You are on page 1of 46

-1- 1

สรุปกม.ระหว่างประเทศจาก PowerPoint
เขตอำำนำจรัฐ กับกำรบังคับใช้กฎหมำยอำญำ
เรื่องเขตอำำนำจรัฐ กับกำรบังคับใช้กฎหมำยอำญำ เช่น มำตรำ 4 วรรค 1 กำรกระทำำควำมผิดใดๆในรำชอำณำจักร ไม่วำ่ ผู้กระทำำจะ
เป็นคนไทย หรือคนต่ำงด้ำวก็ตำม ศำลไทยย่อมมีอำำนำจบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย ทั้งนี้เป็นเรื่องกำรใช้อำำนำจรัฐตำมหลักดินแดน
นัน่ เอง
และ มำตรำ 4 วรรค 2ν เป็นกำรขยำยเขตอำำนำจรัฐตำมหลักดินแดนโดยเชื่อมโยงกับหลักสัญชำติ ให้รวมถึงกำรกระทำำในเรือไทย หรือ
อำกำศยำนไทยด้วย ไม่ว่ำอยู่ที่ใด (โปรดดูคดี Lotus ในกฎหมำยระหว่ำงประเทศเปรียบเทียบ) คำำว่ำไม่ว่ำอยู่ที่ใด นัน้ คือเรือไทย
และอำกำศยำนไทยนั้นไม่ได้อยู่ในรำชอำณำจักรไทย เพรำะถ้ำอยู่ในรำชอำณำจักรไทยแล้วก็ใช้ มำตรำ 4 วรรค 1 บังคับตำมหลักดินแดน
ได้เลย เป็นต้น
เขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน
เขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน รัฐย่อมมีอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนของตนโดยสมบูรณ์ ดังนัน้ ภำยในกรอบปริมณฑลแห่งดินแดนของรัฐ
ใด รัฐนัน้ ย่อมมีอำำนำจเหนือทั้งบุคคล ทรัพย์สิน กำรกระทำำ เหตุกำรณ์ใดๆทั้งปวง ไม่วำ่ จะเป็นคนชำติ หรือคนต่ำงด้ำว เว้นแต่กฎหมำย
ระหว่ำงประเทศได้ให้ข้อยกเว้นไว้เช่น เรื่องเอกสิทธิ และควำมคุ้มกันทำงกำรทูตเป็นต้น
ดังนัน้ ในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมำยอำญำ กำรกระทำำผิดใดๆ ไม่วำ่ โดยผู้ใด ไม่จำำกัดว่ำคนชำติ หรือคนต่ำงด้ำว ย่อมอยู่ภำยในเขตอำำนำจ
รัฐนัน้ มำตรำ 4 วรรค 1 (ป.อำญำ)
ν และยังแบ่งเป็นเขตอำำนำจรัฐตำมหลักอัตวิสัย subjective territoriality พิจำรณำจุดเริ่มต้นในกำรกระทำำควำมผิด
ในเขตแดนของรัฐแม้ว่ำเป็นบำงส่วนของกำรกระทำำ หรือผลสำำเร็จเกิดขึ้นนอกรำชอำณำจักรก็ตำม
เขต อำำนำจรัฐตำมหลักภววิสัย (Objective territoriality) พิจำรณำจุดกำำเนิดกำรกระทำำนอกรำชอำณำจักร แต่
ผลสำำเร็จเกิดขึ้นในรำชอำณำจักร หรือทฤษฎีผลกำรกระทำำ (Effect Doctrine) กล่ำวคือแม้กำรกระทำำเกิดนอกเขตแดนหำก
ผลเกิดสำำเร็จในเขตแดนรัฐใด รัฐนั้นย่อมมีเขตอำำนำจรัฐเหนือคดีนั้นตำมหลักดินแดนนี้เช่นกัน เช่น มำตรำ 5 รวมทั้งมำตรำ 6 ในส่วน
ของตัวกำร ผู้ใช้ และผู้สนับสนุน (ป.อำญำ)
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสัญชำติ รัฐมีเขตอำำนำจรัฐเหนือบุคคล ตลอดจนทรัพย์สินของบุคคลที่มีสัญชำติของรัฐนั้น แม้อยู่นอกดินแดนของรัฐ
ตำมหลักกำรนี้ คนสัญชำติของรัฐใดๆไม่ว่ำไปอยู่ ณ. ที่ใดย่อมยังอยู่ภำยใต้อำำนำจอธิปไตยของรัฐที่ตนมีสัญชำติ ดังนั้นรัฐนั้นย่อมมีเขต
อำำนำจศำลเหนือบุคคลนัน้ ด้วย กล่ำวคือมีอำำนำจในกำรบังคับกำรตำมกฎหมำย รวมทั้งกำรให้ควำมคุ้มครองด้วย ตำมหลัก
Diplomatic Protection กำรให้ควำมคุม้ ครองคนชำติเมื่อไม่ได้รับควำมเป็นธรรมในต่ำงประเทศและไม่มีทำงได้รับกำร
เยียวยำ ตำมกระบวนกำรยุติธรรมนั้นรัฐต่ำงประเทศนั้น หรือถูกปฏิเสธควำมยุติธรรมตำมหลักนี้รัฐย่อมมีเขตอำำนำจเหนือบุคคลแม้กระทำำ
ผิดนอกประเทศ เช่น มำตรำ 8 (ก) และมำตรำ 9 (ป.อำญำ) เป็นต้น หลักกำรนี้ก็ขยำยไปถึงกำรกำำหนดสัญชำตินิติบุคคล เรือ และ
อำกำศยำนด้วย และขยำยเขตอำำนำจรัฐ เหนือเขตแดน ให้ครอบคลุมถึง เรือ และ อำกำศยำนด้วยไม่ว่ำอยู่ที่ใด (นอกรำชอำณำจักร) โดย
อำศัยควำมเชื่อมโยงแห่งสัญชำติ ดังมำตรำ 4 วรรค 2 (ป.อำญำ)
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักผู้ถูกกระทำำ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือบุคคลโดยอำศัยสัญชำติของบุคคลเป็นตัวเชื่อมโยง เช่นเดียวกับหลักสัญชำติแต่ต่ำง
กันตรงที่หลักผู้ถูกกระทำำอำศัยสัญชำติของผู้ถูกกระทำำ หรือผู้ได้รับควำมเสียหำยเป็นมูลฐำนของเขตอำำนำจรัฐ ดังนั้นหำกบุคคลซึ่งเป็นคนใน
สัญชำติรัฐใดถูกกระทำำแม้ในต่ำงประเทศรัฐนั้นย่อมมีเขตอำำนำจเหนือคดีนั้น เช่น มำตรำ 8 (ข) (1)-(13) (ป.อำญำ) เป็นต้น
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักป้องกัน รัฐทุกรัฐมีเขตอำำนำจรัฐเหนือบุคคลที่กระทำำกำรอันเป็นภัยกระทบต่อควำมมั่นคงของรัฐ แม้ผูกระทำำไม่ใช่
บุคคลในสัญชำติรัฐนั้นก็ตำม และกำรกระทำำนั้นไม่ได้กระทำำภำยในเขตดินแดนรัฐนั้น (เพรำะถ้ำกระทำำในดินแดนรัฐนั้น ย่อมมีอำำนำจตำม
หลักดินแดนอยู่แล้ว) โดยมูลฐำนที่ว่ำรัฐทุกรัฐมีอำำนำจป้องกันผลประโยชน์ของตน และหำกรัฐไม่ใช้หลักป้องกัน ผู้กระทำำผิดอำจจะรอดพ้น
-2- 2
จำกกำรถูกลงโทษ หำกกำรกระทำำนัน้ ไม่เป็นควำมผิดตำมกฎหมำยของรัฐที่ผู้กระทำำอยู่ หลักในข้อนี้รัฐมีอำำนำจรัฐเหนือกำรกระทำำผิดรวม
ไปถึงกรณีโดยไม่จำำเป็นที่ผลร้ำยจะเกิดขึ้นจริง กล่ำวคือ ที่อำจจะเกิด หรือเล็งเห็นว่ำจะเกิดขึ้นก็ได้ เช่น มำตรำ 7 (ป.อำญำ) หลัก
ป้องกันต่ำงจำกหลักสำกลตรงที่หลักสำกลจะพิจำรณำควำมผิดที่มีลักษณะระหว่ำงประเทศ
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสำกล รัฐทุกรัฐมีเขตอำำนำจเหนืออำชญำกรรมที่กระทบต่อประชำคมระหว่ำงประเทศโดยส่วนรวม แม้อำชญำกรรมนั้น
ได้กระทำำนอกประเทศ และไม่ว่ำผู้กระทำำ และผู้เสียหำยจะมิใช่คนชำติรัฐนั้นก็ตำม เช่นกำรจี้เครื่องบิน โจรสลัด ค้ำยำเสพติด ก่อกำรร้ำย จับ
ตัวประกัน เป็นต้น อำชญำกรมเหล่ำนี้ทุกรัฐมีเขตอำำนำจเหนือคดีเหล่ำนี้
เขตอำำนำจรัฐทับซ้อน จะเห็นได้ว่ำเขตอำำนำจรัฐอำจจะเกิดทับซ้อนกันขึ้นได้ทั้งระหว่ำงรัฐต่ำงรัฐที่อำศัยมูลฐำนแห่งอำำนำจที่ต่ำงกัน หรือแม้แต่
รัฐเดียวกัน กำรใช้เขตอำำนำจรัฐอำจจะอ้ำงหลักมูลฐำนได้หลำยหลัก เช่น นำย แดงคนไทยไปขโมยรูปปั้นในพิพิธภัณฑ์ที่ประเทศฝรั่งเศสโดย
ผิดกฎหมำย แล้วนำำเข้ำมำในประเทศไทย ทั้งไทยและฝรั่งเศสต่ำงมีอำำนำจรัฐเหนือคดีดังกล่ำว ฝรั่งเศสอำศัยหลักดินแดน เพรำะกำรกระทำำ
เกิด และลักทรัพย์สำำเร็จในดินแดนฝรั่งเศส ไทยก็มีอำำนำจตำมหลักสัญชำติ (ผูก้ ระทำำเป็นคนไทย) และหลักดินแดนภววิสัย (ได้นำำรูปปั้น
เข้ำมำในไทย) เป็นต้น

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศ
♣ ควำมหมำยและลักษณะของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ บ่อเกิดของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
ควำมหมำยของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
1. กฎหมำยระหว่ำงประเทศหมำยถึงกฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลระหว่ำงประเทศ ซึ่งในปัจจุบัน นอกจำกรัฐแล้วยังมี
องค์กำรระหว่ำงประเทศอีกด้วย อีกทั้งยังมีเนื้อหำซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรคุ้มครองปัจเจกชนภำยในรัฐต่ำงๆด้วย
2. กฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎเกณฑ์ทำงกฎหมำย แต่กฎหมำยระหว่ำงประเทศมีลักษณะที่แตกต่ำงจำกกฎหมำยภำยในของรัฐ
เนื่องจำกโครงสร้ำงของสังคมและพื้นฐำนทำงกฎหมำยของกฎหมำยทั้งสองระบบแตกต่ำงกัน
คำำนิยำมของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ กฎหมำยที่ใช้บังคับต่อควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐ
♣ รัฐเท่ำนัน้ ที่มีสิทธิและหน้ำที่ซึ่งได้รับกำรยอมรับ (Recognized)
♣ เดิมรัฐเท่ำนัน้ ที่เป็นบุคคลภำยใต้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ (Subject of International Law)
ส่วนปัจเจกชน ตลอดจนองคำพยพอื่นๆ (Entity) ซึง่ ได้รับผลประโยชน์ หรือภำระ ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้นถือว่ำได้มำ
โดยควำมสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับรัฐ จึงเป็นเพียงเป้ำหมำย หรือวัตถุแห่งกฎหมำยระหว่ำงประเทศเท่ำนั้น (Object of
International Law)
♣ ต่อมำกฎหมำยระหว่ำงประเทศได้ขยำยขอบเขตไปบังคับต่อควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐและองค์กำรระหว่ำงประเทศ และ ระหว่ำงรัฐหรือ
องค์กำรระหว่ำงประเทศกับปัจเจกชนด้วย องค์กำรระหว่ำงประเทศเดิมก็ให้หมำยถึง Inter governmental
Organization แต่ปัจจุบันก็ขยำยไปถึง NGO ด้วย
กฎหมำยระหว่ำงประเทศจึงหมำยถึงกฎหมำย และ ระเบียบข้อบังคับทั้งปวงของสังคมระหว่ำงประเทศ ที่กำำกับ และ ควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลระหว่ำงประเทศให้สำมำรถอยู่ร่วมกันได้อย่ำงสันติสุข ซึ่งในปัจจุบันนี้กฎหมำยระหว่ำงประเทศมิได้จำำกัดบทบำทอยู่เพียงในควำม
สัมพันธ์ระหว่ำงประเทศเท่ำนั้น แต่ได้ขยำยบทบำทเข้ำมำใช้บังคับในประเทศด้วย โดยเข้ำมำควบคุมแม้แต่พฤติกรรมขององค์กรของรัฐกับ
ปัจเจกชนด้วย แล้วยังให้ควำมคุ้มกันแก่ปัจเจกชน มิให้ผู้ใดละเมิดสิทธิมนุษยชน ให้ควำมคุ้มครองแก่เด็ก และสตรี ตลอดจนสิ่งแวดล้อม
-3- 3
และดำำเนินคดี ลงโทษแก่ผู้ประกอบอำชญำกรรมต่อมนุษยชำติและอำชญำกรรมสงครำม
กฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎเกณฑ์ทำงกฎหมำย แต่กฎหมำยระหว่ำงประเทศมีลักษณะที่แตกต่ำงจำกกฎหมำยภำยในของรัฐ เนื่องจำก
โครงสร้ำงของสังคมและพื้นฐำนทำงกฎหมำยของกฎหมำยทั้งสองระบบแตกต่ำงกัน
กำรยืนยันว่ำกฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎหมำยอำจกระทำำได้โดยอำศัยข้อพิสูจน์หลำยประกำร นอกจำกนีไ้ ม่ว่ำนักนิติศำสตร์จะมีควำม
เห็นแตกต่ำงกันอย่ำงไรก็ตำมเกี่ยวกับคำำอธิบำยเรื่องสภำพบังคับของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ แต่ในทำงปฏิบัติแล้วปัจจัยที่สำำคัญก็คือ
เจตนำรมณ์ของรัฐต่ำงๆ และปัจจัยภำยนอกอื่นๆ เช่น ผลประโยชน์ของประชำคมระหว่ำงประเทศ
ลักษณะของกฎหมำย ระหว่ำงประเทศ
1. สภำพบังคับของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ แตกต่ำงจำกกฎหมำยภำยใน
2. กฎหมำยระหว่ำงประเทศแตกต่ำงจำกมำรยำท และอัธยำศัยไมตรีอันดีระหว่ำงประเทศ (International Comity
หรือ Comitas gentium) หรือศีลธรรม (Moral) ซึ่งไม่มีสถำนะเป็นกฎหมำย และไม่มีโทษ
3. กฎหมำยระหว่ำงประเทศลงโทษโดยหลักกำรควำมรับผิดชอบของรัฐ (State Responsibility,
Economic Sanction, Diplomatic Isolation)
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยใน
♣ ปัจจัยด้ำนโครงสร้ำง
กำรรวมตัว Integration♣
หลักอธิปไตย Sovereignty,♣ Supranational
กำรบังคับใช้กฎหมำย Enforcement, Consessus♣
♣ ปัจจัยด้ำนพื้นฐำนทำงกฎหมำย
Pacta Sunt Servanda,♣
♣ อำำนำจรัฎฐำธิปัตย์
ข้อพิสูจน์เกี่ยวกับกำรกฎหมำยและสภำพบังคับของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ ข้อพิสูจน์ว่ำกฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎหมำย
♣ มูลฐำนของสภำพบังคับหรือผลผูกพันของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ บทวิเครำะห์
ข้อพิสูจน์วำ่ กฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎหมำย
♣ ศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศได้นำำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำปรับใช้
♣ ประเทศทั่วโลกยอมรับควำมมีอยู่ของกฎหมำย
♣ สหประชำชำติมีบทบำทในกำรประมวลกฎหมำยระหว่ำงประเทศโดยสมำชิกทั่วโลกยอมรับ
♣ ไม่เคยมีประเทศใดปฏิเสธควำมเป็นกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และเรียกร้องสิทธิตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ มีกฎหมำยระหว่ำงประเทศที่ละเมิดมิได้
♣ แม้กฎหมำยระหว่ำงประเทศและกฎหมำยภำยในไม่เหมือนกันก็มิอำจจะเปรียบเทียบกันได้
มูลฐำนของสภำพบังคับหรือผลผูกพันของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ แนวคิดที่ยึดถือเจตนำรมณ์ของผู้ทรงสิทธิของกฎหมำยและรูปแบบ Voluntarism- Positivism
ทฤษฎีกำรจำำกัดอธิปไตยของตน Auto Autonomy♣
-4- 4
♣ ทฤษฎีเจตนำรมณ์ร่วมกัน Common consessus
ทฤษฎีกฎเกณฑ์ที่เหนือกว่ำ Pacta sunt♣ servanda
แนวคิดที่ยึดถือปัจจัยภำยนอกที่มิใช่เจตนำรมณ์ของรัฐ
♣ กฎหมำยธรรมชำติ: เหตุผล จิตวิญญำณในธรรมชำติของมนุษย์
พวก Objectivism:♣ Solidarist, Marxist
บทวิเคราะห์
♣ ไม่อำจมีทฤษฎีหนึ่งทฤษฎีใดที่ตอบคำำถำมได้อย่ำงชัดเจน จึงต้องอำศัยทฤษฎีกำรประสำน กล่ำวคือในปัจจุบันบทบำทของเจตนำรมณ์
ของรัฐในกำรสร้ำงกฎเกณฑ์ระหว่ำงประเทศเป็นสิ่งที่ไม่อำจจะปฏิเสธได้ แต่ในกำรดำำเนินควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐ และเพื่อร่วมกันรับผิดชอบ
แก้ไขปัญหำส่วนรวม ทำำให้รัฐต้องยอมรับกำรเกิดขึ้นของกฎเกณฑ์ แม้จะไม่ใช่ด้วยควำมสมัครใจ หรือสิ่งที่ตนปรำรถนำก็ตำม ดังนั้นจึงมี
ปัจจัยอื่นๆในกำรพิจำรณำนอกเหนือจำกเจตนำรมณ์ในกำรสร้ำงกฎหมำย
♣ ไม่ว่ำจะมีควำมโต้แย้งในมูลฐำนของสภำพบังคับของกฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นอย่ำงไรก็ไม่อำจปฏิเสธสถำนภำพของกฎหมำยระหว่ำง
ประเทศว่ำเป็นกฎหมำยอีกต่อไป
วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
1. วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศในด้ำนรูปแบบและเนื้อหำ
วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศในด้ำนรูปแบบ
♣ จำรีตประเพณี (Customary International Law)
ทำงปฏิบัติของรัฐ (State♣ Practice)
รูปแบบกฎหมำยมหำชนระหว่ำงประเทศ (Public International Law)♣
♣ เกี่ยวข้องเฉพำะรัฐ (State, Sovereignty, Diplomatic Immunity, Law of the
Sea, Law of War)
ต่อมำขยำยขอบเขตควำมสัมพันธ์ของรัฐ
♣ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับเอกชน
สร้ำงกฎหมำยในรูปของสนธิสัญญำ ทวิภำคี พหุภำคี
วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศในด้ำนเนื้อหำ
♣ เดิมทีกฎหมำยระหว่ำงประเทศ จำำกัดเพียงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐจึงเน้น Public international Law เช่น
Law of War, Jus ad bellum, Jus in bello
♣ ต่อมำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศขยำยไปครอบคลุมถึงระดับองค์กำรระหว่ำงประเทศ และเอกชน จึงเกิด Private
International Law, International transaction , International trade
law, Maritime Law, International environmental law, International
criminal Law, Intellectual property law, International organization
Law, Humanitarian Law
2. วิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศในเชิงประวัติศำสตร์
2.1 จำกอดีตถึงสิ้นสมัยกลำงประมำณศตวรรษที่ 16
a. กฎเกณฑ์ของกลุ่มสังคม, จักรวรรดิ, อำณำจักรโรมัน Jus gentium อิทธิพลของศำสนำ, ยุคกลำง Middle
Age ควำมขัดแย้งทำงศำสนำ กำรเกิดสงครำมแย่งชิง ขยำยอำำนำจทำงทะเล อำำนำจอธิปไตย สันติภำพ
-5- 5
2.2 จำกยุคศตวรรษที่ 16 จนถึงสงครำมโลกครั้งที่ 1
b. ยุคสร้ำงรัฐชำติ ศูนย์กลำงที่ยุโรป วิวัฒนำกำรทำงเทคโนโลยี อธิปไตย ควำมเสมอภำค สร้ำงสถำบันควำมร่วมมือ สงครำมโลกครั้งที่ 1
กำรสร้ำงกฎเกณฑ์เพื่อสันติภำพ
2.3 จำกยุคสงครำมโลกครั้งที่ 1 ถึงยุคปัจจุบัน
c. สิน้ สงครำมโลกครั้งที่ 1 ใช้กฎหมำยเป็นเครื่องมือรักษำสันติภำพของโลก
d. สิน้ สงครำมโลกครั้งที่ 2 Collective Security, Socialism- Liberalism, Cold
War, North-South
e. สิ้นสงครำมเย็น Economic War, Neo Liberalism, Global Market
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.บ่อเกิดหลักของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
2.บ่อเกิดลำำดับรองของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และบ่อเกิดที่มิได้บัญญัติไว้ในธรรมนูญศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
บ่อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศ
1.สนธิสัญญำ (Treaty)
2.กฎหมำยจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ (Customary International Law)
♣ ลักษณะและหลักกำรที่สำำคัญเกี่ยวกับจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ
♣ ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร เป็นบ่อเกิดของกฎหมำย มีผลใช้ได้ทั่วไป erga omnes จำรีตประเพณีมีทั้งสำกล และท้องถิ่น
กำรสร้ำงจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ:♣ Material element, Time element,
Psychological element)
3.หลักกฎหมำยทั่วไป (General Principle of Law)
วิวัฒนำกำรของขั้นตอนกำรสร้ำงกฎหมำยจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ
♣ องค์กำรระดับสำกลเป็นเวทีในกำรเจรจำระหว่ำงประเทศ เพื่อประมวลและพัฒนำกำรกฎหมำยระหว่ำงประเทศ สร้ำงระเบียบกฎเกณฑ์
เกิดแนวโน้มของกฎหมำย de lege ferenda มีกำรอุดช่องว่ำงของกฎหมำย lacunae ต่อมำกฎหมำยก่อตัวขึ้นเป็น
lex ferenda หรือ soft law, Guideline
♣ มีกำรประมวลจำรีตประเพณีเป็นกฎหมำยที่แน่นอน จนเป็นที่ยอมรับในฐำนะกฎหมำยเป็น Lex lata
บ่อเกิดลำำดับรองของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ แนวคำำพิพำกษำของศำลระหว่ำงประเทศ (Jurisprudence of International Law)
♣ ทฤษฎีของผู้เชี่ยวชำญทำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศ (Doctrine of Publicist)
บ่อเกิดที่มิได้บัญญัติไว้ในธรรมนูญศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
♣ กำรกระทำำฝ่ำยเดียว (Unilateral Acts)
กำรกระทำำฝ่ำยเดียวของรัฐ
♣ กำรกระทำำฝ่ำยเดียวขององค์กำรระหว่ำงประเทศ
Acts, Decision, Resolution,♣ Declaration
Law-Making Treaty♣
เช่นปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human rights
Displaced Persons♣
-6- 6

หน่วยที่ 2 บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
• รัฐ
• องค์กำรระหว่ำงประเทศ
• ปัจเจกชนและบรรษัทข้ำมชำติ
รัฐ
1. กำำเนิดรัฐ
1.1 รัฐมีองค์ประกอบที่สำำคัญ 4 ประกำร
1.2 มีดินแดนที่มีเขตกำำหนดอย่ำงแน่นอน
-ควำมหมำยของดินแดน ดินแดนครอบคลุมถึงพื้นดิน ใต้ผิวดิน น่ำนนำ้ำภำยใน ท้องฟ้ำ
-คุณสมบัติของดินแดน ดินแดนต้องมีควำมมั่นคง และต้องมีเขตกำำหนดแน่นอน
1.3 ประชำกรที่มีถิ่นที่อยู่อย่ำงถำวร
-คนชำติ (National) และ กำรให้ควำมคุ้มครองทำงกำรทูต
-คนต่ำงด้ำว กำรปฏิบัติต่อคนต่ำงด้ำว
1.4 รัฐบำลปกครองดินแดนนั้นมีเสถียรภำพที่มั่นคง และมีควำมสำมำรถทั้งทำงเศรษฐกิจ สังคม กำรเมือง
1.5 เอกรำชอธิปไตย มีอำำนำจ และอธิปไตย
1.6 รูปแบบของรัฐ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ

