดังนี ้

nij =p ij×N

โดยที่ nij คือ จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยว


ระหว่างประเทศของประเทศ i ตามประเภทการจัดการเดินทาง j

Pij คือ สัดส่วนนักท่องเที่ยวระหว่าง


ประเทศของประเทศ i ตามประเภท
การจัดการเดินทาง j ซึง่ คำนวณจาก
สูตร
N คือ ขนาดตัวอย่างทัง้ หมดของประเทศ
N ij
pij=
Ni
i

โดยที่ Nij คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ


ของประเทศ i ทีจ
่ ด
ั การเดินทางแบบ j
Ni คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
ของประเทศ
i ทัง้ หมด
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

2.3) การกำหนดจำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาว
ต่างชาติจำแนกตามระดับรายได้ เพื่อให้ผลการสำรวจที่ได้รับสอดคล้อง
กับโครงสร้างอาชีพประชากรของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศมากขึน
้ จึง
กำหนดเงื่อนไขการแบ่งหน่วยตัวอย่างเพิ่มเติมจากลักษณะการจัดการเดิน
ทาง โดยเพิ่มเงื่อนไขเกี่ยวกับระดับรายได้ เนื่องจากระดับรายได้เป็ นปั จจัย
หนึง่ ที่สำคัญที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว โดยจะแบ่ง
หน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวในแต่ละประเทศออกเป็ น 3 กลุ่ม ตามรูปแบบ
1
การจัดระดับรายได้ตามกลุ่มอาชีพของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ซึ่ง
ประกอบด้วย กลุ่มอาชีพรายได้สงู กลุ่มอาชีพรายได้ปานกลาง และกลุ่ม
อาชีพรายได้ต่ำ โดยใช้สัดส่วนโครงสร้างกลุ่มอาชีพของนักท่องเที่ยว
ระหว่างประเทศที่เดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทยในปี ก่อนหน้า เป็ นก
รอบในการคำนวณ โดยใช้สูตรดังนี ้
nijk =p ijk×N

โดยที่ nijk คือ จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยว


ระหว่างประเทศของประเทศ i ที่
จัดการโดยทางประเภท j และอยู่ใน
กลุ่มอาชีพ k

1
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

Pijk คือ สัดส่วนกลุ่มอาชีพของนักท่อง


เที่ยวระหว่างประเทศของประเทศ i
ที่จัดการเดินทางประเภท j และอยู่
ในกลุ่มอาชีพ k ซึ่งคำนวณจากสูตร
N คือ ขนาดตัวอย่างทัง้ หมดของ
N ijk
pi=
N ij
ประเทศ i
โดยที่ Nijk คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศ i
ที่จัดการโดยทางประเภท j และอยู่
ในกลุ่มอาชีพ k
Nij คือ จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศ i ที่จัดการเดินทาง
ประเภท j

2.4) จากการคำนวณตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่าง
ชาติจำแนกตามลักษณะ
การจัดการเดินทาง และกลุ่มอาชีพโดยใช้สัดส่วนของปี ก่อนหน้า และ
กำหนดเงื่อนไขให้จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยวรายประเทศจำแนกตาม
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ลักษณะการจัดการเดินทางแต่ละกลุ่มมีจำนวนไม่น้อยกว่า 120 ราย ส่ง


ผลให้จำนวนตัวอย่างเพิ่มขึน
้ จากเดิมเป็ น 47,096 คน

5.2.3.2 การกำหนดขนาดตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย

1) การคำนวณจำนวนหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาว
ไทยในระดับภาพรวม
ที่เหมาะสม เนื่องจากวัตถุประสงค์สำคัญของการสำรวจคือ เพื่อให้ทราบ
พฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การกำหนดขนาดตัวอย่างในระดับ
ภาพรวมจะดำเนินการโดยใช้สูตรการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเมื่อ
ต้องการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรของ W.G. Cochran แต่เนื่องจาก
ข้อมูลที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวแต่ละกลุ่มจะถูกนำมาวิเคราะห์ตาม
ประเด็นที่แตกต่างกัน จึงกำหนดค่าความคลาดเคลื่อนในการสำรวจที่แตก
ต่างกัน
แต่จะกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 5 เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ทัง้ นี ้ จาก
การประมวลผลด้วยสูตรคำนวณพบว่า ขนาดหน่วยตัวอย่างที่เหมาะสม มี
จำนวน 9,582 ราย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
NZ2 (CV )2
n=
Z 2 ( CV )2 +( N −1 ) E2

N = จำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทยทัง้ หมด
(ปี 2559 = 8,203,521 คน)
Z = คะแนนมาตรฐาน ณ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ
95
C ์ วามแปรผัน (CV = 0.5)
= สัมประสิทธิค
V
E = ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลจากหน่วยตัวอย่าง
ที่ยอมรับได้ (E= 1%)

2) การกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างตามแหล่งท่อง
เที่ยวที่เดินทางไป เพื่อให้ได้รับ
ผลการศึกษาที่ถูกต้องและสอดคล้องกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว จึง
เพิ่มเกณฑ์การกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างโดยพิจารณาจากแหล่งท่อง
ni = pi × N
เที่ยวที่เดินทางไป ซึ่งดำเนินการโดยใช้สัดส่วนโครงสร้างนักท่องเที่ยว
ชาวไทยที่เดินทางไปต่างประเทศจำแนกตามแหล่งท่องเที่ยวที่เดินทางไป
ในปี 2559 โดยกำหนดเงื่อนไขให้จำนวนตัวอย่างรายประเทศที่เดินทางไป
มีจำนวนไม่น้อยกว่า 120 ราย ส่งผลให้จำนวนตัวอย่างทัง้ หมดเพิ่มขึน
้ เป็ น
12,707 ราย ซึ่งมีสูตรการคำนวณดังนี ้
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

โดยที่ ni คือ จำนวนหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาว


ไทยในประเทศ i
Pi คือ สัดส่วนนักท่องเที่ยวชาวไทยในประเทศ
i
N คือ ขนาดหน่วยตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาว
ไทยทัง้ หมด

