You are on page 1of 59

บทนํา

คูมือการซักประวัติและหัตถการนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนการทบทวน เตรียมความพรอม ในการ


สอบภาคปฏิบัติเพื่อสอบอนุมัติวุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม (Thai National License-3) ประจําปการศึกษา
2551 นิ สิ ต ควรทํ า การศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ตามข อ กํ า หนดของศู น ย ก ารประเมิ น และรั บ รองความรู
ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศ.ร.ว.) ตามที่แพทยสภากําหนดไวตั้งแตปการศึกษา
2546 เนื่องจากไมสามารถสรุปการซักประวัติและตรวจรางกายทั้งหมด ดั้งนั้น นิสิตควรใหความสําคัญ
กับการนัดสอนเสริมตามตารางเรียน ที่กําหนด

ในสวนการซักประวัติและหัตถการของงานสูตินารีวิทยาและกุมารเวชศาสตร ใหนิสิตทบทวน
จากคูมื อหั ต ถการ ซึ่ งจั ด ทํ า โดยภาควิ ช าทั้ ง สองเมื่อ เรี ย นในชั้ น ป 4 และ 5 ตามลํ า ดับ หากคูมื อ
หัตถการดังกลาวสูญหายและชํารุดใหติดตอผานธุรการภาควิชาทั้งสองเพื่อติดตอขอคูมือดังกลาวมา
ศึกษาใหมอีกครั้ง

นอกจากนี้นิสิตสามารถฝกปฏิบัติหัตถการนอกเวลาในหองฝกปฏิบัติการที่งานแพทยศาสตร
ศึกษาไดจัดเตรียมไวโดยเฉพาะ บริเวณชั้น 14 ศูนยการแพทยสมเด็จพระเทพฯ โดยสามรถติดตอ
ขอรับกุญแจนอกเวลาไดที่ อาจารยฉัตรชัย กรีพละ

ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก บุญบารมีของหมอมหลวงปน มาลากุล ดลบันดาลให


นิสิตแพทย มศว ประสบความสําเร็จในการสอบและการประกอบวิชาชีพเวชกรรมในอนาคตตอไป

แพทยศาสตรศึกษา
1 ธันวาคม 2551

ติว National License PIII OSCE SWU 1


สารบัญ

ตารางติวเตรียมสอบ OSCE National Licese PIII


ลักษณะขอสอบที่ใชในการสอบ ศ.ร.ว. ขั้นตอนที่ 3
หมวดการตรวจรางกาย (Physical examination)
หมวดการทําหัตถการ (Procedures skills)
หมวดทักษะการสื่อสาร Communication skills
หมวดการซักประวัติ (History taking)
หมวด Interpretation skills
หมวด Management
Key Clinical Skills (10 แบบ ทักษะทางคลินิก )
การแจงขาวราย
สาธิต วิธีการปฏิบัติตัวแกผปู วย หรือ ญาติ
การใหขอมูล และคําแนะนําแกผูปวย
การซักประวัติ (History taking)
การใหคําปรึกษา
อธิบายโรค และการรักษา
ทักษะการขอ Consent
การขอใหเซ็นใบยินยอมการผาตัด
ตรวจรางกาย และการทําหัตถการที่มีผูปวยอยูดวย
การใหกําลังใจ

ติว National License PIII OSCE SWU 2


ลักษณะขอสอบที่ใชในการสอบ ศ.ร.ว. ขั้นตอนที่ 3
ตามที่แพทยสภา ไดกําหนดไววาผูที่เขาศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตรของทุกสถาบัน ตั้งแต
ปการศึกษา 2546 จะตองผานการสอบเพื่อรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภาจึงไดมอบหมาย
ใหศูนยประเมิน และรับรองความรูความสามารถ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศ.ร.ว.) เปน
ผูดําเนินการโดยไดตั้งเกณฑผูที่จะไดรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะตองผานการสอบทั้ง3 ขั้นตอน
ดังนี้ คือ
ขั้นตอนที่ 1 (Basic science - MCQ) สอบเมื่อผานการเรียนชั้นปที่ 3 แลว
ขั้นตอนที่ 2 (Clinical science - MCQ) สอบเมื่อผานการเรียนชั้นปที่ 5 แลว
ขั้นตอนที่ 3 (Clinical competence – MEQ ,Long cases และ OSCE)
สอบเมื่อผานขั้นตอนที่ 1 และ 2 แลว
ในการสอบขั้นตอนที่ 3 (OSCE) ศูนยประเมินและรับรองความรูความสามารถในการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศ.ร.ว.) ไดกาํ หนดลักษณะขอสอบที่จะใชในการสอบขั้นตอนที่ 3  ทั้งหมด
20 ขอ แบงเปน
- ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการซักประวัติ 4 ขอ
- ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการตรวจรางกาย 4 ขอ
- ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการทําหัตถการ 4 ขอ
- ขอสอบเกี่ยวกับหมวดทักษะการสื่อสาร 3 ขอ
- ขอสอบเกี่ยวกับหมวดการอานและแปลผลขอมูลตางๆ 5 ข
ขอสอบทั้งหมดในแตละหมวดจะอางอิงตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา
ขอสอบในหมวดการซักประวัติและการตรวจรางกายตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 2.1
นักศึกษาตองสามารถซักประวัติ และตรวจรางกายไดอยางเหมาะสม เมื่อพบผูปว ยที่มีอาการ
สําคัญ ดังตอไปนี้
1. ไข
2. ออนเพลีย ไมมีแรง
3. ภาวะผิดรูป
4. อวน น้ําหนักตัวลดลง
5. อุบัติเหตุ สัตวมีพิษกัดตอย

ติว National License PIII OSCE SWU 3


6. ปวดฟน เลือดออกตามไรฟน
7. ปวดทอง แนนทอง ทองอืด
8. ตาเหลือง ตัวเหลือง
9. เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน อาเจียนเปนเลือด
10. สะอึก สําลัก กลืนลําบาก
11. ทองเดิน ทองผูก อุจจาระเปนเลือด อุจจาระ
12. กอนในทอง
13. ปวดศีรษะ มึนศีรษะ เวียนศีรษะ หนามืด เปนลม
14. กลามเนื้อออนแรง ชัก สั่น กระตุก ชา ซึม ไมรูสติ
15. ปวดหลัง ปวดคอ ปวดเมื่อย ปวดกระดูก ปวดขอ ปวดแขน ปวดขา
16. เจ็บคอ คัดจมูก น้ํามูกไหล จาม เลือดกําเดาออก
17. ไอ ไอเปนเลือด หอบเหนื่อย หายใจขัด หายใจไมอิ่ม เจ็บหนาอก
ใจสั่น เขียวคล้ํา
18. บวม ปสสาวะลําบาก มีปสสาวะขัด ปสสาวะบอย ปสสาวะสีผดิ ปกติ
กลั้นปสสาวะไมได
19. ปสสาวะมีเลือดปน ปสสาวะเปนกรวดทราย
20. หนองจากทอปสสาวะ
21. แผลบริเวณอวัยวะเพศ
22. ผื่น คัน แผล ฝ สิว ผิวหนังเปลี่ยนสี ผมรวง
23. กอนที่คอ กอนในผิวหนัง กอนที่เตานม
24. ซีด ตอมน้ําเหลืองโต
25. ตั้งครรภ แทงบุตร ครรภผดิ ปกติ ไมอยากมีบุตร มีบุตรยาก
26. ตกขาว คันชองคลอด
27. เลือดออกทางชองคลอด
28. ประจําเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน
29. คลอดกอนกําหนด เกินกําหนด
30. เคืองตา ตาแดง ปวดตา มองเห็นไมชัด ตาบอด ตาโปน ตาเหล
31. หูอื้อ การไดยินลดลง
32. หงุดหงิด คลุมคลั่ง ประสาทหลอน นอนไมหลับ เครียด วิตกกังวล ซึมเศรา
ติดสารเสพติด ฆาตัวตาย
33. ถูกลวงละเมิดทางเพศ
34. การเจริญเติบโตไมสมวัย

ติว National License PIII OSCE SWU 4


ขอสอบในหมวดการทําหัตถการตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 3.5.1
นักศึกษาตองสามารถทําไดดวยตนเอง ในหัตถการพื้นฐานทางคลินิกตอไปนี้

ติว National License PIII OSCE SWU 5


ขอสอบในหมวดทักษะการสื่อสารตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 1.4 - 1.7
นักศึกษาตองมีความสามารถในการสื่อสารดังตอไปนี้
ทางการบันทึก
1. เขียนใบรับรองแพทย/หนังสือรับรองความพิการ
2. บันทึกขอมูลผูปวยคดี
3. การออกความเห็นทางนิติเวช
4. ใบสงผูปวย
5. ใบตอบรับผูปวย
6. รายงานการผาตัด
7. บันทึกรอยโรคตางๆ
8. บันทึกลักษณะบาดแผล
9. ขอมูลการซักประวัติและตรวจรางกาย
ทางวาจา
1. การแจงโรคและการรักษา
2. การใหเลือกการรักษา
3. การแจงขาวราย
4. การแจงขาวตายและการเตรียมญาติ
5. การสาธิต การแนะนําการปฏิบัตติ ัว
6. Counseling
7. การใหกําลังใจ
8. การขอ autopsy
9. การพูดแนะนําชุมชน
10. การขอคํายินยอมการรักษา/ผาตัด

ติว National License PIII OSCE SWU 6


ขอสอบในหมวดการอานและแปลผลขอมูลตางๆ ตามเกณฑมาตรฐานแพทยสภา ขอ 3.2 - 3.4
นักศึกษาตองสามารถอานและแปลผลการตรวจ/รายงานการตรวจไดถูกตอง ดังตอไปนี้

ติว National License PIII OSCE SWU 7


History taking
Medicine

I. ประวัติผื่นผิวหนัง
1. ผื่นเริ่มเมื่อไหร
2. คันหรือไม
3. ผื่นเริ่มที่ไหน
4. ลักษณะการกระจาย
5. การเปลี่ยนแปลงของผื่น
6. ปจจัยที่มาสงเสริมการเกิดผื่น
7. การรักษาที่ไดรับมากอน
8. การซักประวัตติ ามระบบ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในกรณีที่สงสัยระบบนั้น ๆ
9. ประวัติอดีตและประวัติครอบครัว

การตรวจรางกาย ซี่งจะรวมเอาการตรวจทางผิวหนัง ผม เล็บ และเยื่อเมือกตา ๆ


สําหรับการพิจารณาผื่นแยกออกเปน 3 สวน ดวยกันดังนี้
ลักษณะของผื่น
รูปรางแลกการเรียงตัวของผืน่
การกระจายของผื่น
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดในการตรวจทางผิวหนังจากคุณลักษณะที่สําคัญ 3
ประการที่กลาวมาแลว เราควรพิจารณาลักษณะประกอบอื่นๆ เพิ่มอีก เชน สีสัน แบะความนุมหรือ
ความแข็งของผื่น
การซักประวัตติ ามระบบ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในกรณีที่สงสัยระบบนั้นๆ
ประวัติอดีตและประวัติครอบครัว

II. การซักประวัติและการตราจรางกายดวยอาการ dyspnea


1. อาการเกิดขึ้นขณะพักหรือออกกําลังกาย ถาเกิดขณะออกกําลังกาย เกิดขึ้นขณะออกกําลังกาย
มากแคไหน เชน ขึ้นบันไดกี่ขั้น ยกของหนัก ทํางานบาน
2. อาการเกิดขึ้นทันทีทันใด หรือคอยๆเกิด
3. อาการเปนมากขึ้นเมื่อเกิดภาวะใด
4. อาการดีขึ้น เมื่อทําอยางไร
5. มีอาการหายใจลําบากขณะนอนราบ แตดีขึ้นเมื่อนอนยกหัวสูงหรือไม นอนหนุนหมอนกี่ใบ
6. มีอาการตื่นขึ้นมาหอบในเวลากลางคืนหรือไม

ติว National License PIII OSCE SWU 8


7. มีเสียง wheezing รวมดวยหรือไม
8. มีอาการบวมกดบุมรวมดวยหรือไม
9. มีอาการไอรวมดวยหรือไม มีเสมหะหรือไม จํานวนนอยมาก แคไหน
10. มีอาการไอเปนเลือดรวมดวยหรือไม ปริมาณมากนอยแคไหน
11. สูบบุหรี่มากนอยเพียงใด
12. มีไขรวมดวยหรือไม
13. มีอาการแนนหนาอกรวมดวยหรือไม
14. มีอากรเจ็บปวยใดนํามากอนหรือไม

III. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยอาการ syncope (เปนลม)


1. เกิดขึ้นขณะทําอะไรอยู
2. มีอาการรวมดวยหรือไม เชน ชัก หัวใจเตนผิดจังหวะ มีอาการหอบเหนื่อย
3. เปนอยูนานเทาไร
4. ทําอยางไรอาการถึงจะดีขึ้น
5. เคยเปนมากอนหรือไม
6. มีโรคประจําตัวหรือไม เชน โรคเบาหวาน
7. ไดรับยาลดความดันโลหิตอยูหรือไม
8. มีภาวะอื่นรวมดวย หรือไม เชน ทองเดิน ตกเลือก อาเจียน

IV. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยอาการไอ
1. เปนมานานเทาใด
2. เปนบอยแคไหน
3. มีภาวะอะไรที่กระตุนการไอหรือทําใหการไอนอยลง
4. มีเสมหะหรือไม เสมหะสีอะไร กลิ่นเหม็นหรือไม ลักษณะเปนอยาไร จํานวนมากแคไหน
5. มีไอเปนเลือกรวมดวยหรือไม
6. มีน้ํามูกไหล เจ็บคอรวมดวยหรือไม เสียงเปลี่ยนหรือไม
7. มีไขรวมดวยหรือไม เปนมานานเทาไร
8. มีเหนื่อยหอบและแนนหนาอกรวมดวยหรือไม
9. สูบบุหรี่หรือไม
10. มีหอบหืดรวมดวยหรือไม

ติว National License PIII OSCE SWU 9


11. มีอาการน้ําหนักลดรวมดวยหรือไม
12. มี่ orthopnea PND รวมดวยหรือไม

V. การซักประวัติในผูปวยที่มีอาการไอเปนเลือด
1. เลือดออกมาปนเล็กนอย เปนกอน หรือจํานวนมาก
2. เลือดออกมาจากการไอ หรือจากการอาเจียน หรือมาจากชองปาก
3. เปนมานานเทาไร
4. มีอาการไอเรื้อรังรวมดวยหรือไม
5. มีอาการไอมีเสมหะจํานวนมากรวมดวยหรือไม
6. มีไข น้ําหนักลดรวมดวยหรือไม
7. มีประวัติสูบบุหรี่หรือไม
8. มี orthopnea PND รวมดวยหรือไม

VI. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยอาการปสสาวะเปนเลือด
1. ประวัติรับประทานยาที่ทําใหปสสาวะเปลีย่ นเปนสีคลายสีเลือด เชน ยาระบาย
2. ลักษณะปสสาวะเปนสีน้ําลางเนื้อ หรือสีแดงสด หรือสีโคคาโคลา
3. ปสสาวะเปนเลือด สวนแรก สวนกลางหรือสวนทาย
4. มีอาการอื่นรวมดวยหรือไม เชน มีอาการปวดทองแบบ colicky pain ปสสาวะแสบขัด
5. มีประวัติเปนนิ่วมากอนหรือไม
6. มีประวัติบวม หรือความดันโลหิตสูงรวมดวยหรือไม

VII. การซักประวัติผูปวยที่ดวยอาการปสสาวะนอยลง หรือปสสาวะไมออกเลย


1. มีปสสาวะออกนอยกวาปกติ หรือไมออกเลย
2. มีประวัตกิ ารเสียน้ํา เชน อุจจาระรวง อาเจียน หรือไม
3. มีประวัติเคยเปนนิ่วในไต นิ่วในกระเพาะปสสาวะมากอนหรือไม
4. เคยปสสาวะเปนเลือด เปนโรคไตมากอนหรือไม
5. ไดรับยาอะไรหรือไม
6. มีอาการปวดทองรวมดวยหรือไม
7. มีอาการเปนโรคหัวใจรวมดวยหรือไม

ติว National License PIII OSCE SWU 10


VIII. การซักประวัติผปู วยที่มาดวยอาการบวม
1. บวมสวนใดหรือบวมทั้งตัว
2. บวมมากตอนไหน ตอนเชา หรือตอนกลางคืน
3. บวมกดบุมหรือไม
4. ใสแหวนแลวคับขึ้นหรือไม
5. หนังตาบวมหรือไม
6. ทองโตดวยหรือไม
7. มีอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไมได หรือลุกขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน
8. มีอาการอื่นรวมดวยหรือไม เชน ปสสาวะนอย ซีด คลื่นไสอาเจียน ซึม
9. เคยมีตัวเหลืองตาเหลือง เปนโรคตับอักเสบดื่มสุราเรื้อรังมากอนหรือไม