คุณสมบัติของดินแดนของรัฐ
• ดินแดนของรัฐต้องมีควำมมั่นคง
• ดินแดนต้องมีเขตกำำหนดอย่ำงแน่ชัด
• ขนำดของดินแดนไม่เป็นสำระสำำคัญเล็กหรือใหญ่
• กำรปักปันเขตแดนยังไม่แล้วเสร็จก็ใช้ได้
• กำรครอบครองดินแดนต้องชอบด้วยกฎหมำย
ประชากร
• คนชำติ
• ควำมคุ้มครองทำงกำรทูตอยู่ในดุลยพินิจของรัฐ
• คดีต้องถึงที่สุด หรือถูกปฏิเสธควำมยุติธรรม
• เงื่อนไขของควำมคุม้ ครอง
• เป็นคนสัญชำติรัฐนั้น และ ไม่ได้กระทำำผิดโดยเจตนำมิชอบ Clean Hand
• คนต่ำงด้ำว
• ได้รับกำรคุ้มครอง National Treatment
• ต้องเคำรพกฎหมำยของรัฐทีค่ นต่ำงด้ำวอยู่ อยู่ในบังคับกฎหมำย
-7- 7
รัฐบาล
• อำำนำจรัฐบำล
• ควำมสำมำรถทำงเศรษฐกิจ ทำงทหำร
• ควำมเสถียรภำพ ควำมมัน่ คงของรัฐบำล
• อำำนำจเหนือดินแดนและประชำกร อำำนำจในกำรดำำเนินควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
• เอกรำชของรัฐ หรือรัฐบำล
• รูปแบบของรัฐ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ
2.กำรรับรองรัฐ
2.1 ทฤษฏีรับรองรัฐ
-ทฤษฎีว่ำด้วยเงื่อนไขของกำรก่อกำำเนิดรัฐ
• ต้องเป็นรัฐที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์
• กำรรับรองไม่เป็นกำรต่อรองทำงกำรเมือง
• กำรรับรองทำำให้รัฐมีสิทธิตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
-ทฤษฏียืนยัน หรือทฤษฎีประกำศ
2.2 ควำมรับผิดชอบระหว่ำงประเทศของรัฐที่ยังไม่ได้รับรอง
-รัฐที่ยังไม่ได้รับกำรรับรองยังคงต้องรับผิชอบต่อกำรกระทำำของรัฐ
2.3 ประโยชน์ของกำรรับรอง
-มีสถำนภำพที่มั่นคง
-เอื้ออำำนวยต่อกำรเปิดสัมพันธ์ทำงกำรทูต
2.4 ประเภทของกำรรับรอง
-กำรรับรองชั่วครำว หรือโดยพฤตินัย Recognition de Facto
-กำรรับรองถำวร หรือโดยนิตินัย Recognition de Jure
2.5 กำรรับรองรัฐบำล
-ลัทธิว่ำด้วยควำมถูกต้องตำมกฎหมำยภำยใน Doctrine of Legitimacy
-ลัทธิว่ำด้วยเสถียรภำพของรัฐบำล Doctrine of effectiveness
2.6 รูปแบบกำรรับรองรัฐบำล : กำรรับรองโดยพฤตินัย และ กำรรับรองโดยนิตินัย
2.7 กำรรับรองผู้เป็นฝ่ำยในสงครำม และกำรรับรองกลุ่มผู้ใช้อำวุธต่อต้ำนรัฐบำล
กำรรับรองผู้เป็นฝ่ำยในสงครำม
■ แสดงออกว่ำเป็นกลำง
■ ทำำให้ผู้เป็นฝ่ำยในสงครำมเคำรพกฎหมำย
■ไม่ต้องรับผิดชอบต่อกำรกระทำำของคณะปฏิวัติ
กำรรับรองกลุ่มผู้ใช้อำวุธต่อต้ำนรัฐบำล
■ รัฐบำลที่ชอบด้วยกฎหมำยไม่ต้องรับผิดชอบกำรกระทำำดังกล่ำว
3.สิทธิ และหน้ำที่ของรัฐ
-8- 8
3.1 สิทธิของรัฐ
-สิทธิในเอกรำช
1.เอกรำชภำยในดินแดนของตน
2.เอกรำชในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
-สิทธิแห่งควำมเสมอภำค
1.หลักกำรไม่เลือกปฏิบัติ
2.หลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ
3.2 หน้ำที่ของรัฐ หลักกำรไม่แทรกแซงกิจกำรภำยในของรัฐอื่น
• กำรแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมำย
• กำรแทรกแซงได้โดยชอบด้วยกฎหมำย
• กำรเข้ำแทรกแซงโดยโดยอำศัยคำำร้องขอจำกรัฐบำลที่ชอบด้วยกฎหมำย
• กำรแทรกแซงโดยอำศัยสิทธิจำกสนธิสัญญำ
• กำรแทรกแซงเพื่อพิทักษ์คนชำติ
• กำรเข้ำแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม
4.กำรสืบสิทธิของรัฐ
-กำรสืบสิทธิของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญำเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์สำมฝ่ำย คือ
1.รัฐแม่
2.รัฐผู้สืบสิทธิ
3.รัฐที่สำม
• กำรสืบสิทธิของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสญั ญำ
• หลักพื้นฐำนทั่วไปของอนุสญ ั ญำ:
• หลักว่ำด้วยควำมประสงค์ของรัฐที่สำม
• หลักว่ำด้วยเขตแดน
-กำรสืบสิทธิของรัฐไม่กระทบกระเทือนเขตแดนที่กำำหนดโดสนธิสญ ั ญำ
-สนธิสัญญำก่อตั้งระบบดินแดน รัฐที่ได้เอกรำชใหม่ กำรแยกรัฐ กำรรวมตัวเป็นสหพันธรัฐ
• ระบบถำวรที่ผูกมัดเพียงกลุ่มรัฐ
• ระบบถำวรที่ผูกมัดนำนำประเทศ
• รัฐทีไ่ ด้รับเอกรำชใหม่
• กำรรวมตัวเป็นสหพันธรัฐ
กำรสืบสิทธิของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับสนธิสัญญำ:หลักพื้นฐำนทั่วไปของอนุสัญญำ
• กำรสืบสิทธิของรัฐเกี่ยวข้องโดยตรงระหว่ำงรัฐใหม่ผู้สืบสิทธิ รัฐแม่ และรัฐที่สำม อนุสญ
ั ญำจึงพยำยำมปกป้องผลประโยชนของรัฐที่สำม
เมื่อมีกำรสืบสิทธิ โดยยึดควำมประสงค์ของรัฐใหม่และกำรตั้งข้อบังคับให้คงสภำพเดิม
• หลักว่ำด้วยควำมประสงค์ของรัฐที่สำม ในทำงปฏิบัติระหว่ำงประเทศ รัฐแม่อำจทำำควำมตกลงโอนบรรดำสนธิสัญญำที่ตนทำำไว้กับรัฐที่สำม
ให้กับรัฐใหม่ ควำมตกลงประเภทนี้เรียกว่ำ Inheritance Agreement หรือ Assignment Treaty ตัวอย่ำงเช่น สหรำชอำณำจักร ที่ทำำ
-9- 9
สนธิสัญญำกับรัฐซึ่งเคยเป็นดินแดนในอำณำนิคม
• หลักว่ำด้วยดินแดน ได้แก่กำรสืบสิทธิของรัฐต่อเส้นเขตแดน และสนธิสัญญำก่อตั้งระบบดินแดน ซึ่งอนุสญ ั ญำกรุงเวียนนำ 1978 บัญญัติ
ไว้ในข้อ 11 ว่ำ กำรสืบสิทธิของรัฐไม่กระทบกระเทือน เขตแดนซึ่งกำำหนดขึ้นโดยสนธิสัญญำ และระบบดินแดน อันเป็นกำรรักษำสถำนภำพ
เดิม
• ผลของกำรสืบสิทธิ มีสำมรูปแบบ คือ รัฐที่ได้เอกรำชใหม่แยกจำกรัฐแม่ รัฐเอกรำชรวมตัวเป็นสหพันธรัฐใหม่ และ กำรแยกรัฐ จำกรัฐเดิม
เป็นรัฐใหม่โดยไม่คงเหลือรัฐเดิม หรือกำรแยกรัฐใหม่ออกมำบำงส่วนจำกรัฐเดิม ดังนัน้ โดยหลักกำรแล้วรัฐใหม่ย่อมปลอดจำกพันธกรณีใดๆ
ทั้งสิ้นเว้นแต่เป็นควำมประสงค์ของรัฐเกิดใหม่นั้น
• กำรสืบสิทธิของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับ ทรัพย์สิน บรรณสำร และหนี้สินของรัฐ
• รัฐทีไ่ ด้เอกรำชใหม่
• กำรรวมรัฐ
• กำรยุบรัฐ
• กำรแยกดินแดนบำงส่วนเป็นรัฐใหม่
• กำรโอนดินแดนส่วนหนึ่งให้อีกรัฐหนึ่ง
กำรสืบสิทธิของรัฐในส่วนที่เกี่ยวกับ ทรัพย์สิน บรรณสำร และหนี้สินของรัฐ
• รัฐทีไ่ ด้เอกรำชใหม่ ถ้ำไม่มีควำมตกลงเป็นอย่ำงอื่น
• อสังหำริมทรัพย์ เป็นของรัฐผูส้ ืบสิทธิซึ่งอสังหำริมทรัพย์นนั้ ตั้งอยู่
• สังหำริมทรัพย์ โอนกรรมสิทธิให้รัฐผู้สืบสิทธิ
• กำรรวมรัฐ ให้บรรดำหนี้สิน ทรัพย์สิน บรรณสำร เป็นของรัฐใหม่
• กำรแยกดินแดนส่วนหนึ่งหรือบำงส่วนของรัฐหนึ่งออกเป็นอีกรัฐหนึ่ง
• ทรัพย์สิน เป็นของรัฐใหม่
• หนี้สิน เป็นไปตำมควำมตกลง ถ้ำไม่มีกำรตกลงให้แบ่งตำมส่วนที่เป็นธรรม
• บรรณสำร เป็นของรัฐใหม่เพื่อกำรบริหำรรัฐใหม่ และไม่ละเมิดข้อมูลทำงประวัติศำสตร์ และมรดกทำงวัฒนธรรม
• กำรยุบรัฐ ทรัพย์สินที่ตั้งอยู่ในรัฐใหม่ให้เป็นของรัฐนั้น นอกนั้นให้แบ่งกันตำมส่วน
• กำรโอนดินแดนส่วนหนึ่งให้อีกรัฐหนึ่ง ทรัพย์สินยึดหลักดินแดนเป็นของรัฐนัน้ หนี้สินแล้วแต่ตกลงกัน บรรณสำรให้เป็นไปเพื่อประโยชน์
ในกำรบริหำรแผ่นดินของรัฐใหม่
ปัจเจกชนและบรรษัทข้ำมชำติ
• สถำนะของปัจเจกชนตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
• เดิมทีปัจเจกชนเป็นเพียง object of International Law ต่อมำปัจเจกชนได้รับกำรยอมรับให้สำมำรถมีสิทธิตำมกฎหมำยระหว่ำง
ประเทศได้ (Direct effect)
• สถำนะของบรรษัทข้ำมชำติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
• ไม่มีสถำนภำพตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และเป็นบุคคลตำมกฎหมำยภำยในเท่ำนั้น แต่ปัจจุบัน ได้มีกำรยอมรับสิทธิของบรรษัทข้ำม
ชำติ เช่น ในสนธิสัญญำ คุ้มครองกำรลงทุน มีสิทธิฟ้องรัฐได้
สถำนะของปัจเจกชนตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
• ปัจเจกชนสำมำรถมีสิทธิในทำงสำรบัญญัติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศโดยตรง สิทธิมนุษยชน inherent rights สิทธิภำยใต้กฎหมำย
มนุษยธรรม inalienable rights ที่จะได้รับกำรเคำรพตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
- 10 - 10
• กำรมีสทิ ธิในทำงวิธีสบัญญัติ เมื่อถูกละเมิดสำมำรถมีสิทธิฟ้องรัฐได้ European Convention on Human rights
• ควำมรับผิดของปัจเจกชนตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ เช่น โจรสลัด อำชญำกรสงครำม
สถำนะของบรรษัทข้ำมชำติตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
• ลักษณะของบรรษัทข้ำมชำติ
• กิจกำรของบรรษัทข้ำมชำติมิได้จำำกัดอยู่ในรัฐเดียว
• บรรษัทข้ำมชำติมีอำำนำจมำกทั้งทำงเศรษฐกิจ และ กำรเมือง
• บรรษัทดำำเนินธุรกิจไม่เฉพำะแต่กับเอกชน แต่ดำำเนินธุรกิจกับรัฐ และหน่วยงำนของรัฐด้วย
• เป็นที่ยอมรับในทำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศเกี่ยวกับยุติข้อพิพำทโดยอนุญำโตตุลำกำร ระหว่ำงรัฐกับบรรษัทข้ำมชำติ ICSID
• International Centre for Settlement of Investment Dispute

หน่วยที่ 3 เขตแดนและเขตอำานาจรัฐ
เขตแดนของรัฐ
แนวคิด ความหมาย และความสำาคัญของเขตแดนของรัฐ
-เขตแดนเป็นเครื่องกำำหนดขอบเขตของดินแดนที่อยู่ภำยใต้อำำนำจอธิปไตยของรัฐ
-เขตแดนเป็นทั้งเครื่องชี้แสดง และจำำกัดขอบเขตกำรใช้อำำนำจอธิปไตยของรัฐในประชำคมระหว่ำงประเทศ
-กำรมีเขตแดนที่แน่นอนของรัฐมีควำมสำำคัญอย่ำงยิ่งเนื่องจำกเป็นองค์ประกอบของกำรเป็นรัฐ
-ไม่วำ่ รัฐจะมีเขตแดนขนำดเล็ก หรือใหญ่ก็ตำมย่อมมีควำมสำำคัญเท่ำเทียมกันในฐำนะรัฐ
-เผ่ำชนที่เร่ร่อนนั้นแม้จะมีกำรจัดระบบกำรเมือง กำรปกครองแล้วก็ตำม ยังไม่มีสภำพเป็นรัฐจนกว่ำจะตั้งรกรำกเป็นหลักแหล่งที่แน่นอนที่
ใดที่หนึ่ง
ควำมสำำคัญของเขตแดนของรัฐ
-เขตแดนของรัฐเป็นกำรกำำหนดขอบเขตแห่งดินแดนของแต่ละรัฐที่มีอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดน บุคคล และกิจกำร ภำยในรัฐนั้น และ
แยกจำกดินแดนของรัฐอื่นๆในประชำคมโลก ดังนั้นกำรมีเขตแดนที่แน่นอนจึงเป็นองค์ประกอบที่สำำคัญของกำรเป็นรัฐ และเป็นขอบเขตดิน
แดนที่รัฐสำมำรถใช้อำำนำจสูงสุดแห่งอธิปไตยแห่งตนโดยไม่มีรัฐใดสำมำรถเข้ำมำก้ำวล่วงหรือแทรกแซงได้
-เส้นเขตแดนเป็นสิ่งที่กำำหนดขอบเขตแห่งกำรมีสิทธิ และหน้ำที่ระหว่ำงประเทศของรัฐในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
-กฎหมำยระหว่ำงประทศได้รับรองถึงอำำนำจอธิปไตยภำยในกรอบแห่งเขตแดนของรัฐนั้นๆ ดังนัน้ ไม่ว่ำบุคคลใดๆ ทั้งบุคคลธรรมดำ หรือ
นิติบคุ คลรวมทั้ง ทรัพย์ สิ่งของ วัตถุสิ่งใดเมื่อเข้ำไป หรือ อยู่ภำยในเขตแดนของรัฐใดย่อมต้องอยู่ภำยใต้อำำนำจอธิปไตยของรัฐนัน้ ตลอด
จนเคำรพต่อกฎหมำยของรัฐนั้น
-บุคคลบำงจำำพวกเช่นคณะผู้แทนทำงกำรทูตได้รับเอกสิทธิ์และควำมคุ้มกันทำงกำรทูต หรือกรณีทมี่ ีกำรใช้สิทธิคุ้มครองคนชำติในรัฐ
ต่ำงด้ำว ตำมหลัก Diplomatic Protection เป็นต้น แต่ทั้งนี้ และทั้งนั้นบุคคลดังกล่ำวก็ย่อมต้องเคำรพในกฎหมำย
และกฎระเบียบในรัฐที่ตนเข้ำไปพำำนักอยู่เสมอ
-รัฐก็จะต้องใช้อำำนำจอธิปไตยของตนตำมกรอบแห่งกฎหมำยระหว่ำงประเทศ และไม่สำมำรถใช้อำำนำจอธิปไตยนอกเหนือเขตแดนของตน
เช่นกัน
-อำจมีกรณีกำรใช้อำำนำจอำำนำจของรัฐนอกเขตแดนของรัฐในบำงกรณีตำมหลักทฤษฎี Effect Doctrine เช่นกำรใช้อำำนำจ
อธิปไตยนอกดินแดน เช่นกำรมีอำำนำจบังคับใช้กฎหมำยอำญำ หรือเพื่อบังคับใช้กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับนโยบำยสำธำรณะ
Effect Doctrine
- 11 - 11
หมำยถึงทฤษฎีที่อธิบำยกำรใช้อำำนำจแห่งรัฐนอกเขตแดนของรัฐหำกผลของกำรกระทำำผิดกฎหมำย หรือละเมิดกฎหมำยนั้นๆแม้กระทำำ
นอกรำชอำณำจักรแต่มีผลโดยตรงในรัฐนั้นๆ หรืออำณำจักรของรัฐนั้น รัฐดังกล่ำวจะใช้อำำนำจอธิปไตยเพื่อปกป้องมิให้เกิดผลของกำรกระทำำ
ผิดนั้นๆ อันมีผลเกิดขึ้นภำยในอำณำจักร ดังนั้นจึงจำำเป็นต้องก้ำวล่วงไปใช้อำำนำจอธิปไตยนอกอำณำจักรเพื่อระงับกำรกระทำำที่เกิดขึ้นนอก
อำณำจักรดังกล่ำว

องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ
-องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ ประกอบไปด้วยส่วนสำำคัญได้แก่ส่วนที่เป็นพื้นแผ่นดิน พื้นนำ้ำ และ อำกำศ หรือน่ำนฟ้ำของรัฐ ภำยใน
กรอบ หรือขอบเขตแห่งเขตแดนของรัฐนั้นๆ
-ส่วนที่เป็นแผ่นดิน ได้แก่ พื้นดิน และ ดินใต้ผิวดิน
-ส่วนที่เป็นพื้นนำ้ำ ได้แก่ แม่นำ้ำ ลำำคลอง หนองบึง ทะเลสำบ ปำกนำ้ำ ซึ่งเป็นน่ำนนำ้ำภำยใน และถือว่ำเป็นเขตแดนที่เป็นพื้นแผ่นดินของรัฐ
ด้วย (State land) กับส่วนที่เป็น ทะเลอำณำเขต ตลอดจนเขตทำงทะเลต่ำงๆ และส่วนที่เป็นอำกำศ หรือน่ำนฟ้ำ ได้แก่ น่ำนฟ้ำ
เหนือพื้นแผ่นดิน พื้นนำ้ำ และทะเลอำณำเขตอันเป็นขอบเขตแห่งเขตแดนของรัฐ
ดินแดนส่วนที่เป็นพื้นนำ้ำ
-น่ำนนำ้ำภำยใน (National or internal or interior waters) น่ำนนำ้ำภำยในประกอบไปด้วยทะเลสำบ
แม่นำ้ำ ลำำคลอง ปำกนำ้ำ (Mouths of rivers) น่ำนนำ้ำส่วนที่เป็น ท่ำเรือ และ เมืองท่ำ (Ports and
Harbors) พื้นนำ้ำในอ่ำวต่ำงๆภำยในแผ่นดิน (Gulfs and Bays) น่ำนนำ้ำภำยในจัดเป็นดินแดนที่เป็นพื้นดินของรัฐ
(State Land) และอยู่ในกรอบ หรือขอบเขตแห่งอำำนำจอธิปไตยของรัฐอย่ำงสมบูรณ์ น่ำนนำ้ำภำยในจึงแตกต่ำงจำก
ทะเลอำณำเขต
-ทะเลอำณำเขต (Territorial Sea) ทะเลอำณำเขตเป็นทะเลส่วนที่ต่อเนื่องประชิดกับชำยฝั่งโดยวัดจำกแนวเส้นฐำน
(Base line) หรือแนวนำ้ำลดตำ่ำสุดออกไป 12 ไมล์ทะเลจำกริมฝั่งอันเป็นเส้นฐำนนั้น ซึ่งรวมทั้งพื้นนำ้ำในส่วนของอ่ำว และ
ช่องแคบในเขตดังกล่ำวด้วย เขตอำำนำจอธิปไตยของรัฐชำยฝั่งครอบคลุมไปถึงพื้นดินใต้ท้องทะเล (Sea bed) และดินใต้ผิวดินใน
ทะเล (subsoil) ในส่วนของทะเลอำณำเขต ตลอดจนทรัพยำกรใต้ผิวดิน กำรแสวงหำประโยชน์ กำรประมงในทะเลอำณำเขต
-น่ำนนำ้ำภำยในหมู่เกำะ (Archipelagic waters) รัฐทีม่ ีลักษณะเป็นหมู่เกำะ ได้แก่รัฐที่มีดินแดนประกอบไปด้วยเกำะ
หลำยๆเกำะ กำรกำำหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนั้นจึงแตกต่ำงจำกกำรกำำหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐทั่วๆไป รวมทั้งกำรกำำหนด
น่ำนนำ้ำ และทะเลอำณำเขตของเกำะด้วย
-ประเทศที่มีลักษณะเป็นหมู่เกำะนั้น จะกำำหนดเส้นฐำนโดยกำรลำกเส้นฐำนตรง (Straight Baselines) เชื่อมจุดซึ่งอยู่
นอกสุดของเกำะที่อยู่นอกสุดของหมู่เกำะนั้น เส้นฐำนตรงที่ล้อมรอบหมู่เกำะ และทำำให้เกิดน่ำนนำ้ำ ภำยในเส้นฐำนตรงที่ถูกล้อมรอบนั้น ส่วน
ของพื้นนำ้ำดังกล่ำวเป็นน่ำนนำ้ำภำยในหมู่เกำะ ซึ่งเปรียบได้กับน่ำนนำ้ำภำยในของประเทศอื่นๆที่มีผืนแผ่นดินเป็นดินแดน
รัฐหมู่เกำะ
-รัฐหมู่เกำะย่อมมีอำำนำจอธิปไตยเหนือน่ำนนำ้ำหมู่เกำะ เพียงแต่ เรือของรัฐอื่นสำมำรถเดินเรือผ่ำนน่ำนนำ้ำนั้นได้ตำมหลัก Innocent
passage และน่ำนฟ้ำเหนือน่ำนนำ้ำภำยในหมู่เกำะก็อยู่ในเขตอำำนำจอธิปไตยของรัฐดังกล่ำว
-ส่วนเส้นฐำนตรง (Straight Baselines) ที่กำำหนดขึน้ นี้ก็เป็นเส้นที่จะกำำหนดทะเลอำณำเขตของรัฐหมู่เกำะโดยวัดระยะ
จำกเส้นฐำนตรงออกไปในทะเล 12 ไมล์ทะเล เพื่อกำำหนดเขตของทะเลอำณำเขตของรัฐหมู่เกำะนั้นๆ
แม่นำ้ำ (Rivers)
1. หำกแม่นำ้ำทั้งสำยตั้งแต่แหล่งกำำเนิด จนถึงปำกนำ้ำอยู่ภำยในเขตแดนของรัฐใดรัฐหนึ่งเพียงรัฐเดียว รัฐนั้นเป็นเจ้ำของแม่นำ้ำนั้นทั้งสำยแต่
เพียงรัฐเดียว สำมำรถทำำประโยชน์และมีอำำนำจอธิปไตยเหนือลำำนำ้ำนั้นรวมตลอดไปจนถึงปำกแม่นำ้ำ และแม่นำ้ำดังกล่ำวเป็นแม่นำ้ำภำยใน
- 12 - 12
ประเทศและเป็นน่ำนนำ้ำภำยใน
2. หำกเป็นแม่นำ้ำที่แบ่งแยกเขตแดนระหว่ำงรัฐ ซึ่งเรียกว่ำเป็น แม่นำ้ำกัน้ พรมแดน (Boundary Rivers) แม่นำ้ำดังกล่ำว
เป็นของรัฐทั้งสองที่แม่นำ้ำนั้นไหลผ่ำนกั้นพรมแดนซึ่งปกติมักจะใช้เส้นกึ่งกลำงลำำนำ้ำ หรือกึ่งกลำงร่องนำ้ำแล้วแต่กรณี
3. หำกเป็นกรณีที่แม่นำ้ำไหลต่อเนื่องผ่ำนพรมแดนของตั้งแต่สองประเทศขึน้ ไป เรียกว่ำแม่นำ้ำพหุภำคี (Pluri-national or
multi-national Rivers) แม่นำ้ำดังกล่ำวจะเป็นของประเทศทั้งหลำยที่แม่นำ้ำนั้นไหลผ่ำน
4. แม่นำ้ำบำงสำยที่ไหลผ่ำนหลำยประเทศและได้ใช้เป็นเส้นทำงเดินเรือซึ่งสำมำรถติดต่อไปถึงทะเลได้ ถึงแม้ว่ำโดยหลักแล้วแม่นำ้ำดังกล่ำว
เป็นของประเทศที่แม่นำ้ำนั้นไหลผ่ำนก็ตำม แต่ แม่นำ้ำประเภทนี้ถือว่ำเป็นแม่นำ้ำระหว่ำงประเทศ (International Rivers)
ทั้งนี้โดยผลของทฤษฎีที่ว่ำด้วยเสรีภำพในกำรเดินเรือในแม่นำ้ำประเภทดังกล่ำว อันเป็นหลักกฎหมำยที่เป็นที่ยอมรับในยำมสันติภำพ
ทะเลสำบ และทะเลปิด (Lakes and land-locked seas)
ทะเลสำบ และทะเลปิด (Lakes and land-locked seas) เป็นที่ยอมรับตำมหลักกฎหมำยระหว่ำงประเทศและ
ทำงปฏิบัติว่ำทะเลสำบ หรือทะเลปิด คือทะเลที่ถูกปิดล้อมโดยแผ่นดินนัน้ หำกอยู่ภำยในดินแดนของรัฐใดรัฐหนึ่งแต่เพียงรัฐเดียว ทะเลสำบ
และทะเลปิดนั้นๆเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนภำยในเขตแดนของรัฐนั้น เช่นทะเลสำบวินเดอร์เมียร์ (Windermere) ในประเทศ
อังกฤษ ทะเลสำบบำลำตอน (Balaton) ในประเทศฮังกำรี เป็นต้น หำกทะเลสำบ หรือทะเลปิดนั้นอยู่ระหว่ำงพรมแดนมำกกว่ำหนึ่ง
รัฐ ก็จำำเป็นที่จะต้องมีกำรกำำหนดเส้นเขตแดนเพื่อแบ่งแยกดินแดนรัฐเหล่ำนัน้ ปัจจุบันใช้หลักเส้นมัธยะ ซึ่งมีระยะห่ำงจำกฝั่งของรัฐทั้งสอง
หรือหลำยรัฐที่อยู่ชำยฝั่งของทะเลสำบระหว่ำงประเทศในระยะที่ห่ำงเท่ำๆกัน ซึ่งทะเลสำบถือเป็นอุปสรรคตำมธรรมชำติ
คลอง (Canals)
คลอง (Canals) หำกคลองใดอยู่ในอำณำเขตของประเทศใดแต่เพียงประเทศเดียวคลองนั้นย่อมเป็นดินแดนของรัฐนัน้ ดังนั้นคลอง
คอรินทร์ (Corinth Canal) ถึงแม้กรีซจะเปิดให้มีกำรใช้ในกำรเดินเรือก็ตำมแต่ก็เป็นของประเทศกรีซแต่เพียงประเทศเดียว
เพรำะอยู่ในเขตแดนประเทศกรีซ แต่คลองสุเอช และคลองปำนำมำซึ่งถูกขุดขึ้นมำ และมีผลกระทบต่อระบบกำรเดินเรือระหว่ำงประเทศ อยู่
ภำยใต้ข้อบังคับในสนธิสัญญำระหว่ำงประเทศ คลองสุเอชเป็นคลองแห่งแรกที่ถูกขุดขึ้นมำเชื่อมระหว่ำงทะเลแดงและทะเลเมดิเตอร์เรเนี่ยน
อ่ำว (Gulfs and Bays)
อ่ำว (Gulfs and Bays) อำำนำจอธิปไตยและเขตแดนของบำงรัฐจะครอบคลุมขยำยไปถึงอ่ำวซึ่งโอบล้อมโดยแผ่นดินของรัฐ
นัน้ และถือเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนรัฐนั้นๆด้วย และรัฐชำยฝั่งบำงรัฐที่มีแผ่นดินยื่นลำ้ำเข้ำไปในทะเลในลักษณะที่ก่อให้เกิดเป็นเวิ้งอ่ำว ใน
ลักษณะเดียวกับที่พื้นแผ่นดินยื่นลำ้ำเข้ำไปในพื้นนำ้ำอันเป็นน่ำนนำ้ำภำยใน หรืออีกนัยหนึ่งน่ำนนำ้ำที่ลำ้ำเข้ำไปในแผ่นดิน ซึ่งย่อมต้องพิจำรณำว่ำ
เป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดิน
กำรพิจำรณำองค์ประกอบของอ่ำว
1. จะต้องมีกำรยื่นลำ้ำของแผ่นดินเข้ำไปในผืนนำ้ำในระดับที่พิจำรณำได้ว่ำแผ่นดินกับแผ่นนำ้ำนัน้ มีควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพียงพอที่จะ
ก่อให้เกิดลักษณะของดินแดนที่มีน่ำนนำ้ำภำยใน หรือน่ำนนำ้ำ อยู่ภำยในควำมโอบล้อมของแผ่นดินนัน้ กล่ำวคือผืนนำ้ำที่เป็นส่วนหนึ่งของแผ่น
ดินดังกล่ำว
2. เว้นแต่กรณีที่เป็นอ่ำวประวัติศำสตร์แล้ว มีข้อจำำกัดเกี่ยวกับควำมยำวของแนวเส้นที่ลำกปิดปำกอ่ำว (the Closing
Line) เพื่อกำำหนดบริเวณน่ำนนำ้ำภำยในของอ่ำว (Line inter fauces terrae)
มำตรำ 10 ของอนุสญ ั ญำกฎหมำยทะเล 1982 ได้กำำหนดหลักกำรกำำหนด Closing Line ไว้สองวิธี คือ
(ก) ถ้ำระยะห่ำงของแนวนำ้ำลดตำ่ำสุดของจุดปำกอ่ำวทั้งสองห่ำงกันไม่เกิน 24 ไมล์ ก็ให้ลำกเส้นตรงระหว่ำงจุดทั้งสองของปำกอ่ำวเป็น
เส้นปิดอ่ำว และให้ผืนนำ้ำภำยในเส้นปิดอ่ำวดังกล่ำวเป็นน่ำนนำ้ำภำยใน