Ni
pi =
N

สูตรคำนวณหา Pi

โดยที่ Ni คือ จำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทยใน


ประเทศ i
N คือ จำนวนนัก ท่อ งเที่ย วชาวไทยทัง้ หมดใน
ทุกประเทศ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ตารางที่ 3 ตัวอย่างการกระจายจำนวนตัวอย่างที่จะสำรวจนักท่อง
เที่ยวชาวต่างชาติ
(หน่วย: ราย)
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
Country
Package Non Package Total
of Residence
East Asia 4,647 12,052 16,699
Asean 1,974 6,216 8,190
Brunei 120 680 800
Cambodia 120 680 800
Indonesia 265 535 800
Laos 120 679 799
Malaysia 675 1,116 1,791
Myanmar 120 679 799
Philippines 183 618 801
Singapore 120 680 800
Vietnam 251 549 800
China 1,776 2,732 4,508
Hong Kong 176 624 800
Japan 120 681 801
Korea 289 511 800
Taiwan 177 623 800
Others 135 665 800
Europe 2,286 10,513 12,799
Austria 120 680 800
Belgium 120 680 800
Denmark 144 656 800
Finland 154 647 801
France 120 680 800
Germany 120 680 800
Italy 120 680 800
Netherlands 120 680 800
Norway 120 680 800
Russia 293 506 799
Spain 132 668 800
Sweden 123 677 800
Switzerland 120 680 800
United Kingdom 120 680 800
East Europe 192 607 799
Others in Europe 168 632 800
The Americas 600 3,398 3,998
Argentina 120 679 799
Brazil 120 680 800
Canada 120 679 799
USA 120 680 800
Others 120 680 800
South Asia 1,291 3,508 4,799
Bangladesh 168 632 800
India 246 554 800
Nepal 275 525 800
Pakistan 185 614 799
Sri Lanka 254 545 799
Others 163 638 801
Oceania 381 2,019 2,400
Australia 132 668 800
New Zealand 129 671 800
Others 120 680 800
Middle East 915 3,885 4,800
Egypt 200 599 799
Israel 120 680 800
Kuwait 120 680 800
Saudi Arabia 132 668 800
U.A.E. 126 674 800
Others 217 584 801
Africa 366 1,235 1,601
South Africa 246 554 800
Others 120 681 801
Grand Total 10,486 36,610 47,096
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
หมายเหตุ : จำนวนตัวอย่างรายประเทศและรายกลุ่มสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความ
เหมาะสม แต่จำนวนรวม
ไม่ต่ำกว่า 47,096 ราย

ตารางที่ 4 ตัวอย่างการกระจายจำนวนตัวอย่างที่จะสำรวจนักท่อง
เที่ยวชาวไทย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

(หน่วย: ราย)
Country
Number
of Destination
East Asia 8,364
Asean 5,159
Brunei 120
Cambodia 120
Indonesia 120
Laos 1,438
Malaysia 2,140
Myanmar 163
Philippines 120
Singapore 634
Vietnam 304
China 732
Hong Kong 585
Japan 1,055
Korea 462
Taiwan 251
Others in East Asia 120
Europe 1,958
Austria 120
Belgium 83
Denmark 120
Finland 120
France 120
Germany 153
Italy 120
Netherlands 120
Norway 83
Russia 120
Spain 120
Sweden 120
Switzerland 120
United Kingdom 199
East Europe 120
Others in Europe 120
The Americas 323
Canada 120
USA 120
Others in America 83
South Asia 726
Bangladesh 120
India 126
Nepal 120
Pakistan 120
Sri Lanka 120
Others in South Asia 120
Oceania 376
Australia 136
New Zealand 120
Others in Oceania 120
Middle East 720
Egypt 120
Israel 120
Kuwait 120
Saudi Arabia 120
U.A.E. 120
Others in Middle East 120
Africa 240
South Africa 120
Others in Africa 120
Grand Total 12,707
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
หมายเหตุ : จำนวนตัวอย่างรายประเทศสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม แต่
จำนวนรวมไม่ต่ำกว่า 12,707 ราย

ตารางที่ 5 จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จำแนกตามพื้นที่


(หน่วย: คน)
จำนวนนักท่อง
ด่าน เที่ยว จำนวนตัวอย่าง
ทอ.สุวรรณภูมิ 16,344,961 33,896
ทอ.ดอนเมือง 4,466,515 4,000
ทอ.ภูเก็ต 3,952,346 4,000
ด่านสะเดา 1,492,584 1,000
ด่านหนองคาย 1,009,501 1,000
ทอ.เชียงใหม่ 986,091 1,000
ทอ.กระบี่ 902,923 1,000
ด่านปาดังเบ
ซาร์ 292,551 400
ทอ.อู่ตะเภา 196,498 400
ทอ.หาดใหญ่ 102,210 400
รวม 47,096
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
หมายเหตุ : จำนวนตัวอย่างรายพื้นที่สามารถเปลีย
่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม
แต่จำนวนรวม
ไม่ต่ำกว่า 47,096 คน

ตารางที่ 6 จำนวนตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวไทย จำแนกตามพื้นที่


(หน่วย: คน)
จำนวนนักท่อง
ด่าน เที่ยว จำนวนตัวอย่าง
ทอ.สุวรรณภูมิ 3,625,846 9,507
ทอ.ดอนเมือง 1,528,683 1,200
ด่านสะเดา 516,617 400
ด่านหนองคาย 503,702 400
ด่านปาดังเบ
ซาร์ 197,414 400
ทอ.เชียงใหม่ 79,525 400
ทอ.ภูเก็ต 62,162 400
รวม 12,707
หมายเหตุ : จำนวนตัวอย่างรายพื้นที่สามารถเปลีย
่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม
แต่จำนวนรวม
ไม่ต่ำกว่า 12,707 คน
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

2.4 ประเด็นการสำรวจข้อมูล

เพื่อให้ผลการสำรวจค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยว มีความครบถ้วน
ตามมาตรฐานที่กำหนดโดยองค์การการท่องเที่ยวโลก ตลอดจนสามารถ
นำผลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับข้อมูลเดิมของ กรมการ
ท่องเที่ยวได้อย่างสอดคล้องเหมาะสม จึงจะกำหนดประเด็นการสำรวจ
ตามแนวทางการดำเนินงานในปี 2559 นอกจากนี ้ เพื่อให้นก
ั ท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติสามารถตอบแบบสอบถามได้สะดวก และเข้าใจคำถามที่ถูก
ต้อง จึงจัดให้มีการพิมพ์แบบสอบถามสำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
เป็ น 7 ภาษา ประกอบด้วย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษา
รัสเซีย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาอาหรับ สำหรับประเด็นคำถามใน
แบบสอบถามมีดังนี ้
1) ประเด็นการสำรวจนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
1.1) ข้อมูลคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่
 ประเทศถิ่นที่อยู่
 สัญชาติ
 เพศ
 อายุ
 อาชีพ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