IX. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยเรื่องซีด
1. มีอาการเวียนศีรษะ หนามืด ใจสั่น เหงื่อออก มือเทาเย็นหรือไม
2. มีอาการออนเพลีย ไมมีแรง เหนื่อยหอบหรือไม
3. มีอาการเลือดออกงายรวมดวยหรือไม
4. มีอาการตัวเหลือง ตาเหลืองรวมดวยหรือไม
5. มีอาการแสบลิ้น เล็บเปราะรวมดวยหรือไม
6. มีอาการตามัวรวมดวยหรือไม
7. มีอาการเบื่ออาหาร แนนทอง ทองอืด ทองผูก กลืนลําบาก รวมดวยหรือไม
8. มีอาการถายอุจจาระดํา ถายอุจจาระเปนเลือด ประจําเดือนมามากผิดปกติ
9. มีกอนในทองหรือไม มีไขรวมดวยหรือไม
10. มีปสสาวะเปนสีโคคาโคลาหรือไม
11. มีน้ําหนักลดหรือไม

X. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยเรื่องเลือดออกผิดปกติ
1. เลือดออกไดเองโดยไมมีการกระทบกระแทกหรือไม เชน จ้ําเลือด เลือดออกตามไรฟน โดย
ไมมีเหงือกอักเสบ เลือดกําเดาไหลเอง ประจําเดือนมามากและนาน เลือดออกในขอ
2. มีเลือดออกหลังจากการกระทบกระแทก จํานวนไมไดสัดสวนกับความรุนแรงของการกระทบ
กระแทก เชน เดินชนขอบโตะ แตมีจ้ําเลือดใหญมาก ถอนฟนแลวเลือดออกไมหยุด
3. มีเลือดออกมากกวาแหงเดียวหรือไม
4. มีประวัติครอบครัวมีเลือดออกงายหรือไม

ติว National License PIII OSCE SWU 11


5. ประวัติผาตัดในอดีตแลวเลือดออกไมหยุด
6. ประวัติการใชยามี่มีผลตอกลไกการหามเลือดหรือไม เขน ยาเคมีบําบัด ยาแกปวด ยาปฏิชีวนะ
ยาตานเกร็ดเลือด ยาหามการแข็งตัวของเลือด
7. มีประวัติโรคตับ โรคไต ภาวะshock ภาวะแทรกซอนจากการตั้งครรภหรือไม

XI. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยเรื่องไข
1. มีไขมานานเทาไหร
2. มีไขหนาวสั่นหรือไม
3. ลักษณะเปนไขแบบใด เปนตลอดเวลา เปนๆหายๆ เปนตน
4. มีน้ํามูกไหล ไอ เจ็บคอ มีเสมหะ หอบหรือไม
5. มีปสสาวะแสบขัด ปวดหลังหรือไม
6. มีปวดทอง แนนทอง หรือทองเดินหรือไม
7. มีตัวเหลือง ตาเหลืองรวมดวยหรือไม
8. มีผื่นขึ้นตามตัวหรือไม
9. ประวัติไปตางจังหวัด
10. รับประทานยาอะไรหรือไม
11. ติดยาเสพติดเขาเสนหรือไม
12. มีผูใกลชิดไดรับ เลือดหรือสวนประกอบของเลือดหรือไม
13. เปนโรคเบาหวาน เปนพิษสุราเรื้อรัง ไดรับยา steroid เปนโรค AIDS หรือไม

XII. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยอาการกลืนลําบาก
1. กลืนไมลงบริเวณไหน
2. เกิดขึ้นเมื่อไร เปนๆหายๆ หรือเปนตลอดเวลา เปนมากขึ้นหรือไม เปนมากขึ้นเร็วแคไหน
3. กลืนลําบากเฉพาะอาหารแข็ง หรือของเหลว หรือทั้งสองอยาง
4. มีประวัติผิดปกติทางระบบประสาทเชน เปนอัมพาตหรือไม
5. มีแนนบริเวณหนาอกหรือไม
6. มีน้ําหนักตัวลดรวมดวยยหรือไม
7. มี regurgitation ออกมาขณะนอนราบหรือไม
8. มีอาการอื่นรวมดวยหรือไม เชน ซีด แสบลิ้น
9. มีอาการ heart burn รวมดวยหรือไม เริ่มจากบริเวณ epigastrium ขึ้นมา

ติว National License PIII OSCE SWU 12


XIII. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการคลื่นไสอาเจียน
1. ลักษณะที่อาเจียนออกมากเปนอาหารหรือน้ํา จํานวนมากนอยแคไหน
2. เปนมานานเทาไร
3. อาเจียนเปนแบบ อาเจียนพุง หรือไม
4. มีอาการปวดทอง แนนทองรวมดวยหรือไม
5. มีอาการทองเดินรวมดวยหรือไม
6. น้ําหนักตัวลดลงหรือไม
7. ประจําเดือนขาดหรือไม
8. ไดรับยาหรือดืม่ สุราหรือไม
9. ปวดศีรษะรวมดวยหรือไม
10. มีอาการบวม ตาเหลือง ตัวเหลือง รวมดวยหรือไม

XIV. การซักประวัติในผูปวยที่มาดวยอาการปวดทอง
1. ลักษณะ ปวดอยางไรตื้อๆ หรือ จี๊ดๆ หรือยาง colic
2. ความรุนแรง ปวดมากนอยแคไหน
3. ตําแหนง ที่ๆปวดและ ลึกหรือตื้น
4. ปวดอยูก ับที่ ปวดจุดเล็กๆจุดเดียว หรือจุดใหญ
5. อาการปวดราว ปวดราวไปไหนบาง
6. ระยะเวลาที่ปวด ปวดนานแคไหน
7. ความบอยของการปวด ปวดบอยแคไหน
8. ปวดเวลาไหนเปนพิเศษ หรือเปลา
9. อะไรทําใหอาการปวดเกิดขึน้
10. อะไรทําใหอาการปวดหายไป
11. มีอาการอะไรเกิดรวมกับอาการปวดบาง เชน อาการคลื่นไส ปวดหัว ไข ทองเสีย ทองแนน
ทองอืด หรือมีเสียงในทองมากขึ้น มีน้ําลายไหล เหงือ่ ออกหนาซีดเปนลม หรือมีอาการทาง
ปสสาวะ เชน ถาผูปวยมีปวดทอง ควรถามถึงอาการทางระบบปสสาวะ รวมถึงอาการทาง
ระบบขับถาย

ติว National License PIII OSCE SWU 13


XV. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการทองเสีย
1. จํานวนที่ถายอุจจาระวันละกี่ครั้ง ครั้งละจํานวนมากหรือทีละนอย
2. ลักษณะอุจจาระเปนอยาไร เปนน้ําเหลว เปนมูกเลือด เปนน้ําปนเนื้อ หรือเปนกอนธรรมดา สี
อุจจาระเปนอยาไร กลิ่นเหม็นผิดปกติหรือไม
3. เปนมานานเทาไร เพิ่งเปน เปนนาน หรือเปนๆ หายๆ
4. ถายอุจจาระทั้งกลางวัน กลางคืน หรือไม
5. มีปวดเบงรวมดวยหรือไม
6. ไดรับยาอะไรอยูหรือไม
7. มีคนอื่นเปนดวยหรือไม
8. มีอาการอื่นรวมดวยหรือไม เชน ไข อาเจียน น้ําหนักตัวลดลงมาก ใจสั่น ประจําเดือนผิดปกติ

XVI. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาเจียนเปนเลือดหรือ ถายดํา


1. จํานวนเลือดทีอ่ อกมานอยแคไหน
2. มีอาการเปนลม เวียนศรีษะ คลื่นไสเหงื่อออกรวมดวยหรือไม
3. มีประวัติทากอนหรือไม
4. มีประวัติโรคกระเพาะมากอนหรือไม
5. มีประวัติปวดทองเปนๆหาย ๆมากอนหรือไม
6. ไดรับยา NSAID มาหรือไม
7. มีภาวะ stress เชน หลังผาตัด ชอค
8. ดื่มสุรา มากนอยแคไหน นานเทาไร
9. มีประวัติโรคตับแข็งมากอนหรือไม
10. มีประวัติอาเจียนนํามากอน หรือไม
11. ไดรับยาบํารุงเลือดหรือไม

XVII. การซักประวัติผูปวยที่มาดวยอาการตาเหลือง ตัวเหลือง


1. เปนมานานเทาไร มีอาการไขนํามากอนหรือไม
2. ปสสาวะสีอะไร
3. ถายอุจจาระสีอะไร ซีดลงหรือไม
4. มีอาการคัยรวมดวยหรือไม
5. มีอาการปวดทองรวมดวยหรือไม ปวดที่ไหน เคยปวดมากอนหรือไม

ติว National License PIII OSCE SWU 14


6. ไดสัมผัสตัวผูปวยที่มีตวั เหลืองตาเหลืองหรือไม
7. ไดรับเลือดหรือไม
8. ติดยาเสพติดเขาเสนหรือไม
9. ดื่มสุราหรือไมจํานวนเทาไร
10. ไดรับยาอะไรอยูบาง
11. มีใครในครอบครัวตัวเหลืองตาเหลืองหรือไม

XVIII. Headace
ตัวอยาง ผูป วยหญิงอายุ 25 ป มาพบแพทยดวยอาการปวดศีรษะ 3 วัน จงซักประวัติเพื่อใหไดขอมูลที่ชวยใน
การวินิจฉัยและคนหาสาเหตุ
1 Age of onset (อาการเปนแบบเฉียบพลัน คือเกิดขึ้นทันที, กึ่งเฉียบพลัน หรือ เรื้อรัง)
2 ความถี่ของอาการปวดศีรษะ(จํานวนครั้งตอวัน/สัปดาห/เดือน)
3 ระยะเวลาของอาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นในแตละครั้ง(นาที/ชั่วโมง/วัน)
4 ชวงเวลาหรือกิจกรรมที่กําลังปฏิบัติขณะเกิดอาการเชน อาการเปนในชวงบาย ขณะทํางาน,
ไอหรือจาม, หรือตองตื่นนอนกลางดึกเพราะปวดศีรษะ
5 อาการนํากอนปวดศีรษะ เชน หิวมาก ทานมาก หาวบอย งวงนอนมากผิดปกติ
6 Aura
7 บริเวณที่มีอาการปวดศีรษะและบริเวณทีม่ อี าการปวดราว เชน ปวดทั่วทั้งศีรษะ, ปวดครึง่
ปวดบริเวณขมับ, ปวดรางรอบกระบอกตา, หรือ ปวดทายทอยลงมายังตนคอ
8 ลักษณะของอาการปวดศีรษะ เชน ปวดตุบ ๆ(throbbing pain), ปวดเหมือนถูกมีดหรือเข็ม
แทง (stabbing pain), ปวดทันทีเหมือนมีอะไรระเบิดในศีรษะ(thunderclap headache),
หรือปวดแบบตื้อๆ
9 อาการอื่นที่มีรวมเชน คลื่นไส อาเจียน, ถายเหลว, ปวดหรือแสบตาดานเดียวกับที่ปวด
ศีรษะ, ชาบริเวณรอบปากและแขน, เวียนศีรษะบานหมุน, เดินเซ, ปวดเมื่อยตามตัว
10 ปจจัยทีก่ ระตุน ใหเกิดอาการปวดศีรษะ เชน ความเครียด, สุราหรือยาบางชนิด, กาแฟ, ออก
กําลังกาย, การมีเพศสัมพันธ
11 ปจจัยที่ทําใหอาการปวดศีรษะรุนแรงขึ้น เชน ไอ, จาม, เบง หรือ การเปลี่ยนทาทาง
12 ปจจัยที่ชว ยบรรเทาอาการปวดศีรษะ เชน การประคบเย็น หรือ บีบนวด
13 ประวัติการรักษาและยาที่เคยไดรับ
14 โรคประจําตัว, การบาดเจ็บบริเวณศีรษะ, และการแพยา
15 ประวัติการมีเพศสัมพันธที่มีความเสี่ยงสูง เชน multiple partners, homosexual

ติว National License PIII OSCE SWU 15


16 ประวัติโรคทางพันธุกรรมและความผิดปกติในครอบครัว
17 ขอมูลสวนบุคคลและขอมูลทางสังคมของผูปวย เชน อาชีพ, สถานะทางการเงิน, ปญหา
การหยาราง, นิสัยสวนตัว และอารมณ

ติว National License PIII OSCE SWU 16


Surgery
I. Abdominal pain

ตัวอยาง .ผูปวยชายไทยอายุ 40 ป มาตรวจที่หองฉุกเฉินดวยอาการปวดทอง


คําสั่งปฏิบตั ิ จงซักประวัติ ตรวจรางกาย (เฉพาะระบบที่เกี่ยวของ) และใหการวินิจฉัย
สวนที่ 1 ทักษะการซักประวัติ
แนะนําตนเองแกผูปวย
1. site / location of pain
2. progression of pain/ shifting of pain
3. characteristic of pain
4. refer pain
5. associated symptoms
6. aggravating/ releasing
7. co-morbidity
สวนที่ 2 ทักษะการตรวจรางกาย
1. general appearance of abdomen
2. auscultation
3. palpation
- McBurney point
- Psoas sign
- Obturator sign
- rebound tenderness
- Rovsing sign
4. Digital rectal examination
สวนที่ 3 การวินิจฉัย
1. Acute appendicitis
2. Acute diverticulitis
3. Peritonitis

ติว National License PIII OSCE SWU 17


Psychiatry
I. Suicide
ตัวอยาง ผูปวยหญิง ไทย โสด อายุ 30 ป จบ ปวส.ดานการชาง/บัญชี ทํางานชางเชื่อม/
บัญชี (ปจจุบันตกงาน) อยูคนเดียว มารพ.เนื่องจากกินยา Paracetamol 120 เม็ด ผูปวย
กินเนื่องจากเบื่อหนายทอแท ไมอยากมีชีวิตอยู
1.ถาม Demographic data เพศ อายุ สถานะ การศึกษา การทํางาน ที่อยู
2.ถามเรื่องสาเหตุที่ฆาตัวตาย เรื่องที่ เครียด เชน ตกงาน หนี้สิน
3.ถาม intention to die คือ หวังผลในการกินยาอยางไร มีความคิดอยากตายอยูห รือไม คิด
เรื่องฆาตัวตายบอยหรือไม
4.ถาม suicidal act & plan เรื่องแผนการ การเตรียมตัว กินอะไรไปบาง หลังกินเปน
อยางไร มีใครมาชวย แผนหลังจากออกจากรพ. เรื่องจดหมายลาตาย
5.ถามอาการของโรคซึมเศราดานอารมณเศรา เบื่อหนาย ทอแท หมดความสนใจ ไมอยาก
ทําอะไร รองไห
6.ถามอาการของโรคซึมเศราดานรางกาย เชน ออนเพลีย เบื่ออาหาร น้ําหนักลด นอนไม
หลับ
7.ถามอาการของโรคซึมเศราดานความคิด เชน สมาธิไมดี หลงลืม มองตนเองไมมีคา ไมมี
อนาคตไมมีใครชวยได
8.ถามประวัตโิ รคทางจิตเวชอื่นๆ เชน psychosis ,mania, anxiety
9.ถามประวัตกิ ารฆาตัวตาย ทํารายตนเองมากอน หรือประวัติโรคทางจิตเวช
10.ถามประวัตโิ รคทางจิตเวชในครอบครัว
11.ถามประวัตโิ รคทางกาย หรือ การใชสารเสพติด
12.ถามถึง supporting system เชน ครอบครัว เพื่อน
13.วินิจฉัยเปน Major depressive disorder
14.ประเมินไดวาเปน high risk suicide

ติว National License PIII OSCE SWU 18


Physical examination
Medicine
1.vital signs
: Temperature, BP, PR , RR
2.Cardiovascular system
ขั้นตอนการตรวจ
1. ดู general appearance (edema, cyanosis, clubbing,etc.)