(ข) แต่ถ้ำหำกระยะห่ำงของจุดแนวนำ้ำลดตำ่ำสุดตรงปำกอ่ำวทั้งสองด้ำนมีควำมยำวเกิน 24 ไมล์ ก็ให้ลำกเส้นฐำนตรงที่มีควำมยำว 24


- 13 - 13
ไมล์ขนึ้ ขึงภำยในบริเวณด้ำนในของอ่ำว โดยน่ำนนำ้ำภำยในเส้นปิดภำยในอ่ำวดังกล่ำวถือว่ำเป็นน่ำนนำ้ำภำยใน

อ่าวประวัติศาสตร์ (Historic bays)


1.อ่ำวประวัติศำสตร์ (Historic bays) ในกรณีของอ่ำวประวัติศำสตร์นั้นจะไม่อยู่ภำยใต้หลักเกณฑ์ตำมำตรำ 10 ดังกล่ำว
ข้ำงต้น
2.อ่ำวประวัติศำสตร์อำจจะมีขนำดของผืนนำ้ำภำยในอ่ำวที่ใหญ่มำกเช่น อ่ำวฮัดสัน (Hudson Bay) ในแคนำดำ ซึ่งมีควำม
กว้ำงใหญ่ถึง 580,000 ตำรำงไมล์ และปำกอ่ำวมีควำมกว้ำงถึง 50 ไมล์ หรือน่ำนนำ้ำบริเวณ Estuary of the
River Plate ซึง่ เป็นน่ำนนำ้ำที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของ อำร์เยนตินำ และ อูรุกวัย ทั้งสองกรณีถือว่ำเป็นอ่ำวประวัติศำสตร์ที่ให้คง
ขนำดของผืนนำ้ำที่จัดว่ำเป็นน่ำนนำ้ำภำยในมำแต่ดั้งเดิม
หลักเกณฑ์ในกำรพิจำรณำ อ่ำวประวัติศำสตร์
(ก) รัฐที่กล่ำวอ้ำงสิทธิจะต้องมีอำำนำจอธิปไตยเหนือผืนนำ้ำดังกล่ำว หรือได้ใช้อำำนำจอธิปไตยเหนือผืนนำ้ำนั้น
(ข) กำรใช้อำำนำจอธิปไตยของรัฐนั้นต้องมีอยู่อย่ำงต่อเนื่อง
(ค) กำรใช้อำำนำจอธิปไตยดังกล่ำวนั้นจะต้องเป็นที่ยอมรับ หรือรับรองของรัฐอื่นๆ
ช่องแคบ (Straits)
1.ช่องแคบ (Straits) หำกเป็นกรณีของช่องแคบระหว่ำงประเทศที่เส้นกำรเดินเรือเป็นเส้นทำงในทะเลหลวงก็จะไม่มีปัญหำใดเกิด
ขึ้น
2.แต่หำกเป็นช่องแคบที่เส้นทำงกำรเดินนั้นจะต้องผ่ำนทะเลอำณำเขตของรัฐใดรัฐหนึ่ง
3.ก็จะเกิดปัญหำเกี่ยวกับสิทธิในกำรเดินเรือผ่ำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเมื่อรัฐต่ำงๆได้เรียกร้องระยะ 12 ไมล์ทะเลเป็นทะเลอำณำเขตนับ
จำกชำยฝั่ง และยิ่งกว่ำนั้นบำงรัฐยังเรียกร้องสิทธิในกำรจัดกำรเกี่ยวกับกำรก่อให้เกิดมลภำวะจำกเรือที่เดินทำง ผ่ำนช่องแคบอีกด้วย

อำานาจอธิปไตยในช่องแคบ
1.กำรเดินเรือ กำรประมง และเกี่ยวกับอำำนำจอธิปไตยในช่องแคบ จะใช้กฎหมำยเดียวกับที่ปรับใช้กับกรณีดังกล่ำวที่กระทำำใน
ทะเลอำณำเขต รวมทั้งเรื่องสิทธิในกำรเดินเรือผ่ำนโดยสุจริตด้วย และเรื่องสิทธิในกำรเดินเรือผ่ำนช่องแคบเป็นเรื่องที่ยอมรับกันมำนำนอย่ำง
กว้ำงขวำงยิ่งกว่ำกำรเดินเรือผ่ำนทะเลอำณำเขตด้วยซำ้ำ เช่นเรือของพ่อค้ำที่ชักธงเรือต่ำงชำติจะต้องได้รับกำรอนุญำตให้เดินเรือผ่ำนโดยไม่
ต้องจ่ำยค่ำธรรมเนียม ภำษี หรือกำรต่อต้ำนใดๆของรัฐชำยฝั่งช่องแคบนั้น
2.และรัฐนั้นไม่มีสิทธิที่จะไประงับยับยั้งกำรเดินเรือผ่ำนโดยสุจริตของเรือต่ำงชำตินนั้ ๆได้
ควำมแตกต่ำงที่สำำคัญของ Innocent Passage กับ Transit Passage
1.กำรเดินเรือผ่ำนโดยสุจริต (Innocent Passage)
-อำกำศยำนไม่มีสิทธิในลักษณะกำรบินผ่ำนช่องแคบโดยสุจริตโดยเด็ดขำด
-เรือดำำนำ้ำต้องลอยลำำขึ้นเหนือผิวนำ้ำ
-ในบำงกรณีหรือภำยใต้สถำนกำรณ์ที่จำำเป็น รัฐชำยฝั่งเจ้ำของช่องแคบอำจจะขอให้ยับยั้งกำรเดินเรือผ่ำนได้
2.สิทธิกำรผ่ำนชั่วครำว (Transit Passage)
-ทั้งเรือและอำกำศยำนสำมำรถเดินเรือและบินผ่ำนช่องแคบโดยสุจริตได้
-เรือดำำนำ้ำสำมำรถดำำนำ้ำอยู่ใต้ผิวนำ้ำเมื่อผ่ำนช่องแคบ
-ไม่มีกำรใช้สิทธิยับยั้ง หรือหยุดกำรเดินเรือ หรือบินผ่ำนช่องแคบโดยสุจริตได้
- 14 - 14
เขตแดนทำงอำกำศของรัฐ และปัญหำกำรบินผ่ำนของอำกำศยำนเหนือรัฐ
1.เขตแดนทำงอำกำศของรัฐ คือบริเวณอำกำศซึ่งเป็นน่ำนฟ้ำที่อยู่เหนือพื้นดิน เหนือน่ำนนำ้ำภำยใน และทะเลอำณำเขต ซึ่งรัฐมีอำำนำจ
อธิปไตยโดยสมบูรณ์
2.แต่รัฐมีหน้ำที่อนุญำตให้อำกำศยำนของรัฐอื่นบินผ่ำนน่ำนฟ้ำของตนได้ภำยใต้หลักกฎหมำยระหว่ำงประทศ ตลอดจนมีสิทธิกำำหนดเส้น
ทำงกำรบินของอำกำศยำนรัฐอื่นที่บินผ่ำน
ปัญหำกำรบินผ่ำนของอำกำศยำนเหนือรัฐ
1.ปัญหำกำรบินผ่ำนนัน้ มีสองควำมเห็น ประกำรแรก เห็นว่ำ รัฐมีอำำนำจอธิปไตยโดยสมบูรณ์เหนือเขตแดนและน่ำนฟ้ำแต่ต้องให้
อำกำศยำนที่บินผ่ำนโดยสุจริตสำมำรถบินผ่ำนได้เช่นเดียวกับในเรื่องกำรเดินเรือผ่ำนโดยสุจริตในทะเลอำณำเขต แต่ไม่รวมถึงอำกำศยำน
ของกองทัพ
2.อีกควำมเห็นหนึ่ง เห็นว่ำน่ำนฟ้ำนั้นอยู่ในอำำนำจอธิปไตยเด็ดขำดของรัฐนั้น ในช่วงสงครำมโลกครั้งที่หนึ่งอำกำศยำนถูกมองว่ำเป็น
ประเภทหนึ่งของอำวุธสงครำม ดังนั้นเพื่อเหตุผลเกี่ยวกับควำมปลอดภัย ทำงปฏิบัติของรัฐเริ่มเปลี่ยนแปลงไปและมีควำมเข้มงวดขึ้นในกำร
ใช้อำำนำจอธิปไตยเหนือน่ำนฟ้ำ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับอย่ำงกว้ำงขวำง

อนุสัญญาการบินพลเรือนชิคาโก ปี ค.ศ.1944
หลักทั่วไปเกี่ยวกับกำรบินผ่ำนโดยสุจริตเหนือทะเลอำณำเขตเฉกเช่นในกรณีของกำรเดินเรือโดยสุจริตผ่ำนทะเลอำณำเขตนั้น ไม่ปรำกฏใน
กรณีของกำรบินผ่ำนโดยสุจริตอีกต่อไป และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งอนุสญ ั ญำฉบับนี้หำกมีกำรให้สิทธิใดๆแก่อำกำศยำน เช่นสิทธิตำมมำตรำ 5
ก็ให้ปรับใช้ในกรณีของอำกำศยำนพลเรือนเท่ำนั้น ไม่รวมถึงอำกำศยำนทหำรเลย และอำกำศยำนทหำรนั้นไม่สำมำรถใช้สิทธิในกำรบินผ่ำน
หรือลงจอดได้เลย หำกปรำศจำกกำรได้รับอนุญำตเป็นกำรพิเศษในควำมตกลงระหว่ำงรัฐนั้นๆ
ควำมตกลงเบอร์มิวด้ำฉบับที่สอง (Bermuda II)
1.สหรัฐอเมริกำได้รับหลักกำรในกำรที่จะผ่อนคลำยกฎระเบียบที่กำำหนดเกี่ยวกับกำรบิน และให้เสรีภำพในกำรบินมำกขึ้นที่เรียกว่ำนโยบำย
“ท้องฟ้ำเปิด” (Open skies)
2.ควำมตกลงฉบับแรกระหว่ำงสหรัฐอเมริกำกับเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 31 มีนำคม 1978 ซึ่งเป็นควำมตกลงแนบท้ำยควำมตกลง
กำรขนส่งทำงอำกำศระหว่ำงสหรัฐอเมริกำกับเนเธอร์แลนด์ปี 1957 ในควำมตกลงแนบท้ำยดังกล่ำวได้วำงหลักเกี่ยวกับ “ประเทศอัน
เป็นแหล่งกำำเนิดต้นทำง” (Country-of-Origin Rule), ระเบียบเกี่ยวกับกำรกำำหนดค่ำโดยสำรโดยสำยกำรบินซึ่งมี
กำรแทรกแซงระหว่ำงประเทศน้อยที่สุด ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอุปสงค์และอุปทำนในกำรให้บริกำรทำงด้ำนกำรบินระหว่ำงประเทศ กฎระเบียบ
เหล่ำนี้ปรำกฏอยู่ในควำมตกลงที่สหรัฐอเมริกำทำำกับเยอรมนี และที่ทำำกับเบลเยี่ยมด้วยในทำำนองเดียวกัน
3.อนุสญ ั ญำกรุงวอร์ซอร์เพื่อกำรทำำกฎหมำยให้เป็นหนึ่งเดียวในกฎระเบียบเฉพำะว่ำด้วยกำรขนส่งระหว่ำงประเทศทำงอำกำศ ปี
1929 บังคับเกี่ยวกับเรื่องควำมรับผิดของผู้ประกอบกำร หรือสำยกำรบิน เมื่อเกิดควำมเสียหำยแก่ผู้โดยสำรในเครื่องเดินทำง สิ่งของ
สินค้ำ หรือผู้โดยสำรได้รับบำดเจ็บ ในระหว่ำงกำรเดินทำง หรือขนส่งทำงอำกำศ
4.อนุสญ ั ญำกรุงโตเกียว ปี 1963 เป็นอีกสนธิสญ ั ญำหนึ่งที่กำำหนดว่ำด้วยเรื่องกำรกระทำำผิดฐำนต่ำงๆที่กระทำำขึน้ ในอำกำศยำน
5.ส่วนอนุสัญญำกรุงเฮกซึ่งลงนำมเมื่อวันที่ 16 ธันวำคม 1970 ว่ำด้วยเรื่องกำรปรำบปรำมกำรยึดเครื่องบิน หรืออำกำศยำนโดยมิ
ชอบ ได้บัญญัติเกี่ยวกับกำรใช้เขตอำำนำจศำลเหนือคดีสลัดเวหำต่อโจรสลัดเวหำนั้นๆ หรือกำรส่งผู้ร้ำยข้ำมแดน
6.ส่วนอนุสัญญำกรุงมอลทรีออล (Montreal Convention) ลงนำมเมื่อวันที่ 23 กันยำยน 1971 เป็นกฎ
ระเบียบที่ว่ำด้วยกำรปรำบปรำมกำรกระทำำทีไ่ ม่ชอบด้วยกฎหมำยอันเป็นปฏิปักษ์ต่อควำมปลอดภัยของกำรบินพลเรือน ซึ่งได้ขยำยควำม
ตกลงกรุงเฮกที่กำำหนดเกี่ยวกับเขตอำำนำจของรัฐกับกำรส่งผู้ร้ำยข้ำมแดนให้ครอบคลุมถึงเรื่องกำรวำงระเบิดในอำกำศยำน หรือเครื่องบิน
- 15 - 15
ด้วย ตลอดจนกำรกระทำำต่ำงๆเช่นกำรก่อกำรร้ำยที่ก่อให้เกิดอันตรำยแก่ผู้โดยสำรหรืออำกำศยำน กำรใช้กำำลังหรือควำมรุนแรงที่สนำม
บินซึ่งอยู่ภำยใต้ข้อบังคับของสัญญำแนบท้ำยอนุสญ ั ญำมอนทรีออล ลงนำมเมื่อวันที่ 24 กุมภำพันธ์ 1988
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนของรัฐและขั้นตอนกำรปักปันเขตแดน
1.แนวคิดดั้งเดิมของกำรกำำหนดเขตแดนที่เห็นว่ำดินแดนบนผิวโลกที่แบ่งเป็นรัฐๆ ถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ ทั้งโดยลักษณะทำงภูมิศำสตร์
ของโลกโดยอำศัยอุปสรรคทำงธรรมชำติ เช่นแม่นำ้ำ ลำำคลอง ทะเล ภูเขำ ทะเลสำบเป็นต้น
2.หรือโดยผลทำงกฎหมำย เช่นกำรทำำสนธิสัญญำแบ่งเขตแดน โดยคำำพิพำกษำของศำล
3.หรือโดยกำรครอบครอง
ลักษณะกำรกำำหนดเส้นเขตแดนของรัฐ
1.ลักษณะแรกคือเขตแดนของรัฐที่กำำหนดในแผนที่ โดยอำศัยกำรกำำหนดจุดพิกัดทำงภูมิศำสตร์ แล้วกำำหนดลงบนแผนที่ เป็นกำรกำำหนด
จุดเพื่อกำรลำกเส้นสมมุติที่ลำกขึ้นมำเพื่อกำำหนดเขตของรัฐบนผิวโลก เพื่อแบ่งแยกดินแดนของรัฐหนึ่งออกจำกดินแดนของรัฐอีกรัฐหนึ่งให้
เห็นชัดเจนลงบนแผนที่
2.อีกลักษณะหนึ่งคือกำรกำำหนดเขตแดนตำมธรรมชำติ (Natural Boundaries) ดังได้กล่ำวถึงข้ำงต้นแล้วว่ำเป็นกำร
กำำหนดเขตแดนโดยอำศัยอุปสรรคทำงธรรมชำติ เช่นแม่นำ้ำ ทะเล ภูเขำ ทะเลสำบ นั้น ยังจำำเป็นที่จะต้องกำำหนดเส้นเขตแดนที่ชัดเจน
แน่นอนลงบนพื้นที่จริงแห่งดินแดนนั้นๆ
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงบก
1. กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงบกมักจะอำศัยอุปสรรคทำงภูมิศำสตร์เป็นแนวเขตแดน ได้แก่
-สันเขำ สันปันนำ้ำ
-เขตแดนที่เป็นภูเขำ หรือภูเขำเขตแดน (Mountain Boundaries) นัน้ ถือว่ำเป็นเขตแดนที่มีควำมถำวร
-แนวเทือกเขำซึ่งอำศัยเป็นเครื่องกั้นพรมแดนระหว่ำงประเทศ หรือระหว่ำงรัฐ
-กำรกำำหนดจุดแบ่งเขตแดน (Delimitation) จะต้องตกลงกันให้แน่นอน และพิจำรณำว่ำจะใช้จุดใด
-เช่นตำำแหน่งของสันเขำซึ่งเป็นจุดสูงสุดของภูเขำ (The Highest Peak หรือ Crete) ซึ่งนิยมใช้สันเขำในกรณีที่มี
แนวเขำต่อเนื่องอยู่บนพืน้ ที่ภำคีคู่สญ
ั ญำ โดยใช้ยอดสูงสุดของเขำนั้นเป็นหลัก เพื่อลำกเส้นเขตแดนเชื่อมต่อกัน
-ใช้สันปันนำ้ำ (Watershed) ซึ่งหมำยถึงแนวสันเขำบริเวณที่แบ่งนำ้ำให้ไหลลงลำดเขำไปยังที่ลุ่มนำ้ำของทั้งสองฝั่งฟำกของเขำนั้น
วิธีนี้เป็นที่นิยมใช้กันมำก เพรำะไม่กระทบกระเทือนต่อชุมชน ซึ่งมักอำศัยอยู่ตำมลุ่มนำ้ำอยู่แล้ว และกำรอำศัยทิศทำงกำรไหลของนำ้ำก็ยังให้
ควำมยุติธรรม และมีควำมสัมพันธ์กับชุมชนเหล่ำนั้นที่อยู่อำศัยกับลำำนำ้ำ หำกแนวเขำนั้นมีสันปันนำ้ำหลำยแนว ได้แก่ แนวสันปันนำ้ำกลำง
หรือแนวสันปันนำ้ำแนวย่อย (Continental water divide or a local water divide) มักจะ
ตกลงให้ยึดแนวสันปันนำ้ำหลัก (Main Watershed) เป็นเส้นเขตแดน ในบำงกรณีอำจจะตกลงให้ใช้เนินสูงของเขำ
(Ridge) ที่ยกตัวขึ้นเป็นสันเขำ หำกลักษณะทำงภูมิศำสตร์จำำเป็นต้องใช้เนินสันเขำดังกล่ำว
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงนำ้ำ
2. กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงนำ้ำ กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงนำ้ำมักจะอำศัย
-แม่นำ้ำ ลำำนำ้ำ ทะเลสำบซึ่งแบ่งแยกเขตแดนของรัฐตำมธรรมชำติ เส้นเขตแดนทำงนำ้ำจึงมีควำมแตกต่ำงจำกเส้นเขตแดนทำงบก
-เนื่องจำกสภำพทำงภูมิศำสตร์ และภูมิประเทศของลำำนำ้ำอำจจะมีกำรเปลี่ยนแปลงได้ นอกจำกนั้นลำำนำ้ำ และแม่นำ้ำ ตลอดจนทะเลสำบยัง
เป็นแหล่งทรัพยำกรธรรมชำติ และมีผลประโยชน์ทำงเศรษฐกิจมำกมำยต่อรัฐริมฝั่งที่แม่นำ้ำ หรือลำำนำ้ำนั้นไหลผ่ำน อีกทั้งเกี่ยวข้องกับกำรเดิน
เรือ และกำรชลประทำนในลำำนำ้ำ กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงนำ้ำจึงจำำเป็นที่จะต้องพิจำรณำสภำพทำงภูมิศำสตร์ ตลอดจนข้อเท็จจริงในกำรใช้
ประโยชน์ของลำำนำ้ำร่วมกันด้วย
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนโดยใช้ลำำนำ้ำ
- 16 - 16
กำำหนดให้ตลิ่งของรัฐใดรัฐหนึ่งเป็นเส้นเขตแดน
กำรกำำหนดให้ตลิ่งของแต่ละรัฐเป็นเส้นเขตแดน
กำรกำำหนดให้เส้นมัธยะหรือเส้นกึ่งกลำง (Median Line) ของลำำนำ้ำเป็นเส้นเขตแดน
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนโดยกำรใช้ร่องนำ้ำลึกที่ใช้ในกำรเดินเรือ (Thalwag) เป็นเส้นเขตแดน
ผลทำงกฎหมำยในกรณีที่มีกำรเปลี่ยนแปลงของลำำนำ้ำ
1.หำกเป็นกำรเปลี่ยนแปลงตำมธรรมชำติ ลำำนำ้ำอำจจะเปลี่ยนแปลงอย่ำงค่อยเป็นค่อยไปตำมธรรมชำติ เช่น Gradual
erosion ซึง่ เกิดจำกกำรกัดเซำะตลิ่งของอีกฝั่งหนึ่ง หรือ Gradual accretion คือกำรเกิดที่งอกริมตลิ่งของอีกฝั่ง
หนึ่งอันเป็นผลของกระแสนำ้ำ ในกรณีนี้เส้นเขตแดนก็จะเป็นเส้นกึ่งกลำงของลำำนำ้ำตำมทีค่ ่อยๆเบี่ยงเบนไป หรือในบำงกรณีคู่ภำคีอำจจะ
ตกลงกันให้มีกำรเปลี่ยนแปลงเส้นเขตแดนไปตำมกำรเปลี่ยนแปลงของลำำนำ้ำโดยอัตโนมัติก็ได้
2.หำกเป็นกรณีที่ลำำนำ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงกะทันหัน ในกรณีนี้เส้นเขตแดนให้คงตำมเส้นเขตแดนเดิม
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงอำกำศ
กำรกำำหนดเส้นเขตแดนทำงอำกำศมักจะเป็นไปตำมขอบเขตอันเป็นเส้นเขตแดนทำงพื้นดิน และทะเลอำณำเขต กล่ำวคือน่ำนฟ้ำเหนือพื้นดิน
น่ำนนำ้ำภำยใน และทะเลอำณำเขต และรัฐย่อมมีอำำนำจอธิปไตยในน่ำนฟ้ำเหนือดินแดนของรัฐ แต่ต้องเคำรพหลักกำรบินผ่ำนของอำกำศยำน
ของรัฐอื่นตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
ลักษณะกำรกำำหนดเส้นเขตแดนของรัฐ
1.มีกำรกำำหนดหลักเขต มีกำรปักหลักเขตลงบนพื้นดินเพื่อกำำหนดเขตแดนที่แท้จริง และกำรกระทำำดังกล่ำวย่อมต้องอำศัยคณะกรรมกำร
ร่วมหลำยฝ่ำยเป็นผู้ดำำเนินกำร
2.ซึง่ เริ่มตั้งแต่กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรปักปันเส้นเขตแดน คณะกรรมกำรกำำหนดจุดพิกัด และคณะกรรมกำรปักหลักเขต มีข้อที่น่ำ
พิจำรณำประกำรหนึ่ง
3.กล่ำวคือกำรกำำหนดเขตแดนตำมสนธิสัญญำอำจจะมี หรือไม่มีกำรทำำแผนที่ประกอบก็ได้
4.และหำกมีกำรทำำแผนที่ประกอบนั้น ในกรณีที่แผนที่มีควำมแตกต่ำงจำกข้อบทในสนธิสัญญำให้ถือว่ำกำรกำำหนดเขตแดนตำมสนธิสัญญำ
มีควำมถูกต้องมำกกว่ำ
5.แต่หำกกำรทำำแผนที่ได้กระทำำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐำนในกำรตีควำมถ้อยคำำของสนธิสัญญำในลักษณะที่เป็นรูปธรรมนัน้ แผนที่จะมีฐำนะ
และ บทบำทเป็นหลักฐำนในคดีในส่วนที่เกี่ยวกับกำรตีควำมสนธิสัญญำ ซึ่งย่อมขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง และคุณสมบัติของตัวหลัก
ฐำน หรือแผนที่นั้นๆ
ขั้นตอนและวิธีกำรกำำหนดเส้นเขตแดน
1.กำำหนดเส้นเขตแดนกระทำำโดย
2.คณะกรรมกำรปักปันเขตแดน (Delimitation Commission)
3.คณะกรรมกำรกำำหนดจุดพิกัด (Demarcation Commission)
4.และคณะกรรมกำรปักหลักเขต ซึ่งมักจะเป็นคณะกรรมกำรผสมประกอบด้วยผู้เชี่ยวชำญทำงเทคนิคของภำคีคู่สัญญำ และอำำนำจหน้ำที่
ของคณะกรรมกำรทั้งสำมจะเป็นไปตำมที่รัฐภำคีกำำหนด
5.โดยทำำให้กำรกำำหนดเส้นเขตแดนเป็นไปตำมที่ภำคีคู่สญ ั ญำได้ตกลงกันไว้ ทั้งนี้เนื่องจำกควำมตกลงกำำหนดเส้นเขตแดนมักจะระบุหลัก
กำรในกำรที่รัฐแต่ละฝ่ำยจะต้องกระทำำในกำรปักหลักเขตไว้เท่ำนั้น
6.แต่กำรกำำหนดเส้นเขตแดนที่ถูกต้องลงบนพื้นที่จริงจะต้องมีกำรกระทำำอย่ำงละเอียดทั้งในแง่เทคนิค วิทยำกำร ควำมแม่นยำำของตำำแหน่ง
เช่นในกำรกำำหนดจุดพิกัดทำงภูมิศำสตร์ จะต้องมอบให้คณะกรรมกำรไปดำำเนินกำรจัดทำำระบุเส้นเขตแดนให้ถูกต้องตำมภูมิศำสตร์
ภูมิประเทศ และสภำพในท้องถิ่น
- 17 - 17
กำรได้มำและกำรสูญเสียดินแดนของรัฐ
กำรได้ดินแดนของรัฐ
1.กำรได้ดินแดนโดยกำรได้รับกำรยกให้ซึ่งดินแดนจำกรัฐอื่น
2.กำรครอบครองดินแดน
3.กำรงอกขึ้นของแผ่นดิน หรือส่วนต่อเนื่องของดินแดน
4.กำรผนวกดินแดนโดยกำรเข้ำยึดครองโดยสมบูรณ์
5.และกำรได้ดินแดนโดยกำรครอบครองปรปักษ์
กำรได้ดินแดนโดยกำรได้รับกำรยกให้ซึ่งดินแดนจำกรัฐอื่น (Cession)
1.กำรได้รับโอนดินแดนจำกรัฐอื่น คือกำรที่เจ้ำของดินแดนรัฐเดิมได้โอนอำำนำจอธิปไตยเหนือเขตแดนหรือดินแดนส่วนที่โอนไปนั้นให้แก่รัฐ
ที่รับโอนไปด้วย ซึ่งกำรยก หรือโอนดินแดนให้นี้อำจมีค่ำตอบแทน หรือไม่มีก็ได้ อำจเป็นลักษณะของกำรขำยให้ก็ได้ เช่น กรณี รัสเซียขำย
รัฐอลำสก้ำให้แก่สหรัฐอเมริกำ ในปี ค.ศ. 1867 เป็นจำำนวนเงิน 7,200,000 ดอลลำร์ หรืออีกตัวอย่ำงในปี 1899
สเปนขำยเกำะแคโรไล (Caroline Island) ให้แก่เยอรมนีเป็นเงินจำำนวน 25,000,000 pesetas และใน
ปี 1916 เดนมำร์กขำยเกำะเซนต์ โทมัส เซนต์จอห์น และ เซนต์ ครัว ใน Danish West Indies (The
Islands of St Thomas, St John and St, Croix ) ให้แก่สหรัฐอเมริกำเป็นจำำนวนเงิน
25,000,000 ดอลลำร์
2.อำจจะมีกำรตกลงทำำสนธิสัญญำระหว่ำงกัน เช่นกำรโอนดินแดนส่วนของ Slesvig ให้แก่ เดนมำร์ก ในปี ค.ศ. 1920
3.แม้แต่กำรจำำนอง หรือ กำรให้เช่ำก็ปรำกฏในประวัติศำสตร์หลำยกรณีด้วยกัน เช่น สำธำรณรัฐเจนัว (Republic of
Genoa) ได้จำำนอง เมืองคอร์ซิกำ (Corsica) ไว้กับ ฝรั่งเศสในปี 1768 และสวีเดนได้จำำนอง วิสมำร์
(Wismar) ไว้กับเมคเคนเบอร์ก (Mecklenburg) ในปี 1803 และจีนให้เช่ำเมืองเกียวเจำ
(Kiaochow) แก่เยอรมนีในปี 1898 ตลอดจนให้เช่ำเมือง Wei-Hai-Wei และดินแดนตรงข้ำม คือเกำะฮ่องกงให้
แก่อังกฤษ และให้เช่ำกวำงโจว (Kuang-chow) แก่ฝรั่งเศส และให้เช่ำ Port Arthur แก่รัสเซีย
รูปแบบกำรโอน/ยกดินแดนให้
1.กำรโอน หรือยกดินแดนให้กระทำำได้ก็แต่โดยกำรทำำสนธิสัญญำ หรือ ควำมตกลงระหว่ำงรัฐที่ยกให้ หรือโอนให้ กับรัฐผู้รับโอน หรือ
ระหว่ำงหลำยรัฐที่เกี่ยวข้องกับกำรโอนดินแดนนั้นๆ
2.สนธิสัญญำเกี่ยวกับกำรโอนดินแดนนี้ จะต้องกระทำำโดยสมัครใจของรัฐผู้โอนทั้งนี้เป็นไปตำมมำตรำ 52 ของอนุสญ ั ญำกรุงเวียนนำ
ว่ำด้วยกำรทำำสนธิสัญญำ ซึ่งบัญญัติไว้ว่ำ “หำกสนธิสัญญำใดได้กระทำำลงเนื่องจำกถูกข่มขู่ หรือโดยกำรถูกใช้กำำลังบังคับ เป็นกำรฝ่ำฝืนต่อ
กฎหมำยระหว่ำงประเทศ ซึ่งปรำกฏอยู่ในกฎบัตรสหประชำชำติ สนธิสัญญำนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ
3.ปัญหำที่สำำคัญประกำรหนึ่งคือสิทธิในกำรเลือกสัญชำติและภูมิลำำเนำของพลเมืองที่อำศัยอยู่ในเขตแดนที่ถูกยก หรือโอนให้รัฐอื่น โดย
คำำนึงถึงสิทธิเสรีภำพในกำรเลือกของบุคคลเหล่ำนั้นโดยไม่บังคับฝืนใจ
กำรครอบครองดินแดน(Occupation)
1.กำรครอบครองนั้นหมำยถึงกำรกระทำำของรัฐใดรัฐหนึ่งใน กำรเข้ำยึดครองเอำดินแดนใด ดินแดนหนึ่ง โดยจงใจที่จะได้มำซึ่งอำำนำจ
อธิปไตยเหนือดินแดนนั้นๆในลักษณะที่ดินแดนนัน้ ในขณะนั้น ไม่ได้อยู่ในอำำนำจอธิปไตยแห่งรัฐใดเลย โดยลักษณะนี้กำรครอบครองจึง
เป็นรูปแบบดั้งเดิมของกำรได้มำซึ่งอำำนำจอธิปไตย (An original mode of acquisition of
sovereignty) และไม่ถือว่ำเป็นกำรได้มำซึ่งอำำนำจอธิปไตยจำกรัฐอื่น กำรครอบครองสำมำรถกระทำำได้แต่โดยรัฐ และเพื่อรัฐ
เท่ำนั้น และจะต้องเป็นกำรกระทำำของรัฐ หรือทำำในกำรปฏิบัติกำรของรัฐเท่ำนั้น หรือ รัฐต้องเข้ำรับเอำกำรปฏิบัติกำรนั้นๆว่ำเป็นกำรกระทำำ
- 18 - 18
ของรัฐ (it must be acknowledged by a state after its performance)
2.ดินแดนที่จะถูกครอบครองได้ ได้แก่ดินแดนที่ยังไม่เป็นของรัฐใด ที่เรียกว่ำดินแดนที่ไม่มีใครเป็นเจ้ำของ (Terra Nullius)
หรือ สิ่งที่ไม่มีใครเป็นเจ้ำของ (Res Nullius) ไม่วำ่ จะมีประชำกรอยู่อำศัยหรือไม่ก็ตำม และหำกเป็นประชำคมแล้วก็ต้องไม่มี
ลักษณะเป็นรัฐ
3.องค์ประกอบของกำรครอบครอง ทั้งทำงทฤษฏี และ ทำงปฏิบัติยึดถือหลักกำรที่ว่ำกำรครอบครองนั้นมีผลในทำงกฎหมำยต่อเมื่อได้มี
กำรครอบครองอย่ำงแท้จริงเหนือดินแดน และได้มีกำรสถำปนำระบอบกำรปกครองเหนือดินแดนนัน้ ๆในนำมของประเทศที่ได้มำซึ่งกำร
ครอบครองดินแดนนั้น ซึ่งต้องเป็นไปอย่ำงแท้จริง (Real Occupation)
กำรงอกขึ้นของแผ่นดิน หรือส่วนต่อเนื่องของดินแดน(Accretion)
1.แนวคิดในเรื่องกำรได้ดินแดนมำเนื่องจำกกำรงอกขึ้นของแผ่นดิน นั้น อำจจะเป็นกำรพอก
2.พูนขึน้ มำของดินแดน กำรก่อตัวขึ้นของแผ่นดิน หรือกำรมีเกำะโผล่ขึ้นมำจำกลำำนำ้ำ ริมฝั่งแม่นำ้ำงอกเพิ่มพูนขึ้นเป็นต้น แผ่นดินงอกกรณี
ต่ำงๆเหล่ำนี้อำจจะเกิดขึ้นภำยในเขตแดนของรัฐทั้งหมดซึ่งไม่ก่อให้เกิดกำรได้มำซึ่งดินแดนเพิ่มขึ้น หรือเป็นกำรเกิดขึ้นของแผ่นดินที่ตรง
ชำยแดน หรือแนวเขตแดนก็จะมีผลต่อกำรได้ดินแดนเพิม่ เช่นถ้ำหำกกำรเกิดขึ้นมำของเกำะบริเวณทีเ่ ป็นแนวตะเข็บเขตแดนทำงนำ้ำ หรือทำง
ทะเล (Maritime Belt) กำรกำำหนดเส้นเขตแดนย่อมเปลี่ยนแปลงไปดินแดนของรัฐที่มีเกำะเกิดขึ้นมำใหม่ย่อมได้ดนิ แดนเพิ่ม
ขึ้นตำมไปด้วยตำมข้อเท็จจริงนั้นๆ (Ipso facto) ทั้งนี้ตำมหลักกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
3.กำรก่อตัวของแผ่นดิน หรือกำรงอกขึ้นของแผ่นดินอำจเป็นไปตำมธรรมชำติ หรือเป็นกำรกระทำำขึ้นโดยมนุษย์
กำรผนวกดินแดนโดยกำรเข้ำยึดครองโดยสมบูรณ์(Subjugation)
1.กำรได้ดินแดนโดยกำรยึดครอง และผนวกดินแดนรัฐอื่นเข้ำกับรัฐตนนั้นเกิดจำกกำรที่รัฐใดรัฐหนึ่งได้เข้ำยึดครองดินแดนรัฐอื่น โดย
สำมำรถมีอำำนำจเหนือดินแดนนัน้ ในสมัยก่อนอำจจะยึดครองโดยกำรรบ กำรใช้กำำลังจนได้รับชัยชนะแล้วผนวกดินแดนนัน้ เข้ำกับรัฐตน
กลำยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนรัฐที่ยึดครอง
2.แต่ปัจจุบันกำรใช้กำำลังเข้ำยึดครองไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป หรือต้องห้ำม ดังปรำกฏในมำตรำ 10 ของกฎบัตรสันนิบำตชำติ