 วัตถุประสงค์การเดินทางหลัก
 ระดับรายได้
1.2) พฤติกรรมการเดินทาง
 ความถี่ในการเดินทาง (การเคยมาประเทศไทย)
 จำนวนคืนพัก
 ลักษณะการจัดการเดินทาง
 วิธีการจัดการเดินทาง (โดยตนเอง ผ่านบริษัทนำ
เที่ยว เว็บไซด์)
1.3) พฤติกรรมการใช้จ่าย
 ค่าพาหนะเดินทางในประเทศ
 ค่าที่พัก
 ค่าอาหาร/เครื่องดื่ม
 ค่าบริการท่องเที่ยว
 ค่าใช้จ่ายเพื่อความบันเทิง (รวมค่านันทนาการ และ
ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล) เช่น แหล่งท่องเที่ยวทาง
วัฒนธรรม กีฬากอล์ฟ กีฬาทางน้ำ เสริม
สวย/สปา/นวดแผนไทย กิจกรรมยามค่ำคืน อื่น ๆ
เป็ นต้น
 ค่าบริการทางการแพทย์/สุขภาพ
 ค่าซื้อสินค้า/ของที่ระลึก เช่น เสื้อผ้า ผ้าไหม/ผ้า
ฝ้ าย เครื่องหนัง เครื่องประดับ สินค้าหัตถกรรมและ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ของเล่น เครื่องใช้ไฟฟ้ า พระเครื่อง อาหารแห้ง ผล


ไม้ เป็ นต้น
 อื่น ๆ

2) ประเด็นการสำรวจนักท่องเที่ยวชาวไทย
2.1) ข้อมูลคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่
 เพศ
 อายุ
 ที่อยู่ปัจจุบัน
 อาชีพ
 วัตถุประสงค์การเดินทางหลัก
 ระดับรายได้
1.2) พฤติกรรมการเดินทาง
 ความถี่ในการเดินทาง (การเคยเดินทางไปต่าง
ประเทศ)
 ผู้ที่รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
 ลักษณะการจัดการเดินทาง
 ประเทศที่เดินทางในครัง้ นี ้
 วันพักเฉลี่ย
1.3) พฤติกรรมการใช้จ่าย
 ค่าพาหนะเดินทางในต่างประเทศ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

 ค่าที่พัก
 ค่าอาหาร/เครื่องดื่ม
 ค่าบริการท่องเที่ยว
 ค่าใช้จ่ายเพื่อความบันเทิง
 ค่าซื้อสินค้า/ของที่ระลึก เช่น สิง่ ทอและเครื่องนุ่ง
ห่ม เครื่องประดับ/นาฬิกา ของชำร่วย เครื่องสำอาง
เครื่องใช้ไฟฟ้ า ยาและสมุนไพร เครื่องตกแต่งบ้าน
หนังสือ อุปกรณ์กีฬา เป็ นต้น
 อื่น ๆ

3) ประเด็นการสำรวจนักทัศนาจรชาวไทย
3.1) ข้อมูลคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่
 เพศ
 อายุ
 อาชีพ
 ที่อยู่ปัจจุบัน
 รายได้
3.2) พฤติกรรมการเดินทาง
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

 ความถี่ในการเดินทาง (การเคยเดินทางในช่วงผ่าน
มา)
 ลักษณะการจัดการเดินทาง
3.3) พฤติกรรมการใช้จ่าย
 ค่าพาหนะในต่างประเทศ
 ค่าเที่ยวชมสถานที่
 ค่าอาหาร/เครื่องดื่ม
 ค่าซื้อสินค้า/ของที่ระลึก
 ค่าใช้จ่ายเพื่อความบันเทิง
 อื่นๆ

4) ประเด็นการสำรวจนักทัศนาจรชาวต่างชาติ (มาเลเซีย
และลาว)
4.1) ข้อมูลคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่
 ประเทศถิ่นที่อยู่
 เพศ
 อายุ
 อาชีพ
 รายได้
4.2) พฤติกรรมการเดินทาง
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

 ความถี่ในการเดินทาง (การเคยเดินทางในช่วงผ่าน
มา)
 ลักษณะการจัดการเดินทาง
4.3) พฤติกรรมการใช้จ่าย
 ค่าพาหนะในต่างประเทศ
 ค่าเที่ยวชมสถานที่
 ค่าอาหาร/เครื่องดื่ม
 ค่าซื้อสินค้า/ของที่ระลึก
 ค่าใช้จ่ายเพื่อความบันเทิง
 อื่นๆ

2.5 แนวทางการสำรวจข้อมูล
1) แนวทางการดำเนินงาน เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบ
ถ้วน และสมบูรณ์ตามขอบเขตการศึกษา ในการสำรวจข้อมูลจึงดำเนิน
การโดยใช้แบบสอบถาม และรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบ Face-
to-Face และดำเนินการสำรวจเป็ นรายไตรมาส นอกจากนี ้ เนื่องจาก
ข้อมูลการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวนับเป็ นข้อมูลส่วนตัวที่นักท่องเที่ยวบาง
ส่วนไม่ต้องการเปิ ดเผยแก่บุคคลอื่น ดังนัน
้ การสำรวจข้อมูลตามโครงการ
จึงไม่สามารถดำเนินการได้โดยง่าย ผูส
้ ำรวจจะต้องสร้างความเข้าใจที่ถูก
ต้องเกี่ยวกับโครงการให้แก่นักท่องเที่ยว ตลอดจนต้องสามารถอธิบาย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

เกี่ยวกับประเด็นข้อสอบถามได้อย่างถูกต้องและกระชับ จึงจะทำให้ได้รับ
ข้อมูลที่ถูกต้อง
2) การจัดคณะทำงานสำรวจข้อมูล เพื่อให้การเก็บรวบรวม
ข้อมูลดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสร็จสิน
้ ตามเป้ าหมายและ
ระยะเวลาที่กำหนด จึงแบ่งคณะสำรวจข้อมูลออกเป็ นกลุ่ม ตามภาระ
หน้าที่ ในการดำเนินงาน เช่น ด้านการประสานงานและกำกับการปฏิบัติ
งาน และด้านการสำรวจข้อมูลเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ตามแผนการ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับโครงสร้างของคณะ
สำรวจข้อมูล ประกอบด้วย
(1) หัวหน้าชุดสำรวจข้อมูล มีหน้าทีร
่ บ
ั ผิดชอบการควบคุม
การปฏิบต
ั งิ านให้ดำเนินการตามกรอบระยะเวลาทีก
่ ำหนด การรวบรวม
แบบสอบถามจากพนักงานสำรวจข้อมูล และการบรรณาธิกรเบื้องต้น
(2) พนักงานสำรวจ มีหน้าทีส
่ ำรวจและรวบรวมข้อมูลจาก
นักท่องเทีย
่ ว/นักทัศนาจร โดยกำหนดให้พนักงานสำรวจทุกคนต้องผ่านการ
อบรมและทดสอบด้านภาษาและทักษะการสำรวจข้อมูล และต้องแต่งกาย
ด้วยเครื่องแต่งกายทีส
่ ภ
ุ าพตลอดระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสร้าง
ความประทับใจให้แก่นก
ั ท่องเทีย
่ วและสร้างภาพลักษณ์ทด
่ี ใี ห้แก่โครงการฯ