2. คลํา pulse
2.1 คลําครบทั้ง 4 extremities
2.2 คลํา pulse ทั้งซายและขวาไปพรอมกัน
2.3 คลํา radial และ femoral pulse พรอมกัน
3. คลํา carotid pulse
3.1 กอนคลํา carotid pulse ตองฟงหาดูวามี carotid bruits ไหม? โดยเฉพาะในผูปวยสูงอายุ
3.2 คลําทีละขาง, หามคลําพรอมกัน
4. ดู JVP
4.1 ดูในทา 30 – 45 เพื่อตรวจหาระดับของ JVP โดยเทียบระดับกับ sternal angle
4.2 ดูในทาใดก็ได เพื่อตรวจหาลักษณะและความแรงของ a และ v waves ทั้งนี้ตองแสดงทาทางเปรียบเทียบกับ carotid
pulse หรือ heart sound
5. การตรวจ precordium
5.1 ดูเพื่อสังเกตรูปรางและความผิดปกติในรูปราง หรือ impulse ที่แรงหรือผิดตําแหนง
5.2 คลําโดยวางมือขวาบนทรวงอกดานซายใตตอราวนม เพื่อหา apical impulse หรือ PMI, abnormal impulse
หรือ heart sound
5.3 ตรวจตําแหนงของ apical impulse ใหแนนอนโดยใชปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางแยงที่ตําแหนงนั้นใน ทานอนหงาย
5.4 ตรวจแบบเดียวกับ 5.3 เพื่อหาลักษณะของ apical contour วาเปน normal thrust, tap, slap, heave
หรือ double apical impulse หากคลําไมไดชัดเจน ใหผูปวยนอนตะแคงไปทางซาย (left lateral decubitus) แลว
คลําดูใหม
5.5 ตรวจ RV heaving โดยวางฝามือขวาที่บริเวณ sternum ใหลําแขนตั้งฉากกับฝามือและออกแรงกดเล็กนอย
5.6 ฟงโดย stethoscope ทั้ง precordiumเริ่มที่ apex หรือ base รวมทั้งบริเวณ Lt parasternal aea
5.6.1 ฟงโดยใช bell หรือ diaphragm ตามความเหมาะสม
5.6.2 ฟงในทาที่ผูปวยนอนตะแคงซาย
5.6.3 ฟงในทาที่ผูปวยลุกนั่งโนมตัวไปขางหนา

ติว National License PIII OSCE SWU 19


3.Respiratory System
ขั้นตอนการตรวจ
Inspection
1. Cyanosis ลิ้นและปลายมือปลายเทา
2. Clubbing นิ้วมือนิ้วเทา
3 Plethora, venous distension ของบริเวณใบหนาและลําคอ
4 Chest contour ใหถอดเสื้อและตรวจในทานั่งดูความผิดปกติโดยรอบ
5. Breathing movement ดู rate. depth. rhythm, equality presence of paradox. accessory
muscle use
Palpation
1. Lymph node คลําที่บริเวณคอและรักแร(ในกรณีสงสัยมะเร็ง)
2. Trache คลําบริเวณ supasternàl fossa โดยใหหนาตรงและคางอยูในแนวกลางใชนิ้งชี้ทั้งสองขางกับนิ้วกลางคลํา
จากดานหนาหรือดานหลัง
3. Chest expansion
- Apical วางนิ้วมือบนไหปลาราใหนิ้วหัวแมมือสองขางมาชิดกันในแนวกลางขณะหายใจออกสุด
- Base ทําเหมือนกันแตกางนิ้วไปตามแนวชี่โครง ตรวจทั้งหนาและหลัง
. Vocal fremitus วางฝามือแนบกับทรวงอกในตําแหนง เหมือนตรวจ expansion แลวใหคนไขนับ 1 2 3
4. อื่นๆเชน subcutaneous emphysema
Percussion
1. ดานหนาเคาะไหลจากบนไหปลาราลงมาตามชองซี่โครงเปรียบเทียบ 2 ขาง
2. ดานหลังเคาะไลจากดานบนระหวางสะบักลงมาดานลางเปรียบเทียบ 2 ขาง
Auscultation
1. Breath sound ฟงเทียบกัน 2 ขาง มีการลดลงในตําแหนงใดหรือไม
2. มี abnormal bronchial breathi sounds ในตําแหนงใดหรือไม
3.ฟงวามี adventitious sounds ในตําแหนงใดหรือไม ไดแก crackles, wheezes. stridor. pleural rub.
mediastinal crunch
4. Voice-generated sounds
- Vocal resonance (นับ1.2.3ฟงเปรียบเทียบ 2 ขางวามีตําแหนงใดเสียงดังหรือเบากวากันหรือไม)
หรือ- Whispering pectoriloquy (พูดเบาๆแลวฟง 2 ขางเปรียบเทียบกันวามีตําแหนงใดฟงไดชัดกวาหรือไม)
หรือEgophony (ออกเสียง E ฟงไดเปน A ในตําแหนงใดหรือไม)

ติว National License PIII OSCE SWU 20


4.Gastroenterology
ขั้นตอนการตรวจ
1. Observation:
- general appearance including leg edema
- ตา (anemia. jaundice)
- oral cavity
- signs of chronic liver disease (spider nevi. palmar erthrerna. gynecomastia etc.)
- signs of hepatic encephalopathy(flapping fetor hepaticus)
- abdominal contour and superficial dilated veins (หนาและหลัง)
2.ฟง
- bowel sound
- (bruit or venous hum)
3. คลํา-เคาะ
- light palpation (all quadrants)
- deep palpation (all quadrants)
- examination of liver (describe size. span liver dullness, consistency, edge surface,
tender. etc.)
- examination of spleen (supine and right lateral decubitus )
- bimanual palpation of kidney
- examination of hernia
4. ExamInation of ascites
- fluid thrill
- shifting dullness
5. Rectal examination

5.วิธีการตรวจ Cranial Nerve


CN I
- อธิบายใหผูปวยปดรูจมูกทีละขางสูดลมหายใจเขาทางจมูกอีกขางสลับกันเพื่อตรวจสอบวารูจมูกไมอุดตัน
- เลือกวัตถุที่ใชทดสอบ(เลือกกาแฟ, ยาเสน)ใหผูปวยอุดรูจมูกขางหนึ่ง ถามผูปวยวาไดกลิ่นหรือไมและเปนกลิ่นอะไร
- ใหผูปวยสูดกลิ่นทางรูจมูกอีกขาง โดยมีวิธีเดียวกัน ถามวาผูปวยไดกลิ่นหรือไมและเปนกลิ่นเดียวกันหรือไม
CN II
1. Visual acuity (Pocket near vision chart)
- ถือ chart หางตาผูปวยประมาณ 14 นิ้ว
- ใหผูปวยใชมือปดตาทีละขางแลวใหอานตัวเลขบน Chart ตั้งแตแถวแรก
2. Visual field (Confrontation test)
- ใหผูปวยและผูตรวจหันหนาเขาหากันโดยอยูหางกันประมาณ 1 เมตร ระดับสายตาเทากัน
- ตรวจ VF ทีละขางโดยใหผูปวยและผูตรวจปดตาขางที่อยูตรงขามกัน
- ใหผูปวยมองที่ตาผูตรวจ
- เลื่อนนิ้วมือของผูต รวจจาก peripheral field เขามาทดสอบทีละ quadrant โดยกะระยใหนิ้วมืออยูห างจากผูตรวจและ
ผูปวยระยะเทาๆกัน
3. Fundoscopic examination
- ใหผูปวยมองไปขางหนา จองมองวัตถุที่อยูไกลๆ ถาผูปวยใสแวนใหถอดออก

ติว National License PIII OSCE SWU 21


- ผูตรวจปรับ lens ใหเหมาะสม ถาผูตรวจใสแวนใหถอดกอน* ถาผูตรวจใสแวนใหบันทึกดวย
- แนบ ophthalmoscope เขากับกระบอกตาแลวตรวจตาผูปวยขางเดียวกันถือ ophthalmoscope ดวยมือขางเดียวกับ
ตาที่ใช ใหนิ้วชี้อยูที่ disk ปรับ refraction และนิ้วกลางแตะใบหนาผูปวย ดู potic fundi ใหทั่วโดยเปลี่ยนมุมมอง* ถา
ผูสอบทําสิ่งตอไปนี้ใหบันทึกไวดวย(ไมเหมาะสม)
- ผูตรวจปดตาผูปวย โดยที่ผูปวยไมไดมีหนังตาตก*
-ผูตรวจวางมือบนศีรษะของผูปวย*
CN III. IV. VI
1. Exophthalmos
- สังเกต exophthalmos โดยการมองจากดานบนของศีรษะผูปวยแลวเปรียเทียบกัน
2. Puplliary
- ใหผูปวยมองตรง เปรียบเทียบขนาด pupil สองไฟฉายขางทางดานขาง
- สังเกต direct reflex ของตาขาวนั้น และ consensual reflex ของตาอีกขาง
3. Extraocular movement
- ใหผูปวยมองตามวัตถุไปทิศทางตางๆ: ซาย ขวา บน ลาง โดยแตละทิศทางใหผูปวยมองคางนิ่งในทิศนั้นอยานอย 5 วินาที
4. Ptosis
- สังเกตเปรียบเทียบระดับหนังตา 2 ขางแลวบอกผลที่เห็น
5.Accommodation
- ใหผูปวยมองตามวัตถุที่เลื่อนเขาหาผูปวยในแนวกลาง: สังเกต convergence และ miosis
CNV
1. Motors
1.1 Temporalis muscle
- สังเกต temporal fossa 2 ขางเพื่อดูวามี muscle atrophy หรือไม
- ใหผูปวยอาปากแลวกัดกรามโดยผูตรวจใชมือคลําบนกลามเนื้อเปรียบเทียบกัน 2 ขาง
1.2 Masseter muscle
- สังเกตบริเวณ mandible 2 ขาง เพื่อดูวามี muscle atrophy หรือไม
- ใหผูปวยอาปากแลวกัดกราม โดยผูตรวจใชมือคลําบนกลามเนื้อเปรียบเทียบกัน 2 ขาง
1.3 Latefal pterygoid muscle
- ใหผูปวยอาปากและหุบปากหลายๆครั้งเพื่อดูวามี jaw deviation ไปดานที่ออนแรงหรือไม
- ใหผูปวยอาปาก โดยผูตรวจพยายามดันคางไว ใชมือหนึ่งวางบนศีรษะผูปวยโดยตองขอโทษกอนเสมอ
- ใหผูปวยโยคางไปดานขางทีละดานโดยผูตรวจพยายามตานแรงไว
2 Facial sensation
2.1 skin sensation
- ผูตรวจทดสอบความรูสึกดวย เข็มและสําลีที่บริเวณหนาผาก(V1) แกม(V2) และคาง(V3) เปรียบเทียบกัน 2 ขาง
2.2 corneal reflex วิธีการตรวจ
- อธิบายวัตถุประสงคและวิธีการตรวจ
- ผูตรวจใชสําลีปนปลายใหแหลม แตะที่ cornea อาจตองใหผูปวยมอง upward, medial
3. Jaw jerk
- ใหผูปวยอาปากหยอนเล็กนอย ผูตรวจวางนิ้วชี้ลงบนคางผูปวย โดยใชไมเคาะ reflex เคาะลงทางดานลาง

ติว National License PIII OSCE SWU 22


6.Motor Function
ขั้นตอนการตรวจ.
1. Observe : มองหาabnormal movement muscle wasting. fasciculation. กระตุนใหเกิด
fasciculation โดยเคาะลงบนกลามเนื้อ
2. Pronator drift : ใหเหยียดแขนตรงยื่นมาขางหนาระดับไหล forearm
flexion และ pronation. finger flexion แลวลองตบบนมือ 2 ขางเร็วๆดู rebound
3. Muscle tone ใหผูปวยนัง่ ตามสสบายไมเกร็ง ทํา passive movement ของ joint ตางๆ
- Shoulder joint มือหนึ่งจับใหลอีกมือหนึ่งจับบริเวณ forearm ขยับตนแขนไปขางหนา-ขางหลัง-หมุนรอบขอไหล
-Elbow joint ใชมือหนึ่งจับไหล อีกมือหนึ่งจับทา shake hand ใหงอ-เหยียดศอก
- Radio-ulnar joint ใชทาเดิมใหคว่ํามือ-หงายมือ
-Wrist joint มือหนึ่งจับ forearm อีกมือจับทา shake hand กระดกมือขึ้น-ลง.
4. ตรวจ power ทีละแขนเปรียบเทียบกัน
- deltoid ตรวจพรอมกันทั้งสองขาง
- biceps
- triceps
- brachioradialis
- pronator
- supinator
- wrist flexion
-wrist extension
- hand grip (ตรวจพรอมกันทั้ง 2 ขาง)
-finger extension
- finger abduction (ตรวจพรอมกันทั้ง 2 ขาง)
- finger adduction
- opponens
5. Deep tendon reflex
- Biceps ผูปวยงอแขนพอประมาณ ใชนิ้ววางบน biceps tendon เคาะบนนิ้ว
-Triceps ผูปวยงอแขนพอประมาณ เคาะบน triceps tendon (2” เหนือศอก)
- Brachioradialis เคาะบน brachioradialis tendon (2 ” เหนือขอมือ)
- Finger วางนิ้วบนมือของผูปวยระดับ PIP joint เคาะบนนิ้วมือผูตรวจ
6.ตรวจ Hoffmann หรือ Trommer sign ทีละมือ
- จับมือผูปวยให extend wrist MCP. PIP joint ของนิ้วกลางดีด distal phalanx ลงหรือขึ้นเร็วๆดู
palmar flexion ของนิ้วอื่นๆโดยเฉพาะนิ้วหัวแมมือ

ติว National License PIII OSCE SWU 23


ขั้นตอนการตรวจ
ขา ตรวจในทานอน
1.Observatlon ควรถลกขากางเกง มองหา wasting. fasciculation etc.
2.Muscle tone ใหผูปวยนอนตามสบายไมเกร็ง
- roll วางมือบนตนขาผูปวยแลวexternal และ internal rotate ตนขา สังเกตดู movement ของปลายขา
- lift สอดมือ 2 ขางใตเขาทีละขางจับยกเขาขึ้นมาเร็วๆ สังเกตmovement ของปลายขา
3.ตรวจ power ทีละขา
- hip flexion
- hip extension
- hip abduction
- knee flexion
- knee extension
- ankle dorsiflexion
- ankle plantar flexion
-eversion
- inversion
- toe dorsiflexion
- toe flexion
4. ตรวจ deep tendon reflex ทีละขา
- Knee สอดแขนซายพยุงใตเขาของผูปวยใหอยูในทา flex เคาะบน patellar tendon
-Ankle ใหผูปวยงอสะโพกและเขาพรอมทั้งทํา external rotation ใชมือซายแตะฝาเทาผูปวยเพื่อทําdorsiflexion
เลกนอยเคาะบน Archiles tendon
5.ตรวจ plantar reflex ขีดฝาเทาไปตาม lateral aspect ของฝาเทาจนถึงใตนวิ้ หัวแมเทา
6. ตรวจ ankle clonus มือหนึ่งจับเหนือขอเทา อีกมือดันฝาเทาเพื่อทํา dorsiflexion เร็วๆ
7. ตรวจ gait

7. Deep Tendon Reflex ในทานอน


ขั้นตอนการตรวจ
1.การแนะนําผูปวย
-ขอใบอนุญาตและบอกวาจะตรวจอะไร
-บอกผูปวยใหนอนราบตามสบายไมตองเกร็ง
2.Bicetp jerk
-จัดทาใหผูปวยวางตนแขนบนที่นอนปลายแขนและมือวางบนหนาทองในทา pronation
-ผูตรวจวางนิ้วหัวแมมือหรือนิ้วชี้ลงบน biceps tendon
3.Brahiosradialis jerk
-จัดทาใหผูปวยวางตนแขนบนที่นอนปลายแขนและมือวางบนหนาทองในทา pronation
-ใชไมเคาะ เคาะ ปลายลางของกระดูก radius ที่ตําแหนงประมาณ 2 นิ้วเหนือขอมือ
4.Triceps jerk
-จัดทาใหแขนของผูปวยวางบนลําตัว
-ใชไมเคาะ เคาะ triceps ใชไมเคาะที่ตําแหนงประมาณ 2” เหนือขอศอก

ติว National License PIII OSCE SWU 24


5.Finger jerk
-ใหผูปวย supinate แบมือและปลอยใหนิ้วมืองอตามสบาย
-ผูตรวจวางมือบนนิ้วผูปวย ใชไมเคาะเคาะบนนิ้วผูตรวจ
6.Knee jerk
-ผูตรวจใชแขนขางซายสอดและพยุงใตเขาของผูปวยซึ่งอยูในทา flexion เล็กนอย
-ใชไมเคาะ เคาะ pateliar tendon
7.Ankle jerk
-จัดทาใหผูปวยงอสะโพกและเขาพรอมทั้งทํา externa; rotation
-ผูตรวจใชมือขางซายแตะที่ฝาเทาของผูปวยเพื่อ dorsiflex ขอเทาเล็กนอย
-ใชไมเคาะ เคาะที่ Archilles tendon
8.การใชไมเคาะรีเฟล็กซ(ประเมินรวม)
-การจับไมเคาะ
-ใชขอมือเหวี่ยงไมเคาะโดยการใชน้ําหนักของไมเคาะเปนการกําหนดความแรงของการเคาะ