การได้ดินแดนโดยการครอบครองปรปักษ์(Prescription)
1.กำรได้ดินแดนมำโดยกำรครอบครองปรปักษ์ หรือโดยอำยุควำมนัน้ หมำยถึงกำรที่รัฐใดรัฐหนึ่งได้มำซึ่งอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนใด
ดินแดนหนึ่งอันเนื่องมำจำกกำรที่รัฐแรกนั้นได้เข้ำครอบครอบดินแดนนั้นอย่ำงต่อเนื่อง โดยสงบ เปิดเผย โดยมีเจตนำเป็นเจ้ำของเป็นเวลำ
นำนเพียงพอที่จะมีอิทธิพล หรือ มีผลต่อกำรเป็นประวัติศำสตร์แห่งวิวัฒนำกำรเกี่ยวกับดินแดนนั้น อย่ำงไรก็ตำมก็มีควำมเห็นที่แตกต่ำงกัน
ระหว่ำงนักกฎหมำยในกรณีดังกล่ำว ฝ่ำยหนึ่งไม่ยอมรับหลักกำรได้ดินแดนมำโดยกำรครอบครองปรปักษ์ หรือโดยอำยุควำม
2.“Usucapio หรือบำงที่เขียนว่ำ Usucaptio หรือในภำษำอังกฤษเขียนว่ำ Usucaption ซึ่งมีควำมหมำยถึง
กำรได้ดินแดนมำจำก “กำรได้ใช้” หรือ “ได้ครอบครองทำำประโยชน์” เหนือดินแดนนัน้ เป็นเวลำนำน ต่อเนื่องกันโดยไม่มีกำรขัดขวำง
3.ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศกำรครอบครองปรปักษ์อำจจะกระทำำได้ทั้งโดยสุจริต และไม่สุจริต เช่นหลักกำรครอบครองตำมหลัก Uti
possidetis
4.หมำยถึงกำรที่คู่ภำคีในสนธิสัญญำฝ่ำยใดที่ได้ครอบครองดินแดนของรัฐอีกฝ่ำยหนึ่งแม้โดยกำรใช้กำำลังและได้รับชัยชนะตั้งแต่ในระหว่ำง
สงครำม และต่อมำเมื่อสงครำมได้ยุติลงแล้ว สนธิสญ ั ญำสันติภำพที่กระทำำในกำรยุติสงครำมดังกล่ำว อำจจะยอมรับผลของสนธิสัญญำที่
กระทำำขึ้นเดิมที่ได้มีกำรแสดงกำรครอบครองดินแดนโดยรัฐทีม่ ีชัยชนะเหนือดินแดนของอีกฝ่ำยหนึ่งดังกล่ำว และบังคับกำรให้เป็นไปตำม
ควำมตกลงนั้นๆ
5.เดิมทีหลัก Uti possidetis ถูกนำำมำใช้ช่วงประกำศอิสรภำพของรัฐอำณำนิคมต่ำงๆ ซึ่งหมำยถึงหลักกำรยอมรับเขตแดน
- 19 - 19
อย่ำงที่เป็นอยู่ในขณะที่ประเทศที่เคยเป็นอำณำนิคมนั้นๆได้รับเอกรำช ซึ่งเป็นกำรแก้ไขปัญหำเรื่องเส้นเขตแดนของรัฐระหว่ำงรัฐทั้งหลำย
ที่เคยตกเป็นอำณำนิคมของประเทศเจ้ำอำณำนิคมต่ำงๆ เมื่อได้รับเอกรำช ก็มีกำรขัดแย้งกันเกี่ยวกับเส้นเขตแดนที่มีกำรกำำหนดกันใหม่เพื่อ
แบ่งเขตแดนของรัฐเกิดใหม่เหล่ำนี้ ดังนั้นเขตแดนที่เป็นอยู่อย่ำงไรในขณะได้รับเอกรำชของแต่ละรัฐก็ให้คงเป็นเช่นนั้นสำำหรับเขตแดนของรัฐ
อิสระใหม่นั้น
กำรสูญเสียดินแดนของรัฐ
1.กำรยกดินแดนให้รัฐอื่น
1.1 กำรยกดินแดนให้แก่รัฐอื่น หมำยถึงกำรที่รัฐเดิมโอนอำำนำจอธิปไตยเหนือเขตแดนบำงส่วนของรัฐตนไปยังอีกรัฐหนึ่ง หรือในบำงกรณี
มีกำรโอนดินแดนไปทั้งหมดในลักษณะให้ควบรวมเป็นดินแดนของอีกรัฐหนึ่งก็ได้
1.2 กำรโอนดินแดนให้รัฐอื่นนั้นอำจจะกระทำำโดยมีค่ำตอบแทน หรือไม่มีค่ำตอบแทนก็ได้
1.3 เป็นกำรโอนให้โดยผลของกำรเจรจำตกลงกัน หรือโดยผลของกำรยุติสงครำมและมีกำรทำำสนธิสัญญำระหว่ำงกัน
1.4 หรือมีกำรโอนให้โดยผลทำงกำรเมืองก็ได้
1.5 นอกจำกนั้นยังมีกำรโอนให้เป็นกำรชั่วครำวโดยลักษณะของกำรให้เช่ำ เช่นกรณีกำรให้เช่ำเกำะฮ่องกงเป็นต้น ในระหว่ำงกำรเช่ำ
อังกฤษได้อำำนำจในกำรบริหำร ปกครอง และควบคุมทำงเศรษฐกิจได้ ไม่เพียงแต่มีสิทธิครอบครองเท่ำนั้น
1.6 แต่องค์ประกอบที่สำำคัญอย่ำงยิ่ง คือกำรโอน หรือยกดินแดนให้นั้นรัฐที่โอนดินแดนให้ต้องกระทำำโดยสมัครใจ ไม่ใช่อยู่ภำยใต้อำำนำจ
บังคับของอีกฝ่ำยหนึ่ง ซึ่งกำรกระทำำดังกล่ำวย่อมผิดหลักกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
2.กำรถูกยึดครองโดยสมบูรณ์
2.1 เมื่อรัฐใดรัฐหนึ่งได้เข้ำยึดครองดินแดนรัฐอื่น โดยสำมำรถมีอำำนำจเหนือดินแดนนั้น มีกำรได้ดินแดนโดยกำรยึดครอง และผนวกดิน
แดนรัฐอื่นเข้ำกับรัฐตน ซึ่งอำจเกิดจำกกำรยึดครองโดยกำรรบ กำรใช้กำำลังจนได้รับชัยชนะแล้วผนวกดินแดนนั้นเข้ำกับรัฐตนกลำยเป็นส่วน
หนึ่งของดินแดนรัฐที่ยึดครอง
2.2 อีกรัฐหนึ่งย่อมสูญเสียดินแดนไปเพรำะกำรถูกยึดครองโดยสมบูรณ์นั้น
3.และถูกผนวกดินแดนโดยรัฐอื่น
3.1 เมื่อดินแดนส่วนใด หรือทั้งหมดของรัฐใดได้ถูกยึดครองและถูกผนวกเข้ำกับดินแดนรัฐอื่นรัฐเดิมย่อมสูญเสียดินแดนส่วนนั้นไป
(ipso facto)
3.2 หลักเกณฑ์ที่สำำคัญคือ กำรยอมสูญเสียดินแดนนั้น หรือกำรยอมให้มีกำรผนวกดินแดนกับรัฐอื่นนั้น เป็นเรื่องของกำรยินยอมโดย
สมัครใจไม่ว่ำโดยกำรเจรจำตกลง ทำำสนธิสัญญำระหว่ำงกัน หรือโดยลักษณะอื่นใด เช่นกำรสมรสระหว่ำงกษัตริย์รัฐหนึ่ง กับเจ้ำหญิงอีกรัฐ
หนึ่ง กำรสมรสระหว่ำงชนสองชำติ แล้วนำำดินแดนทั้งสองมำผนวกเป็นรัฐเดียวกัน
3.3 กำรผนวกดินแดนนั้นย่อมต้องไม่ใช่โดยกำรใช้กำำลังดังได้ศึกษำมำแล้วในเรื่องหลักเกณฑ์ในกำรได้ดินแดนมำโดยกำรยึดครองและ
ผนวกดินแดนที่ได้มำนัน้
4.กำรถูกปฏิวัติเปลี่ยนแปลงเขตแดน
4.1 กำรปฏิวัตเิ ปลี่ยนแปลงอำำนำจกำรปกครองประเทศจนบำงส่วนของรัฐแยกตัว หรือถอนตัวออกจำกรัฐไป (Secession) ซึง่
อำจจะแยกตัวออกไปก่อตั้งเป็นรัฐใหม่
4.2 เช่นกรณีที่เนเธอร์แลนด์ได้แยกตัวออกจำกสเปนในปี 1579 และเบลเยี่ยมได้แยกตัวออกจำกเนเธอร์แลนด์ในปี 1830
และสหรัฐอเมริกำได้แยกมำจำกอังกฤษมำก่อตั้งประเทศสหรัฐอเมริกำในปี 1776 บรำซิลได้แยกมำจำกโปรตุเกสตั้งประเทศบรำซิล ในปี
1822 กรีซได้แยกตัวมำจำกตุรกี ในปี 1830 คิวบำได้แยกตัวมำจำกสเปนในปี 1898 และปำนำมำได้แยกตัวมำจำก
โคลัมเบีย ในปี 1903 เป็นต้น
4.3 กำรแยกตัวออกจำกรัฐเดิมนี้ไม่จำำเป็นว่ำจะต้องเป็นกรณีทเี่ ป็นดินแดนเดียวกันแยกตัวออกจำกดินแดนเดิม หำกอำจเป็นดินแดนที่ไม่
- 20 - 20
ได้อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกันก็ได้หำกแต่อยู่ในฐำนะที่เป็นรัฐเดียวกัน หรืออยู่ในอำำนำจปกครองเดียวกัน
4.4 สำระสำำคัญจึงอยู่ที่ดินแดนบำงส่วนของรัฐไม่ว่ำติดต่อกันหรือไม่ก็ตำมได้แยกตัวเป็นอิสระไปจำกกำรเป็นดินแดนในรัฐเดียวกัน
5.กำรสูญเสียดินแดนโดยถูกครอบครองปรปักษ์
5.1 กำรสูญเสียดินแดนโดยกำรถูกครองครองปรปักษ์นั้น ก็เป็นเหตุให้อีกรัฐหนึ่งที่มำครอบครองดินแดนนัน้ ได้ดินแดนเพิ่มขึ้น ส่วนอีกรัฐ
หนึ่งย่อมสูญเสียดินแดนไป
5.2 องค์ประกอบในกรณีนี้ ก็เป็นไปในลักษณะที่สอดคล้องกัน กล่ำวคือเจ้ำของดินแดนเดิมปล่อยให้รัฐอื่นเข้ำมำครอบครองดินแดนของ
ตนเองโดยสงบ โดยเปิดเผย โดยไม่มีกำรขัดขวำงโต้แย้ง แสดงสิทธิ และรู้ว่ำรัฐอื่นนั้นมีเจตนำที่จะครอบครองดินแดนเพื่อเป็นเจ้ำของ
5.3 หำกรัฐเจ้ำของดินแดนเดิมหำได้มีเจตนำที่จะยินยอมให้รัฐใดมำครองครองเพื่อเป็นเจ้ำของดินแดนไม่ มีกำรโต้แย้งกำรเข้ำมำครอบ
ครอง หรือที่ยินยอมให้เข้ำมำในดินแดนก็โดยอำศัยผลทำงกฎหมำยอื่นใด หรือพันธะกรณีตำมสนธิสญ ั ญำใด ก็ย่อมจะไม่เข้ำลักษณะของกำร
ครอบครองปรปักษ์ เช่นกำรเข้ำไปตั้งฐำนทัพในประเทศอื่นโดยอำศัย ควำมสัมพันธ์หรือพันธกรณีตำมสนธิสัญญำ เช่นสนธิสญ ั ญำร่วม
ป้องกัน (Collective Defense) ในกำรป้องกันกำรรุกรำนของชำติอื่นต่อภำคีสมำชิกของสนธิสญ ั ญำร่วมป้องกัน กำรเข้ำ
มำในดินแดนของรัฐภำคีสมำชิก หรือกำรเข้ำมำตั้งฐำนทัพในดินแดนสมำชิกจึงไม่เป็นกำรครอบครองปรปักษ์ไม่ว่ำนำนเพียงใด
5.4 เว้นแต่ต่อมำรัฐนั้นแสดงเจตนำเปลี่ยนแปลงกำรครอบครองเพื่อตนโดยไม่สุจริต (Mala fide) ในกำรครอบครองปรปักษ์
โดยมีระยะเวลำกำรครอบครองเนิน่ นำน ต่อเนื่องเพียงพอที่จะเข้ำลักษณะกำรครอบครองปรปักษ์ โดยได้แสดงเจตนำที่จะครอบครองดินแดน
นัน้ ในฐำนะเป็นเจ้ำของ และไม่มีกำรขัดขวำงโต้แย้ง รัฐเดิมนั้นก็จะสูญเสียดินแดนไปตำมหลักเกณฑ์กำรครอบครองปรปักษ์
6.กำรสูญเสียดินแดนโดยกำรเปลี่ยนแปลงทำงธรรมชำติ
6.1 กำรสูญเสียดินแดนโดยกำรเปลี่ยนแปลงดินแดนตำมธรรมชำติก็สัมพันธ์กับกำรได้มำซึ่งดินแดนจำกกำรงอกขึ้นของแผ่นดินเดิม หรือ
ส่วนต่อเนื่อง (Accretion)
6.2 เช่นกระแสนำ้ำที่กัดเซำะตลิ่งของฝั่งของรัฐหนึ่งแล้วพัดพำตระกอนดินไปพอกพูนที่ดนิ แดนอีกรัฐหนึ่ง
6.3 หรือกำรหำยไปของเกำะทำำให้รัฐหนึ่งสูญเสียดินแดนทั้งตัวเกำะ และกำรกำำหนดเส้นเขตแดนที่ต้องร่นเข้ำมำโดยวัดจำกชำยฝั่งแทนกำร
วัดจำกเส้นฐำนของเกำะ ทะเลอำณำเขตย่อมลดน้อยลง ดินแดนสูญเสียเขตแดนไปมำก
6.4 ในขณะที่อีกรัฐหนึ่งย่อมได้ดินแดนเพิ่มขึ้น
6.5 หรือกระแสนำ้ำที่ค่อยๆพัดผ่ำแผ่นดินให้แยกจำกกันเป็นคนละส่วนจนค่อยๆเลื่อนไปรวมเป็นผืนดินของอีกรัฐหนึ่ง
6.6 ในขณะที่รัฐเดิมต้องสูญเสียดินแดนส่วนนั้นไป
6.7 หรือแม่นำ้ำเปลี่ยนทิศทำงกำรเดินของกระแสนำ้ำจนแม่นำ้ำแห้งขอด หรือร่องนำ้ำลึกเปลี่ยนแปลงไป ทำำให้กำรกำำหนดเส้นเขตแดนจำกร่อง
นำ้ำลึก หรือจำกเส้นกึ่งกลำงลำำนำ้ำเปลี่ยนแปลงตำมไปด้วย รัฐหนึ่งย่อมสูญเสียดินแดน และอีกรัฐหนึ่งได้ดินแดนเพิ่มขึ้นมำตำมธรรมชำติที่
เปลี่ยนไปด้วย Ipso facto
7. และกำรละทิ้งดินแดน (Dereliction)
7.1 กำรละทิ้งดินแดนทำำให้รัฐที่ละทิ้งดินแดนนั้นสูญเสียดินแดนไป ในขณะที่เปิดโอกำสให้รัฐอื่นสำมำรถเข้ำครอบครองดินแดนนั้น
(Occupation) เนื่องจำกดินแดนนั้นจะกลำยเป็นดินแดนที่ไม่มีเจ้ำของ Terra Nullius หรือ Res Nullius