2.6 การบรรณาธิกรแบบสอบถามและการบันทึกข้อมูล
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

เพื่อให้แบบสอบถามทีไ่ ด้รบ
ั จากการสำรวจมีความถูกต้อง
สมบูรณ์และสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้จา่ ยของนักท่องเทีย
่ ว จึงกำหนด
ให้มก
ี ารบรรณาธิกรแบบสอบถามโดยนักวิจย
ั /นักสถิตท
ิ ม
่ี ป
ี ระสบการณ์
ด้านการสำรวจ โดยเฉพาะแบบสอบถามทีผ
่ า่ นการบรรณาธิกรและถูกต้อง
เท่านัน
้ จึงจะถูกนำไปบันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับการบันทึก
ข้อมูลควบคุมการดำเนินการโดยนักสถิตแ
ิ ละนักวิจย
ั ทีม
่ ป
ี ระสบการณ์
ด้านการสำรวจและบันทึกข้อมูล จึงทำให้ขอ
้ มูลทีถ
่ ก
ู บันทึกมีความถูกต้อง
สมบูรณ์และผ่านการตรวจสอบ ความถูกต้อง

2.7 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลควบคุมการปฏิบต
ั งิ านโดยนักสถิตท
ิ ม
่ี ี
ประสบการณ์ดา้ นการประมวลผลข้อมูลจากการสำรวจ และควบคุมการ
ดำเนินการโดยนักวิชาการสถิตท
ิ ม
่ี ค
ี วามรู้และประสบการณ์ดา้ นสถิตแ
ิ ละ
การสำรวจข้อมูล ทัง้ นี้ การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลดำเนินการโดย
ใช้วิธีการทางสถิติ สำหรับ
การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ประกอบด้วย
1) การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลค่าใช้จ่ายของนักท่อง
เที่ยวรายไตรมาส จัดทำรายงานตามรูปแบบการดำเนินงานในปี 2559 ซึง่
ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจำแนกตามลักษณะ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

การจัดการเดินทาง และประเภทการใช้จ่าย ซึ่งประกอบด้วย ค่าที่พก


ั ค่า
อาหารและเครื่องดื่ม
ค่าพาหนะเดินทางในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า/ของที่ระลึก ค่าใช้
จ่ายในการบริการนำเที่ยว และค่าใช้จา่ ยเพื่อความบันเทิง สำหรับการ
ประมวลผลและวิเคราะห์ขอ
้ มูลค่าใช้จา่ ยนักท่องเทีย
่ วชาวไทยรายไตรมาส
จะนำเสนอคล้ายกันกับของชาวต่างชาติแต่จะจำกัดจำนวนประเทศตาม
แบบรายงานอย่างย่อในปี 2559
2) การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลค่าใช้จ่ายของนักท่อง
เที่ยวรายปี จัดทำรายงานตามรูปแบบการดำเนินงานในปี 2559 ซึ่ง
ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจำแนกตามลักษณะ
การจัดการเดินทาง และประเภทการใช้จ่าย ซึ่งประกอบด้วย ค่าที่พก
ั ค่า
อาหารและเครื่องดื่ม ค่าพาหนะเดินทางในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการซื้อ
สินค้า/ของที่ระลึก ค่าใช้จ่ายในการบริการนำเที่ยว และค่าใช้จ่ายเพื่อ
ความบันเทิง ตลอดจนการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายจำแนกตามพฤติกรรมการ
เดินทางและ Profile สำหรับ การประมวลผลและวิเคราะห์
ข้อมูลค่าใช้จ่ายนักท่องเที่ยวชาวไทยรายปี จะนำเสนอคล้ายกันกับของชาว
ต่างชาติและเสนอตามตารางมาตรฐานของปี 2559
3) การประมวลผลข้อมูลค่าใช้จ่ายของนักทัศนาจรชาวต่าง
ชาติ และนักทัศนาจรชาวไทยจะดำเนินการเป็ นรายไตรมาส ในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าพาหนะเดินทางในประเทศ ค่าใช้
จ่ายในการซื้อสินค้า/ของที่ระลึก ค่าใช้จ่ายในการบริการนำเที่ยว และค่า
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ใช้จ่ายเพื่อความบันเทิง สำหรับข้อมูลนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีถิ่นพำนักใน
ต่างประเทศจะดำเนินการเป็ นรายปี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับค่าที่พัก ค่า
อาหารและเครื่องดื่ม ค่าพาหนะเดินทางในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการซื้อ
สินค้า/ของที่ระลึก ค่าใช้จ่าย ในการบริการนำเที่ยว และค่าใช้จ่าย
เพื่อความบันเทิง

3. การสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายใน
ประเทศปี

3.1 แนวคิดด้านการท่องเที่ยว
เพื่อให้ผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างประชากร
ของนักท่องเที่ยว พฤติกรรม
การเดินทางและการพักแรมของนักท่องเที่ยว จึงกำหนดแนวทางการ
ศึกษาครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมาย 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เยี่ยมเยือนคนไทย ผู้เยี่ยม
เยือนระหว่างประเทศทีมีถิ่นพำนักถาวรในประเทศไทย (Expatriate) และ
ผู้เยี่ยมเยือนระหว่างประเทศ (International Visitors) และมีประเด็น
การศึกษาที่สำคัญ 5 ประเด็น คือ โครงสร้างคุณลักษณะด้านประชากร
ของผู้เยี่ยมเยือน พฤติกรรมการเดินทางและการพักแรมของนักท่องเที่ยว
พฤติกรรมการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว ทัศนคติและความพึงพอใจ และ
แรงจูงใจของนักท่องเที่ยว การกำหนดแนวทางการศึกษาดังกล่าว
พิจารณาจากทฤษฎีพฤติกรรมการจัดการเดินทางท่องเที่ยว ซึง่ จากการ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ศึกษาสามารถสรุปได้ว่า การท่องเที่ยวเป็ นสินค้าประเภทหนึ่งซึ่งโดยทั่วไป


สามารถแบ่งขัน
้ ตอน/กระบวนการบริโภคด้านการท่องเที่ยวออกเป็ น 3
ขัน
้ ได้แก่
1) การวางแผนการเดินทาง (Pre-consumption) เป็ นขัน