8. Cerebellar Function
ขั้นตอนการตรวจ
1. Nystagmus
ใหผูปวยกลอกตาไปมาทางซาย-ขวา, บน-ลาง
2. Tone ของกลามเนื้อ
- shoulder joint
- elbow joint
- radlo—ulnar joint
- wrist joint
3. Co-ordination ของแขน(วิธใี ดวิธีหนึ่ง)
3.1 Finge-to-finger ใหผูปวยหลับตากางแขนแลวใหเอานิ้วชี้ทั้ง 2 ขางมาแตะกันตรงกลาง
3.2Finger-to-nose ใหผูปวยหลับตากางแขนแลวใหเอานิ้วชี้มาแตะปลายจมูกตนเอง
3.3 Finger-to-nose-to-finger ใหผูปวยลืมตาเอานิ้วแตะนิ้วชี้ผูตรวจแลวกลับไปแตะปลายจมูกผูปวยเอง
4. Co-ordination ของขา
Heel-to-knee ใหผูปวยกสนเทาขึ้นวางบนหัวเขาดานตรงขามแลวไถสนเทาไปตามสันหนาแขง
5. Alternate movement ของแขน(วิธีใดวิธีหนึง่ )
5.1 ใหผูปวยใชปลายนิ้วชี้แตะปลายนิ้วหัวแมมืออยางเร็วหรือแตะทุนิ้วเรียงกันไปอยางเร็วพรอมกัน 2 มือ
5.2 .ใชมือขางหนึ่งตบคว่ํา-หงายบนมืออีกขางหนึ่งหรือเขาของตนเองเปนจังหวะ
6. Alternate movement ของขา
ใหผูปวยตบปลายเทาลงบนพื้น(ทานัง่ )หรือมือของผูปวยตรวจ(ทานอน)เปนจังหวะ
7. Tandem walking
ใหผูปวยเดินตอเทาเปนเสนตรงโดยผูตรวจตองระวังไมใหผูปวยหกลม

ติว National License PIII OSCE SWU 25


9. Sign of Meningeal Irrigation
ขั้นตอนการตรวจ
1.Stiff neck(nuchal rigidity)
1.1บอกผูปวยวาตรวจอะไรและขออนุญาต
1.2ใชมือสอดใตศีรษะผูปวยบริเวณทายทอยและคอยๆยกศีรษะใหคางแตะกับอก
1.3 ใชมือจับศีรษะของผูปวยหันไปทางซาย-ขวา
1.4จับไหล 2 ขางของผูปวยยกขึ้น โดยไมตองยกศีรษะตามสังเกตวาคอหงายไปดานหลังไกหรือไม
1.5แปลผล
Positive เมื่อเจ็บตึงตนคอ ดานหลัง หรือ กลามเนื้อ Extensor ของคอเกร็ง กมหรือเงยไมได
2.Kernig’s Sign
2.1บอกผูปวยวาตรวจอะไรและขออนุญาต
2.2 งอสะโพกและขอเขาของผูปวยทีละชางใหทํามุมประมาณ 90o
2.3คอยๆเหยียดขอเขาของผูปวยจนตึง
2.4แปลผล
Positive เมื่อ ยึดเขาทั้ง 2 ขาง ไดไมเต็มที่(หรือนอยกวา 135 o)หรือเจ็บตึงกลามเนื้อ
Hamstring ทั้ง 2 ขาง

10.Vibration and Position Sensation (Lower Extremities)


ขั้นตอนการตรวจ
การตรวจ Vibration sensation
1.พฤติกรรมทัว่ ไป
-เลือกสอมเสียงขนาดความถี่ 128 Hz
- จับสอมเสียงที่ดาม
- อธิบายใหผูปวยทราบวาความรูสึกจากสอมเปนอยางไร(เชนเอาโคนสอมเสียงที่ทําใหสั่นแตะทีก่ ระดูก sternum หรือ
clavicle ของผูป วย)
2.การตรวจ Vibratory ของขอเทา
- ใหผูปวยหลับตาและใชโคนสอมเสียงที่ทําใหสั่นแตะทีด่ านหลังของกระดูกนิ้วหัวแมเทา โดยใหผูปวยบอกวาสั่นหรือไม หยุดสั่น
เมื่อใดเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง
- ทดสอบวาคําตอบของผูปวยเชื่อถือไดหรือไม โดยทําใหสอมเสียงสั่งและหยุดสั่นสลับกันอยางสุมเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง)
การตรวจ position sensation
1.พฤติกรรมทัว่ ไป
-อธิบายวิธีตรวจใหผูปวยเขาใจกอน
2. การตรวจ position sensation ของเทา
- ใชนิ้วมือจับดานขางกระดูก proximal phalanx ของนิ้วหัวแมเทาใหแนน และใหนัวมืออีกขางหนึ่งจับที่ดานขางกระดูก
distal phalanx นิ้วนั้นคอยๆ extend หรือ reflex ขอนิ้วเทาทีละนอยแบบสุมโดใหผูปวยบอกวาปลายนิ้วเทาเคลื่อนขึ้น
หรือลง
- ทดสอบดังกลาวหลายๆครั้งเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง

ติว National License PIII OSCE SWU 26


11.Hearing
ขั้นตอนการตรวจ
1.พฤติกรรมทั่วไป
- เลือกสอมเสียงความถี่ 256 Hz
- จับสอมเสียงทีด่ าม
- เคาะสอมเสียงกับวัสดุที่ไมแข็ง
ทดสอบความเขาใจโดยถือสอมเสียงหนาหูทีละขางแลวถามวาไดยินเสียงหรือไม
2.การตรวจ Weber’s test
- วางดามสอมเสียงบนกระหมอมดวยแรงพอประมาณ
- ถามผูถูกตรวจวาไดยินเสียงหรือไม
- ถามผูถูกตรวจวาหูขางใดไดยินเสียงดังกวา
แปลผล lateralization to the……………..(left or right)
3.การตรวจ Rinne’s test
- วางดามสอมเสียงที่สั่นอยูหลังหูบนกระดูก mastoid กดดวยแรงพอประมาณ
- ถามผูถูกตรวจวาไดยินเสียงหรือไม
- ขอใหผูถูกตรวจบอกเมื่อไมไดยินเสียง
- ถามผูถูกตรวจวาไดยินเสียงอีกหรือไม

12.การตรวจตอมไทรอยด
ขั้นตอนการตรวจ
ใหผูปวยนั่งมองตรงในระดับสายตาหรือเงยหนาขึ้นพอประมาณ ผูตรวจสังเกตลักษณะของตอมธัยรอยดจากทาง
ดานหนาผูปวยและบรรยายลักษณะตอไปนี้
- ขนาดของตอมธัยรอยด
- มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณตอมธัยรอยดหรือไม
- มีอาการเจ็บขณะกลืนหรือไม
การตรวจจากทางดานหลังของผูปวย
- ผูตรวจยืนอยูดานหลังของผูปวยโดยใชนิ้วชี้, นิ้วกลางและนิ้วนาง ทั้ง 2 ขางคลําบริเวณตอมธัยรอยดแตละกลีบ
(lobe) โดยนิ้วหัวแมมือวางอยูบริเวณ trapezius muscle
- ในระหวางนี้ใหผูปวยกลืนเปนระยะ
การตรวจจากทางดานหนาของผูปวย
- ผูตรวจยืนอยูดานหนาเยื้องไปทางดานซายหรือขวาของผูปวย
- ตรวจตอมธัยรอยดกลีบซาย โดยใชนิ้วแมมือดันตอมธัยรอยดกลีบขวาเบาๆไปทางซาย และใชนิ้วชี้ นิ้วกลาง และ
นิ้วนางขางขวา คลําตอมกลีบซาย
- ตรวจตอมธัยรอยดกลีบขวา โดยใชนิ้วแมมือดันตอมธัยรอยดกลีบซายเบาๆไปทางขวา และใชนิ้วชี้ นิ้วกลาง และ
นิ้วนางขางซาย คลําตอมกลีบขวา

ติว National License PIII OSCE SWU 27


ในขณะตรวจทั้งทางดานหนาและดานหลังของผูปวย ใหบรรยายลลักษณะตอไปนี้
- ขนาดของตอมธัยรอยด
- ผิวเรียบหรือไมเรียบหรือมีกอน
- อาการเจ็บขณะคลํา
- ความแข็ง, นุม
- ในกรณีที่มีกอนที่ตอมธัยรอยด
- จํานวนกอน
- ขนาดของแตละกอน
- ตําแหนงของแตละกอน
- ความแข็งนุม
- อาการเจ็บขณะคลํา
คลําตอมน้ําเหลืองที่คอและบรรยายตําแหนงและจํานวนตอมน้ําเหลือที่คลําได
ฟงเสียง bruit ที่ตอมธัยรอยดโดยใชหูฟง

13.การตรวจ Trousseau
วัตถุประสงค ทดสอบวาผูปวยมีภาวะแคลเซียมต่ําในเลือดหรือไม
ขั้นตอนการตรวจ
วิธีการและขั้นตอนการตรวจ
1.ผูปวยอยูในทานั่งหรือนอน
2. วัดความดันเลือดโดยวิธีมาตรฐานและบันทึกคาที่วัดได
3. ใช arm cuff ของเครื่องวัดความดันเลือดรัดที่ตนแขนเชนเดียวกับการวัดความดันเลือด
4. Apply pressure จนถึงระดับประมาณ 10-20 มม.ปรอท เหนือความดันซิสโตลิก คงไวนาน 2-3 นาทีและดูการ
ตอบสนอง เมื่อมีการตอบสนองใหสิ้นสุดการทดสอบได
บรรยายการตอบสนองและแปลผล
1. การทดสอบใหผลบวกเมื่อมีการเกร็งของกลามเนื้อ (carpal spasm)ซึ่งเกิดขึ้นตามลําดับดังนี้
- adduction ของ thumb
- fIexoim ของ metacarpophalangeal joints และนิ้วที่จีบเขาหากัน
-flexion ของ wrist joint
-flexion ของ elbow joint
ของมือซึ่งมีการเกร็งของกลามเนื้อมือในลักษณะดังกลาวเรียกวาaccoucheur’s hand
2. การเกิด carpal spasm แบงไดเปน 4 ระดับ
Grade 1 ผูถูกทดสอบสามารถฝนไดดวยตนเอง
Grade 2 ผูถูกทดสอบไมสามารถฝนไดดวยตนเอง แตผูตรวจสามารถชวยฝนได
Grade 3 เชนเดียวกับ grade 2 และเกิดขึ้นหลังเริ่มการทดสอบนานกวา 1 นาที
Grade 4 เชนเดียวกับ grade 2 และเกิดขึ้นหลังเริ่มการทดสอบภายใน 1 นาที

ติว National License PIII OSCE SWU 28


3.การทดสอบใหผลลบเมื่อไมมีการตอบสนองใดๆดังกลาวภายใน 5 นาที
การแปลผลทางคลินิก
1.การทดสอบใหผลบวกแสดงวาผูปวยมีภาวะตอไปนี้
- แคลเซียมต่ําในเลือด (สําคัญที่สุด)
- ดางเมตาบอลิค
- โปแตสเซียมสูงหรือต่ําในเลือด
- แมกนีเซียมต่ําในเลือด
2.การตอบสนอง grade 1 และ 2 สามารถพบไดประมาณรอยละ 4 ของคนปกติ, grade 3 และ 4 บงชี้ถึงพยาธิ
สภาพ

14.การตรวจ Chvostek
วัตถุประสงค ทดสอบวาผูปวยมีภาวะแคลเซียมต่ําในเลือดหรือไม
วิธีการและขั้นตอนการตรวจ
1.ผูปวยอยูในทานั่งหรือนอน
2. การตรวจ Chvostek I (เปนการกระตุน facial nerve โดยตรง) ใชนิ้วกลางเคาะที่ facial nerve โดยการเคลื่อน
ขอมือเชนเดียวดันกับการเคาะปอดหรือทองในตําแหนง 2-3 ซ.ม. หนาตอใบหูและใตตอ zvgomatic arch กับมุม
ปากโดยการเคลื่อนขอมือ
3. การตรวจ Chvostek II (เปนการกระตุนระหวาง facial never โดยรีเฟล็กซ ) ใชนิ้วกลางเคาะที่ตําแหนงระหวา
zygomatic arch กับมุมปากโดยการเคลื่อนขอมือ
บรรยายการตอบสนองและแปลผล
1.การทดสอบใหผลลบเมื่อไมมีการตอบสนองดังกลาว
2.ทดสอบใหผลบวกเมื่อมีการตอบสนองดังนี้
Grade 1 มีการกระตุกของมุมปากขางที่ทดสอบ
Grade 2 มีการกระตุกของมุมปากและ alae nasi ขางที่ทดสอบ
Grade 3 มีการกระตุกของมุมปาก alae nasi และ orbicularis oculi
Grade 4 มีการกระตุกของกลามเนื้อทุกมัดของใบหนาขางทดสอบ
การแปลผลทางคลินิก
1.การทดสอบใหผลบวกแสดงวาผูปวยมีภาวะตอไปรี้
- แคลเซียมต่ําในเลือด (สําคัญที่สุด)
- ดางเมตะบอลิค
- โปแตสเซียมสูงหรือต่ําในเลือด
- แมกนีเซียมต่ําในเลือด
2. การตอบสนอง grade 1 สามารถพบไดประมาณรอยละ 25 ของคนปกติโดยเฉพาะในเด็ก

ติว National License PIII OSCE SWU 29


15.การตรวจดู Deep Vein Thrombosis ของขา
ขั้นตอนการตรวจ
1.ดูวามีการบวมขางใดขางหนึ่งมากกวาอีกขางหนึ่งหรือไม
2.คลําวามีการกดเจ็บของขาขางใดขางหนึ่งมากกวาอีกขางหนึ่งหรือไม
3.วัดเสนรอบวงเปรียบเทียบกันของตนขาและนองของขาสองขาในตําแหนงที่ตรง
4.ตรวจ Homan’s sign โดยการทํา active หรีอ passive dorsiflexion ถือวาใหผลบวกเมื่อมีขอใดขอหนึ่งหรือ
มากกวา
4.1เจ็บบริเวณนอง
4.2ไมสามารถทํา dorsiflexion ไดเต็มที่
4.3มีการงอเขาเพื่อลดการเจ็บที่บริเวณนอง

16.Musculoskeletal System
ขั้นตอนการตรวจ
Inspection
1.Posture:ใหผูปวยยืนตรง สังเกตตําแหนงศีรษะคอและไหล
2.Gait: ใหผูปวยเดินสังเกตลักษณะทาทางการเดินและการเคลื่อนไหว
3.Derfromity และ Sign on inflammation: สังเกตความผิดรูปหรืออาการอักเสบของนิ้วมือ, นิ้วเทาและหลังควรให
ผูปวยถอดถุงเทาหรือรองเทา หรือถอดเสื้อ(หากจําเปน)สังเกตวาขอมีบวมแดงหรือไม
Palpation
1.คลําตําแหนงขอวามีอุณหภูมิผิดปกติหรือไม เปรียบเทียบระหวางขอกับผิวหนังที่อยูใกลเคียง
2.การตรวจการบวมของขอswelling): ใชนิ้วคลําและกดบริเวณรอบขอเพื่อแยกน้ําในขอหรือการหนาตัวของ
synovium
3.การตรวจ การเจ็บของขอ(tenderness):ใชนิ้วกดตามแนวขอและถามวามีการเก็บหรือไม
4.การตรวจการเคลื่อนไหวของขอ(range of motion)
:ดูองศาวาขอเคลื่อนไหวไดเทาปกติหรือไม
:ถามผูปวยวามีปวดในขอขณะเคลื่อนไหวขอหรือไม
Special tests (ถามี)
1. Carpal tunnel syndrome
1.1 Tinesl’s test: ใหผูปวยแบมือ เคาะที่ขอมือของผูปวย ถามอาการชาตาม median nerve distribution หรือไม
1.2 Phalen’s test: ใหผูปวยงอมือเปนเวลา 1 นาที ถามวามีอาการชาตาม median nerve distribution หรือไม
2. Sacroiliitis
: Sign of 4: ผูปว ยนอนหงายงอสะโพกและเขาดานหนึ่งไวโดยวางเทาบนเขาดานตรงขามผูตรวจใชมือขางหนึ่ง
fix กระดูกเชิงกรานของสะโพกดานตรงขามไวขณะเดียวกันใชมืออีกขางหนึ่งกดบนเขาดานที่งอถามอาการปวดที่
SI joint ดานตรงขาม

ติว National License PIII OSCE SWU 30


3. Spondyloarthropathy
3.1 Schobers testjModified Schobers test: ขณะที่ผูปวยยืนตรงหาตําแหนง L5โดยหาจุดตัดระหวางเสนที่ลากจาก
posterior iliac spine 2 ขางและกระดูกสันหลังทําเครื่องหมายไวที่จุดดังกลาวและเหนือจุดนั้น 10 ซ.ม.
(ถาเปน modfied Schobers test ทําตําแหนงไวต่ํากวา L5 5 ซ.ม.รวมดวย) ใหผูปวยกมตัวลงทางดานหนามากที่สุด
เทาที่ทําไดแลววัดระยะระหวาง ถามีคาต่ํากวา 13 ซ.ม.ในSchobers test หรือ 20 ซ.ม. ใน modified Schobers test
ถือวาผิดปกติ
3.2Occiput to-wall: ใหผูปวยยืนตรงหลังชิดฝาผนังวัดระยะหางระหวางสวนหลังของOcciput และ ผนัง
3.3 Chest expansion: วัดรอบอกที่ระดับ 4th intercostals spale ในทาหายใจเขาเต็มที่และออกเต็มที่คาที่แตกตางกัน
นอยกวา 5.0 ซ.ม. ถือวาผิดปกติ