7.2 กำรละทิ้งดินแดนกระทำำได้โดยกำรที่เจ้ำของดินแดนเดิมได้ละทิ้งดินแดนนั้นๆโดยสิ้นเชิง และกระทำำโดยมีเจตนำเช่นนั้น โดยสมัคร


ใจ และเป็นกำรถอนตัวออกจำกดินแดนนั้นอย่ำงถำวร โดยถอนอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้นโดยสิ้นเชิง
7.3 องค์ประกอบสองประกำรในกำรละทิ้งดินแดน ก็ทำำนองเดียวกับกำรได้มำซึ่งดินแดนโดยกำรครอบครองที่มีองค์ประกอบ หรือเงื่อนไข
คือ
- 21 - 21
7.4 กำรได้เข้ำไปครอบครอง (Taking possession) ดินแดน (Corpus)
7.5 กับกำรแสดงเจตจำำนง (Animus) ในกำรเข้ำไปมีอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนที่ครอบครองนัน้
7.6 ส่วนกำรละทิ้งดินแดนนั้นย่อมได้มีกำรละทิ้งดินแดน (Actual abandonment)
7.7 และกำรแสดงเจตนำสละอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนนั้น (The intention of Giving up
sovereignty)
7.8 ดังนั้นกำรละทิ้งดินแดนไปเพียงอย่ำงเดียวจึงไม่อำจจะถือว่ำรัฐนั้นละทิ้งดินแดนโดยถำวร เพรำะรัฐอำจจำำเป็นต้องถอยออกไปชั่วครำว
ในสถำนกำรณ์ที่จำำเป็น แล้วจะหวนกลับคืนมำใหม่เมื่อสำมำรถที่จะกลับมำครอบครองดินแดนนั้น และ รักษำดินแดนเอำไว้ได้ ในกรณีนี้มี
หลำยเหตุกำรณ์ที่มีกำรโต้แย้งระหว่ำงรัฐเดิมที่ทอดทิ้งดินแดนไปโดยควำมจำำเป็น หรือเหตุอื่นๆ แล้วมีรัฐอื่นเข้ำครอบครองดินแดนนั้น
เขตอำำนำจรัฐ
1.แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับเขตอำำนำจรัฐ
1.1 เขตอำำนำจรัฐ หมำยถึงอำำนำจอันชอบด้วยกฎหมำยของรัฐที่จะกำำหนดและบังคับสิทธิและหน้ำที่ ตลอดจนควบคุมกำรประพฤติปฏิบัติ
ของบุคคลทั้งที่เป็นบุคคลธรรมดำและนิติบุคคล ซึ่งรวมถึง อำำนำจตำมกฎหมำยของรัฐเหนือบุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุกำรณ์ต่ำงๆ โดยอำจ
แบ่งตำมเนื้อหำของอำำนำจออกเป็น
1.2 เขตอำำนำจในกำรสร้ำงหรือบัญญัติกฎหมำย
1.3 อำำนำจในกำรพิจำรณำพิพำกษำคดีตำมกฎหมำย
1.4 เขตอำำนำจในกำรบังคับกำรตำมกฎหมำย
1.5 ซึง่ เป็นไปตำมระบบกฎหมำยภำยในของรัฐ แต่ทั้งนี้กำรใช้เขตอำำนำจรัฐก็จะต้องอยู่ภำยในขอบเขตของกฎหมำยระหว่ำงประเทศด้วย
1.6 รัฐอำจใช้เขตอำำนำจของตนเหนือบุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ โดยมีควำมเชื่อมโยงบำงประกำรซึ่งกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
รับรอง
2.เขตอำำนำจตำมหลักดินแดน
2.1 ตำมหลักดินแดน รัฐมีเขตอำำนำจที่สมบูรณ์เหนือบุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่อยู่ หรือเกิดขึน้ ภำยในดินแดนของรัฐ โดย
มีข้อยกเว้นบำงประกำรตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
2.2 บุคคลทุกคนที่อยู่ภำยในดินแดนของรัฐจะต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยภำยในของรัฐนัน้ และหำกมีกำรกระทำำควำมผิดเกิดขึ้นภำยในดิน
แดนของรัฐใด รัฐนั้นย่อมใช้เขตอำำนำจตำมหลักดินแดนแก่ผู้กระทำำควำมผิด หรือทรัพย์สินของผู้กระทำำควำมผิดได้ โดยไม่คำำนึงว่ำผู้กระทำำ
นัน้ จะมีสัญชำติใด
ปัญหำเขตอำำนำจรัฐตำมหลักดินแดน
1. “ ดินแดน” ของรัฐนั้น นอกจำกจะหมำยถึง ดินแดนของรัฐในส่วนที่เป็นพื้นแผ่นดินแล้ว ยังครอบคลุมถึงส่วนที่เป็นน่ำนนำ้ำภำยใน
(internal waters) ทะเลอำณำเขต (territorial sea) ซึ่งอยู่ติดกับชำยฝั่งของรัฐ น่ำนนำ้ำหมู่เกำะ
(archipelagic waters) ในกรณีของรัฐหมู่เกำะ และห้วงอำกำศ (air space) เหนือพื้นแผ่นดินรวมถึงน่ำนนำ้ำ
ต่ำง ๆ ดังกล่ำวซึ่งอยู่ภำยใต้อธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐ (territorial sovereignty) ในบริเวณน่ำนนำ้ำ
นอกจำกนัน้ สำำหรับรัฐชำยฝั่งยังมีเขตอำำนำจเหนือกิจกรรมบำงอย่ำงถัดไปจำกทะเลอำณำเขตของรัฐ เช่น เขตต่อเนื่อง
(contiguous zone) ซึง่ รัฐมีอำำนำจที่จะปฏิบัติกำรที่จำำเป็นเพื่อป้องกันกำรฝ่ำฝืนเกี่ยวกับกำรศุลกำกร กำรรัษฎำกร กำร
อนำมัย และกำรเข้ำเมือง ส่วนเขตเศรษฐกิจจำำเพำะ (exclusive economic zone) และไหล่ทวีป
(continental shelf) ซึง่ เป็นบริเวณที่รัฐมีเพียงสิทธิอธิปไตย (sovereign rights) หรือมีเขตอำำนำจ
เฉพำะกิจกรรมบำงอย่ำงโดยเฉพำะในกำรสำำรวจและแสวงหำทรัพยำกรธรรมชำติ เขตอำำนำจที่กล่ำวนี้ จึงมิใช่เป็นเขตอำำนำจเหนือดินแดน
- 22 - 22
อย่ำงเคร่งครัด และเขตอำำนำจเหนือบริเวณดังกล่ำวก็มิใช่อำำนำจที่สมบูรณ์ (not plenary) หำกแต่เป็นเขตอำำนำจซึ่งใช้เฉพำะ
กิจกรรมบำงประเภทเท่ำนั้น กระนั้นก็ตำม เขตอำำนำจเหนือบริเวณที่กล่ำวนี้ก็มีลักษณะทำำนองเดียวกับเขตอำำนำจเหนือดินแดน
(analogous to territorial jurisdiction) ในแง่ที่ว่ำ เขตอำำนำจดังกล่ำวใช้แก่บุคคลทุกคน และใช้โดยรัฐ
ๆ หนึ่งภำยในบริเวณที่ระบุไว้ข้ำงต้น
2. หลักที่ว่ำรัฐมีเขตอำำนำจเหนือกำรกระทำำควำมผิดที่เกิดขึ้นภำยในดินแดนของรัฐนั้น มีปญ ั หำสำำคัญที่จะต้องพิจำรณำว่ำ เมื่อใดจึงจะ
ถือว่ำมีกำรกระทำำควำมผิดเกิดขึ้นภำยในดินแดนของรัฐ ทั้งนี้เพรำะเหตุว่ำ ในบำงครั้งกำรกระทำำควำมผิดก็มิได้เกิดขึ้นและเสร็จสิ้นลง
ภำยในดินแดนของรัฐใดรัฐหนึ่งเท่ำนัน้ แต่กำรกระทำำควำมผิดอำจเริ่มขึ้นภำยในดินแดนของรัฐหนึ่งและไปเสร็จสิ้นภำยในดินแดนของอีกรัฐ
หนึ่ง
ทฤษฎีเขตอำำนำจเหนือดินแดน
1.ทฤษฎีเขตอำำนำจเหนือดินแดนตำมอัตตวิสัย (subjective territoriality) ตำมทฤษฎีนี้ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือ
กำรกระทำำควำมผิดซึ่งเริ่ม (commencing)
ภำยในดินแดนของรัฐนั้น แม้ว่ำบำงส่วนของควำมผิด (some element of offence) หรือกำรบรรลุผลสำำเร็จของ
กำรกระทำำควำมผิด (completion of offence) จะเกิดขึน้ ภำยในดินแดนของรัฐอื่นก็ตำม
2.ทฤษฎีเขตอำำนำจเหนือดินแดนตำมภำวะวิสัย (objective territoriality) ตำมทฤษฎีที่สองนี้ ใช้ในกรณีที่กำรกระ
ทำำควำมผิดเริ่มขึ้นภำยนอกดินแดนของรัฐ แต่ได้เสร็จสิ้นลง หรือบรรลุผลสำำเร็จภำยในดินแดนของรัฐนั้น ดังนัน้ จึงเรียกทฤษฎีนี้อีกอย่ำง
หนึ่งว่ำ “ทฤษฎีผลของกำรกระทำำ” (effects doctrine) เพรำะเหตุที่ทฤษฎีดังกล่ำว รับรองเขตอำำนำจของรัฐซึ่งเป็นสถำนที่ที่
เกิดผลของกำรกระทำำควำมผิด
ข้อยกเว้นของเขตอำำนำจรัฐตำมหลักดินแดน
1.กำรใช้เขตอำำนำจของรัฐเหนือดินแดนของตนนั้นเป็นสิทธิเด็ดขำด (exclusive right) ของรัฐนั้น แต่ก็อำจมีข้อยกเว้นบำง
ประกำรที่เกิดขึน้ ตำมจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศหรือโดยควำมตกลงระหว่ำงรัฐได้ ในกรณีของบุคคลบำงประเภทซึ่งได้รับควำมคุม้ กันตำม
กฎหมำยระหว่ำงประเทศ จำกกำรใช้เขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน อันได้แก่
2.ควำมคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทำงกำรทูต
3.ควำมคุ้มกันของบุคคลในคณะเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยกงสุล
4.ควำมคุ้มกันของเจ้ำพนักงำนองค์กำรระหว่ำงประเทศ
5.ควำมคุ้มกันของรัฐต่ำงประเทศ
3.เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสัญชำติ
3.1 ตำมหลักสัญชำติ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือบุคคล ตลอดจนทรัพย์สินที่มีสัญชำติของรัฐ แม้อยู่ภำยนอกดินแดนของรัฐ
3.2 เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสัญชำตินี้ ถือว่ำสัญชำติเป็นสิ่งเชื่อมโยงที่ทำำให้รัฐสำมำรถใช้เขตอำำนำจของตนเหนือบุคคลซึ่งถือสัญชำติของรัฐ
ตลอดจนทรัพย์สินทีม่ ีสัญชำติของรัฐ โดยไม่จำำต้องคำำนึงว่ำบุคคลหรือทรัพย์สินนั้นจะอยู่ ณ ที่ใด แต่ทั้งนี้จำำต้องแยกระหว่ำงกำรใช้เขต
อำำนำจในกำรกำำหนดกฎหมำย และเขตอำำนำจในกำรบังคับกำรตำมกฎหมำย เพรำะเหตุว่ำรัฐมีอำำนำจออกกฎหมำยเพื่อควบคุมกำรกระทำำของ
บุคคลสัญชำติของรัฐได้ แม้ว่ำกำรกระทำำนั้นจะเกิดขึ้นในดินแดนของรัฐใดก็ตำม แต่กำรที่จะใช้บังคับกฎหมำยนั้น จะต้องปรำกฏว่ำผู้กระทำำ
ผิดกฎหมำยได้เข้ำมำอยู่ภำยในรัฐนั้น จึงจะลงโทษได้ รัฐไม่อำจส่งเจ้ำหน้ำที่ตำำรวจไปจับกุมตัวผู้กระทำำผิดในดินแดนของรัฐอื่นได้ เพรำะ
แต่ละรัฐย่อมมีอธิปไตยเหนือดินแดนของตน กรณีนี้รัฐจึงอำจต้องอำศัยควำมตกลงระหว่ำงรัฐในเรื่องกำรส่งผู้ร้ำยข้ำมแดน แต่หำกไม่มีควำม
ตกลงดังกล่ำว รัฐซึ่งผู้กระทำำผิดอยู่ในดินแดนก็มีสิทธิที่จะตัดสินว่ำจะส่งตัวผู้กระทำำผิดให้ตำมคำำขอของรัฐผู้ร้องขอหรือไม่
4.เขตอำำนำจรัฐตำมหลักผู้ถูกกระทำำ
4.1 ตำมหลักผู้ถูกกระทำำ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือบุคคล โดยอำศัยสัญชำติของบุคคลเป็นตัวเชื่อมโยงเช่นเดียวกับหลักสัญชำติ แต่มีข้อแตก
- 23 - 23
ต่ำงกันคือ ตำมหลักสัญชำติ อำศัยสัญชำติของผู้กระทำำควำมผิดเป็นมูลฐำนของเขตอำำนำจรัฐ ส่วนหลักผู้ถูกกระทำำ อำศัยสัญชำติของผู้ที่
ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับผลร้ำยจำกกำรกระทำำควำมผิดเป็นมูลฐำนของเขตอำำนำจรัฐ
4.2 สำระสำำคัญของหลัก passive personality หรือหลักผู้ถูกกระทำำนี้ก็คือ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือคนต่ำงด้ำวซึ่งกระทำำ
กำรอันก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่บุคคลสัญชำติของรัฐนั้น แม้ว่ำกำรกระทำำนัน้ จะเกิดขึ้นภำยนอกดินแดนของรัฐนั้นก็ตำม
5.เขตอำำนำจรัฐตำมหลักป้องกัน
5.1 สำระสำำคัญของเขตอำำนำจรัฐตำมหลักป้องกัน (Protective Principle) ก็คือ รัฐสำมำรถใช้เขตอำำนำจของตน
เหนือบุคคลผู้กระทำำกำรอันถือได้ว่ำเป็นภัยหรือกระทบกระเทือนต่อควำมมั่นคงของรัฐ แม้ว่ำผู้กระทำำจะมิใช่บุคคลสัญชำติของรัฐ และกำรก
ระทำำนั้นจะเกิดขึ้นภำยนอกดินแดนของรัฐก็ตำม
5.2 อนึ่ง หลักป้องกันนี้มีข้อแตกต่ำงไปจำกหลักสำกลกล่ำวคือ หลักสำกลจะใช้เมื่อพิจำรณำถึงควำมผิดบำงอย่ำงที่มีลักษณะระหว่ำง
ประเทศ (certain offences of an international character) ในขณะที่หลักป้องกันจะ
ครอบคลุมกำรกระทำำที่เป็นภัยต่อควำมมั่นคงของรัฐโดยเฉพำะเจำะจง
6.เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสำกล
6.1 ตำมหลักสำกล รัฐใด ๆ ก็ตำมมีเขตอำำนำจเหนืออำชญำกรรมที่กระทบต่อประชำคมระหว่ำงประเทศโดยส่วนรวม แม้ว่ำอำชญำกรรม
นัน้ จะเกิดขึ้นภำยนอกดินแดนของรัฐนั้นโดยผู้กระทำำ และผู้ได้รับผลเสียหำยจำกกำรกระทำำมิใช่คนสัญชำติของรัฐนั้นก็ตำม
6.2 อำชญำกรรมบำงอย่ำงอำจเกี่ยวข้องกับส่วนได้เสียในระดับสำกล (Universal interest) กล่ำวคือ เป็นกำรกระทำำที่
ถือได้ว่ำเป็นอำชญำกรรมที่กระทบต่อควำมสงบสุขของประชำคมระหว่ำงประเทศโดยส่วนรวม และถือว่ำเป็นควำมผิดตำมกฎหมำยนำนำชำติ
(dilicta jurius gentium)
6.3 กฎหมำยระหว่ำงประเทศจึงให้รัฐใด ๆ ก็ตำมสำมำรถใช้เขตอำำนำจของตนเหนือกำรกระทำำควำมผิดดังกล่ำวได้ แม้ว่ำกำรกระทำำควำม
ผิดนั้นได้เกิดขึ้นนอกดินแดนของรัฐ ผู้กระทำำควำมผิดและผู้เสียหำยจำกกำรกระทำำควำมผิดนั้นมิใช่คนสัญชำติของรัฐก็ตำม กำรใช้เขต
อำำนำจเช่นว่ำนี้เรียกว่ำ เขตอำำนำจสำกล (Universal jurisdiction) ซึง่ มีควำมเชื่อมโยงอยู่กับ
6.4 ลักษณะ (nature) ของควำมผิด และ
6.5 อำชญำกรรมอันเป็นภัยต่อประชำคมระหว่ำงประเทศ และเป็นที่ชัดเจนว่ำเขตอำำนำจสำกลนี้ได้รับกำรยอมรับก็เพื่อเป็นกำรประกันว่ำ
ผู้กระทำำควำมผิดลักษณะดังกล่ำวจะไม่สำมำรถหลุดรอดพ้นกำรลงโทษไปได้
เขตอำำนำจรัฐ กับกำรบังคับใช้กฎหมำยอำญำ
1.เรื่องเขตอำำนำจรัฐ กับกำรบังคับใช้กฎหมำยอำญำ เช่น มำตรำ 4 วรรค 1 กำรกระทำำควำมผิดใดๆในรำชอำณำจักร ไม่ว่ำผู้กระทำำจะ
เป็นคนไทย หรือคนต่ำงด้ำวก็ตำม ศำลไทยย่อมมีอำำนำจบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย ทั้งนี้เป็นเรื่องกำรใช้อำำนำจรัฐตำมหลักดินแดน
นัน่ เอง
2.และ มำตรำ 4 วรรค 2 เป็นกำรขยำยเขตอำำนำจรัฐตำมหลักดินแดนโดยเชื่อมโยงกับหลักสัญชำติ ให้รวมถึงกำรกระทำำในเรือไทย
หรืออำกำศยำนไทยด้วย ไม่วำ่ อยู่ที่ใด (โปรดดูคดี Lotus ในกฎหมำยระหว่ำงประเทศเปรียบเทียบ) คำำว่ำไม่ว่ำอยู่ที่ใด นั้นคือเรือไทย
และอำกำศยำนไทยนั้นไม่ได้อยู่ในรำชอำณำจักรไทย เพรำะถ้ำอยู่ในรำชอำณำจักรไทยแล้วก็ใช้ มำตรำ 4 วรรค 1 บังคับตำมหลักดินแดน
ได้เลย เป็นต้น
อำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนและบุคคล
1.รัฐทุกรัฐมีอำำนำจอธิปไตย เหนือเขตแดนของตน เหนือบุคคล เหนือทรัพย์สิน และเหตุกำรณ์ต่ำงๆ
2.โดยมีเขตอำำนำจในกำรบัญญัติกฎหมำย และ กำรบังคับใช้กฎหมำย
3.และกำรใช้เขตอำำนำจของรัฐ Jurisdiction ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้น มีควำมเชื่อมโยงกับขอบเขตในกำรใช้อำำนำจของ
รัฐตำมหลักกำรใหญ่ๆ คือหลัก Territorial Jurisdiction และ
- 24 - 24
4.Personal Jurisdiction กล่ำวคือเขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน กับเหนือบุคคล (ในควำมหมำยอย่ำงกว้ำง)
5.และยังจำำแนกอำำนำจรัฐตำมควำมเชื่อมโยงภำยใต้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ ดังนี้ คือ
เขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน
1.เขตอำำนำจรัฐเหนือดินแดน รัฐย่อมมีอำำนำจอธิปไตยเหนือดินแดนของตนโดยสมบูรณ์ ดังนั้นภำยในกรอบปริมณฑลแห่งดินแดนของรัฐ
ใด รัฐนัน้ ย่อมมีอำำนำจเหนือทั้งบุคคล ทรัพย์สิน กำรกระทำำ เหตุกำรณ์ใดๆทั้งปวง ไม่วำ่ จะเป็นคนชำติ หรือคนต่ำงด้ำว เว้นแต่กฎหมำย
ระหว่ำงประเทศได้ให้ข้อยกเว้นไว้เช่น เรื่องเอกสิทธิ และควำมคุ้มกันทำงกำรทูตเป็นต้น
2.ดังนั้นในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมำยอำญำ กำรกระทำำผิดใดๆ ไม่ว่ำโดยผู้ใด ไม่จำำกัดว่ำคนชำติ หรือคนต่ำงด้ำว ย่อมอยู่ภำยในเขตอำำนำจรัฐ
นัน้ มำตรำ 4 วรรค 1 (ป.อำญำ)
3.และยังแบ่งเป็นเขตอำำนำจรัฐตำมหลักอัตวิสัย subjective territoriality พิจำรณำจุดเริ่มต้นในกำรกระทำำควำม
ผิดในเขตแดนของรัฐแม้ว่ำเป็นบำงส่วนของกำรกระทำำ หรือผลสำำเร็จเกิดขึ้นนอกรำชอำณำจักรก็ตำม
4.เขต อำำนำจรัฐตำมหลักภววิสัย (Objective territoriality) พิจำรณำจุดกำำเนิดกำรกระทำำนอกรำชอำณำจักร แต่
ผลสำำเร็จเกิดขึ้นในรำชอำณำจักร หรือทฤษฎีผลกำรกระทำำ (Effect Doctrine) กล่ำวคือแม้กำรกระทำำเกิดนอกเขตแดนหำก
ผลเกิดสำำเร็จในเขตแดนรัฐใด รัฐนั้นย่อมมีเขตอำำนำจรัฐเหนือคดีนั้นตำมหลักดินแดนนี้เช่นกัน เช่น มำตรำ 5 รวมทั้งมำตรำ 6 ในส่วน
ของตัวกำร ผู้ใช้ และผู้สนับสนุน (ป.อำญำ)
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสัญชำติ
1.เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสัญชำติ รัฐมีเขตอำำนำจรัฐเหนือบุคคล ตลอดจนทรัพย์สินของบุคคลที่มีสัญชำติของรัฐนั้น แม้อยู่นอกดินแดนของ
รัฐ ตำมหลักกำรนี้ คนสัญชำติของรัฐใดๆไม่ว่ำไปอยู่ ณ. ทีใ่ ดย่อมยังอยู่ภำยใต้อำำนำจอธิปไตยของรัฐที่ตนมีสญ ั ชำติ ดังนัน้ รัฐนั้นย่อมมีเขต
อำำนำจศำลเหนือบุคคลนัน้ ด้วย กล่ำวคือมีอำำนำจในกำรบังคับกำรตำมกฎหมำย รวมทั้งกำรให้ควำมคุ้มครองด้วย ตำมหลัก
2. Diplomatic Protection กำรให้ควำมคุ้มครองคนชำติเมื่อไม่ได้รับควำมเป็นธรรมใน
3.ต่ำงประเทศและไม่มีทำงได้รับกำรเยียวยำ ตำมกระบวนกำรยุติธรรมนั้นรัฐต่ำงประเทศนั้น หรือถูกปฏิเสธควำมยุติธรรม
4.ตำมหลักนี้รัฐย่อมมีเขตอำำนำจเหนือบุคคลแม้กระทำำผิดนอกประเทศ เช่น มำตรำ 8 (ก) และมำตรำ 9 (ป.อำญำ) เป็นต้น
5.หลักกำรนี้ก็ขยำยไปถึงกำรกำำหนดสัญชำตินิติบุคคล เรือ และอำกำศยำนด้วย และขยำยเขตอำำนำจรัฐ เหนือเขตแดน ให้ครอบคลุมถึง
เรือ และ อำกำศยำนด้วยไม่ว่ำอยู่ที่ใด (นอกรำชอำณำจักร) โดยอำศัยควำมเชื่อมโยงแห่งสัญชำติ ดังมำตรำ 4 วรรค 2 (ป.อำญำ)
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักผู้ถูกกระทำำ
เขตอำำนำจรัฐตำมหลักผู้ถูกกระทำำ รัฐมีเขตอำำนำจเหนือบุคคลโดยอำศัยสัญชำติของบุคคลเป็นตัวเชื่อมโยง เช่นเดียวกับหลักสัญชำติแต่ต่ำง
กันตรงที่หลักผู้ถูกกระทำำอำศัยสัญชำติของผู้ถูกกระทำำ หรือผู้ได้รับควำมเสียหำยเป็นมูลฐำนของเขตอำำนำจรัฐ ดังนั้นหำกบุคคลซึ่งเป็นคนใน
สัญชำติรัฐใดถูกกระทำำแม้ในต่ำงประเทศรัฐนั้นย่อมมีเขตอำำนำจเหนือคดีนั้น เช่น มำตรำ 8 (ข) (1)-(13) (ป.อำญำ) เป็นต้น

เขตอำำนำจรัฐตำมหลักป้องกัน รัฐทุกรัฐมีเขตอำำนำจรัฐเหนือบุคคลที่กระทำำกำรอันเป็นภัยกระทบต่อควำมมั่นคงของรัฐ แม้ผูกระทำำไม่ใช่


บุคคลในสัญชำติรัฐนั้นก็ตำม และกำรกระทำำนั้นไม่ได้กระทำำภำยในเขตดินแดนรัฐนั้น (เพรำะถ้ำกระทำำในดินแดนรัฐนั้น ย่อมมีอำำนำจตำม
หลักดินแดนอยู่แล้ว) โดยมูลฐำนที่ว่ำรัฐทุกรัฐมีอำำนำจป้องกันผลประโยชน์ของตน และหำกรัฐไม่ใช้หลักป้องกัน ผู้กระทำำผิดอำจจะรอดพ้น
จำกกำรถูกลงโทษ หำกกำรกระทำำนัน้ ไม่เป็นควำมผิดตำมกฎหมำยของรัฐที่ผู้กระทำำอยู่ หลักในข้อนี้รัฐมีอำำนำจรัฐเหนือกำรกระทำำผิดรวมไป
ถึงกรณีโดยไม่จำำเป็นที่ผลร้ำยจะเกิดขึ้นจริง กล่ำวคือ ที่อำจจะเกิด หรือเล็งเห็นว่ำจะเกิดขึ้นก็ได้ เช่น มำตรำ 7 (ป.อำญำ) หลักป้องกัน
ต่ำงจำกหลักสำกลตรงที่หลักสำกลจะพิจำรณำควำมผิดที่มีลักษณะระหว่ำงประเทศ