ตอนทีเ่ กิดขึน
้ ก่อนการเดินทางท่องเทีย
่ ว เช่น การค้นหาข้อมูลเกีย
่ วกับแหล่ง
ท่องเทีย
่ ว การเดินทาง สถานที่พัก เป็ นต้น กระบวนการนีอ
้ าจจะดำเนิน
การโดยไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น การสอบถามจากเพื่อน/ญาติ เป็ นต้น และอาจ
มีค่าใช้จ่ายเกิดขึน
้ เช่น การจองที่พัก การซื้อบริการด้านการท่อง
เที่ยวจากผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว เป็ นต้น
2) การบริโภคบริการด้านการท่องเที่ยว (Consumption)
เป็ นขัน
้ ตอนที่ครอบคลุมตัง้ แต่การเดินทางมาตามทีว่ างแผนไว้จนสิน
้ สุดการ
เดินทาง ซึง่ เป็ นขัน
้ ตอนทีก
่ อ
่ ให้เกิดค่าใช้จา่ ยและประสบการณ์ตอ
่ นักท่อง
เทีย
่ วจากการใช้บริการด้านการท่องเทีย
่ วทีจ
่ ด
ั หาในขัน
้ ตอนแรก
3) ความรู้สก
ึ ที่เกิดขึน
้ เมื่อเสร็จสิน
้ การท่องเทีย
่ ว (Post-
consumption) เป็ นความรู้และประสบการณ์ทน
่ี ก
ั ท่องเทีย
่ วได้รบ
ั จากการ
ท่องเทีย
่ ว

แผนภาพที่ 4 แสดงการสื่อสารและความต้องการข้อมูลในการจัดหา
New Consumers
บริการท่องเที่ยว
Pre-consumption Consumption Post-consumption

Planning Connection Sharing


Expectation-formation Navigation Documentation
Decision-making Short-term External memory
Transactions decision-making Re-experiencing
Anticipation On-site transactions Attachment

ที่มา : Gretzel, Fesenmaier and Leary (2006)


สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

3.2 แนวทางการศึกษา
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

เพื่อให้ผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างประชากร
ของนักท่องเที่ยว พฤติกรรม
การเดินทางและการพักแรมของนักท่องเที่ยวตลอดจนมีความน่าเชื่อถือ
ทางสถิติ จึงดำเนินการศึกษาโดยรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึง่
มีแนวทางการดำเนินงานดังนี ้

1) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมรายงาน


เอกสาร สถิติและการศึกษาต่างๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์
สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว

2) ข้อมูลปฐมภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากการสำรวจโดยใช้


แบบสอบถามสัมภาษณ์
ผู้ที่เดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดต่าง ๆ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบ Face-
to-Face จำนวนไม่น้อยกว่า 244,100 ราย ครอบคลุมหน่วยตัวอย่างทัง้
นักท่องเที่ยวชาวไทย นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ นักทัศนาจรชาวไทย
และนักทัศนาจรชาวต่างประเทศ ในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทัง้ นีเ้ พื่อให้
ทราบถึงโครงสร้างประชากรของผู้เยี่ยมเยือนที่เดินทางท่องเที่ยวในแต่ละ
จังหวัด จึงใช้วิธีการสำรวจข้อมูลแบบ Random Sampling
ที่ไม่ได้กำหนดรายละเอียดหรือประเภทของหน่วยตัวอย่าง แต่จะกำหนด
จำนวนหน่วยตัวอย่างทัง้ หมดของแต่ละจังหวัดตามโครงสร้างการสำรวจ
ในปี 2559

3.3 แนวทางการสำรวจข้อมูล
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

1)แนวทางการดำเนินงาน เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ครบ


ถ้วน และสมบูรณ์ตามขอบเขตการศึกษา ในการสำรวจข้อมูลจึงดำเนิน
การโดยใช้แบบสอบถาม และรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ แบบ
Face-to-Face โดยพัฒนาแบบสอบถามทัง้ ที่เป็ นภาษาไทยและภาษา
อังกฤษ โดยดำเนินการสำรวจเป็ นรายเดือนและกำหนดจำนวนตัวอย่างต่อ
จังหวัดไม่น้อยกว่า 400 รายต่อไตรมาสและใช้วิธีการสุ่มแบบ
Non-Probability Sampling ช่วงเวลาการสำรวจครอบคลุมวันธรรมดา
และวันหยุดช่วงเทศกาลต่างๆ เช่น
จุดท่องเที่ยว จุดเดินทางออก และจุดพักแรมในทุกจังหวัด
2)การจัดคณะทำงานสำรวจข้อมูล เพื่อให้การเก็บรวบรวม
ข้อมูลดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสร็จสิน
้ ตามเป้ าหมายและ
ระยะเวลาที่กำหนด จึงแบ่งคณะสำรวจข้อมูลออกเป็ นกลุ่ม ตามภาระ
หน้าที่ ในการดำเนินงาน เช่น ด้านการประสานงานและกำกับการปฏิบัติ
งาน และด้านการสำรวจข้อมูลเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ตามแผนการ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับโครงสร้างของคณะ
สำรวจข้อมูล ประกอบด้วย
(1) หัวหน้าชุดสำรวจข้อมูล รับผิดชอบการควบคุมการ
ปฏิบต
ั งิ านให้ดำเนินการตามกรอบระยะเวลาทีก
่ ำหนด การรวบรวม
แบบสอบถามจากพนักงานสำรวจข้อมูล และการบรรณาธิกรเบื้องต้น
(2) พนักงานสำรวจ มีหน้าทีส
่ ำรวจและรวบรวมข้อมูลจาก
นักท่องเทีย
่ ว/นักทัศนาจร โดยกำหนดให้พนักงานสำรวจทุกคนต้องผ่านการ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

อบรมและทดสอบด้านภาษาและทักษะการสำรวจข้อมูล และต้องแต่ง
กายด้วยเครื่องแต่งกายทีส
่ ภ
ุ าพตลอดระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อ
สร้างความประทับใจให้แก่นก
ั ท่องเทีย
่ วและสร้างภาพลักษณ์ทด
่ี ใี ห้แก่โครง
การฯ

3.4 การสำรวจข้อมูลภาคสนาม

การสำรวจข้อมูลภาคสนามดำเนินการโดยการสัมภาษณ์
หน่วยตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มและรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์
ครอบคลุมหน่วยตัวอย่างทัง้ ทีเ่ ป็ นชาวไทย ชาวต่างประเทศ และเพื่อให้ได้
รับผลการศึกษาทีถ
่ ก
ู ต้องและสอดคล้องกับพฤติกรรมและความนิยมของนัก
ท่องเทีย
่ ว จึงกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างในแต่ละจังหวัดโดยใช้โครงสร้าง
การสำรวจในปี 2559 เป็ นเกณฑ์ และกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างเป็ น 2
กลุ่ม คือ หน่วยตัวอย่างที่เป็ นนักท่องเที่ยวชาวไทย และหน่วยตัวอย่างที่
เป็ นนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ
ซึง่ ไม่กำหนดสัญชาติ/ถิ่นที่อยู่ของนักท่องเที่ยว สำหรับหน่วยตัวอย่างที่
เป็ นนักทัศนาจรชาวไทยและ
นักทัศนาจรชาวต่างประเทศ ไม่สามารถกำหนดขนาดหน่วยตัวอย่างได้
เนื่องจากไม่ทราบขนาดของประชากรที่ชัดเจน จึงใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ
สำหรับจำนวนหน่วยตัวอย่างที่จะดำเนินการสำรวจมีจำนวน 244,100
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ราย หรือไตรมาสละ 61,025 ราย ซึ่งสามารถสรุปจำแนกตามภูมิภาคได้