ติว National License PIII OSCE SWU 31


Surgery
1. Breast nass
ตัวอยาง ผูปวยหญิงไทย อายุ 60 ป มาตรวจดวยคลําไดกอนที่เตานมมา 2 เดือน
คําสั่งปฏิบัติ อธิบายและแสดงขั้นตอนการตรวจเตานม
สวนที่ 1 Doctor-patient relationship
1. แนะนําตัวเอง
2. ขออนุญาต
3. แจงผูปวยเปนระยะถึงขั้นตอนที่จะทําการตรวจ
4. ทาทางสุภาพ

สวนที่ 2 การจัดสถานที่และการจัดทาผูปวย
1. บอกวาตรวจในสถานที่มิดชิด
2. ขอบุคคลที่สาม
3. จัดทานั่งเพื่อตรวจ axilla
4. จัดทาผูปวยนอนราบ หงาย แขนและมือผูปวยขางที่จะตรวจอยูหลัง
ศรีษะ
สวนที่ 3 ขั้นตอนการตรวจ
1. ตรวจเตานมทั้งสองขาง โดยใชฝามือขางที่ถนัด
2. ใชสวนกลางนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางในการตรวจ
3. ตรวจครบทั้ง 4 quadrant
4. บีบดู nipple discharge
5. ตรวจ axilla ทั้งสองขาง
6. คลํา supraclavicular lymph node

ENT.
หญิงไทยอายุ 25 ป มีอาการหูอื้อขางซาย จงทําแสดงการตรวจรางกาย
1. Rinne test
2. Weber test
3. Bing test
4. Schwabach test
5. แปลผลการตรวจ
ขั้นตอนการประเมิน
สวนที่ 1 Doctor-Patient Relationship
1. แนะนําตนเองแกผูปว ย
2. ขออนุญาต

ติว National License PIII OSCE SWU 32


3. มีการแจง/สื่อกับผูปวยเปนระยะถึงหัตถการที่จะกระทํา
4. ทาทางสุภาพและตอบสนองกับปฏิกริ ิยาของผูปวย
สวนที่ 2 ขัน้ ตอนในการตรวจรางกายผูปวย/ทําหัตถการ
1. ทํา Rinne test โดยวางสอมเสียงหางจากหนาหูผูปว ยประมาณ 1 นิว้ และวางโคนสอมเสียงที่
บริเวณ mastoid ถามผูปวยวาไดยนิ หนาหูหรือหลังหูดังกวากัน
2. ทํา Weber test วางโคนสอมเสียงที่บริเวณหนาผาก หรือปลายคาง ถามผูปวยวาดังในทางไหน
มากกวากัน หรือดังตรงกลาง
3. ทํา Bing test วางโคนสอมเสียงที่บริเวณ mastoid ผูปวย และปดหูถามผูปวยวาเปดหูหรือปดหู
ดังกวากัน ทําทั้งซายและขวา
4. ทํา Schwabach test
4.1 วางโคนสอมเสียงที่ mastoid ผูตรวจพอหมดเสียงแลวไปวางที่ mastoid ผูปวยถามผูปว ยวา
ไดยินหรือไม
4.2 วางโคนสอมเสียงที่ mastoid ของผูปวย ถามผูป ว ยวาหมดเสียงหรือยัง ถาหมดเสียงแลวมา
วางที่ mastoid ของผูตรวจ
5. แปลผล ผูปวย
1. Rinne test หูขวาบอกวา หนาหู ไดยนิ ดังกวาหลังหู
หูซาย บอกวา หลังหู ไดยนิ ดังกวาหนาหู
2. Weber test บอกวาเสียงดังในทางซายมากกวา
3. Bing test หูขวา บอกวาดังมากขึ้นเวลาปดหู
หูซาย บอกวาดังเทาเดิม
4. ทํา Schwabach test
หูขวา ถาผูตรวจเอาสอมเสียงมาวางที่หลังใบหูแลวถามวา
ไดยินเสียง หรือไม บอกวาไมไดยิน
หูซาย บอกวายังไดยินอยู

. แปลผล Conductive hearing Lt, Normal hearing Rt

ติว National License PIII OSCE SWU 33


หมวดหัตถการ
Eye- ENT.
1. ผูปวยตาขวา/ซาย ปวดตา เคืองตา ตาแดง น้ําตาไหล 1 ชั่วโมงกอนมาโรงพยาบาล
ตรวจรางกาย
พลิกเปลือกตาบนพบวามี foreign body ที่ upper palpebral conjunctiva
นิสิตแพทยจงแสดงการพลิกเปลือกตาบนและ remove foreign body

ขั้นตอนการประเมิน
สวนที่ 1 Doctor-Patient Relationship
1. แนะนําตนเองแกผูปว ย
2. ขออนุญาต
3. มีการแจง/สื่อกับผูปวยเปนระยะถึงหัตถการที่จะกระทํา
4. ทาทางสุภาพและตอบสนองกับปฏิกริ ิยาของผูปวย
สวนที่ 2 ขัน้ ตอนในการตรวจรางกายผูปวย/ทําหัตถการ
1. แจงผูปวยวาจะตรวจตาโดยพลิกเปลือกตาบนขวา/ซาย
2. ลางมือหรือเช็ดมือดวย Alcohol กอนพลิกเปลือกตา
3. หยอดยาชาตาขวา/ซาย แลวรอยาชาออกฤทธิ์ โดยถามผูปวยวา
หายแสบตาหรือยัง
4. หยอดยาฆาเชื้อที่ปลายไมพันสําลีจนชุม
5. ใหผูปวยมองลงลางหรือมองลงพื้น
6. มือซายจับขนตาเปลือกตาขวา/ซายบริเวณตรงกลางตา มือขวาใช
ปลายไมพนั สําลีแตะตรงกลางเปลือกตาเพื่อเปน fulcrum และมือซาย
พลิกเปลือกตาบนขึ้นแลว Fix ไว
7. ใชไฟฉายสองตรวจตาวามี foreign body ที่ upper palpebral
conjunctival
8. ถามี foreign body ใหผูชวยสองไฟบริเวณ foreign body
9. มือขวาใชไมพันสําลีสวนปลายที่มีสําลีชุมดวย
Antibiotic eye drop remove F.B.
10. ปลอยมือซายที่จับขนตา
11. ใหผูปวยมองบน เปลือกตาบนจะพลิกกลับเขาที่เอง
12. หยอดยา Antibiotic ตาขวา/ซายผูปวย

ติว National License PIII OSCE SWU 34


2. จงแสดงวิธีทําและอธิบายประกอบ การทํา Anterior packing ดวย Vaseline gauze
ขอที่ เฉลย
1. อธิบายใหผูปวยเขาใจวิธีการทําเพื่อความสงบ, ความรวมมือ
2. พนยาชา 10% Xylocaine (หรือ 5% cocaine) + ใช Ephedine pack จมูก
รอเวลา 5 – 10 นาที (ถารอได)
3. เลือกใช Nasal speculum ตัวยาวปานกลาง ใสในจมูก
4. ใช Chloramph oint ทา Vaseline guaze ใหทั่ว
5. ใช bayonet forcep คีบจับ Vaseline gauze ตรงกลาง โดยใหมีความยาว 10 - 15 cm.
แลวใสในจมูกผาน speculum โดยใหเหลือปลาย gauze ไวนอกจมูกสวนหนึ่ง
6. ใสเปนชั้น ๆ จนรูสึกแนน จึงคอย ๆ เอา speculum และ forcep ออก
7. ตัด guaze แลวผูกเชือกหรือดายติดไวที่จมูก
8. ตรวจดูในชองปากใหแนวาไมมีเลือดออกอยู และไมมี guaze ตกลงในคอ
9. ถามีเลือดลงคอใหทํา Posterior packing ดวย Foley’s cath. ตอ
10. ถาไมมี bleed แลวใหกลับได ถาสภาพผูปวยดี แตถาไมดีให admit ทั้ง 2 กรณี
ตองใหยาปฏิชีวนะดวย

Pediatric

ติว National License PIII OSCE SWU 35


1. เด็กชายไทยอายุ 1½ ป ภูมิลําเนาจังหวัดนครนายก น้ําหนัก 12 กิโลกรัม มาตรวจที่คลินิก เด็กดีตามนัด
ปจจุบันแข็งแรงดี ประวัติในอดีต BCG, HBV3 , DPT3 , OPV3 , MMR1 จงเขียนใบสั่งยาสําหรับวัคซีน
, ยา และฟลูออไรดใหกับเด็กรายนี้

ตอบ

Medicine
1. Fist aid management of injury pateint
ตัวอยาง 1 .ชาวนาไทยอายุ 25 ป จังหวัดกรุงเทพมหานคร เดินไปสวนหลังบานตอนหัวค่ํา ถูกงูกัด
ที่เทาซาย เทาบวมเล็กนอย ยังไมมีอาการผิดปกติอะไร
1. ญาติโทรศัพทมาปรึกษาที่โรงพยาบาล เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน ถาทานอยูเวรวันนั้น
ทานจะแนะนําญาติผูปวยรายนี้อยางไรบาง
2. ญาติกระวนกระวายนําผูปวย พรอมจับงูมาสงโรงพยาบาล โดยตัวงูมลี ักษณะดังภาพ และ
เมื่อทาน ดูบาดแผลเบื้องตนดังภาพแลว ทานคิดวาเปน งูชนิดใด เปนงูพิษหรือไม เพราะเหตุ
ใด และถาเปนงูพิษ จะมีผลตอระบบใดในรางกาย
จงบอกแนวทางการดูแลผูปวย หลังญาตินําผูปวยมาสงโรงพยาบาล

ติว National License PIII OSCE SWU 36


ตอบ
1 การปฐมพยาบาลเบื้องตน (Pre-hospital treatment – First Aid)
• พยายามใหบริเวณที่ถกู งูกัดเคลื่อนไหวนอยที่สุด โดย เฉพาะอวัยวะสวนที่ถูกงูกัดจะ
ชะลอการซึมของพิษงูเขาสูรางกายได
• ลางแผลดวยน้าํ สะอาด หามกรีด ตัด ดูด จี้ไฟ หรือพอกยาบริเวณแผลที่ถูกงูกัด
เนื่องจากอาจทําใหมีการติดเชื้อได และการดูดแผลงูกัด อาจเกิดอันตรายรายแรงตอผู
ดูด
• ใชเชือก หรือผาขนาดประมาณนิว้ กอย รัดเหนือแผลที่ถูกกัดแนนพอควร ใหสอดนิ้ว
มือได 1 นิ้ว (ทุก 15-20 นาที อาจคลายเชือกหรือสายรัดออกประมาณ 1 นาทีจนกวาจะ
ถึงโรงพยาบาล) อยารัดแนนเกินไปอาจทําใหบวมและเนื้อตายมากขึน้
นําผูปวยสงโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด และนํางูที่กัดมาดวยถาเปนไปได
2 ตรวจบาดแผลเบื้องตนปนรอยเขี้ยว 2 รู (fang mask) บวมเล็กนอย รวมกับลักษณะงูที่เห็นบง
บอกวาเปนงูพษิ
งูที่เห็นมีลักษณะตัวเขียว ทองเหลือง หางไหม
ประกอบขอมูลทางระบาดวิทยาถิ่นที่อยูเปนงูเขียวหางไหม
งูเขียวหางไหมเปนงูที่มีพิษตอระบบเลือด

3 การดูแลรักษาเมื่อผูปวยมาถึงโรงพยาบาล
• ประเมิน ABC และใหการชวยเหลือเบื้องตน: A (Airway), B (Breathing),
(Circulation) ในกรณีที่ผูปวยเอาเชือกรัดเหนือแผลมา ควรคลายเชือกหรือที่รัดออก
• อธิบายใหผูปวยหรือญาติคลายความกังวลและอยาตกใจ แมไมมีอาการ ใหอธิบายวางู
พิษกัดนั้น พิษงูอาจยังไมดูดซึมเขาสูรางกายจนเกิดอันตรายทันที จําเปนตองติดตาม
สังเกตอาการ และบางรายอาจไมเกิดภาวะผิดปกติได
• ทําความสะอาดบริเวณแผลที่ถูกงูกัด ดวย povidine iodine
• ซักประวัติ ตําแหนงที่ถูกงูกดั สถานที่ที่ถูกกัด ชนิดของงู เวลาที่ถูกกัดหรือระยะเวลา
กอนมาถึงโรงพยาบาล อาการที่ผิดปกติ รวมกับตรวจรางกาย : vital sign, รอยเขีย้ ว
(fang mark) และขนาด บริเวณแผลที่ถูกกัด ตรวจหาภาวะ เลือดออกผิดปกติ
เชน echymosis, petechiae หรือเลือดออกจากสวนตาง ๆ ของรางกาย

ติว National License PIII OSCE SWU 37


เฉลย
(ตอ) • ตรวจ Venous clotting time (VCT) CBC + platelet การตรวจปสสาวะ
(urinalysis) BUN, creatinine, electrolyte
• Admit เฝาสังเกตอาการอยางนอย 24 ชั่วโมง และตรวจซ้ําหลังรับไว 6 ชั่วโมง ดู
การเปลี่ยนแปลงของ VCT
• การดูแลรักษาบาดแผล ทําความสะอาดแผล ใหยาปฏิชีวนะตามสภาพของแผล และให
วัคซีนบาดทะยัก ไมตองรีบใหทันที ควรใหเมื่อ VCT ปกติหรือแกไขให VCT ปกติ
แล ว ให ย าแก ป วดประเภทพาราเซตามอล ในรายที่ป วดมากอาจใชอ นุพั น ธ ข อง
มอรฟนได และหามให NSAIDs แกผูปวย

2.basic life support


ตัวอยาง 1; ทานพบคน นอนไมรูสึกตัว จะใหการชวยเหลืออยางไร
1. เรียก เขยาตัวเบาๆ
2. รองขอความชวยเหลือ
3. เปดทางเดินหายใจ โดย head tilt และ chin lift
4. ตรวจการหายใจ (ตาดู หูฟง แกมแนบ)
5. ใหผูชวยทําการชวยหายใจ 2 ครั้ง
6. ตรวจชีพจร เปนเวลาไมนอยกวา 3วินาที
7. ทําการกดหนาอก
7.1 จํานวน 30 ครั้ง อัตรา 100 ครั้ง/นาที
7.2 ความลึก 1.5-2.0 นิ้ว
7.3 การออกแรงกดใชเวลา 50% ของ cycle
7.4 ตําแหนงมือ แขน
8. กดหนาอกสลับกับชวยหายใจดวย ratio 30:2 ติดตอกัน 5 รอบ

9. ตรวจชีพจร
10. เริ่มทําการกดหนาอกซ้ํารอบใหม

ติว National License PIII OSCE SWU 38


ตัวอยาง 2. airway management พื้นฐาน
ทานไดประสบเหตุผูปวยหญิงไทยอายุ 15 ป มีอาการสําลักอาหารในรานอาหาร จากนั้น
รูสึกหายใจลําบาก พูดไมได และหมดสติ จงใหการชวยเหลือผูปวยรายนี้ โดยแกไขภาวะอุด
กั้นของทางเดินหายใจสวนตนไดอยางถูกตองและเปนขัน้ ตอน (เริ่มตั้งแตตน )
เฉลย
1. โทรแจงศูนยรถพยาบาลที่ใกลที่สุด
2. เปดทางเดินหายใจดวย head-tilt chin-lift techniques
โดยไมตองทํา finger sweep ในปากของผูป วย
(หากทํา finger sweep ใหตัด คะแนน)
3. ประเมินการหายใจเปนเวลา 10 วินาที ดวย look-listen-feel
4. ชวยหายใจดวย mouth-to-mouth 2 ครั้ง (ผูคุมสอบแจงวา “เปาลมไมเขา”)
5. โดยนั่งคุกเขาครอมบริเวณหนาตักของผูป วย
6. วางฝามือที่ใตตอ xyphoid process
7. เริ่มทํา abdominal thrust ในทานอน x 5 ครั้ง
8. เปดทางเดินหายใจดวย head-tilt chin-lift techniques อีกครั้ง
9. ชวยหายใจดวย mouth-to-mouth 2 ครั้ง (ผูคุมสอบแจงวา “ลมเขาดี”)
10. คลําชีพจร carotid (ผูคุมสอบแจงวา “มีชีพจร”)
11. จัดใหอยูในทานอน recovery position
ตัวอยาง 3. airway mangement ในสถานพยาบาล
ผูปวยหญงิ ไทยอายุ 22 ปถูกนําสงโรงพยาบาลดวยอาการหมดสติและหยุดหายใจมา 10 นาที กอน
หนานี้ผปู วยมีเรื่องทะเลาะกับแฟนหนุมและตัดสินใจกินยานอนหลับ diazepam ประมาณ 20 เม็ด
ทานเปนแพทยประจําแผนกฉุกเฉินในขณะนั้น จงใหการดูแลรักษา (เริ่มตั้งแตการเตรียมผูป วย
เบื้องตน)
เฉลย
1.เปดทางเดินหายใจดวย head-tilt chin-lift techniques
2.ประเมินการหายใจเปนเวลา 10 วินาที ดวย look-listen-feel
3.คลําชีพจร carotid (ผูค ุมสอบแจงวามี pulse)
4.เตรียมเครื่องมือ ประกอบ Laryngoscope อยางถูกตองและตรวจสภาพไฟ
เตรียมทอดูดเสมหะ (suction) เลือกขนาดของทอชวยหายใจ (อยางนอยใชเบอร 7.5-8)
ตรวจสภาพของ cuff ของทอชวยหายใจ โดยฉีดลมเขาไปจน cuff โปงจากนั้นดูดลมออกให
แฟบตามเดิม