เขตอำำนำจรัฐตำมหลักสำกล รัฐทุกรัฐมีเขตอำำนำจเหนืออำชญำกรรมที่กระทบต่อประชำคมระหว่ำงประเทศโดยส่วนรวม แม้อำชญำกรรมนั้น


- 25 - 25
ได้กระทำำนอกประเทศ และไม่ว่ำผู้กระทำำ และผู้เสียหำยจะมิใช่คนชำติรัฐนั้นก็ตำม เช่นกำรจี้เครื่องบิน โจรสลัด ค้ำยำเสพติด ก่อกำรร้ำย
จับตัวประกัน เป็นต้น อำชญำกรมเหล่ำนี้ทุกรัฐมีเขตอำำนำจเหนือคดีเหล่ำนี้

เขตอำำนำจรัฐทับซ้อน จะเห็นได้ว่ำเขตอำำนำจรัฐอำจจะเกิดทับซ้อนกันขึ้นได้ทั้งระหว่ำงรัฐต่ำงรัฐที่อำศัยมูลฐำนแห่งอำำนำจที่ต่ำงกัน หรือแม้แต่


รัฐเดียวกัน กำรใช้เขตอำำนำจรัฐอำจจะอ้ำงหลักมูลฐำนได้หลำยหลัก เช่น นำย แดงคนไทยไปขโมยรูปปั้นในพิพิธภัณฑ์ที่ประเทศฝรั่งเศสโดย
ผิดกฎหมำย แล้วนำำเข้ำมำในประเทศไทย ทั้งไทยและฝรั่งเศสต่ำงมีอำำนำจรัฐเหนือคดีดังกล่ำว ฝรั่งเศสอำศัยหลักดินแดน เพรำะกำรกระทำำ
เกิด และลักทรัพย์สำำเร็จในดินแดนฝรั่งเศส ไทยก็มีอำำนำจตำมหลักสัญชำติ (ผูก้ ระทำำเป็นคนไทย) และหลักดินแดนภววิสัย (ได้นำำรูปปั้น
เข้ำมำในไทย) เป็นต้น

หน่วยที่ 4 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยใน
หลักกำรและข้อพิจำรณำทั่วไปเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยใน
1.ควำมสัมพันธ์ในทำงทฤษฎี
1.1 แนวทำงของทฤษฎีเอกนิยม
สำำนักเอกนิยม
ระบบกฎหมำยมีอยู่ระบบเดียว กฎหมำยภำยใน และกฎหมำยระหว่ำงประเทศอยู่ในระบบเดียวกัน แต่สัมพันธ์กันในลักษณะลำำดับศักดิ์
แต่นักกฎหมำยมีควำมเห็นที่แตกต่ำงกัน Kelsen เห็นว่ำกฎหมำยระหว่ำงประเทศศักดิ์สูงกว่ำ Jellinek เห็นว่ำกฎหมำยภำยใน
ศักดิ์สูงกว่ำ
1.2 แนวทำงของทฤษฎีทวินิยม
สำำนักทวินิยม
ν กฎหมำยภำยในและกฎหมำยระหว่ำงประเทศเป็นกฎหมำสองระบบแตกต่ำงกัน เพรำะมีพื้นฐำน และทีม่ ำที่แตกต่ำงกัน
กฎหมำยระหว่ำงประเทศอยู่บนพื้นฐำนของ Pacta Suntν Servanda กับกำรยอมรับของนำนำชำติในฐำนะ ผู้สร้ำง
และผู้ใช้กฎหมำย และเป็นผู้อยู่ภำยใต้กฎหมำย Subject of International Law แต่กฎหมำยภำยในมำจำ
กรัฐำธิปัตย์ มิได้อยู่ที่กำรยอมรับของผู้อยู่ใต้กฎหมำย
กำรใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศในระบบกฎหมำยภำยใน
1.กำรปรับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศในระบบกฎหมำยภำยในจึงต้องผ่ำนกระบวนกำรรับเอำซึ่งจะกระทำำในรูปของ
2.กำรออกกฎหมำยอนุวัติกำร
3.หรือโดยกำรแปรรูปให้เป็นกฎหมำยภำยในเสียก่อน
4.หรือกระทำำโดยกำรประกำศใช้
2.ลักษณะของควำมสัมพันธ์
2.1 กำรรับเอำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำใช้ในประเทศ
2.2 กำรขัดกัน
2.3 กำรย้อนส่ง
2.4 กำรเสริมซึ่งกันและกัน
ลักษณะของควำมสัมพันธ์
1.ลักษณะของควำมสัมพันธ์ตำมประเภท และที่มำของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
- 26 - 26
1.1 กฎหมำยระหว่ำงประเทศในรูปสนธิสัญญำ
รัฐมักจะรับเอำกฎหมำยในรูปนี้ (Conventional Law) มำปรับใช้ในประเทศ โดยผ่ำนกระบวนกำรที่กำำหนดไว้ในกฎหมำย
ภำยใน และศำลสำมำรถนำำมำใช้ในกำรพิจำรณำพิพำกษำคดีโดยง่ำย
1.2 กฎหมำยระหว่ำงประเทศในรูปจำรีตประเพณี หรือหลักกฎหมำยทั่วไป
-ขอบเขตและเนื้อหำสำระของกฎหมำยไม่แน่นอนจนกว่ำจะไดรับกำรยืนยันโดยคำำวินิจฉัยชี้ขำดของอนุญำโตตุลำกำร หรือของศำลยุติธรรม
ระหว่ำงประเทศ จึงมักไม่นิยมออกกฎหมำยอนุวัติกำร เนื่องจำกขำดควำมแน่นอนชัดเจน เว้นแต่จำรีตประเพณีจะถูกประมวลไว้เป็นลำย
ลักษณ์อักษร
-ส่วนมติขององค์กำรระหว่ำงประเทศต้องผ่ำนกระบวนกำรรับเอำเสียก่อน

2.ควำมสัมพันธ์ตำมลักษณะของควำมเกี่ยวข้อง
2.1 กำรรับเอำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำปรับใช้ในระบบกฎหมำยภำยใน
ต้องอำศัยกระบวนกำรสำำหรับรับเอำตำมกฎหมำยภำยใน แต่ถ้ำเป็นรูปของสนธิสัญญำ อำจใช้วิธีประกำศใช้สนธิสัญญำอย่ำงเป็นทำงกำร แต่
ถ้ำเป็นกฎหมำยจำรีตประเพณีก็ไม่ต้องผ่ำนกะบวนกำรรับเอำ
2.2 กำรขัดกันระหว่ำงกฎหมำยภำยในกับกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
-กฎหมำยระหว่ำงประเทศมีศักดิ์สูงกว่ำ (ศำลระหว่ำงประเทศ)
-กฎหมำยระหว่ำงประเทศมีฐำนะเท่ำกันกับกฎหมำยภำยใน (อังกฤษ)
-กฎหมำยภำยในมีศักดิ์สูงกว่ำ (หำกไม่ได้บัญญัติหลักเกณฑ์ไว้ หรือ ในรูปสนธิสัญญำ)
2.3 กำรย้อนส่ง
-องค์กรผู้ย้อนส่
งเป็นผู้ตีควำม
-กรณีศำลประชำคมยุโรปเป็นผู้ตีควำม ผูกพันศำลของรัฐสมำชิก
2.4 กำรเสริมซึ่งกันและกัน
อำศัยหน่วยงำนผู้มีอำำนำจหน้ำที่ในเรื่องนั้นของแต่ละรัฐให้เป็นผู้ดำำเนินกระบวนกำรตำมกฎหมำยภำยใน
3.สภำพปัญหำในทำงปฏิบัติและลำเหตุ
3.1 ฝ่ำยตุลำกำรไม่มีส่วนร่วมโดยตรงในกำรสร้ำงกฎเกณฑ์ในกฎหมำยระหว่ำงปะเทศ แต่ในบำงสถำนกำรณ์ต้องปรับใช้กฎหมำยระหว่ำง
ประเทศ
3.2 สิทธิประโยชน์แก่คนชำติตำมกฎหมำยภำยใน
3.3 แนวในกำรปรับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศแตกต่ำงกัน
สภำพปัญหำในทำงปฏิบัติและลำเหตุ
สภำพปัญหำ
ν ฝ่ำยบริหำรเป็นผู้ทรำบควำมเป็นมำ และสำรัตถะของพันธกรณีตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ ในกำรดำำเนินควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
ν แต่ฝ่ำยตุลำกำรเป็นผู้บังคับใช้กฎหมำยแต่ไม่ได้เป็นผู้สร้ำงกฎหมำย จึงมีปญ ั หำในกำรรับทรำบสำรัตถะของกฎหมำย และพันธกรณีใน
ทำงระหว่ำงประเทศ
สำเหตุของปัญหำ
- 27 - 27
ν ส่วนที่เกี่ยวกับวิวัฒนำกำรของกฎหมำยระหว่ำงประเทศกล่ำวคือในสมัยก่อนเป็นเรื่องควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐต่อรัฐ แต่ในสมัยใหม่จะ
เกี่ยวข้องกับสิทธิของเอกชนที่ได้รับกำรคุ้มครองทำงกฎหมำย
ν ทำงปฏิบัติของฝ่ำยตุลำกำร ศำลไม่มีอิสระเสียทีเดียวในกำรวินิจฉัยคดี โดยไม่ต้องกังวลกับนโยบำยทำงกำรเมือง โดยต้องสอดคล้องกับ
กำรดำำเนินนโยบำยระหว่ำงประเทศ ทำำให้ขำดควำมชัดเจนในกำรนำำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำปรับใช้ในระบบกฎหมำยภำยใน
ปัญหำในทำงปฏิบัติเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยใน
1.ปัญหำในด้ำนรูปแบบหรือวิธีกำรที่จะนำำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำปรับใช้ในระบบกฎหมำยภำยใน
สำเหตุ
ν ปัจจัยด้ำนควำมเป็นมำ
ν ปัจจัยด้ำนจิตวิทยำและสำมัญสำำนึก
รูปแบบและวิธีกำรในทำงปฏิบัติของนำนำชำติสำำหรับกำรนำำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำใช้บังคับในประเทศ
ν สำำหรับกฎหมำยจำรีตประเพณีและหลักกฎหมำยทั่วไป
ν สำำหรับสนธิสัญญำมำปรับบังคับในระบบกฎหมำยภำยใน
-แนวทำงแรกต้องแปรรูปเป็นกฎหมำยภำยในก่อน
-แนวทำงที่สองรับเอำสนธิสัญญำมำใช้ในระบบกฎหมำยภำยในได้เลยเช่นกรณีของฝรั่งเศส เมื่อประกำศใน Gazette du
Palais ก็เป็นอันรับเอำสนธิสัญญำนั้นเข้ำมำอยู่ในระบบกฎหมำยภำยใน
2.ปัญหำกำรขัดกันระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยใน
2.1 ควำมขัดกันระหว่ำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศกับกฎหมำยภำยในระดับรัฐธรรมนูญ
ν ไม่มีหลักกำรกำำหนดวิธีกำรแก้ไข อำจจะแก้โดยแปลงให้เป็นกฎหมำยภำยในก่อน
ν มีกำรกำำหนดวิธีกำรแก้ไข เช่นให้สนธิสัญญำยกเลิกรัฐธรรมนูญในส่วนที่ขัดกัน
2.2 กรณีที่กฎหมำยระหว่ำงประเทศขัดกับกฎหมำยภำยใน ในระดับธรรมดำ
ν กฎหมำยภำยในที่เกิดขึ้นภำยหลังไม่เป็นเหตุขัดขวำงที่จะทำำให้กฎหมำยระหว่ำงประเทศไม่มผี ลบังคับ
ν กฎหมำยภำยในที่เกิดขึ้นทีหลังขัดต่อกฎหมำยระหว่ำงประเทศ จะมีผลให้ต้องระงับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้นเป็นกำรชั่วครำว แต่
ต้องให้ศำลรัฐธรรมนูญประกำศผลเช่นนัน้ ให้ชัดเจนก่อน
ν กฎหมำยภำยในที่เกิดขึ้นภำยหลังจะขัดขวำงไม่ให้ใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศที่ขัดกับกฎหมำยภำยในนัน้

ทำงปฏิบัติของไทยในกำรนำำกฎหมำยระหว่ำงประเทศมำปรับใช้ในประเทศ
1.ทำงปฏิบัติของไทยตำมรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับกำรรับสนธิสญ ั ญำมำปรับใช้ในประเทศไทยและปัญหำในคดีต่ำงๆในปัจจุบัน
2.ทำงปฏิบัติของศำลไทยเกี่ยวกับกำรปรับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ
ทำงปฏิบัติของไทยตำมรัฐธรรมนูญในส่วนที่เกี่ยวกับกำรรับสนธิสัญญำมำปรับใช้ในประเทศไทยและปัญหำในคดีต่ำงๆในปัจจุบัน
1.รัฐธรรมนูญกำำหนดให้กำรทำำสนธิสัญญำเป็นอำำนำจของฝ่ำยบริหำรซึ่งดำำเนินกำรในนำมพระปรมำภิไธยของพระมหำกษัตริย์ แต่ให้สนธิ
สัญญำบำงประเภทต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกรัฐสภำเสียก่อน
2.เงื่อนไขเกี่ยวกับควำมเห็นชอบของฝ่ำยนิติบัญญัติมีปัญหำว่ำเอกสำรใดมีนิติฐำนะเป็นสนธิสัญญำที่ต้องได้รับควำมเห็นชอบ และปัญหำคำำ
ว่ำเขตอำำนำจแห่งรัฐ
- 28 - 28
3.กฎหมำยระหว่ำงประเทศที่อยู่ในรูปสนธิสัญญำถ้ำยังไม่มีกฎหมำยรองรับ จะต้องผ่ำนกระบวนกำรรับเอำเสียก่อน ซึ่งอำจจะกระทำำโดย
กำรออกกฎหมำยอนุวัติกำร กำรแปรรูปเป็นกฎหมำยภำยใน หรือกำรแก้ไขกฎหมำยที่มอยู่ให้ครอบคลุมสนธิสัญญำ
4.ฝ่ำยบริหำรหรือ ตุลำกำรอำจนำำสนธิสัญญำมำใช้โดยตรง เมื่อมีควำมจำำเป็นของรัฐ (Raison d’etat) ที่จะต้องปฏิบัติตำม
สนธิสัญญำ หรือโดยสนธิสัญญำนั้นไม่มีควำมจำำเป็นต้องมีกฎหมำยรองรับ หรืออนุวัติกำร
5.ในส่วนที่เกี่ยวกับหลักกฎหมำยทั่วไป ให้อยู่ในดุลยพินิจของรัฐที่จะนำำมำใช้ตำมรูปแบบ หรือวิธีกำรใดก็ได้ตำมควำมเหมำะสมเป็นแต่ละ
กรณีไป
มำตรำ 224 ของรัฐธรรมนูญไทย 11 ตุลำคม 2540
มำตรำ 224 พระมหำกษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระรำชอำำนำจในกำรทำำ หนังสือสัญญำสันติภำพสัญญำสงบศึก และสัญญำอื่น กับนำนำ ประเทศ
หรือกับองค์กำรระหว่ำงประเทศ
หนังสือสัญญำใดมีบทเปลี่ยนแปลงอำณำเขตไทยหรือเขตอำำนำจ แห่งรัฐหรือจะต้องออกพระรำชบัญญัติเพื่อให้กำรเป็นไปตำมสัญญำ ต้องได้
รับควำมเห็นชอบของรัฐสภำ
รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๒๔ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่ำ "พระมหำกษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระรำชอำำนำจ ในกำรทำำหนังสือสัญญำสันติภำพ สัญญำสงบ
ศึก และสัญญำอื่น กับนำนำประเทศหรือกับองค์กำรระหว่ำงประเทศ" และวรรคสอง บัญญัติว่ำ "หนังสือสัญญำใด มีบทเปลี่ยนแปลง
อำณำเขตไทย หรือ เขตอำำนำจแห่งรัฐ หรือ จะต้องออกพระรำชบัญญัติ เพื่อให้กำรเป็นไปตำมสัญญำ ต้องได้รับควำมเห็นชอบ ของรัฐสภำ"

พิจำรณำแล้วเห็นว่ำ รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๒๔ วรรคหนึ่ง บัญญัติให้กำรทำำ หนังสือสัญญำกับนำนำประเทศ หรือ กับองค์กำรระหว่ำง


ประเทศ เป็นพระรำชอำำนำจ ของพระมหำกษัตริย์ซึ่งทรงกระทำำ ทำงคณะรัฐมนตรี โดยมีเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในวรรคสองว่ำ หนังสือสัญญำ ๓
ประเภท คือ หนังสือสัญญำที่มีบทเปลี่ยนแปลง อำณำเขตไทย หนังสือสัญญำที่มีบทเปลี่ยนแปลง เขตอำำนำจแห่งรัฐ และหนังสือสัญญำ ที่จะ
ต้องออกพระรำชบัญญัติ เพื่อให้กำรเป็นไปตำมสัญญำ นั้น ต้องได้รับควำมเห็นชอบของรัฐสภำคำำว่ำ
"หนังสือสัญญำ" แม้จะมิได้บัญญัติควำมหมำยไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ก็อำจกล่ำวได้ว่ำ หนังสือสัญญำตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๒๔ มี
ควำมหมำยครอบคลุมถึง ควำมตกลง ทุกประเภท ที่ประเทศไทยทำำขึ้น กับนำนำประเทศ หรือกับองค์กำรระหว่ำงประเทศ โดยมีควำม มุ่ง
หมำยเพื่อให้เกิด ผลผูกพันทำงกฎหมำย ระหว่ำงกัน ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ หนังสือสัญญำ ดังกล่ำวต้องมีลักษณะที่ทำำขึ้นเป็นหนังสือ
และเป็นสัญญำที่อยู่ภำยใต้บังคับ ของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
โดยที่รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๒๔ กล่ำวถึง "หนังสือสัญญำสันติภำพ สัญญำสงบศึก และสัญญำอื่น" ดังนั้น คำำว่ำ "สัญญำอื่น" ย่อม
หมำยถึง หนังสือสัญญำที่ทำำกับนำนำประเทศ หรือกับองค์กำรระหว่ำงประเทศ ซึ่งต้องอยู่ภำยใต้บังคับ ของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ เช่น
เดียวกับ หนังสือสัญญำสันติภำพ และหนังสือสัญญำสงบศึก จะเป็นหนังสือสัญญำ ภำยใต้บังคับของกฎหมำยภำยใน ของประเทศใด
ประเทศหนึ่งมิได้ ดังนัน้ อนุสัญญำว่ำด้วยควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ จึงเป็นหนังสือสัญญำ ตำมควำมหมำยของรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๒๒๔
"เขตอำำนำจแห่งรัฐ"
คำำว่ำ "เขตอำำนำจแห่งรัฐ" เป็นคำำที่มคี วำมหมำยเฉพำะเป็นพิเศษ ซึ่งปรำกฏขึ้นเป็นครั้งแรกในกำรยกร่ำงรัฐธรรมนูญ พุทธศักรำช ๒๕๓๔
(รัฐธรรมนูญ พุทธศักรำช ๒๕๑๗ ใช้คำำว่ำ "เขตอธิปไตยแห่งชำติ") หมำยถึง เขตหรือพื้นที่ในทะเล ซึ่งอยู่นอกอำณำเขต หรือ ดินแดน
ของรำชอำณำจักรไทย โดยเป็นเขต หรือพื้นที่ ที่ประเทศไทยมีเพียงสิทธิอธิปไตย และมีอำำนำจบำงประกำรอย่ำงจำำกัด เท่ำที่กฎหมำยระหว่ำง
ประเทศ รับรองไว้ เมื่อประกำศเขต ๒๐๐ ไมล์ทะเลแล้ว ในเรื่องเกี่ยวกับกำรสำำรวจ และ แสวงประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติ ทั้งที่มีชีวิต
และไม่มีชีวิต กำรสร้ำงเกำะเทียม กำรวิจัยทำงทะเล และกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เขตอำำนำจแห่งรัฐดังกล่ำวเหล่ำนี้ หมำยถึง เขตเศรษฐกิจ
จำำเพำะ และเขตไหล่ทวีป ดังนัน้ คำำว่ำ "เปลี่ยนแปลงเขตอำำนำจแห่งรัฐ" ตำมที่ปรำกฏในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงหมำยถึง กำร
เปลี่ยนแปลงขอบเขต ของพื้นที่ในทะเล เช่น กว้ำงหรือแคบกว่ำขอบเขต ของพื้นที่ในทะเลที่ประเทศไทยเคยประกำศไว้ หรือกำำหนดไว้แต่
เดิมเท่ำนั้น
- 29 - 29

ทำงปฏิบัติของศำลไทยเกี่ยวกับกำรปรับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ
1.ปัญหำทั่วไปในกำรพิสูจน์หรือนำำสืบควำมมีอยู่และสำรัตถะของกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
2.ทำงปฏิบัติของศำลไทยในกำรปรับใช้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ
2.1 กรณีที่กฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้นเป็นกฎหมำยที่มิได้เป็นลำยลักษณ์อักษร
2.2 กรณีที่กฎหมำยระหว่ำงประเทศนั้นเป็นกฎหมำยที่เป็นลำยลักษณ์อักษร