ดังนี ้

ตารางที่ 7 สรุปจำนวนหน่วยตัวอย่างสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดิน
ทางท่องเที่ยวภายในประเทศ
จำนวนตัวอย่าง (ราย)
ภูมิภาค
ชาวไทย ต่างชาติ รวม
ภาคกลาง (รวม 26,088 5,920 32,008
กรุงเทพฯ)
ภาคตะวันตก 21,244 3,080 24,324
ภาคเหนือ 39,716 8,308 48,024
ภาคตะวันออกเฉียง 54,396 3,576 57,972
เหนือ
ภาคตะวันออก 22,184 8,852 31,036
ภาคใต้ 27,116 23,620 50,736
รวม 190,744 53,356 244,100
หมายเหตุ : *จำนวนหน่วยตัวอย่างชาวไทย และชาวต่างชาติในแต่ละภูมิภาคสามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ตามความเหมาะสม
แต่มีจำนวนรวมทัง้ หมดไม่น้อยกว่า 244,100 ราย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ตารางที่ 8 สรุปจำนวนหน่วยตัวอย่างสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดิน
ทางท่องเที่ยวภายในประเทศ
(หน่วย: ราย)
ลำดับ ต่าง
ที่ ภาค จังหวัด คนไทย ชาติ รวม
1 กรุงเทพฯ กรุงเทพมหานคร 3,156 1,612 4,768
2 ภาคกลาง ลพบุรี 2,556 140 2,696
3 ภาคกลาง พระนครศรีอยุธยา 2,364 1,012 3,376
4 ภาคกลาง สระบุรี 1,956 208 2,164
5 ภาคกลาง ชัยนาท 1,972 140 2,112
6 ภาคกลาง นครปฐม 2,024 140 2,164
7 ภาคกลาง สิงห์บุรี 1,972 140 2,112
8 ภาคกลาง อ่างทอง 1,972 140 2,112
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
9 ภาคกลาง นนทบุรี 1,972 140 2,112
10 ภาคกลาง ปทุมธานี 1,124 984 2,108
11 ภาคกลาง สมุทรปราการ 1,124 984 2,108
12 ภาคกลาง สมุทรสาคร 1,408 140 1,548
13 ภาคกลาง ฉะเชิงเทรา 2,488 140 2,628
14 ภาคตะวันตก กาญจนบุรี 4,432 324 4,756
15 ภาคตะวันตก เพชรบุรี 3,696 560 4,256
16 ภาคตะวันตก ประจวบคีรข
ี ันธ์ 6,148 1,776 7,924
17 ภาคตะวันตก ราชบุรี 1,972 140 2,112
18 ภาคตะวันตก สุพรรณบุรี 3,024 140 3,164
19 ภาคตะวันตก สมุทรสงคราม 1,972 140 2,112
23 ภาคเหนือ แม่ฮ่องสอน 688 2,700 3,388
24 ภาคเหนือ สุโขทัย 2,520 652 3,172
25 ภาคเหนือ ตาก 3,024 140 3,164
26 ภาคเหนือ เพชรบูรณ์ 3,024 140 3,164
27 ภาคเหนือ ลำปาง 2,308 324 2,632
28 ภาคเหนือ นครสวรรค์ 2,488 140 2,628
29 ภาคเหนือ แพร่ 2,488 140 2,628
30 ภาคเหนือ ลำพูน 2,308 140 2,448
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ตารางที่ 8 สรุปจำนวนหน่วยตัวอย่างสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดิน
ทางท่องเที่ยวภายในประเทศ (ต่อ)
(หน่วย: ราย)
ลำดับ ต่าง
ที่ ภาค จังหวัด คนไทย ชาติ รวม
31 ภาคเหนือ กำแพงเพชร 1,972 140 2,112
32 ภาคเหนือ น่าน 1,972 140 2,112
33 ภาคเหนือ พะเยา 1,972 140 2,112
34 ภาคเหนือ พิจต
ิ ร 1,972 140 2,112
35 ภาคเหนือ อุตรดิตถ์ 1,972 140 2,112
36 ภาคเหนือ อุทย
ั ธานี 1,972 140 2,112
ภาคตะวันออก นครราชสีมา 5,836 280 6,116
37 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก เลย 4,388 420 4,808
38 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก อุบลราชธานี 3,872 140 4,012
39 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ขอนแก่น 3,544 140 3,684
40 เฉียงเหนือ
41 ภาคตะวันออก อุดรธานี 3,092 284 3,376
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก หนองคาย 2,816 352 3,168
42 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก บุรรี ม
ั ย์ 3,024 140 3,164
43 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ชัยภูมิ 2,508 140 2,648
44 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก นครพนม 2,508 140 2,648
45 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ร้อยเอ็ด 2,508 140 2,648
46 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก มุกดาหาร 2,488 140 2,628
47 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก สกลนคร 2,392 140 2,532
48 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก สุรน
ิ ทร์ 2,180 140 2,320
49 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก กาฬสินธุ์ 1,972 140 2,112
50 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก มหาสารคาม 1,972 140 2,112
51 เฉียงเหนือ
52 ภาคตะวันออก ศรีสะเกษ 1,972 140 2,112
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ยโสธร 1,972 140 2,112
53 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก อำนาจเจริญ 1,972 140 2,112
54 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก หนองบัวลำภู 1,972 140 2,112
55 เฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก บึงกาฬ 1,408 140 1,548
56 เฉียงเหนือ
57 ภาคตะวันออก ตราด 4,328 3,696 8,024
58 ภาคตะวันออก ชลบุรี 4,280 3,632 7,912
59 ภาคตะวันออก นครนายก 3,544 140 3,684
60 ภาคตะวันออก ระยอง 2,816 664 3,480