ติว National License PIII OSCE SWU 39


ใสลวด stylet เขาไปภายในทอ ดัดใหทอโคงตามตองการ
ทาปลายทอชวยหายใจดวย Lidocaine gel
เตรียมหนากาก (face mask) พรอม ambu bag
เตรียมสายออกซิเจน
5.เตรียมผูปวย
ตรวจสภาพชองปากของผูปว ย (เชน เอาฟนปลอมออก)
จัดใหผูปวยนอนหงาย คอยืด หนาแหงนเต็มที่ โดยนิสิตยืนอยูที่ปลายเตียงดานศีรษะ
ใชหนากาก (ambu bag & mask) พรอมตอ oxygen วางครอบลงบนปากและจมูกของผูป วย
สวนมือขวาใชบีบ ambu bag บีบ ambu bag เพียง 1/3-1/2 ของปริมาตร bag เทานั้น
6. เทคนิคการใสทอชวยหายใจ
อาปากผูป วยใหกวาง
ใส laryngoscope ดวยมือซาย (หากถนัดขวา) โดยใหปลาย blade เขาทางขวาของลิน้ สอดเขา
ไปเหนือ epiglottis แลวยกขึน้
เมื่อเห็น glottis ใหใชมือขวาใสทอชวยหายใจเขาทางมุมปากขวา (หากถนัดขวา) แลวคอยๆ ดัน
ทอเขาไป
เมื่อทอชวยหายใจอยูประจําที่แลวใชมือซายประคองหรือจับทอเอาไว
ใช stethoscope ฟงปอดทั้งสองขาง วามีลมผานเขาออกเทากันหรือไมในขณะที่ใหผูชวยตอ
ambu. bag กับปลายทอชวยหายใจและบีบ
ตรึงทอชวยหายใจดวยเทปกาวติดไวกับใบหนาของผูปวยหากลมผานเขาออกเทาๆ กันสองขาง
ของปอด
ใช syringe สูบลมเขาไปทางสายสูบ เพื่อให cuff โปง
6. สั่งใหมีการถายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray)
3. ACLS
ตัวอยาง 1. ผูหญิง 42 ป โรคประจําตัว type 1 DM มา 10 ป มี NPDR และ DN มา 2 ป severe
rheumatoid arthritis มา 3 ป 2 ชั่วโมงกอนมาโรงพยาบาลมีแนนหนาอกดานซายราว
ไปที่กรามซาย อมยาใตลิ้น 2 เม็ดไมดีขึ้นตอมา 15 นาทีกอนมา ญาติพบหมดสติจึง
นําสงโรงพยาบาลทานซึ่งเปนแพทยเวรที่หองฉุกเฉิน ทานจะมีแนวทางในการดูแล
ผูปวยอยางไร
1. ตรวจ ABCD
Airway (RA มี risk ตอ atlantoaxial subluxation) Breathing (ดูทรวงอกหรือใชหูฟงฟง) ใสทอชวยหายใจ
Circulatio (คลํา pulse หรือคลํา/ฟง apex) ดู EKG เปน VT

ติว National License PIII OSCE SWU 40


Defibrillation
(ถาเลือกใชเครื่องกรรมการบอกวาเปน biphasic defibrillator/cardiovertor)
2. ตามดวย CPR 5 cycle
(จุด CPR คือ median ระหวาง nipples)
3. กรรมการปลอยสัญญาณ Pulseless electrical activity; PEA (ปลอย normal EKG แตไมมี pulse)
4. ให Adrenaline 1 mg IV ตามดวย CPR 5 cycle
5. หยุด check EKG และคลํา pulse ไมเกิน 5 วินาที (EKG เปน asystole)
6. ใหยา Adrenaline หรือ atropine 1 mg ตามดวย CPR 5 cycles
7. หยุด Check EKG คลํา pulse
(EKG-normal sinus, คลํา pulse +วัดความดันและ check 5H, 5T สําหรับ asystole)
ตัวอยาง 2. ผูปวยชายอายุ 68 ป ถูกนําสงแผนกฉุกเฉินมีผูพบหมดสติที่ปายรถเมล แพทยฉุกเฉินตรวจพบไมหายใจ คลําชีพจร
ไมได จึงรีบแจงทานและชวยเหลือเบื้องตนไปกอน จงใหการ Management (ผูปวยไดใส endotracheal tube แลว, monitor BP
และ pulse oximetry)
check airway, breathing, conscious, circulation
หัวขอ Key : คลําชีพจร ไมได ยังเขียวอยู, SpO =70%
2
CPR (chest compression + บีบ ambu) เปนระยะเวลา 2 นาที
Key : คลําชีพจรไดเบาเร็ว 180 ครั้ง/mm BP = 90/40
บอก management
Key : วาง Paddle ดู EKG หรือ ติด lead EKG
อาน EKG ที่เห็น
Key : regular, wide complex tachycardia
ผูคุมสอบบอก P เบามาก BP วัดไมได ใหบอก management
Key : synchronized cardioversion
เปดเครื่อง defibrillation/cardioversion unit
กดปุม synchronized
หมุนปุมเลือกพลังงาน100 J (monophasic)
ทา jelly ที่ paddle ใหทั่ว โดยถู paddle ทั้ง 2 อัน เขาหากันเพื่อฉาบ jelly ใหทั่วผิวหนา paddle
วาง paddles บนหนาอกผูปวย โดยอันหนึ่งวางขาง right upper sternum ใต clavicle อีกอันหนึ่งวางที่ apex ให
paddle หางกันอยางนอย 2-3 cm.
กด charge พลังงาน โดยกดปุมบน apex paddle หรือใหผูชวยกดที่เครื่อง
เมื่อ fully charged ใหพูดวา “clear” ตรวจดูวาไมมีคนที่สัมผัสกับผูปวย รวมทั้งผูสอบ
กด paddle ดวยแรงประมาณ 25 lb/paddle แลวกดปุม discharge/shock ที่ paddle พรอมกันทั้ง 2 ขาง
ตรวจดู cardiac rhythm, P, BP

ถาม สาเหตุที่เปนไปไดที่ทําใหเกิดเหตุการณนี้
Key : ตอบ

ติว National License PIII OSCE SWU 41


1. electrolytes imbalance
2. ischemic heart disease
3. pneumothorax
บอกผล lab : K = 7.0 meq/l
ถามการแกไข
Key : ตอบ
1. 10 % Ca gluconate
2. Insulin + 50% glucose 50 cc / 7.5% NaHCO3 50 cc
3. Kayexalate

4. การ ตั้งคาเครื่องชวยหายใจ
ตัวอยาง ; จงแสดงการตั้งเครื่องชวยหายใจแบบควบคุมดวยความดันชนิด BYRD
เพื่อใหไดอัตราการหายใจ 16 ครั้งตอนาที ปริมาตร หายใจออก (tidal volume) 400 cc. อัตราสวนเวลาการ
หายใจเขา-ออก = 1:2 ความเขมขนออกซิเจนแบบ air-mixed
ตอบ
1. หมุนปุมเปดเครื่อง
2. ปรับปุมความไวของเครื่องทางดานซายมือใหอยูในระดับที่เหมาะสมโดยคําสั่ง บอกใหหมุนปรับเพิ่ม
ความไว (sensitivity, หรือหมายถึงการปรับลด effort) ของเครื่อง
3. ใชเครื่องวัดปริมาตรลมหายใจตอเขากับสวนของชองระบายลมหายใจออกไดถูกตอง
4. ปรับปุมควบคุมความดันของเครื่องชวยหายใจทางดานขวามือ
5. ใชเครื่องวัดปริมาตรลมหายใจไดถูกตอง โดยปรับปุมควบคุมความดันจนไดปริมาตรลมหายใจออกจาก
เครื่องวัดเทากับ 400 cc.
6. ปรับปุมควบคุมเวลาการหายใจออกจนไดอัตราการหายใจ 16 ครั้ง/นาที
คําสั่งเพิ่มเติม
ผูคุมสอบ บอกใหปรับ เพิ่ม อัตราการหายใจ
ผูสอบ ปรับปุมถูกตองโดยการ หมุนลด expiratory time
7. ปรับปุมอัตราเร็วลมหายใจจนไดอัตราสวน I:E = 1:2
คําสั่งเพิ่มเติม
ผูคุมสอบ บอกใหปรับ I : E เปน 1 : 3
ผูสอบ ปรับปุมถูกตองโดยการ หมุนเพิ่ม expiratory flow rate

8. ปรับปุมควบคุมความเขมขนออกซิเจนเปน air-mixed
คําสั่งเพิ่มเติม
ผูคุมสอบ บอกใหปรับ FiO2 เปน 1.0
ผูสอบ ปรับหัวจุกไดถูกตอง
หมายเหตุ หรือคําสั่งกลับกันกรณีที่ FiO2 เปน 1.0 อยูแลว

ติว National License PIII OSCE SWU 42


5. การเจาะ arterial blood gas
จงแสดงการเจาะ arterial blood gas ที่ radial artery พรอมทั้งอธิบายประกอบการปฏิบัติโดยสมมติให
หุนที่อยูดานหนาของทานเปนผูป วย
ตอบ
1. อธิบายใหผปู วยรับทราบถึง ความจําเปน , ผลดีและผลเสีย
2. สวมถุงมือ และใหผูปวยหงายมือพรอม
3.Hyperextend ขอมือ
4.ทําความสะอาดผิวหนังของผูปวยและนิ้วชนี้ ิ้วกลางของผูเจาะดวยน้ํายาฆาเชื้อโรค
5. ทํา Modified Allen’s test (โดยใชนวิ้ มือกดลงไปทีท่ ั้ง radial และ ulnae artery พรอมๆกัน
แลวใหผูปวยกํามือและแบมือสลับกันจากนั้นจึงปลอยนิว้ ที่กด ulnae artery ออก) เลือกใชเข็ม
เบอร 22 – 24 ตอเขากับ syringe ขนาด 5 มล.
6. ดูด heparin มา 0.5 มล. เพื่อฉาบ syringe และ เข็ม แลวไล heparin และอากาศทั้งหมดทิง้
จับ syringe ใหคลายกับการจับปากกา แลวแทงเข็มลงไปตรง radial artery
7.เมื่อไดเลือดครบ 1-3 มล. ใหคอยๆ ดึงเข็มและ syringe ออก ใชสําลีกดบริเวณรอบเจาะเลือด
ราว 5 นาที
8. ทําการไลฟองอากาศและวาง syringe ลงใน ภาชนะบรรจุน้ําแข็ง

6. การฉีดยา subcutaneous
ตัวอยาง; ผูปวยหญิงอายุ 50 ป เพิ่งไดรับการวินิจฉัยเปนเบาหวาน แพทยพจิ ารณาให
การรักษาดวย NPH 14 U sc ac เชา จงสาธิตการฉีดยา insulin พรอมอธิบาย
1. เลือกชนิดของ insulin ไดอยางถูกตอง (น้ําขุน)
2. สํารวจวันหมดอายุของ insulin และขวดที่บรรจุปดมิดชิด
3. ลางมือใหสะอาด
4. กลิ้งขวด insulin ในแนวนอนระหวางฝามือทั้งสองขางหรือพลิกขวด insulin กลับไปกลับมาเบาๆ เพื่อใหน้ํายา
เปนเนื้อเดียวกันดี
*ไมเขยาขวดอยางแรง
5. เช็ดฝาจุกยางของขวด insulin ดวย 70% alcohol
6. ถอดฝาครอบเข็มออกและวางฝาครอบโดยหงายขึ้นหรือวางตะแคง
*หามวางใหปลายเปดของฝาคว่ําลง
7. ดูดอากาศเขาใน syringe จํานวนเทากับ insulin ที่ตองการ
8. ใชมือซายจับขวด insulin ตั้งขึ้น ใหฝาจุกยางอยูดานบน ใชมือขวาจับ syringe แทงเข็มลงผานจุกยางเบาๆ ฉีด
อากาศที่ดูดไวใน syringe เขาไปในขวด insulin จนหมด

ติว National License PIII OSCE SWU 43


9. ใชมือซายจับขวด insulin กลับเอาฝาจุกยางลงในแนวดิ่ง มือขวาจับ syringe ตั้งขึ้นในแนวดิ่ง ใหปลายเข็มชี้ขึ้น
ปลายเข็มตองจมอยูในน้ํายา ดูด insulin เขาใน syringe ตามจํานวนที่ตองการ
10. ถามีฟองอากาศใหไลฟองอากาศในขณะที่เข็มยังอยูในขวด
11. วาง syringe ที่ดูดน้ํายาไวที่ขอบโตะ โดยใหปลายเข็มพนขอบโตะ
12. ทําความสะอาดผิวหนังดวย 70% alcohol รอใหแหง
13. ใชนิ้วหัวแมมือและนิ้วชี้ขางซายหยิบผิวหนังที่ตนขาและหนาทองใหเปนลํา
14. จับ syringe ดวยมือขวาเหมือนการจับปากกา แลวแทงเข็มลงไปจนสุดอยางรวดเร็ว โดยใหแนวเข็มทํามุมกับ
แนวผิวหนัง 45-90°
15. ใชนิ้วหัวแมมือหรือนิ้วชี้ดันกานสูบ syringe ลงจนสุด
16. ดึงเข็มออก แลวใชสําลีแหงสะอาดกดไวสักครู

7. จงแสดงการเจาะน้ําในชองทอง
1. ใหผูปว ยนอนราบหรือนอนยกศีรษะสูง 45 องศา
2. ตรวจรางกายเพื่อดูระดับ ascites ดวยวิธี shifting dullness
3. ใสถุงมือ sterile
5. ทําความสะอาดบริเวณที่เจาะดวย 70% alcohol หรือ povidine 2-3 ครั้ง
5. ปูผาเจาะกลาง
6. ฉีดยาชาบริเวณที่เจาะในชั้นผิวหนังและ peritoneum
7. ใชเข็ม 18-20 G และ syringe 10 cc. เจาะผานชั้นผิวหนังชาๆ
8. หลังจากที่เข็มผานชัน้ ผิวหนัง ดึงผิวหนังลงเล็กนอย แทงเข็มผานชั้น peritoneum ชาๆ (Z track
technique)
9. ดูด ascites ชาๆ นําใสขวดสงตรวจ
10. หลังได ascites ที่ตองการ ดึงเข็มออกชาๆ ปดแผลดวยผากอซ
11. ผูสอบสามารถบอกการสง specimen ที่เหมาะสมในผูปวยรายนี้
(albumin, cell count, cell differential, culture ใสขวด hemoculture)