หน่วยที่ 5 สนธิสัญญา

หน่วยที่ 6 การะงับข้อพิพาทระหว่างประเทศ
กำระงับข้อพิพำทระหว่ำงประเทศโดยสันติวิธี
♣ กำรระงับข้อพิพำททำงกำรเมือง หรือทำงกำรทูต
กำรระงับข้อพิพำททำงศำล
♣ พันธกรณีทั่วไปในกำรระงับข้อพิพำทโดยสันติวิธี
♣ เสรีภำพของรัฐในกำรเลือกวิธีกำรเพื่อระงับข้อพิพำทอย่ำงสันติวิธี
กำรระงับข้อพิพำททำงกำรเมือง
1.กำรระงับข้อพิพำทโดยสันติวิธีทำงกำรเมืองระหว่ำงรัฐ
1.1 กำรเจรจำทำงกำรทูต
1.1.1 พันธกรณีในกำรเจรจำ
-มูลฐำน
-หน้ำที่ในทุกสถำนกำรณ์
-ผลของพันธกรณีในกำรเจรจำมีหลำยระดับ
1.1.2 วิธีกำรในกำรเจรจำ
-กำรเจรจำทวิภำคี
-กำรเจรจำพหุภำคี
1.2 กำรเข้ำร่วมโดยบุคคลที่สำมซึ่งมิใช่ฝ่ำยในข้อพิพำท
1.2.1 กำรจัดเจรจำและกำรไกล่เกลี่ย
-กำรจัดเจรจำ
-กำรไกล่เกลี่ย
1.2.2 กำรสืบสวนหำข้อเท็จจริง
-ลักษณะ
-มูลฐำนทำงสนธิสัญญำและทำงปฏิบัติ
1.2.3 กำรประนีประนอมระหว่ำงประเทศ
-นิยำม ลักษณะและผลทำงกฎหมำย
-กำรดำำเนินกำร
- 30 - 30
2.กำรระงับข้อพิพำทโดยองค์กำรระหว่ำงประเทศ
2.1 องค์กำรระหว่ำงประเทศระดับสำกลที่มีเขตอำำนำจทั่วไป: องค์กำรสหประชำชำติ
2.1.1 หลักกำรทั่วไป
2.1.2 กำรดำำเนินกำรระงับข้อพิพำทโดยองค์กรต่ำงๆของสหประชำชำติ
-คณะมนตรีควำมมั่นคง
♣ สิทธิในกำรร้องขอ
ผลของกำรร้องขอ
♣ วิธีกำรในกำรดำำเนินกำรของคณะมนตรีควำมมั่นคง : กำรใช้อำำนำจโดยตรง กำรทำำคำำเสนอ หรือกำรเชื้อเชิญฝ่ำยต่ำงๆ
-สมัชชำใหญ่
อำำนำจหน้ำที่
♣ วิธีกำรใช้อำำนำจของสมัชชำ
-เลขำธิกำรสหประชำชำติ
2.2 องค์กำรระหว่ำงประเทศระดับภูมภิ ำคซึ่งมีเขตอำำนำจด้ำนกำรเมือง
2.2.1 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงองค์กำรสหประชำชำติกับองค์กำรระหว่ำงประเทศระดับภูมิภำค
2.2.2 กระบวนกำรระงับข้อพิพำทที่มิใช่ทำงกำรศำลขององค์กำรระหว่ำงประเทศระดับภูมภิ ำค
♣ ข้อพิจำรณำทั่วไป
ระบบขององค์กำรรัฐอเมริกำ
องค์กำรสหภำพแอฟริกำ
♣ สันนิบำตแห่งรัฐอำหรับ
สมำคมประชำชำติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อำเซียน
2.3 องค์กำรระหว่ำงประเทศที่มีเขตอำำนำจทำงเศรษฐกิจและทำงเทคนิค
2.3.1 องค์กำรระหว่ำงประเทศทำงเศรษฐกิจ
♣ ข้อสังเกตทั่วไป
ลักษณะกำรระงับข้อพิพำท : ปรำศจำกองค์กรและกลไกเฉพำะ ,♣ มิใช่ทำงศำล
วิธีกำรระงับข้อพิพำท : GATT/WTO,♣ ควำมตกลงสินค้ำโภคภัณฑ์
2.3.2 องค์กำรระหว่ำงประเทศทำงเทคนิค
ลักษณะ
♣ วิธีกำร
กำรระงับข้อพิพำททำงศำล
1.กำรระงับข้อพิพำทโดยอนุญำโตตุลำกำร
1.1 วิวัฒนำกำร
1.2 กำรอนุญำโตตุลำกำร
♣ ลักษณะของควำมสมัครใจที่จะใช้อนุญำโตตุลำกำร
องค์กรอนุญำโตตุลำกำร
- 31 - 31
♣ ควำมพยำยำมในกำรจัดตั้งสถำบันอนุญำโตตุลำกำร
วิธีพิจำรณำควำม
♣ คำำชี้ขำดอนุญำโตตุลำกำร
♣ วิธีกำรโต้แย้งคำำชี้ขำด
2.กำรระงับข้อพิพำทโดยศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
กำรระงับข้อพิพำทโดยศำลระหว่ำงประเทศ
1.ศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
1.1 กำรจัดตั้งศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
1.2 องค์ประกอบของศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
♣ สถำนะของตุลำกำร กำรเลือกตั้งตุลำกำร
1.3 หน้ำที่ในกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
♣ คุณสมบัติในกำรเป็นคู่ควำม เขตอำำนำจศำลที่รัฐเลือกจะยอมรับ
1.4 ข้อตกลงให้ศำลพิจำรณำคดี: ข้อยกเว้นเรื่องสิทธิในกำรเลือกยอมรับ
♣ ควำมตกลงกำำหนดเขตศำล
♣ กำรเลือกใช้กำรระงับข้อพิพำทภำคบังคับ
2.ศำลระหว่ำงประเทศอื่นๆที่มีเขตอำำนำจเฉพำะเรื่อง
วิธีพิจำรณำควำม
♣ ลักษณะทั่วไปของกระบวนกำรพิจำรณำควำม
องค์คณะของตุลำกำร
♣ วิธีพิจำรณำโดยปรำศจำกคู่ควำมอีกฝ่ำยหนึ่ง
♣ กำรพิจำรณำคดีจำกเอกสำรและโยกำรเบิกควำม
อำำนำจของศำล
1.ศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศเป็นผู้ตัดสินเขตอำำนำจของตน
2.อำำนำจในกำรออกคำำสั่ง
3.กฎหมำยที่ใช้บังคับ
♣ อนุสญ ั ญำระหว่ำงประเทศ
จำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ
หลักกฎหมำยทั่วไป
♣ คำำวินิจฉัยของศำล
♣ ทฤษฎีของนักกฎหมำย
4.อำำนำจพิเศษ
คำำตัดสินของศำลยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
1.สำระของคำำตัดสิน
2.ผลของคำำตัดสิน
- 32 - 32
3.กำรบังคับกำรให้เป็นไปตำมคำำพิพำกษำ
4.หน้ำที่ของศำลในกำรทำำควำมเห็นเชิงปรึกษำ
♣ กำรทำำคำำร้องต่อศำล
ในด้ำนกระบวนกำรพิจำรณำ
♣ ผลของควำมเห็นเชิงปรึกษำ
ศำลระหว่ำงประเทศอื่นๆที่มีเขตอำำนำจเฉพำะเรื่อง
1.ศำลกฎหมำยทะเล
1.1 องค์ประกอบ
1.2 เขตอำำนำจศำล
1.3 วิธีพิจำรณำควำม
2.องค์กรระงับข้อพิพำทในองค์กำรกำรค้ำโลก
3.ศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
3.1 วิวัฒนำกำรของกำรจัดตั้งศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ ควำมเสียหำย และ ควำมโหดร้ำยทำรุณของอำชญำกรรมระหว่ำงประเทศ
♣ ศำลทหำรระหว่ำงประเทศที่นูเรมเบิร์กและโตเกียว
♣ ธรรมนูญกรุงโรมว่ำด้วยศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศกับสหประชำชำติ และ รัฐเจ่ำของดินแดนที่ตั้งสำำนักงำน
3.2 วิธีกำรจัดตั้งศำล
♣ จัดตั้งโดยสนธิสัญญำพหุภำคี
♣ ปัญหำกำรจัดตั้งศำล
3.3 โครงสร้ำงและองค์ประกอบของศำล
องค์คณะของศำล
♣ ฝ่ำยอุทธรณ์
ฝ่ำยพิจำรณำคดี
สำำนักงำนของอัยกำร
♣ สำำนักทะเบียนของศำล
♣ สมัชชำแห่งรัฐภำคี
3.4 เขตอำำนำจศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
ด้ำนเวลำ
♣ เขตอำำนำจศำลถูกจำำกัดไว้สำำหรับอำชญำกรรมที่กระทำำหลังกำรใช้บังคับของธรรมนูญศำล
♣ ด้ำนสถำนที่
คณะมนตรีควำมมั่นคงเป็นผู้ดำำเนินกำรส่งเรื่อง
อัยกำร หรือ รัฐภำคีเป็นผู้ดำำเนินกำรเอง
ด้ำนสำระ
- 33 - 33
♣ อำชญำกรรมร้ำยแรงต่อประชำคมระหว่ำงประเทศ
3.5 กำรกำำหนดเขตศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ ธรรมนูญศำลอำญำระหว่ำงประเทศ: รัฐภำคีสมำชิก ทำำข้อสงวนได้
♣ กำรยอมรับเขตอำำนำจศำลอำญำระหว่ำงประเทศ: ไม่ใช่รัฐภำคี
♣ คณะมนตรีควำมมั่นคงเป็นผู้ส่งเรื่องให้พิจำรณำ
3.6 อำชญำกรรมต่ำงๆที่อยู่ภำยใต้เขตอำำนำจศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ กำรฆ่ำล้ำงเผ่ำพันธุ์
อำชญำกรรมต่อมนุษยชำติ
อำชญำกรรมสงครำม
♣ กำรรุกรำน
3.7 หลักกำรเสริมเขตอำำนำจศำล
♣ กลไกในกำรทำำงำนในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศ กับศำลภำยใน
♣ กำรปฏิเสธไม่ดำำเนินคดี
กำรลงโทษ
กำรยกฟ้อง
♣ อำำนำจชี้ขำดกำรตีควำมกำรโต้แย้งเกี่ยวกับเขตอำำนำจศำล
3.8 ควำมร่วมมือของรัฐต่อศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ และ ควำมช่วยเหลือในทำงกำรศำล
กำรจับกุมตัว
♣ กำรโอนตัวผู้ต้องหำ
กำรสอบสวน
กำรดำำเนินคดี
♣ กำรมีพันธกรณีตำมสนธิสญ ั ญำกับรัฐอื่น
♣ ดุลพินิจของรัฐทีไ่ ม่เป็นภำคี
3.9 พัฒนำกำรในระบบกฎหมำยระหว่ำงประเทศและขัอจำำกัด
♣ พัฒนำในเรื่องควำมรับผิดระหว่ำงประเทศทำงอำญำของปัจเจกชน
พัฒนำในด้ำนกลไก และเนื้อหำสำระของกฎหมำย
พัฒนำในแง่กระบวนกำรยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
♣ ส่งเสริมกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และกฎหมำยมนุษยธรรม
♣ พัฒนำสำรัตถะของกฎหมำยอำญำระหว่ำงประเทศ
♣ ขยำยขอบเขตกำรบังคับใช้ให้ครอบคลุมกำรขัดกันทำงอำวุธที่มีลักษณะระหว่ำงประเทศ
ควำมไม่สมบูรณ์ ข้อจำำกัด และ ปัญหำต่ำงๆ
ปัญหำเรื่องเขตอำำนำจศำล
ฐำนควำมผิดต่ำงๆ
- 34 - 34
♣ ควำมร่วมมือระหว่ำงรัฐ
กำรเริ่มมีผลบังคับใช้ของธรรมนูญศำล
♣ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศกับสหประชำชำติ
♣ ปัญหำด้ำนนโยบำยและปัญหำทำงด้ำนเทคนิค

หน่วยที่ 7 กฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการจำากัดการใช้กำาลังทางทหาร
1.กฎหมำยเกี่ยวกับกำรจำำกัดสิทธิของรัฐในกำรใช้กำำลังทำงทหำร (Jus ad bellum)
กฎหมำยเกี่ยวกับกำรจำำกัดกำรใช้กำำลังทำงทหำรในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศซึ่งรู้จักและเรียกกันแต่เดิมว่ำกฎหมำยสงครำมมีวิวัฒนำกำร
เปลี่ยนแปลงไปอย่ำงมำก โดยเฉพำะในส่วนที่เกี่ยวกับสิทธิของรัฐในกำรใช้กำำลังทำงทหำรที่ชอบด้วยกฎหมำย ที่จำกเดิมเป็นสิทธิกลำยเป็น
ข้อห้ำมไปในปัจจุบันดั้งนั้นกำรใช้กำำลังทำงทหำรจึงเป็นเพียงข้อห้ำมเท่ำนั้นในปัจจุบัน นอกจำกนี้องค์กำรสหประชำชำติยังได้รับมอบหมำย
หน้ำที่ให้เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรควบคุมและจำำกัดสิทธิของรัฐในกำรใช้กำำลังทำงทหำรอีกด้วย โดยอำศัยกลไกกำรธำำรงรักษำสันติภำพและ
ควำมมัน่ คงระหว่ำงประเทศซึ่งมีวิวัฒนำกำรไปจำกที่บัญญัติไว้ในกฎบัตรสหประชำชำติเป็นอย่ำงมำก
1.1 กฎเกณฑ์ที่จำำกัดสิทธิของรัฐในกำรใช้กำำลังทำงทหำรในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
1.1.1 วิวัฒนำกำรจำกกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ กฎหมำยระหว่ำงประเทศในอดีต
ก่อนศตวรรษที่ 19 รัฐสำมำรถทำำสงครำมได้โดยเสรี ต่อมำวิวัฒนำกำรในเรื่อง สงครำมที่เป็นธรรม
♣ ข้อจำำกัดของกำรใช้กำำลังทำงทหำรในศตวรรษที่ 19 เน้นสถำนะควำมเป็นกลำง กำรแบ่งแยกสถำนะ สิทธิ หน้ำที่ ระหว่ำง พลเรือนกับ
พลรบ
♣ นิยำมสถำนกำรณ์ที่กฎหมำยอนุญำตให้ทำำสงครำมได้โดยชอบ สิทธิในกำรป้องกันตนเอง สิทธิในกำรตอบโต้ที่พอเหมำะและได้สัดส่วน
กับกำรเสียหำย
♣ หลักกำรห้ำมใช้สงครำมเป็นเครื่องมือเพื่อบังคับชำำระหนี้
♣ กฎเกณฑ์ระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่ 1,2 กติกำสันนิบำตชำติ 1919, Briand-Kellog Pact 1928
1.1.2 ข้อบังคับในปัจจุบัน
บทบัญญัติของกฎบัตรสหประชำชำติ ม. 2 วรรค 4,5
ม. 51,106,107♣
วิวัฒนำกำรของกฎเกณฑ์ในยุคกฎบัตรสหประชำชำติ
♣ ข้อมติของสมัชชำใหญ่
เอกสำรอื่นๆ
ข้อบังคับในปัจจุบัน
♣ บทบัญญัติของกฎบัตรสหประชำชำติ ม. 2 วรรค 4,5
มำตรำ 2 วรรค 4♣ ต้องงดเว้นที่จะใช้กำำลัง
- 35 - 35
ม. 51 เรื่องสิทธิในกำรป้องกันตนเอง
ม. 2 วรรค 5♣ กำรให้ควำมช่วยเหลือของรัฐสมำชิกแก่สหประชำชำติรวมทั้งกำรปฏิบัติกำรทำงทหำร
♣ ม.106 ควำมรับผิดชอบชั่วครำวของรัฐสมำชิกถำวรทั้งห้ำของคณะมนตรีควำมมั่นคงในกำรจัดทำำข้อตกลงพิเศษเพื่อจัดตั้งกองทัพ
UN
วิวัฒนำกำรของกฎเกณฑ์ในยุคกฎบัตรสหประชำชำติ กลำยเป็นกฎหมำยจำรีตประเพณี Jus cogens ที่ละเมิดมิได้ (คดีนิคำ
รำกัว)
ข้อมติของสมัชชำใหญ่: ข้อมติที่ 2625 (XXV)กำรงดเว้นกำรคุกคำม กำรห้ำมกำรแทรกแซงกิจกำรภำยใน
ข้อมติที่ 3314♣ (XXIX) นิยำมเกี่ยวกับกำรรุกรำน
เอกสำรอื่นๆ: กรรมสำรสุดท้ำยเฮลซิงกิ,♣ Pacific-Co-existence
บทวิเครำะห์เนื้อหำของกฎเกณฑ์
1.หลักกำรห้ำมมิให้ใช้กำำลังในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
♣ เป้ำหมำยของข้อห้ำม
ลักษณะของกำรใช้กำำลังที่ต้องห้ำม
♣ รูปแบบและระดับของควำมรุนแรงของกำรใช้กำำลังทำงทหำร: รูปแบบ กำรรุกรำนทำงตรง และทำงอ้อม; ระดับควำมรุนแรงที่เข้ำข่ำย
กำรใช้กำำลัง
♣ กำรใช้กำำลังที่ไม่ขึ้นอยู่กับควำมชอบธรรมของวัตถุประสงค์
♣ กำรใช้กำำลังในควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ: กำรใช้กำำลังภำยในรัฐ สงครำมกลำงเมือง สิทธิของประชำชนในกำรต่อสู้กับกำรใช้กำำลัง
บังคับกดขี่ข่มเหง
2.ข้อยกเว้นของกำรห้ำมกำรใช้กำำลัง
♣ ข้อยกเว้นตำมกฎบัตรสหประชำชำติ: กำรป้องกันตัว กำรเข้ำร่วมปฏิบัติกำรทำงทหำรกับ UN
กำรยกเว้นที่เกิดจำกทำงปฏิบัติของรัฐ:♣ กำรแทรกแซงโดยเหตุผลมนุษยธรรมเพรำะมีกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน ต้องไม่มีทำงเลือกอื่นใด
เนื่องจำกภำวะฉุกเฉิน และต้องได้สัดส่วนกับกำรละเมิดกฎเกณฑ์นั้นๆ
1.2 กำรธำำรงรักษำสันติภำพและควำมมั่นคงระหว่ำงประเทศโดยองค์กำรสหประชำชำติ
1.2.1 ระบบกำรธำำรงรักษำสันติภำพและควำมมั่นคงระหว่ำงประเทศตำมกฎบัตรสหประชำชำติ
ϖ ควำมรับผิดชอบหลักของคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติ
ϖ องค์ประกอบและกำรลงมติออกเสียง
อำำนำจหน้ำที่ในกำรธำำรงรักษำสันติภำพ
ϖ บทบำทของสมัชชำใหญ่
บทบำทของเลขำธิกำรสหประชำชำติ
ϖ กำรผูกขำดอำำนำจในกำรใช้มำตรกำรบังคับโดยองค์กำรสหประชำชำติ
มำตรำ 53ϖ ไปขัดขวำงมำตรำ 51
มำตรำ 50
1.2.2 ทำงปฏิบัติของสหประชำชำติในเรื่องกำรธำำรงรักษำสันติภำพและควำมมั่นคงระหว่ำงประเทศ
-ควำมล้มเหลวของระบบควำมมั่นคงร่วมกัน
- 36 - 36
♣ สำเหตุ
♣ ผลกระทบต่อระบบกำรทำำงำนของสหประชำชำติ
-กำรปรับตัวของสหประชำชำติในทำงปฏิบัติเพื่อกำรธำำรงรักษำสันติภำพและควำมมัน่ คงระหว่ำงประเทศ
♣ กำรขยำยเขตอำำนำจของสมัชชำเพื่อทดแทนควำมขัดข้องของคณะมนตรีควำมมั่นคง
♣ กำรปฏิบัติกำรเพื่อรักษำสันติภำพ: ภูมิหลัง พื้นฐำนทำงกฎหมำย ลักษณะและภำรกิจในกำรธำำรงรักษำสันติภำพ
♣ กำรขยำยขอบเขตของระบบควำมมั่นคงร่วมกันหลังกรณีอ่ำวเปอร์เซีย
♣ กำรจัดกำรสถำนกำรณ์ขัดแย้ง
2.กฎหมำยและข้อบังคับที่ใช้ในปฏิบัติกำรทำงทหำร (Jus in bello)
กฎหมำยและข้อบังคับที่ใช้ในปฏิบัติกำรทำงทหำรก็มีวิวัฒนำกำรไปในทิศทำงที่ให้หลักประกันและเสริมสร้ำงควำมคุ้มครองให้กับผู้ที่มีส่วน
โดยตรงในกำรทำำสงครำมและบุคคลที่มิได้มีส่วนร่วมในกำรทำำสงครำม โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกลุ่มบุคคลและทรัพย์สินต่ำงๆที่ตกเป็นเหยื่อหรือ
ประสบภัยสงครำม
2.1 ข้อพิจำรณำทั่วไปเกี่ยวกับ Jus in bello
2.1.1 พัฒนำกำรและที่มำของกฎหมำยภำคสงครำม
-พัฒนำกำรของกฎหมำยสงครำม
-ที่มำของกฎหมำยทั้งที่เป็นสนธิสัญญำและจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ
♣ ทีม่ ำที่เป็นสนธิสญ
ั ญำ
1.Geneva Law
1.1 อนุสญ ั ญำกรุงเจนีวำ 4 ฉบับ เกี่ยวกับเงื่อนไขของผู้ได้รับบำดเจ็บและเจ็บป่วยของกองทัพในสนำมรบ และ กองทัพในทะเล เกี่ยว
กับกำรปฏิบัติต่อนักโทษสงครำม เกี่ยวกับกำรคุ้มครองพลเรือนในภำวะสงครำม
2.Hague Law
2.1 อนุสญ ั ญำหลำยฉบับ เช่น เกี่ยวกับกำรเริ่มควำมเป็นปฏิปักษ์ เกี่ยวกับจำรีตประเพณีว่ำด้วยกำรสงครำมบนบก เกี่ยวกับสิทธิ หน้ำที่
ของรัฐเป็นกลำงในสงครำมทำงบก เกี่ยวกับสถำนะของเรือสินค้ำของศัตรู เกี่ยวกับกำรแปลงเรือสินค้ำเป็นเรือรบ
2.2 เกี่ยวกับกำรวำงทุ่นระเบิดอัตโนมัติใต้นำ้ำ เกี่ยวกับกำรโจมตีด้วยกองกำำลังทำงเรือในภำวะสงครำม กำรใช้สิทธิในกำรจับในภำวะ
สงครำมทำงเรือ สิทธิหน้ำที่รัฐเป็นกลำงในสงครำมทำงเรือ
♣ ทีม่ ำที่เป็นจำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศ
2.1.2 ขอบเขตของกำรปรับใช้กฎหมำยภำคสงครำม
-แนวโน้มในกำรขยำยขอบเขตกำรบังคับใช้กฎหมำยภำคสงครำมสำำหรับสถำนกำรณ์ต่ำงๆ
♣ เดิมปรับใช้กฎหมำยสงครำมเฉพำะภำวะสงครำมที่ได้รับกำรรับรอง
♣ มีกำรแบ่งแยกภำวะสันติกับภำวะสงครำม
♣ ยกเลิกข้อจำำกัดของกำรปรับใช้กฎหมำยภำคสงครำม
♣ ไม่ขึ้นอยู่กับกำรละเมิดกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
♣ ขยำยขอบเขตกำรใช้กฎหมำยไปถึงกำรขัดกันทำงอำวุธที่มิใช่ในทำงระหว่ำงประเทศด้วย
-ขอบเขตด้ำนระยะเวลำของกำรปรับใช้กฎหมำยภำคสงครำม
2.1.3 กำรอนุวัติกำรตำมกฎหมำยภำคสงครำมและกำรลงโทษกรณีฝ่ำฝืน
-กำรอนุวัติกำรตำมกฎหมำยภำคสงครำม
- 37 - 37
♣ คณะกรรมกำรกำชำดสำกลและอนุสัญญำกรุงเจนีวำ
องค์กำรสหประชำชำติ
♣ กำรดำำเนินกำรของรัฐและองค์กำรระหว่ำงประเทศที่มิใช่ระดับรัฐบำล (NGO)
-กำรลงโทษควำมผิดจำกกำรละเมิดกฎหมำยภำคสงครำม
ฐำนควำมผิด:♣ อำชญำกรรมสงครำม อำชญำกรรมต่อมนุษยชำติ กำรทำำสงครำมรุกรำน
♣ กำรลงโทษผู้กระทำำผิด: กำรลงโทษอำชญำกรสงครำม ศำลทหำรที่
นูเร็มเบิร์ก ศำลทหำรที่กรุงโตเกียว ศำลอำญำระหว่ำงประเทศ ที่กรุงเฮก จัดตั้งโดยสหประชำชำติ
2.2 กฎเกณฑ์เกี่ยวกับปฏิบัติกำรทำงทหำรสำำหรับรัฐคู่สงครำม
2.2.1 กฎเกณฑ์ทั่วไป
-กฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับกับพลรบและกำรปฏิบัติต่อเป้ำหมำยทำงทหำร
1.กฎเกณฑ์ที่ใช้บังคับกับพลรบ
♣ พลรบและผู้ที่ไม่ได้รับสถำนะพลรบ: พลรบและไม่ใช่พลรบเช่นสำยลับ ทหำรจ้ำง
♣ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับหน้ำที่ของพลรบในปฏิบัติกำรทำงทหำร: ห้ำมใช้กลโกง ห้ำมใช้วิธีที่ปรำศจำกมนุษยธรรม กำรไม่ไว้ชีวิต ปกป้องศัตรูที่
สู้ไม่ได้
2.กฎเกณฑ์ที่ใช้สำำหรับกำรปฏิบัติต่อเป้ำหมำยทำงทหำร
♣ เป้ำหมำยทำงทหำร: รถถัง ปืนใหญ่ ค่ำยทหำร คลังอำวุธ ปัจจัยกำรสื่อสำร
♣ จะโจมตีล่วงหน้ำไม่ได้ใน ถนน สะพำน อุโมงค์ ทำงรถไฟ
♣ ต้องมีวัตถุประสงค์ที่แน่นอนทำงทหำรเท่ำนั้น ห้ำมโจมตีเพื่อขู่ขวัญ หวังผลทำงกำรเมือง
หน้ำที่ในกำรใช้ควำมระมัดระวัง ต้องระบุเป้ำหมำยทำงทหำรเท่ำนั้น แยกพลเรือน กำรเลือกวิธีกำรโจมตี ประเมินผลต่อพลเรือน ทิศทำง
รัศมีของอำวุธ สภำพอำกำศ ลักษณะเป้ำหมำย กำรเตือน กำรยกเลิกกำรโจมตี กำรใช้หลักสัดส่วนและกำรเลือกเป้ำหมำย
♣ หน้ำที่ของฝ่ำยถูกโจมตี เคลื่อนย้ำยพลเรือน งดเว้นกำรติดตั้งเป้ำหมำยทำงทหำรใกล้กับแหล่งพลเรือน
-กฎเกณฑ์ด้ำนมนุษยธรรมสำำหรับกำรคุ้มครองและปฏิบัติต่อพลเรือนและทรัพย์สินของพลเรือน
1.กฎเกณฑ์มนุษยธรรมสำำหรับกำรคุ้มครองพลเรือนและปฏิบัติต่อพลเรือน
♣ ควำมหมำยของพลเรือน
หน้ำที่ในกำรคุ้มครองพลเรือนและห้ำมกำรใช้ควำมรุนแรง ห้ำมแก้เผ็ด
กฎเกณฑ์ทำงมนุษยธรรมสำำหรับผู้ที่ไม่อยู่ในฐำนะจะทำำกำรสู้รบได้ ผู้บำดเจ็บ ผู้ลม้ ป่วย ผู้ซึ่งเรืออับปำง นักโทษสงครำม
2.กฎเกณฑ์เกี่ยวกับกำรคุม้ ครองและปฏิบัติต่อทรัพย์สินพลเรือน
♣ ข้อห้ำมโจมตีทรัพย์สินบำงบริเวณ: เขตปลอดทหำร บริเวณที่ไม่มีกำรป้องกัน
♣ ข้อห้ำมโจมตีทรัพย์สินบำงประเภท: หน่วยแพทย์ พยำบำล องค์กรป้องกันพลเรือน ทรัพย์สินทีจ่ ำำเป็นต่อกำรอยู่รอด สิ่งอันตรำย สิ่งที่
เป็นวัฒนธรรม สิง่ แวดล้อมทำงธรรมชำติ มรดกทำงวัฒนธรรม
-กฎเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจำำกัดด้ำนปัจจัยและอำวุธในกำรสู้รบ
1.อำวุธที่มไิ ด้มีอำนุภำพทำำลำยร้ำยแรง
♣ ลูกปืนที่แตกกระจำยในร่ำงเป้ำหมำย
อำวุธที่แตกเป็นชิ้นส่วนในร่ำงเป้ำหมำย ยำกแก่กำรตรวจพบ
- 38 - 38
กับดักระเบิด กับดักสังหำรบุคคล
ยำพิษ
♣ อำวุธเพลิง
2.อำวุธที่มีอำนุภำพทำำลำยร้ำยแรง
แก๊ส และอำวุธชีวภำพ
♣ อำวุธเคมี
อำวุธนิวเคลียร์
2.2.2 กฎเกณฑ์เฉพำะสำำหรับกำรสู้รบทำงทะเล อำกำศและอวกำศ
-กฎเกณฑ์เฉพำะสำำหรับกำรสู้รบทำงทะเล
♣ หลักทั่วไปเกี่ยวกับปฏิบตั ิกำรทำงทหำรในทะเล
ปัญหำเกี่ยวกับกำรรบทำงทะเล:♣
เรือดำำนำ้ำ
ทุ่นระเบิด
ตอร์ปิโดและจรวด
กำรปิดล้อม หรือกำรปิดปำกอ่ำว
-กฎเกณฑ์สำำหรับกำรสู้รบทำงอำกำศและอวกำศ
♣ กำรห้ำมส่งอำวุธหรือระเบิดจำกที่สูง
ห้ำมกำรติดตั้งอำวุธร้ำยแรงในอวกำศ
♣ ดวงจันทร์เป็นเขตปลอดทหำร
2.3 กฎเกณฑ์เกี่ยวกับปฏิบัติกำรทำงทหำรสำำหรับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐคู่สงครำมกับรัฐที่สำม หรือรัฐเป็นกลำง
2.3.1 ควำมหมำยและวิวัฒนำกำร
♣ ควำมหมำยของกำรเป็นกลำง
2.3.2 สิทธิและหน้ำที่ทั่วไปของรัฐที่เกี่ยวข้อง
♣ รัฐเป็นกลำงต้องไม่ช่วยฝ่ำยใดๆ
ปฏิบัติหน้ำที่กำรเป็นกลำงอย่ำงเคร่งครัด ไม่อนุญำตให้มีกำรผ่ำนแดน
2.3.3 กฎเกณฑ์สำำหรับควำมเป็นกลำงในสงครำมทำงทะเล
♣ หลักทั่วไป
♣ กำรควบคุมเรือของรัฐเป็นกลำงโดยรัฐคู่สงครำม
2.3.4 กฎเกณฑ์สำำหรับควำมเป็นกลำงของสงครำมทำงอำกำศ
♣ ห้วงอำกำศของรัฐเป็นกลำงเป็นแดนที่ละเมิดมิได้