ตารางที่ 8 สรุปจำนวนหน่วยตัวอย่างสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดิน
ทางท่องเที่ยวภายในประเทศ (ต่อ)
(หน่วย: ราย)
ลำดับ ต่าง
ที่ ภาค จังหวัด คนไทย ชาติ รวม
61 ภาคตะวันออก สระแก้ว 2,860 312 3,172
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
62 ภาคตะวันออก จันทบุรี 2,408 244 2,652
63 ภาคตะวันออก ปราจีนบุรี 1,948 164 2,112
64 ภาคใต้ สุราษฎร์ธานี 4,436 6,332 10,768
65 ภาคใต้ สงขลา 3,600 3,352 6,952
66 ภาคใต้ ภูเก็ต 984 3,772 4,756
67 ภาคใต้ กระบี่ 968 2,616 3,584
68 ภาคใต้ พังงา 1,704 1,868 3,572
69 ภาคใต้ นครศรีธรรมราช 3,024 140 3,164
70 ภาคใต้ ตรัง 2,588 572 3,160
71 ภาคใต้ ชุมพร 1,676 436 2,112
72 ภาคใต้ นราธิวาส 352 1,760 2,112
73 ภาคใต้ ปั ตตานี 1,972 140 2,112
74 ภาคใต้ พัทลุง 1,972 140 2,112
75 ภาคใต้ ระนอง 1,816 296 2,112
76 ภาคใต้ สตูล 1,828 284 2,112
77 ภาคใต้ ยะลา 196 1,912 2,108
190,74 53,35 244,10
รวม 4 6 0
หมายเหตุ : *จำนวนหน่วยตัวอย่างชาวไทย และชาวต่างชาติในแต่ละจังหวัดสามารถเปลี่ยนแปลง
ได้ตามความเหมาะสม
แต่มีจำนวนรวมทัง้ หมดไม่น้อยกว่า 244,100 ราย
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

3.5 รายละเอียดการศึกษาสำรวจ

รายละเอียดการศึกษาสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทาง
ท่องเที่ยวภายในประเทศจะต้องครอบคลุมประเด็น ดังต่อไปนี ้
1) โครงสร้างทั่วไปของผู้เดินทางภายในจังหวัด ได้แก่
ภูมิลำเนา หรือถิ่นที่อยู่ในปั จจุบัน อายุ อาชีพ เพศ ข้อจำกัดทางกายภาพ
ของผู้เดินทาง ระดับรายได้ วัตถุประสงค์หลักในการเดินทาง จำนวน
จังหวัดที่รวมอยู่ในการท่องเที่ยวในครัง้ นี ้ จำนวนครัง้ เฉลี่ยของการเดิน
ทางในรอบปี ที่ผ่านมา เป็ นต้น
2) พฤติกรรมของการเดินทางและการพักแรม ได้แก่
(1) ลักษณะการจัดการเดินทางในครัง้ นี ้ เช่น จัดการเดิน
ทางเอง หรือใช้บริการของบริษัทนำเที่ยวในการเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัด
เป็ นต้น
(2) พาหนะทีใ่ ช้ในการเดินทางเข้ามาในจังหวัด เช่น เครื่อง
บิน รถไฟ รถโดยสารประจำทาง รถโดยสารไม่ประจำทาง รถส่วนตัว และ
เรือ เป็ นต้น
(3) ประเภทของสถานพักแรม เช่น โรงแรม เกสท์เฮาส์
บังกะโล รีสอร์ต โฮมสเตย์ เป็ นต้น
(4) ระยะพำนักเฉลี่ย
(5) จำนวนผู้ร่วมเดินทาง
(6) แหล่งท่องเที่ยวหลักในแต่ละจังหวัดที่เดินทางไปเที่ยว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

ในครัง้ นี ้
(7) แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประกอบการท่องเที่ยว
3) โครงสร้างการใช้จ่าย ครอบคลุมการใช้จ่ายในหมวดหลัก
8 หมวด คือ
- ค่าที่พัก ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่จ่ายเป็ นค่าเช่า/ค่าบริการ
โรงแรม เกสท์เฮาส์ บังกะโล
รีสอร์ต โฮมสเตย์ ค่าทีพ
่ ก
ั อุทยาน ค่าธรรมเนียมบำรุงวัด เป็ นต้น และจัด
เก็บเป็ นหมวดลักษณะ/ประเภทของทีพ
่ ก

- ค่าอาหารและเครื่องดื่มทุกประเภทที่จ่ายภายในจังหวัดที่
เดินทางท่องเที่ยว ได้แก่ ค่าอาหารในภัตตาคาร ร้านอาหาร ร้านหาบเร่
แผงลอย เป็ นต้น
- ค่าบริการเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัด ได้แก่ ค่าใช้จ่าย
เพื่อเป็ นค่าบริการนำเที่ยว
ค่าผ่านประตูเข้าอุทยานแห่งชาติ แหล่งท่องเที่ยวและการแสดงต่างๆ ค่า
บริการใช้ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ และศูนย์แสดงสินค้า เป็ นต้น
- ค่าพาหนะเดินทางท่องเที่ยวภายในจังหวัด ได้แก่ ค่าใช้
จ่ายเพื่อเป็ นค่าเดินทางท่องเที่ยวภายในจังหวัด เช่น ค่าโดยสารรถประจำ
ทางระหว่างอำเภอ หมู่บ้าน ค่าเรือข้ามฟาก ค่ารถแท็กซี่ รถสามล้อเครื่อง
รับจ้าง รถสามล้อรับจ้าง รถมอเตอร์ไซด์รับจ้าง และค่าเช่ารถ เป็ นต้น
- ค่าซื้อสินค้าและของที่ระลึก ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อ
สินค้าอุปโภคเพื่อนำกลับไปยังถิ่นที่อยู่ถาวรของตน เช่น สินค้าประเภท
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

อัญมณี เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าไหม สินค้าแบรนด์เนม/เครื่องหนัง (แต่ไม่ใช่


กรณีนำกลับไปขายต่อ) เป็ นต้น
- ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จากการท่องเที่ยวในจังหวัด เช่น ค่า
ทำบุญ ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟิ ล์ม/ค่าบริการล้างอัดขยายภาพ และค่า
บริการ/ค่าเช่าอุปกรณ์อ่ น
ื ๆ เป็ นต้น
- ค่าใช้จ่ายเตรียมตัวก่อนเดินทาง
- ค่าใช้จ่ายระหว่างการเดินทาง ได้แก่ ค่าใช้จ่ายระหว่าง
จังหวัดโดยเริ่มจากจุดเดินทางออกจนถึงจังหวัดสุดท้าย เช่น ค่ารถโดยสาร
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและอื่น ๆ เป็ นต้น
4) ศึกษาทัศนคติ ความพึงพอใจและแรงจูงใจในการเดินทาง
ท่องเที่ยว ประกอบด้วย
(1) แหล่งท่องเที่ยวแต่ละประเภทที่ไปเที่ยว ความสะอาด
ความปลอดภัย ความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความ
สะดวกอื่นๆ ของแหล่งท่องเที่ยวที่ไปเที่ยว
(2) การให้บริการของโรงแรม คุณภาพการให้บริการ ความ
สะอาด สุขอนามัยของอาหาร และอื่นๆ
(3) การให้บริการของระบบขนส่งสาธารณะ เช่น รถ
โดยสารประจำทาง เรือ สถานีรับส่งผู้โดยสาร และอื่น ๆ เป็ นต้น ทัง้ ใน
ระดับจังหวัดและพื้นที่
(4) ปั ญหาและข้อเสนอแนะทัง้ ด้านแหล่งท่องเที่ยว สถาน
บริการ และผู้ให้บริการ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