ติว National License PIII OSCE SWU 44


7. จงแสดงการทํา lumbar puncture และบอกการสงตรวจ CSF ที่
เหมาะสม

1 อธิบายใหผูปวยทราบและเขาใจการทํา
2 จัดทาผูปวยโดยใหผูปวยนอนในทาตะแคงไปทางซายใหหลังตั้งฉากกับเตียง งอตัวเขาชิดหนาอก กมศีรษะและคอให
ชิดหนาอก ไมหนุนหมอน กําหนดตําแหนงที่เจาะ ชองระหวางกระดูกสันหลังที่ L3-L4 (โดยกําหนดเสนสมมติ
ระหวาง Iliac crest ลากตั้งฉากกัน) แลวทําเครื่องหมายไวและจัดเกาอี้นั่งของแพทย
3 เลือกขนาดของเข็ม spinal needle No.18-21
4 สวมถุงมือปลอดเชื้อ ใหผูชวยเปดset เจาะหลัง ทายาฆาเชื้อ povidine เมื่อแหงใช 70% alcoholเช็ดอีกครั้งรอจนแหง
ปูผาเจาะกลาง
5 ฉีดยาชาโดยใชเข็มเบอร 18 ดูด 1%xylocaineจากผูชวยประมาณ 5 mlและใชเข็มเบอร 22 ฉีดยาชาเขาใตผิวหนังและ
interspinous ligament
6 ตรวจสอบเข็มที่เจาะโดยปลายของstyletตองตอเสมอกับbevelของเข็ม styletตองดึงออกสะดวก เข็มตองตรงและ
เตรียมตอspinal manometer และ three way stopcockไวพรอม
7 จับเข็มเจาะหลังบริเวณโคนเข็ม จัดตําแหนงใหหนาตัดของเข็มหงายขึ้นและขนานกับแนว spinous processใหหลังมือ
หรือนิ้วชี้ทั้งสองขางแตะที่หลังเพื่อเปนการ guardและใชนิ้วหัวแมมือเปนตัวดันโคนเข็ม แทงเข็มผานผิวหนัง
,subcutaneous, interspinous ligament จนถึง ligamentum flavum(รูจากมีแรงตานเกิดขึ้น) เคลื่อนเข็มเขาใน
subarachnoid space ดึงstylet ออกจะมีน้ําไขสันหลังออกมา
8 วัดopened pressureโดยใช spinal manometer โดยใหผูปวยเหยียดขาออก
9 เก็บ CSF ใสขวด sterile 3-4 ขวด
ขวด 1 สงculture
ขวด 2 สงตรวจprotein&sugar
ขวด 3 สงตรวจcellและยอมดูจุลชีพ
10 วัดclosed pressure ใส stylet กลับเขาที่ แลวดึงออกพรอมเข็ม ปดพลาสเตอรที่รอยเจาะใหผูปวยนอนราบนาน
ประมาณ 2-4 ชั่วโมง
ติว National License PIII OSCE SWU 45
9. จงสาธิตการใช MDI

หัวขอ การปฏิบตั ิ
1. เขยาขวดใหยาเขากันดีแลวถอดฝาปองกันฝุนออก
2. นั่งตัวตรง ตัง้ กระบอกยาใหตั้งฉากกับพื้น
3. หายใจเขาออกตามปกติ แลวหายใจออกเต็มที่
4. อมปากกระบอกพนใหสนิท หรือใหหางจากปาก 2 นิ้วมือ
5. กดกนขวดยาลงจนสุด 1 ครัง้ พรอมสูดยาเขาทางปากชา ๆแตสูดลึก ๆ จนสุด เอาหลอดออก
กลั้นหายใจประมาณ 10 วินาที แลวคอยผอนลมหายใจออกทางจมูก
6. คําถาม ถาใหใชยา 2 puff ตอการใชยา 1 ครั้ง จะทําอยางไร
7. เฉลย ทําซ้ําอีกครั้ง ตัง้ แตขนั้ ตอนที่ 2 เปนตนไป โดยตองเวนระยะเวลาหางจากการใชยาครั้ง
แรก ½ - 1 นาที
คําถาม บอกความแตกตางในการใชยา inhaled steroid กับ bronchodilator
8. เฉลย บวนปากหลังการใช inhaled steroid ทุกครั้ง

10. Oxygen therapy


จงแสดงวิธีการให oxygen therapy with T-piece ในผูป วยรายนีซ้ ึ่งสามารถหายใจไดเองผานทอชวยหายใจ
1.บอกผูปวยวากําลังจะใหการรักษา
2.ประกอบ T-piece ไดถูกตอง ดังนี้
ทอยาว 1 เมตร ตอกับ T-piece ดาน 22 มม.
ทอยาว 6 หรือ 12 นิ้ว ตอกับ T-piece ดาน 22 มม.
3.ตอทอยาวกับ Nebulizer (ถามวาจะเลือก bubble หรือ Jet)
4. เปด oxygen flow ใหเพียงพอ > 6 Lpm (ยาว 6 นิ้ว) หรือ >10 Lpm (ยาว 1
5. ตอ T-piece ดาน 15 มม. เขากับ ETT
6. อธิบายวา Nebulizer สามารถใหละอองไดจริงโดยดูจากพวยควัน

ติว National License PIII OSCE SWU 46


Surgery
Excission
ตัวอยาง ผูป วยหญิงตองผาตัดกอนใตผวิ หนังบริเวณหลัง
คําสั่งปฏิบตั ิ แสดงขัน้ ตอนการ excision subcutaneous mass พรอมอธิบายขั้นตอนขณะทํา
สวนที่1 การเตรียมผิวหนังบริเวณผาตัด
1. ใช Betadine solution ทําความสะอาดผิวหนัง
2. ปูผาเจาะกลาง
สวนที่ 2 การเตรียมยาชาและวิธีการฉีดยาชา
1. ใชเข็มใหญดูดยาชา
2. push air เขาในขวดยาชา
3. ใชเข็มเล็กฉีดยาชา
4. negative pressure กอนฉีด
5. ฉีดยาชาถูกตอง ( field block )
สวนที่ 3 การผาตัด
1. จับมีดถูกตอง
2. จับ forceps ถูกตอง
3. การลงแผลถูกตอง ( elliptical incision )
4. ทักษะการเลาะกอน

2. Dressing wound
.จงแสดงและอธิบายการ Dressing แผล post operative thyroidectomy ดวย proper sterile technique
โดยสมมติวาสวมถุงมือ disposable แลว

ตอบ
1. นํา forcep ออกจากถาดดวยวิธีที่ถกู ตองตาม sterile technique
2. จับ forcep ดวยทาที่ถกู ตอง
3. เลือก alcohol ถูกตอง
4. ใช forcep จับสําลีชุบ alcohol ทําความสะอาดรอบแผลวนจากในออกนอก
5. ใช forcep จับ gauze 4x4 พับตามยาวปดแผล
6. ปดเทปตามแนวขวางของคอ
7. มีความชํานาญคลองแคลว

ติว National License PIII OSCE SWU 47


3. การเย็บแผลและตัดไหม
การปฏิบัติ
1. เลือกใชเข็ม cutting
2. จับเข็มที่ 1 /3 จากกนเข็ม
3. รอย silk ถูกวิธี
4. จับ holder ถูกวิธี
5. จับ forcept ถูกวิธี
6. เย็บ vertical mattress ถูกตอง
7. เย็บ half bury ถูกตอง
8. ขอบแผลชิดกันดี
9. ความชํานาญคลองแคลว
10. จับกรรไกรถูกวิธี
11. เลือกใช non tooth forcep
12. ตัดไหมถูกวิธี

4. จงแสดงการพัน BK amputation stump


- Anterior bandage 2 ชิ้น
- พันรอบฐาน
- พันไปยัง distal stump ใหกดปลาย stamp ลงมาสลับกับพันรอบฐาน
eg. Distal medial ฐาน distal ulnar

5. จงแสดงวิธกี ารทํา Digital block


1. มีการแนะนํากับผูปวยวาจะตองฉีดอยางไร บริเวณใด
2. Sterilized เชน alcohol, plaint
3. ระบุ landmark ไดถูกตอง
4. ระบุ superficial landmark ของ neurovascular ของ digit ได
5. แสดงการเลือกอุปกรณไดเหมาะสม
- Syringe 10 ml.
- เข็มเบอร 25 เล็ก
6. ฉีด periosteal แลว point dorsum & point volar

ติว National License PIII OSCE SWU 48


หมวดทักษะการสื่อสาร
1. ผูปวยหญิงอายุ 55 ป มีอาการปวดหัวเขาขางซายมาประมาณ 5 วันกอนมาโรงพยาบาล เดินมี
เสียงดังกรอบแกรบในเขาขางซาย ปวด บวมรอน เดินไมคอยถนัด เขาติดตอนเชาเล็กนอยจึงมา
โรงพยาบาล เพื่อขอการรักษาจากทาน
PE Left knee : mild swelling and inflammation, crepitation, varus deformity
Film= OA knee

สวนที่ 1 ทักษะในการใหขอมูล/ใหคําแนะนํา
1. แนะนําตัวกับผูปวย
2. แจงโรค/อธิบายเหตุผลการวินิจฉัย
2.1 แจงโรควาเปนขอเขาเสื่อม
2.2 มีอาการปวดเขาและฟลม x-rays เขาได
2.3 มีอายุมากกวา 50 ป
2.4 มีขอยึดติดตอนเชานอยกวาครึ่งชั่วโมง
2.5 มี crepitus เมื่อตรวจเขา
3. คําแนะนําผูปวยเรื่องการออกกําลังกาย
3.1 Isometric exercise และอธิบายการทํา
3.2 Isotonic exercise และอธิบายการทํา
3.3 ประเภทกีฬาที่ควรแนะนํา เชน วายน้ํา, ปนจักรยาน, เดินในน้ํา, เดิน
4. คําแนะนําขอปฏิบัติ
4.1 แนะนําเรื่องการลดน้ําหนัก
4.2 แนะนําเรื่องการนั่ง
4.3 แนะนําการขึ้นลงบันไดและอธิบายไดถูกตอง
หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันไดใหมากที่สุด
ใชขางดีขึ้นกอน และใชขางไมดีลงกอน
4.4 แนะนําเรื่องหองน้ํา ลักษณะสวมที่เหมาะสม
4.5 แนะนําเรื่องการปรับรองเทา ใหใส lateral wedge ที่พื้นรองเทา
4.6 แนะนําเรื่องการใส knee brace
4.7 แนะนําเรื่องการใช gait aid ที่เหมาะสมและวิธีการใชที่ถูกตอง
ควรเลือกถือ cane และถือดานขวามือ

ติว National License PIII OSCE SWU 49


2.ชายไทยอายุ 42 ป อาชีพหัวหนาฝายซอมบํารุง สุขภาพรางกายแข็งแรง สมบูรณดี
• ในครอบครัวไมมีใครเปน hypertension, DM หรือโรคหัวใจ ไขมันในเลือดของพอแม พี่นองอยู
ในเกณฑปกติ
• ไมมีประวัติสบู บุหรี่ แตดื่มเบียรเปนประจํา ตองเดินทาง มีงานเลี้ยง งานสังคมบอย
• ดัชนีมวลกาย (BMI) = 24.5 kg/m2 Blood pressure 150/95 mm. Hg
• ตรวจรางกายไมพบความผิดปกติใดๆ
• การตรวจ FBS ทํางานของไต ตับ และ ไทรอยดอยูใ นเกณฑปกติ
• Chest X-ray และ EKG แพทยอานผลวาปกติ
มาปรึกษาทานดวยเรื่องผลการตรวจรางกายประจําป พบผลการตรวจระดับไขมัน ในเลือด
เปนดังนี้
มาปรึกษาทานดวยเรื่องรายงานผลการตรวจรางกายประจําป พบผลการตรวจระดับ ไขมันใน
เลือดเปนดังนี้
ระดับ Cholesterol 270 mg/dl
ระดับ HDL 60 mg/dl
ระดับ Triglyceride 150 mg/dl

A. ในผูปวยรายนี้มีปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดกี่ปจจัย และอะไรบาง
B. ทานจะใหคําแนะนําการปฏิบัติตัวในผูปวยรายนี้อยางไรบาง
C. หลังจากทานแนะนําผูปวยรายนี้แลว ทานคิดวาจะตองควบคุมระดับ LDL ใหอยูในระดับ ใด
เพื่อปองกัน การเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
ตอบ
ในผูป วยรายนีม้ ีเพียงปจจัยเดียว คือ hypertension จากปจจัยเสี่ยงทั้งหมด
(อายุเพศชาย 45 ป เพศหญิง 55 ป/ ความดันโลหิตสูง/สูบบุหรี่/ เบาหวาน/ ประวัติ
ครอบครัว/ ระดับ HDL ต่ํา)
คําแนะนําการปฏิบตั ิตัว
1. ตอบ 1 ใน 2 ขอ ตอไปนี้
• ลดอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เชน มันสัตว แกงกะทิ เนย นม ครีมไอศกรีม ขนมที่
ทําจากแปง
• ลดอาหารที่มีcholesterol สูง เชนไขแดง หอยนางรม เครือ่ งใน
2. ตอบ 1 ใน 6 ขอตอไปนี้

ติว National License PIII OSCE SWU 50


• ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร เชน การกินอาหารนอกบาน กะปริมาณการ
กิน กินใหถูกหลัก หลีกเลี่ยงของทอด ทํา อาหารที่ใชน้ํามันที่มีไขมันอิ่มตัวต่ํา
เชน น้ํามันถั่วเหลือง
• รับประทานโปรตีนที่มไี ขมันต่ํา เชน ไก ปลา ถั่ว
• ควรรับประทานคารโบไฮเดรตเชิงซอน เชน ขาวและแปงเปนหลัก ควรหลีกเลี่ยง
ของหวาน น้ําตาล
• บริโภคผักและผลไม
• งดดื่มเครื่องดืม่ ที่มีแอลกอฮอล
3. ตอบ 1 ใน 2 ขอตอไปนี้
• ควบคุมความดันโลหิต
• หลีกเลี่ยงบริโภคเกลือ หรืออาหารที่เค็มหรือมีโซเดียมสูง
4. ออกกําลังกายอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห ครั้งละ 30 นาที

เนื่องจากมีปจจัยเสี่ยงเพียง 1 ปจจัยดังนั้นระดับ LDL ที่ควบคุมคือ ต่าํ กวา 160 mg/dl

ติว National License PIII OSCE SWU 51


3. เลี้ยงลูกดวยนมแม
1. แนะนําตัว สรางความคุน เคย
2. ใชคําพูดชัดเจน เขาใจงาย ไมใชศัพทเทคนิคมากเกินไป
3. บอกประโยชนของน้ํานมแมไดอยางนอย 5 ขอ ( 1 ขอ = 3 คะแนน )
4. สาธิตการใหนมลูกได ทานั่ง / หรือทานอน / หรือจัดทาใหนมบุตรหลังผาคลอด
5. บอกขั้นตอนการใหนมแมไดถูกตอง เนน
5.1 ใชหัวนมเขี่ยริมฝปากลูกใหลูกอาปาก
5.2 ใหปากลูกงับถึงลานเตานม
5.3 ใหดูดจนหมดทีละขางเพื่อใหไดน้ํานมสวนทาย ( ได hind milk )
6. ควรใหลูกดูดนมบอยๆ ทุก 2 – 3 ชั่วโมง
7. บอกการเก็บนมแมในตูเ ย็นธรรมดา ( 4°C ) ไดนาน 24 – 48 ชั่วโมง
8. เก็บในภาชนะที่สะอาดและปดมิดชิด
9. หากเก็บในชองแข็ง ( – 14 °C ) คงที่เก็บไดถึง 3 เดือน
10. เมื่อจะนํามาใช นําภาชนะบรรจุไปแชน้ําอุน / ไมนําไปตม
11. เปดโอกาสใหมารดาซักถาม
4. หยุดสูบบุหรี่
Advice ลดสูบบุหรี่ ดูเอกสารประกอบการสอนปสี่ อาจารยสุทัศน

การบําบัดรักษาผูติดบุหรี่โดยไมใชยา
ก. ใหคําแนะนํา
1. อธิบายใหผูปวยรูและเขาใจวาการสูบบุหรี่เปนอันตรายตอสุขภาพทําใหเกิดโรค
ตาง ๆ เชน โรคหัวใจโคโรนารี่ (2คะแนน), โรคหลอดเลือดสมอง (2คะแนน)
มะเร็งปอด (2 คะแนน) COPD (3 คะแนน) เปนตน
2. แนะนําใหผูปวยหยุดสูบบุหรี่ทันที ไมจําเปนตองคอย ๆ ลดลง
3. แนะนําวิธีการหยุดบุหรี่ ดวยตนเองใหแกผูปวย
- กําหนดวันที่ จะเริ่มหยุดที่แนนอน เชนไมเกิน 2 สัปดาห
- ใหผูปวยบอกญาติ เพื่อน วาจะหยุดสูบบุหรี่ เพื่อการสนับสนุนจากคนรอบขาง
- ทิ้งบุหรี่ และที่จุดบุหรี่ ไมใหนํามาใชไดอีก
- แนะนําใหผูปวยหลีกเลี่ยงปจจัยที่จะใหกลับมาสูบบุหรี่ใหม ไดแก การดื่มสุรา
ความเครียด การมีบุคคลอื่นที่ใกลชิดยังคงสูบบุหรี่ เปนตน
5. นัดใหผูปวยมารับการรักษาตอ เพื่อปองกันการกลับมาสูบบุหรี่
ใชยุทธศาสตร STAR
Set a quit date นิยมใชวันที่มีความหมายตอผูปวยหรือคนใกลชิด เชน วันเกิด วันครบรอบแตงงาน วันปใหม
อยางไรก็ตามควรใหมีวันเลิกบุหรี่ใน 2 สับดา หลังจากตัดสินใจเลิก