หน่วยที่ 8 ควำมรับผิดชอบของรัฐ
1.หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบอบควำมรับผิดชอบของรัฐในแนวดั้งเดิม
1.1 กำรกระทำำของรัฐภำยใต้กฎหมำยระหว่ำงประเทศ
- 39 - 39
-กำรกระทำำขององค์กรรัฐ
1.กำรกระทำำของฝ่ำยนิติบัญญัติ
2.กำรกระทำำของฝ่ำยบริหำร
ν กำรกระทำำทำงรัฐบำล
ν กำรกระทำำทำงปกครอง
3.กำรกระทำำของฝ่ำยตุลำกำร
-กำรกระทำำที่มใิ ช่เป็นกำรกระทำำขององค์กรของรัฐ
1.กำรกระทำำของปัจเจกชน
ν เจ้ำหน้ำที่ละเลยกำรป้องกัน ปรำบปรำม
ν ปัจเจกชนทำำในนำมของรัฐ
2.กำรกระทำำของฝ่ำยกบฏ
ฝ่ำยกบฏเป็นรัฐบำลใหม่
ν ฝ่ำยกบฏคงสถำนะเดิม
-ปัญหำองค์ประกอบเรื่องควำมผิดของกำรกระทำำของรัฐ
1.กำรกระทำำเป็นกำรประมำทเลินเล่อของรัฐหรือไม่
2.ควำมผิดที่ตำำหนิรัฐได้
3.ควำมผิดที่รัฐไม่ต้องรับผิดชอบ
4.สถำนกำรณ์ที่ปฏิเสธควำมผิด (เหตุสดุ วิสัย)
5.ควำมรับผิดเด็ดขำด
1.2 กำรละเมิดพันธกรณีระหว่ำงประเทศ
-ควำมหมำยและลักษณะของกำรละเมิดพันธกรณีระหว่ำงประเทศ
-กำรไม่ตรำกฎหมำยภำยในอนุวัติกำรให้เป็นไปตำมสนธิสัญญำ
-กำรตรำกฎหมำยภำยในอนุวัติกำรที่ขัดหรือแย้งกับสนธิสญ ั ญำ
-กำรปฏิเสธควำมยุติธรรม
-กำรกระทำำที่มลี ักษณะเป็นกำรละเมิดสันติภำพระหว่ำงประเทศ
-กำรโอนกิจกำรของคนต่ำงด้ำวเป็นของรัฐ
-ขอบเขตของพันธกรณีระหว่ำงประเทศ
ปัญหำเรื่องควำมเสียหำยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับควำมรับผิดชอบของรัฐ
1.ควำมเสียหำยเป็นองค์ประกอบหนึ่งของควำมรับผิดชอบของรัฐ
2.ควำมเสียหำยมิใช่เป็นองค์ประกอบหนึ่งของควำมรับผิดชอบของรัฐ
1.3 กำรชดใช้ค่ำเสียหำย
1.3.1 กำรชดใช้ค่ำเสียหำยที่สำมำรถคำำนวณเป็นเงินได้
-กำรชดใช้ค่ำเสียหำยด้วยสิ่งเดียวกัน
-กำรชดใช้ค่ำเสียหำยในรูปของจำำนวนเงิน
1.3.2 กำรชดใช้ค่ำเสียหำยที่ไม่สำมำรถคำำนวณเป็นเงินได้
- 40 - 40
-กำรลงโทษผู้กระทำำผิด
-กำรประกำศว่ำเป็นกำรกระทำำที่มิชอบด้วยกฎหมำย
-กำรแสดงควำมเสียใจอย่ำงเป็นทำงกำร
-กำรแสดงควำมเคำรพธงชำติ
2.หลักเกณฑ์เกี่ยวกับระบอบควำมรับผิดชอบของรัฐในแนวโน้มใหม่
2.1 ควำมคิดทั่วไปว่ำด้วยควำมรับผิดเด็ดขำด
-กำรกระทำำที่มคี วำมเสี่ยงภัยสูงในตัวเอง
-ควำมรับผิดโดยไม่ต้องมีเจตนำ
-หลักเกณฑ์เกี่ยวกับควำมรับผิดที่ปรำกฏในสนธิสัญญำ
2.2 กิจกรรมเสี่ยงภัยของรัฐที่อยู่ภำยใต้บังคับควำมรับผิดเด็ดขำด
-เป็นกิจกรรมที่ตกอยู่ภำยใต้กำรควบคุมดูแลของรัฐ
-เป็นกิจกรรมที่อำจก่อให้เกิดอันตรำยข้ำมแดน
-เป็นกิจกรรมที่จะต้องมีกำรป้องกันภัยล่วงหน้ำ
-เป็นกิจกรรมที่จะต้องมีมำตรกำรควบคุมควำมปลอดภัย
-เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำยทำงกำยภำพ
2.3 มำตรกำรในกำรป้องกันและกำรชดใช้ค่ำเสียหำย
-หน้ำที่ในกำรแจ้งภัยหรือกำรให้ข้อมูล
-กำรตรวจสอบโดยเจ้ำหน้ำที่ผู้เชี่ยวชำญ

หน่วยที่ 9

ธรรมนูญกรุงโรมและศาลอาญาระหว่างประเทศ
ที่มำของธรรมนูญกรุงโรมและศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ควำมทำรุณโหดร้ำยของอำชญำกรรมต่อมวลมนุษยชำติ
► ควำมล้มเหลวในกำรกระบวนกำรยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
► ควำมล้มเหลวในกำรขอตัวผู้กระทำำผิดมำลงโทษ
► กำรใช้กำำลังบุกรุกเข้ำไปจับตัวผู้กระทำำผิดในประเทศอื่นเป็นกำรผิดกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
► อิสรำเอลบุกเข้ำไปจับตัวนำยไอช์แมนในอำร์เจนตินำ สหรัฐเข้ำไปจับตัวนำยพลนอริเอก้ำจำกปำนำมำ
กำรจัดตั้งศำลทหำรหลังสงครำมโลกครั้งที่สอง
► ศำลทหำรระหว่ำงประเทศทีน่ ูเรมเบิร์ก
► ศำลทหำรระหว่ำงประเทศที่โตเกียว
► ทั้งสองศำลเป็นศำลเฉพำะกิจ
► ศำลถำวรภำยใต้ระบบของสหประชำชำติ ตำมมติสมัชชำที่ 177 (II) วันที่ 21 พฤศจิกำยน 1947
► คณะกรรมำธิกำรกฎหมำยระหว่ำงประเทศ ยกร่ำงประมวลควำมผิดต่อสันติภำพและควำมมั่นคงของมนุษยชำติ ตำมมติที่ 46/54
วันที่ 9 ธันวำคม 1991
- 41 - 41
กำรยกร่ำงธรรมนูญศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► คณะกรรมำธิกำรกฎหมำยระหว่ำงประเทศได้ทำำกำรยกร่ำงธรรมนูญศำลเมื่อ 1994
► เสนอผ่ำนเลขำธิกำรสหประชำชำติให้ควำมเห็นชอบ
► สหประชำชำติจึงจัดกำรประชุมเพื่อให้สมำชิกพิจำรณำเกี่ยวกับกำรจัดตั้งศำลอำญำระหว่ำงประเทศ โดยประชุมที่กรุงโรม อิตำลี เมือ่ วัน
ที่ 15 มิถุนำยน ถึงวันที่ 17 กรกฎำคม 1998 รับรองอนุสญ ั ญำจัดตั้งศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ที่ประชุมรับรองธรรมนูญกรุงโรมว่ำด้วยศำลอำญำระหว่ำงประเทศ มีสมำชิกทั้งหมด 161 ประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย และมี
ตัวแทน NGO 124 องค์กำร
► กำรรับรองธรรมนูญมีเสียงสนับสนุน 120 รัฐ และเปิดให้รัฐต่ำงๆเข้ำเป็นภำคีได้มีเพียง 7 รัฐทีค่ ัดค้ำนได้แก่จีน อิสรำเอล อิรัก
สหรัฐอเมริกำ 21 ประเทศงดออกเสียง
เกี่ยวกับกำรดำำเนินงำนของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► สมัชชำโดยข้อมติที่ 53/105 วันที่ 8 ธันวำคม 1998 ได้กำำหนดให้เลขำธิกำรสหประชำชำติจัดประชุมคณะกรรมำธิกำร
เตรียมกำรสำำหรับศำลอำญำระหว่ำงประเทศที่เรียกว่ำ
► Preparatory Commission for the international Criminal Court-
PCNICC
► ตำมมติ F ของพิธีสำรสุดท้ำยของที่ประชุมทำงกำรทูต PCNICC
ที่ประชุมทำงกำรทูต PCNICC
► เพื่อยกร่ำงระเบียบวิธีพิจำรณำควำม และพยำนหลักฐำน
► องค์ประกอบของควำมผิด
► ควำมตกลงว่ำด้วยควำมสัมพันธ์ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศกับสหประชำชำติ
► หลักกำรพื้นฐำนว่ำด้วยสำำนักงำนศำลอำญำระหว่ำงประเทศ ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศและรัฐเจ้ำของดินแดนที่ตั้งของสำำนักงำน
► กฎระเบียบทำงกำรเงิน
► ควำมตกลงว่ำด้วยเอกสิทธิ์และควำมคุ้มกันของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► งบประมำณสำำหรับปีงบประมำณของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ระเบียบว่ำด้วยที่ประชุมสมัชชำรัฐภำคี
วิธีกำรจัดตั้งศำล
► จัดตั้งโดยสนธิสัญญำพหุภำคี
► ไม่ได้จัดตั้งเป็นองค์กรภำยใต้สหประชำชำติ อันจะทำำให้ได้งบประมำณของสหประชำชำติ เพรำะมีปัญหำคือ
► ในทำงปฏิบัติต้องผ่ำนกระบวนกำรที่ซับซ้อน
► มติของสมัชชำมีผลเป็นเพียงคำำแนะนำำจึงไม่ผูกพันรัฐสมำชิก
► แม้มติของคณะมนตรีควำมมั่นมีผลผูกพันและเคยใช้ในกำรจัดตั้งศำลเฉพำะกิจในบอสเนียเฮอเซโกวีน่ำ และรวันดำ แต่กำรจัดตั้งศำล
ถำวรย่อมถูกโต้แย้งในเรื่องกำรแทรกแซงจำกองค์กรทำงกำรเมืองในองค์กรทำงศำลได้ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งจำกมหำอำำนำจซึ่งเป็นสมำชิกถำวร
ในคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติ
กำรเริ่มมีผลบังคับของธรรมนูญศำล
► ข้อ 126 ของธรรมนูญศำล กำำหนดเงื่อนไขให้ธรรมนูญมีผลเริ่มใช้บังคับ 60 วันนับจำกเมื่อมีรัฐเข้ำร่วมเป็นภำคีครบ 60 รัฐ
► สถำนะล่ำสุดเมื่อวันที่ 31 ธันวำคม 2000 มีรัฐลงนำม 139 รัฐ และมีรัฐให้สัตยำบันจำำนวน 66 ประเทศ เมื่อวันที่ 11
- 42 - 42
เมษำยน 2002
► ณ. วันที่ 3 พฤษภำคม 2004 มีรัฐให้สัตยำบัน 94 รัฐ
► ดังนัน้ ศำลอำญำระหว่ำงประเทศภำยใต้ธรรมนูญกรุงโรมจึงเริ่มมีผลบังคับตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎำคม 2002
► ตั้งแต่วันที่ 3-7 กุมภำพันธ์ 2003 ที่ประชุมสมัชชำใหญ่รัฐภำคีได้เลือกผู้พิพำกษำของศำลจำำนวน 18 ท่ำน มีผู้หญิง 7
ท่ำน ได้เข้ำสำบำนตนรับตำำแหน่งและประจำำที่ศำลซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงเฮก
► วันที่ 21 เมษำยน 2003 ที่ประชุมได้เลือกตั้งอัยกำรสูงสุด ชื่อ Luis Moreno Ocampo
► ประเทศไทยเป็นสมำชิกลงนำมรับรองเมื่อ 2 ตุลำคม 2000 แต่ยังศึกษำอยู่ยังไม่ได้ให้สัตยำบัน

โครงสร้ำงและองค์ประกอบของศำล
1.องค์คณะของศำล
1.1 ฝ่ำยอุทธรณ์ (Appeals Division)
1.2 ฝ่ำยพิจำรณำคดี (Trial Division)
► องค์คณะของศำล ประกอบด้วยตุลำกำร 18 คน ได้รับเลือกตั้งจำกที่ประชุมสมัชชำของรัฐภำคีสมำชิก โดยคำำนึงถึง
► เพศ
► กำรแจกแจงอย่ำงเป็นธรรมทำงภูมิศำสตร์
► กำรเป็นผู้แทนระบบกฎหมำยหลักของโลก
► อย่ำงน้อยตุลำกำร 9 คน ต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบกำรณ์ในด้ำนกฎหมำยและวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
► และอีก 5 คน ต้องมีควำมสำมำรถและประสบกำรณ์ด้ำนกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
► ตุลำกำรจะอยู่ในวำระ 9 ปี และไม่อำจได้รับเลือกใหม่ได้
ตุลำกำรฝ่ำยต่ำงๆ
► ฝ่ำยอุทธรณ์ (Appeals Division)
ประกอบด้วยตุลำกำร 5 คน รวมทั้งประธำนศำล
► ฝ่ำยพิจำรณำคดี (Trial Division)
ประกอบด้วยตุลำกำรอย่ำงน้อย 6 คน
♣ ซึง่ จะแบ่งลงไปอีกเป็นองค์คณะพิจำรณำคดี (Trial Chamber) ประกอบด้วยตุลำกำรฝ่ำยไต่สวน (Pre-Trial
Division) ที่ทำำหน้ำที่กลั่นกรองก่อนกำรพิจำรณำซึ่งประกอบด้วยตุลำกำรไม่น้อยกว่ำ 6 คน
♣ โดยแบ่งออกเป็นองค์คณะไต่สวนก่อนกำรพิจำรณำซึ่งประกอบด้วยตุลำกำร 1 ถึง 3 คน
♣ ฝ่ำยไต่สวนนี้จะพิจำรณำว่ำจะต้องเปิดกำรสอบสวนหรือไม่ และว่ำเมื่อใดผู้ถูกกล่ำวหำจะต้องถูกนำำตัวขึ้นรับกำรพิจำรณำโดยฝ่ำย
พิจำรณำคดี รวมทั้งว่ำมีมูลฐำนที่สมเหตุสมผลหรือไม่ที่จะให้อัยกำรดำำเนินกำรนำำคดีขนึ้ สู่ศำล
♣ ทั้งโดยอำศัยอำำนำจของตนเองหรือเมื่อได้รับคำำร้องขอจำกรัฐภำคี
♣ รวมทั้งอนุญำตให้อัยกำรดำำเนินกำรสืบสวนบนดินแดนของรัฐ ออกหมำย คุ้มครองพยำน ผู้เสียหำย กล่ำวคือกำำกับดูแลกระบวนกำร
ประกันควำมถูกต้อง คุม้ ครองพยำน
2.สำำนักงำนของอัยกำร
- 43 - 43
2.1 เป็นองค์กรอิสระจำกองค์กรอื่นของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
2.2 อัยกำรและอัยกำรผู้ช่วยจะได้รับกำรเลือกจำกสมัชชำของรัฐภำคี
2.3 อัยกำรมีวำระ 9 ปี และไม่อำจได้รับเลือกตั้งใหม่
2.4 อัยกำรรับผิดชอบในกำรรับคำำร้องเรียนและข้อมูลเกี่ยวกับอำชญำกรรมในเขตอำำนำจของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
2.5 เพื่อตรวจสอบ ทำำกำรสืบสวน ดำำเนินคดี ภำยใต้กำรกำำกับอย่ำงใกล้ชิดโดยฝ่ำยไต่สวนของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ โดยเฉพำะใน
กรณีที่อัยกำรใช้อำำนำจโดยตำำแหน่งทำำกำรสืบสวนด้วยตนเอง และปฏิบัติหน้ำที่ดังกล่ำวเมื่อคณะมนตรีควำมมั่นคงแห่งสหประชำชำติส่งเรื่อง
ให้ศำลอำญำระหว่ำงประเทศพิจำรณำด้วย

3.สำำนักทะเบียนของศำล
3.1 เป็นองค์กรธุรกำรของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ เทียบเคียงได้กับจ่ำศำลในศำลภำยใน นำยทะเบียนได้รับกำรเลือกตั้งโดยตุลำกำร
3.2 นำยทะเบียนมีวำระ 5 ปี
3.3 รับผิดชอบในเรื่องกำรเสนอข้อบังคับของเจ้ำหน้ำที่ต่ำงๆ ตลอดจนจัดตั้งหน่วยงำนให้ควำมคุ้มครอง และดูแลควำมปลอดภัยของ
พยำน และผู้เสียหำย
4.สมัชชำแห่งรัฐภำคี
4.1 สมัชชำทำำหน้ำที่พิจำรณำงำนของ PCNICC
4.2 ดูแลเรื่องกำรจัดกำรต่ำงๆ รวมทั้งงบประมำณ
4.3 ทำำกำรเลือกตุลำกำร อัยกำร ตลอดจนทำำกำรถอดถอนด้วย
4.4 โดยทำำกำรตัดสินตำมหลักเสียงข้ำงมำกธรรมดำ หรือสองในสำมตำมแต่ควำมสำำคัญของเรื่อง
4.5 องค์กรนี้จึงสะท้อนกำรถ่วงดุลระหว่ำงอำำนำจอธิปไตยของรัฐกับกำรทำำงำนอย่ำงเป็นอิสระเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวมของประชำคม
ระหว่ำงประเทศ
เขตอำำนำจศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
1.ด้ำนบุคคล บุคคลธรรมดำอำยุเกินกว่ำ 18 ปี
2.ด้ำนเวลำ
♣ เขตอำำนำจศำลถูกจำำกัดไว้สำำหรับอำชญำกรรมที่กระทำำหลังกำรใช้บังคับของธรรมนูญศำล
3.ด้ำนสถำนที่
♣ คณะมนตรีควำมมั่นคงเป็นผู้ดำำเนินกำรส่งเรื่อง เขตอำำนำจครอบคลุมไปทั่วไม่ว่ำรัฐนั้นจะเป็นสมำชิกหรือไม่ก็ตำม
อัยกำร หรือ รัฐภำคีเป็นผู้ดำำเนินกำรเอง จะครอบคลุมถึงรัฐภำคีและรัฐอื่นที่ให้ควำมยินยอมเท่ำนั้น และเหตุเกิดในรัฐนั้น หรือผู้กระทำำ
มีสญ
ั ชำติของรัฐนั้นๆ
4.ด้ำนสำระ
♣ อำชญำกรรมร้ำยแรงต่อประชำคมระหว่ำงประเทศ
กำรกำำหนดเขตอำำนำจของศำล
1.รัฐภำคีต้องยอมรับเขตอำำนำจของศำลเหนือควำมผิดที่กำำหนดไว้โดยไม่อนุญำตให้ทำำข้อสงวน
2.ข้อ 12(2) ของธรรมนูญศำลอำญำระหว่ำงประเทศ ศำลมีเขตอำำนำจเหนือรัฐ ในกรณีที่รัฐเจ้ำของดินแดนที่ควำมผิดเกิด
อำชญำกรรม หรือรัฐเจ้ำของสัญชำติของผู้ถูกกล่ำวหำซึ่งมิใช่รัฐภำคีในธรรมนูญศำล แต่ให้ยอมรับเขตอำำนำจศำลด้วย
3.ศำลมีเขตอำำนำจเหนือทุกรัฐภำยใต้กลไกกำรธำำรงรักษำสันติภำพของโลก
- 44 - 44
4.แต่ศำลอำจถูกขอให้ระงับกำรสืบสวนหรือดำำเนินคดีใดก็ตำม ตลอดจนเลื่อนกระบวนกำรที่ได้เริ่มไว้แล้วออกไปเมื่อคณะมนตรีมีข้อมติ
ถึงศำล ภำยกรอบของหมวด 7 แห่งกฎบัตร สหประชำชำติ
อำชญำกรรมต่ำงๆที่อยู่ภำยใต้เขตอำำนำจศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► กำรฆ่ำล้ำงเผ่ำพันธุ์
► อำชญำกรรมต่อมนุษยชำติ
► อำชญำกรรมสงครำม
► กำรรุกรำน
ควำมร่วมมือของรัฐต่อศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ และ ควำมช่วยเหลือในทำงกำรศำล
► กำรจับกุมตัว
► กำรโอนตัวผู้ต้องหำ
► กำรสอบสวน
► กำรดำำเนินคดี
► กำรมีพันธกรณีตำมสนธิสัญญำกับรัฐอื่น
► ดุลพินิจของรัฐที่ไม่เป็นภำคี
พัฒนำกำรในระบบกฎหมำยระหว่ำงประเทศและข้อจำำกัด
► พัฒนำในเรื่องควำมรับผิดระหว่ำงประเทศทำงอำญำของปัจเจกชน
► พัฒนำในด้ำนกลไก และเนื้อหำสำระของกฎหมำย
► พัฒนำในแง่กระบวนกำรยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
► ส่งเสริมกำรคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน และกฎหมำยมนุษยธรรม
► พัฒนำสำรัตถะของกฎหมำยอำญำระหว่ำงประเทศ
► ขยำยขอบเขตกำรบังคับใช้ให้ครอบคลุมกำรขัดกันทำงอำวุธที่มีลักษณะระหว่ำงประเทศ
ควำมไม่สมบูรณ์ ข้อจำำกัด และ ปัญหำต่ำงๆ
► ปัญหำเรื่องเขตอำำนำจศำล
► ฐำนควำมผิดต่ำงๆ
► ควำมร่วมมือระหว่ำงรัฐ
► กำรเริ่มมีผลบังคับใช้ของธรรมนูญศำล
► ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงศำลอำญำระหว่ำงประเทศกับสหประชำชำติ
► ปัญหำด้ำนนโยบำยและปัญหำทำงด้ำนเทคนิค

ความผูกพันของประเทศไทยต่อธรรมนูญศาล
► ประเทศไทยเป็นประเทศที่เข้ำร่วมประชุม และลงนำมรับรองธรรมนูญกรุงโรม เมื่อวัน 2 ตุลำคม 2543 (2000) แต่ยังไม่
ได้ให้สัตยำบัน เนือ่ งจำกกำำลังศึกษำผลกระทบต่อประเทศไทย
หลักกำรเสริมเขตอำำนำจศำล
► ข้อ 17 ธรรมนูญศำล กลไกกำรทำำงำนของศำลกับศำลภำยใน
- 45 - 45
► ศำลอำญำระหว่ำงประเทศจะไม่รับคดีไว้พิจำรณำ เมื่อศำลภำยในกำำลังสืบสวน หรือ พิจำรณำคดีผู้ถูกกล่ำวหำสำำหรับอำชญำกรรมดัง
กล่ำว
► หรือเมื่อศำลภำยในได้ตัดสินไม่ฟ้องคดี หรือได้ตัดสินดำำเนินคดีกับบุคคลที่ถูกกล่ำวหำแล้ว
► หรือคดีไม่ร้ำยแรงพอ
► ศำลอำญำระหว่ำงประเทศจะดำำเนินคดีที่ร้ำยแรงมำกพอ และศำลภำยในไม่มีประสิทธิภำพ หรือไม่อำจใช้กำรได้
► ศำลอำญำระหว่ำงประเทศมีอำำนำจชี้ขำดในกรณีที่มีกำรขัดแย้งเกี่ยวกับเขตอำำนำจศำล
ควำมร่วมมือของรัฐต่อศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ควำมร่วมมือในเรื่องกำรจับกุมและกำรโอนตัวผู้ต้องหำ
► กำรดำำเนินกำรสอบสวน และ กำรดำำเนินคดีของศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► กำรจับกุมตัวผู้ต้องหำและส่งตัวให้ศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► รัฐภำคีจึงมีหน้ำที่ต้องปฏิบัติตำมและต้องออกกฎหมำยภำยในให้สอดคล้อง
► รัฐอำจทำำไม่ได้ที่มีพันธะกับรัฐอื่นๆในกำรส่งผู้ร้ำยข้ำมแดน
► กำรหำหลักฐำน กำรส่งหมำย กำรอำำนวยควำมสะดวก กำรปรำกฏตัวของพยำนหรือผู้เชี่ยวชำญ
► สิทธิของรัฐที่ไม่เป็นภำคีสมำชิก
ปัญหำทำงนโยบำยเกี่ยวกับศำลอำญำระหว่ำงประเทศกับประเทศรัฐภำคีรวมทั้งประเทศไทยด้วย
► ปัญหำกำรเริ่มมีผลบังคับของธรรมนูญกรุงโรม
► ปัญหำเรื่องควำมสัมพันธ์กับสหประชำชำติ
► ปัญหำด้ำนนโยบำย ไทยสนับสนุนธรรมนูญกรุงโรมแต่ไทยก็ไม่เห็นด้วยในเรื่องบำงเรื่องเช่นอำชญำกรรมภำยใต้ธรรมนูญ กำรกระทำำใน
สถำนกำรณ์ขัดแย้งทำงอำวุธที่มิได้มีลักษณะระหว่ำงประเทศ
► รัฐภำคีตั้งข้อสงวนไม่ได้ ต้องรับเขตอำำนำจศำล
► แต่ถ้ำไทยไม่เป็นภำคี เมื่อไทยต้องเข้ำไปเกี่ยวข้องกับศำลอำญำระหว่ำงประเทศ เช่นมีคนชำติถูกกล่ำวหำว่ำเป็นอำชญำกร หรือดินแดน
ไทยเป็นสถำนที่เกิดอำชญำกรรม และได้รับกำรกดดันจำกประชำคมระหว่ำงประเทศให้ต้องยอมรับเขตอำำนำจศำลก็ขัดข้องเรื่องปัญหำทำง
เทคนิค

ปัญหาทางเทคนิคเกี่ยวกับศาลอาญาระหว่างประเทศกับประเทศไทย
► กำรบัญญัติกฎหมำยภำยในให้สอดคล้องกับธรรมนูญศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
► ประมวลกฎหมำยอำญำไม่มฐี ำนควำมผิดตำมธรรมนูญกรุงโรม
► โทษของประมวลอำญำสูงกว่ำ ธรรมนูญกรุงโรมที่มีโทษสูงสุดจำำคุก 30 ปี
► กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมที่แตกต่ำงกัน
► ควำมร่วมมือในกำรส่งผู้ร้ำยข้ำมแดน ที่ไทยมีพันธะกรณีระหว่ำงประเทศ
► เรื่องเขตอำำนำจศำลที่ตั้งข้อสงวนไม่ได้
► เรื่องเอกสิทธิและควำมคุ้มกันศำลอำญำระหว่ำงประเทศ
พัฒนำกำรในระบบกฎหมำยระหว่ำงประเทศและข้อจำำกัด
► พัฒนำในเรื่องควำมรับผิดระหว่ำงประเทศทำงอำญำของปัจเจกชน
► พัฒนำในด้ำนกลไก และเนื้อหำสำระของกฎหมำย
- 46 - 46
► พัฒนำในแง่กระบวนกำรยุติธรรมระหว่ำงประเทศ
► ส่งเสริมกำรคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน และกฎหมำยมนุษยธรรม
► พัฒนำสำรัตถะของกฎหมำยอำญำระหว่ำงประเทศ
► ขยำยขอบเขตกำรบังคับใช้ให้ครอบคลุมกำรขัดกันทำงอำวุธที่มีลักษณะระหว่ำงประเทศ

You might also like