3.6 การบรรณาธิกรแบบสอบถามและการบันทึกข้อมูล

เพื่อให้แบบสอบถามทีไ่ ด้รบ
ั จากการสำรวจมีความถูกต้อง
สมบูรณ์และสอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้จา่ ยของนักท่องเทีย
่ ว จึงกำหนด
ให้มก
ี ารบรรณาธิกรแบบสอบถามโดยนักวิจย
ั /นักสถิตท
ิ ม
่ี ป
ี ระสบการณ์ดา้ น
การสำรวจ โดยเฉพาะแบบสอบถามทีผ
่ า่ นการบรรณาธิกรและถูกต้องเท่านัน

จึงจะถูกนำไปบันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สำหรับการบันทึกข้อมูล
ควบคุมการดำเนินการโดยนักสถิตแ
ิ ละนักวิจย
ั ทีม
่ ป
ี ระสบการณ์ดา้ นการ
สำรวจและบันทึกข้อมูล จึงทำให้ขอ
้ มูลทีถ
่ ก
ู บันทึกมีความถูกต้อง สมบูรณ์
และผ่าน การตรวจสอบความถูกต้อง

4. การสำรวจข้อมูลสถานพักแรมและวิเคราะห์อัตราการเข้า
พักในสถานประกอบการที่พัก
1) รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลสถิติการพักแรม จำนวนสถานพัก
แรม โดยแบ่งแยกเป็ น สถานพักแรมแต่ละประเภท เช่น โรงแรม เกส
ท์เฮาส์ บังกะโล รีสอร์ต โฮมสเตย์ เป็ นต้น จำนวนห้องพัก วิเคราะห์อัตรา
การเข้าพักแรมและจำนวนผู้เข้าพักแรมจากสถานพักแรมต่างๆ ของแต่ละ
จังหวัดให้มีความถูกต้องเป็ นปั จจุบัน ดำเนินการโดยการกำกับและตรวจ
สอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สถิติประจำจังหวัดเป็ นรายเดือน เพื่อให้
สามารถควบคุมและให้คำแนะนำในการแก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้องและ
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

เหมาะสม ร่วมกับการรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ท่องเที่ยวที่สำคัญของ
จังหวัด
2) ประมวลผลการสำรวจข้อมูลอัตราการเข้าพักในสถาน
ประกอบการที่พักและ
ผลการสำรวจสัดส่วนพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศใน
เพื่อคำนวณเป็ นจำนวน
ผู้เยี่ยมเยือน (นักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร) ของทุกจังหวัดทั่วประเทศ
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของผู้เยี่ยมเยือน (นักท่องเที่ยวและนักทัศนาจร) และราย
ได้จากการท่องเที่ยวของทุกจังหวัดทั่วประเทศเป็ นรายไตรมาส และ
รายปี
ทัง้ นี ้ จะดำเนินการจัดจ้างผู้ประสานงานการสำรวจและ
วิเคราะห์ข้อมูลสถานพักแรมอย่างน้อย 30 คน เพื่อตรวจสอบข้อมูลสถาน
พักแรมทัง้ 77 จังหวัดทั่วประเทศ

1) พื้นที่เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง


2) พื้นที่เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน
3) พื้นที่แม่ฮ่องสอน
4) พื้นที่พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์
5) พื้นที่ตาก กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี
6) พื้นที่นครนายก ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สมุทรปราการ
สระแก้ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

7) พื้นที่นครพนม สกลนคร มุกดาหาร กาฬสินธุ์


8) พื้นที่อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลำภู บึงกาฬ
9) พื้นที่นครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ บุรีรัมย์
10) พื้นที่อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ
11) พื้นที่เลย
12) พื้นที่ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม
13) พื้นที่กรุงเทพฯ
14) พื้นที่พระนครศรีอยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี อ่างทอง
15) พื้นที่ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี ชัยนาท
16) พื้นที่กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม
17) พื้นที่ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร
18) พื้นที่ระยอง จันทบุรี
19) พื้นที่ตราด
20) พื้นที่ชลบุรี
21) พื้นที่สุราษฎร์ธานี (ไม่รวมเกาะ)
22) พื้นที่สุราษฎร์ธานี (พื้นที่เกาะ)
23) พื้นที่กระบี่
24) พื้นที่ชุมพร ระนอง
25) พื้นที่นครศรีธรรมราช พัทลุง
26) พื้นที่ภูเก็ต
27) พื้นที่สงขลา สตูล
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

28) พื้นที่พงั งา ภูเก็ต


29) พื้นที่ตรัง
30) พื้นที่นราธิวาส ยะลา ปั ตตานี
หมายเหตุ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

พื้นที่ดำเนินงาน
ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย จำนวน 77 จังหวัด
โดยแสดงข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดเป็ นรายจังหวัด รายเขตพัฒนาการ
ท่องเที่ยว เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์วางแผนให้สอดคล้องกับรูปแบบ
การบริหารงานของภาครัฐ

3) แนวทางการดำเนินงาน รวบรวมข้อมูลสถิติการพักแรมและ
จำนวนสถานพักแรม และจำนวนห้องพักแรม จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
และโดยจำแนกสถานพักแรมออกเป็ นประเภทต่าง ๆ เช่น โรงแรม เกสท์
เฮาส์ บังกะโล รีสอร์ต โฮมสเตย์ เป็ นต้น และดำเนินการสำรวจอัตราการ
เข้าพักจากสถานพักแรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของจำนวนสถานพักแรม
ในแต่ละจังหวัด และนำผลสำรวจดังกล่าวมาประมวลผลและ วิเคราะห์
อัตราการเข้าพักแรมและจำนวนผู้เข้าพักแรมจากสถานพักแรมต่างๆ ร่วม
กับข้อมูลสถานการณ์ท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัด
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

แผนภาพที่ 5 สรุปขัน
้ ตอนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์
พักแรม
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

แบบฟอร์มทีใ่ ช้
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

ปรับปรุง
คู่มือปฏิบัติงาน
ครัง้ ที่
เรื่อง ขัน
้ ตอนการรวบรวมข้อมูลสถิตน
ิ ก
ั ท่องเทีย
่ วและ หน้าที่

รายได้ดา้ นการท่องเทีย
่ ว

You might also like