ติว National License PIII OSCE SWU 52


Tell family and request supportแนะนําใหผูปวยจางคนใกลชิด วาตนตัดสินใจจะเลิกบุหรี่แลว และขอใหคน
เหลานี้ชวยเหลือ
Anticipate challenges แพทยควรใหความรูเกี่ยวกับนิโคตินโดยกลยุทธ 4D
Deep breath สูดหายใจเขากลั้นไวราว หาวินาที แลวหายใจออกชาๆทางปาก
Drink water ดื่มนสะอาดวันละแปดแกว
Do something อยาใหตนเองวางหางานอดิเรกทําตบอดเวลาเชน เลนกีฬา ออกกําลังกาย
Delay พยายามยื้อเวลา แข็งใจ และไมยอมกลับไปสูบบุหรี่อีกแมในขณะที่มีอาการอยากบุหรี่
หลีกลเยงงานสังสรรคที่มีผูสูบบุหรี่มากๆ หากเลี่ยงไมไดพยายามอยาใหมือวางเชนถือแกวน้ําผลไมแทนการนสูบบุหรี่
Remove tobacco product
พยายามใหผูปวยทิ้งบุหรี่และอุปกรณการสูบทั้งหมด ไมใหเหลือทั้ง ในบาน ที่ทํางาน และใน รถ
Arrange
ติดตามอาการครั้งแรกใน หนึ่งสับดาหลังวันเลิกบุหรี่ เมืออาการคงที่ดีแลวตรวจทุก สอง สับดา จากนั้นเมือหยุดยา
ชวยเลิกบุหรี่ทุก สามเดือน
มาตราการ คําอธิบาย ตัวอยาง
Relevance พยาพยามชี้ใหผูปวยเห็นวาการลิก ชี้ใหเห็นวาการสุบบุหรี่สงผลราย
บุหรี่นี้เกี่ยวของโดยตรงกับผูปวย ตอทารกในครรภ และทใหเสน
และครอบครัว เลือดหัวใจอุดตันแยลงหากผูปวย
สูบบุหรี่
Risks บอกผลเสียแลย้ําถึงความสําคัญของ ย้ําวาอาจทําใหทารกใรครรภ
ผลเสียที่กําลังจะเกิดขึ้นโดยตรงกับ น้ําหนักตัวต่ํา และเปนโรคทางเดิน
ตัวผูปวย หายใจงาย
Rewards แพทยบอกถึงขอดีในการเลิกบุหรี่ เนนวาการสูบบุหรี่ทําใหสุขภาพ
แลวเนนย้ําถึงสวนเกี่ยวขงอโดยตรง ทั้งของตนและบุตรหลานดีขึ้นและ
กับผูปวย เปนตัวอยางแกบุตรหลาน
Reloadblocks ใหผูปวยพูดถึงอุปสรรคที่อาจ กลัน้ําหนักเพิ่มขึ้นหรือยังไมรูวา
เกิดขึ้นระหวางการเลิกบุหรี่หรือ เลิกไดจริงหรือไม อีกทั้งไมรูวิธีที่
ปจจัยที่ใหผูปวยยังไมอยากเลิก ถูกตองและไดผลแนนอนในการ
บุหรี่ เลิกสูบบุหรี่
Repetition แพทยตองใหคําแนะปรึกษาแก ชี้ใหเห็นวายังมีผูปวยอีกจํานวน
ผูปวยในเรืองนี้ซ้ําทุกครั้งที่มาพบ มากที่ไดพยายามและลมเหลวอยู
และคอยใหกําลงัใจหากผูปวย หลายครั้งกอนที่จะเลิกบุหรี่ได
ลมเหลว สําเร็จหรือในกรณีที่สามารถเลิกอยู
ไดหลายวันกอนจะกลับมาสูบใหม
และชี้ใหเห็นวาอยางหนอยพวกเขา
ก็ทําไดสําเร็จตั้งหลายวัน และไม
ควรทอถอย แตนาจะกลับมา
เริ่มตนใหมใหเลิกไดนานขึ้น

ติว National License PIII OSCE SWU 53


6. ผูปวยชายอายุ 55 ป เปนโรคเกาทที่ขอเทา และหัวแมเทาเปนๆ หาย มา 5 ป ปนี้เปนบอยทุก 1-2 เดือน
ทุกครั้งที่ปวดตองไปหาหมอกินยาฉีดยาจึงจะหายตรวจพบ Chronic tophacous gout ผลการตรวจ
เลือด Creatinine 1.2 มก/ดล Uric acid 9.8 มก/ดล เพือ่ ปองกันไมใหเกิด gouty attack อีกทานจะให
คําแนะนําผูปวยอยางไร ขณะเริ่มใหยา colchicines และ allopurinol

Check list
1. ขออักเสบของโรคเกาทเปนสิ่งที่ปองกันและรักษาได โดยใชการควบคุม อาหาร
และยา ซึ่งตองกินยา สม่ําเสมอตอเนื่องนานหลายป
2. โรคเกาท เกิดจากมีกรดยูริกคั่งมานานจนตกตะกอนตามขอ ยาที่ให
ลดกรดยูริก คือ allopurinol ซึ่งถาลดระดับกรดยูริกลงมาเหลือ
4-5 (5.5) มก/ดล จะสลายผลึกยูเรทใหหายไปได ซึ่งตองใชเวลาหลายป
3. ผลขางเคียงของ allopurinol คือ ผื่นแพยาควรเริ่มขนาดนอย
100 มก/วัน เพิ่มเปน 300 มก/วัน ใน 1 เดือน ใหยาขนาดนี้จนกระทั่ง
ปุมกอนที่สะสมตามขอยุบหายไปหมอ จึงพิจารณาลดหรือหยุดยา
- ถาเกิดผื่น คัน ระหวาง รับประทานยาควรหยุดยาแลวมาปรึกษาแพทย
- ผลขางเคียงที่พบไมบอยคือตับอักเสบ ซึ่งพบในผูที่ตับไมดีอยูแลว
จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มสุรา, ยาดองเหลา
4.colchicine เปนยาที่ปองกันไมใหขออักเสบควรรับประทาน
วันละ 1-2 เม็ด ถาขออักเสบใหเพิ่มได 1 เม็ด
5.ผลขางเคียงของ colchicine คือ ทองเสียถามีอาการใหหยุดยา
แลวเริ่มยาใหม ใหขนาดนอยลง

6. จงใหคําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลเทาที่ถูกตองแกผปู ว ยเบาหวาน

1. การสํารวจเทา
แนะนําใหทําทุกวัน
สํารวจใหทั่วเทา โดยเฉพาะซอกนิ้วเทา และฝาเทา
ดูวามีแผล, รอยถลอก, พุพอง, หนังแข็ง, ตาปลา หรือมีสีคล้ําผิดปกติหรือไม
ถาสายตาไมดีใหผูใกลชิดชวยสํารวจ
2. การทําความสะอาดเทา
แนะนําใหทําทุกวัน อยางนอยวันละครั้ง และทันทีเมื่อเทาสกปรก
ทําความสะอาดใหทั่ว รวมทั้งซอกนิ้วเทา
ใชสบูออนและน้ําสะอาดทําความสะอาดเทา
ไมแชเทาในน้ํานานเกินไป

ติว National License PIII OSCE SWU 54


ใชผาเช็ดเทาและซอกนิ้วเทาใหแหงหลังจากทําความสะอาดเสร็จ
ไมควรใชน้ํารอน ถาใชน้ําอุนตองมีผูอื่นทดสอบอุณหภูมิมิใหรอนเกินไป
3. การสวมรองเทา
สวมรองเทาเวลาเดินทุกครั้ง ไมเดินเทาเปลา
รองเทาตองมีขนาดพอดี ไมหลวมหรือคับจนเกินไป
รองเทาควรทําจากวัสดุที่นุม ไมแข็งกระดางจนทําอันตรายตอผิวหนังงาย
ถาสวมรองเทาหุมสนควรสวมถุงเทาดวยเสมอ และถุงเทาไมควรรัดเกินไป
สํารวจภายในรองเทาวามีสิ่งแปลกปลอมหรือไม กอนสวมรองเทา
4. การดูแลเล็บเทา
ตัดเล็บเทาใหเสมอปลายนิ้วเทา ไมตัดจนสั้นเกินไป หรือจนมีเลือดไหล
ไมขูดหรือแคะซอกเล็บ และไมตัดเนื้อรอบเล็บ
ถาสายตาไมดี ใหผูใกลชิดชวยทําให
5. เมื่อมีแผล หรือตาปลา หรือหนังแข็งเกิดขึ้น ควรปรึกษาแพทยไม
รักษาดวยตัวเอง
6. หามใชกระเปาน้ํารอน หรือแผนประคบรอนวางที่เทา

6. ผูชายอายุ 25 ป ถูกสุนัขจรจัดกัดเขาที่นองซายและหนีไป มีบาดแผลลึกและกวาง ทานเปนแพทย จะให


การรักษาอยางไร
Chick list
1. ลดจํานวนเชื้อตรงบาดแผลใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได โดยใชน้ําสะอาดลาง
บาดแผล ฟอกดวยสบูทันที หลังจากนั้นลางดวยน้ําสะอาดอีกครั้ง เช็ดแผล
ดวย Alcohol 70% ทิงเจอรไอโอดีนหรือ โพวิโดนไอโอดีน ไมควรเย็บ
แผล ถาจะเย็บแผลเพราะมีเลือดออกมากควรเย็บหลังฉีด Rabies
Immunoglobulin แลว

2. ใหฉีด vaccine ปองกันพิษสุนัขบา โดยอาจใชวัคซีนที่มีมาตรฐาน ไมทํา


จากเซลลประสาทหรือ สมองของสัตว อาทิเชน Human diploid
cell vaccine หรือ Purified vero vaccine หรือ Purified
chicken embryo cell vaccine โดยฉีดเขาที่กลามเนื้อไหล
(deltoid muscle) ไมฉีดเขาที่สะโพก โดยฉีด 1 dose วันที่ 0,3,
7,14,28 โดยวันที่ 0 เปนวันที่มาพบแพทยหรือวันที่สุนัขกัด
3. ฉีด Rabies immunoglobulin (RIG) เขาใตกนแผลและรอบๆ
แผล ถามียาเหลือใหฉีดเขากลามใหหมดในบริเวณที่หางไกล จากฉีดวัคซีน

4. ฉีดยาปองกันบาดทะยักเขาที่กลามเนื้อแขนโดยตารางฉีดควรเปน 0, 1, 6
เดือน ตามลําดับ (อยางนอยตองไดฉีด 2 เข็ม)

ติว National License PIII OSCE SWU 55


5. การใหยาปฏิชีวนะควรใหยาที่ครอบคลุมเชื้อชนิดไมพึ่งออกซิเจน และยา
ครอบคลุมเชื้อแกรมบวกและลบชนิดพึ่งออกซิเจน อาทิ เชน ampicillin
หรือ amoxycillin รวมกับ metronidazole หรือรวมกับ
Clindamycin เปนตน
6. ควรทําแผลทุกวันและติดตามการรักษาจนกวาแผลจะหาย
7. ใหคําแนะนําแกผูปวยถึงอาการเริ่มแรกของพิษสุนัขบา อาทิเชน จะมีอาการ
ชาที่บริเวณบาดแผล, ปวดศรีษะ มีไขต่ําๆ และอาจมีอาการคันบริเวณรอย
แผลที่ถูกกัดได ถาผูปวยมีอาการดังกลาว ควรรีบพบแพทยเพื่อนตรวจรักษา
ตอไป

7. ชายไทยอายุ 45 ป มีประวัติดื่มสุรามานาน ตรวจพบวาเปน alcoholic cirrhosis ตรวจGastroscopy พบ esohpageal


Varice รวมกับ cherry red spot sign และ diffuse gastritis
ก. จงใหคําแนะนําแกผูปวย
ข. จงบอกการรักษา
ค. จงบอกภาวะแทรกซอนที่อาจพบได
Chick list
ก. คําแนะนํา
1. เปนโรคตับแข็งจากเหลา
2. งดดื่มเหลาตลอดไป แตระยะแรกตองระวังอาหารผิดปกติจากการหยุดเหลา
3. งดอาหารเค็ม, เผ็ด, อาหารทะเลดิบและรับประทานอาหารโปรตีน พอสมควร
4. อยาใหทองผูก
5. ระวังการรับประทานยาที่มีผลตอตับ
ข. การรักษา
1. spironolacione 100 มก/วัน
2. วิตามิน เชน วิตามินบี , folic acid
3. propranolol 40 มก/วัน
ค. โรคแทรกซอน
1. SBP
2. Hepatic encephalopathy
3. Hepatorenal syndrome
4. Hepatoma
5. Bleeding tendency

ติว National License PIII OSCE SWU 56


8. หญิงไทยอายุ 65 ป มาดวยอาการปวดขอเขามา 1 เดือน มีประวัติเคยเปน ๆ หาย ๆ มา 5 ป ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคขอ
เสื่อม ผูปวยอาการไมดีขึ้นหลังไดยา Paracetamol และการทํากายภาพบําบัด
Check list
ก. พิจารณากอนที่จะใหยา
1. พิจารณาวาผูปวยมีปจจัยเสี่ยงของการใชยา NSAID ตอทางเดินอาหารหรือไม
เชน
1.1 อายุมากกวา 60 ป
1.2 มีประวัติโรคเปปติก หรือไม
1.3 มีประวัติการใชยาลดกรด(Antacids), H2 – antagonist หรือ
Omeprazole
1.4 ประวัติปวดทองเปนๆ หายๆ โดยไมทราบสาเหตุ
1.5 ประวัติการใชยาสเตียรอยดรวมดวยหรือไม
2. มีภาวะหรือโรครวมดวยหรือไม เชน โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
3. ผูปวยไดรับยาอะไรประจําอยู เพราะอาจมีปญหา drug interaction เชน
ASA coumadin
ข. วิธีใชยา
1. ใช NSAID ในขนาดต่ําที่สุดที่จะบําบัดอาการปวดได
2. เมื่อหายปวดดีแลวควรหยุดยา
3. ถาไมดีขึ้นควรคอย ๆ เพิ่มขนาดของยาดวยความระมัดระวัง
4. หลีกเลี่ยง NSAID บางตัวที่มีผลขางเคียง ในผูสูงอายุ เชน Indomethacin
5. ไมใช NSAID มากกวาหนึ่งตัวในการรักษาแตละครั้ง
ค. ติดตามผลขางเคียง
ติดตามผลขางเคียงของการใชยาอยางใกลชิด (CBC, urinalysis,lives
enzymes, electrolyts, BUN, creatinine, stool ocult blood

9. หญิงไทยคูอายุ 28 ป หลังคลอดบุตรคนแรก 1 สัปดาห มาตรวจดวยไข, ไอ ภาพรังสีทรวงอก พบโพรงฝ ยอมเสมหะ


พบ AFB + 3 นอกจากใหยาวัณโรคที่เหมาะสมแกผูปวย ทานจะใหคําแนะนําผูปวยอยางไร
Chick list
1. ความรูเกี่ยวกับวัณโรคที่ผูปวยเปน
1.1 เปนโรคติดเชื้อ
1.2 ติดตอไดทางการหายใจ
1.3 ผูปวยอยูในระยะที่แพรเชื้อใหผูอื่นได
1.4 โรคอาจแพรกระจายไปสูผูที่อยูใกลชิดได ตั้งแตเริ่มมีอาการจนกวา
จะไดรับการรักษาตอเนื่องอีกระยะหนึ่ง
2. แนวทางการรักษาวัณโรคดวยยา
2.1 สามารถรักษาโรคใหหายขาดได โดยการมาพบแพทยและรับประทานยาสม่ําเสมอ

ติว National License PIII OSCE SWU 57


(อยางสั้นที่สุด 6 เดือน)
2.2 ตรวจเสมหะ ติดตามผลการรักษา
2.3 อาการขางเคียงที่พบได คือ ตับอักเสบ ผื่น ผิวหนัง
ถามีอาการเหลานี้ใหมาพบแพทยกอนกําหนด
สามารถให breast feeding ได
รับประทานยา rifampicin ปสสาวะจะออกสีแดงสมเปนปกติ
ไมตองตกใจ
3. การปฏิบัติตัวทั่วไปของผูปวย
3.1 ปดปากปดจมูกเวลาไอดวยผา
3.2 เสมหะควรบวนเปนที่ เพื่อลดการแพรกระจายเชื้อ
3.3 รับประทานอาหารใหครบสวน
3.4 พักผอนใหเพียงพอ
4. การตรวจและรักษาผูสัมผัสโรค
ก. สามี/ผูใหญ ในบาน และเด็กอื่นซึ่งอยูในบานใหมาพบแพทย
ซักถามอาการ, ทํา Chest X-ray
ข. ใหพาลูกไปใหกุมารแพทยตรวจ เพื่อตรวจหารองรอยหรือ
อาการของโรค ทํา Chest X-ray, tuberculin test

ติว National License PIII OSCE SWU 58

You might also like