You are on page 1of 26

บทที่ 9 9.

1 บทนํา
ขั้นตอนทีม่ คี วามสํ าคัญมากในการออกแบบระบบไฟฟ้า คือ
การคํานวณโหลด • การคํานวณโหลดรวมของสถานประกอบการ ค่ าโหลดรวมจะเป็ นตัวกําหนดขนาด
ของบริภณ ั ฑ์ ประธาน มิเตอร์ ไฟฟ้า และถ้ าโหลดรวมมากพอก็กาํ หนดพิกดั ของหม้ อ
แปลงไฟฟ้าด้ วย
ในมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสํ าหรับประเทศไทยของสมาคม วิศวกรรม
สถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ( ว.ส.ท. ) ได้ ให้ ข้อกําหนดเกีย่ วกับ
การคํานวณโหลด ไว้ ในเรื่อง

1 2

1. การคํานวณวงจรย่ อย 9.2 การคํานวณโหลดตามมาตรฐาน ว.ส.ท.


2. การคํานวณสายป้ อน
3. การคํานวณตัวนําประธาน ตามข้ อกําหนดสํ าหรับการคํานวณขนาดของสายป้ อนนั้นสาย
4. และการคํานวณโหลดของอาคารชุด ป้อนจะต้ องมีขนาดเพียงพอทีจ่ ะจ่ ายโหลดได้ และต้ องไม่ น้อย
ในการออกแบบจะต้ องระลึกอยู่เสมอ ว่ าเป็ นค่ าโหลดทีไ่ ด้ จากการ กว่ าผลรวมของโหลดในวงจรย่ อยเมือ่ ใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์ ตามที่
คํานวณตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ถือว่ าเป็ น “ ค่ าขั้นตํา่ ” โดยทัว่ ไปแล้ ว กําหนดให้ คอื
ผู้ออกแบบจะต้ องออกแบบให้ มขี นาดมาก กว่ านั้นเพือ่ เป็ นการเผือ่ การขยาย 1. โหลดแสงสว่ างอนุญาตให้ ใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์ ตาม ตาราง
โหลดในอนาคต
ที่ 9.1

3 4
ตารางที่ 9.1 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สําหรับโหลดแสงสว่ าง
ชนิดของอาคาร ขนาดของไฟแสงสว่ าง ดีมานด์ แฟกเตอร์ 2.โหลดเต้ ารับของสถานทีท่ ไี่ ม่ ใช่ ทอี่ ยู่อาศัย ให้ ใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์
( VA ) (%) ตามตารางที่ 9.2
ทีพ่ กั อาศัย ไม่ เกิน 2,000 100
ส่ วนเกิน 2,000 35
โรงพยาบาล * ไม่ เกิน 50,000 40 ตารางที่ 9.2 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สํ าหรับโหลดเต้ ารับในสถานทีไ่ ม่ ใช่ ทอี่ ยู่
ส่ วนเกิน 50,000 20 อาศัย
โรงแรมรวมถึงห้ องชุด ไม่ เกิน 20,000 50 โหลดของเต้ ารับรวม ดีมานด์ แฟกเตอร์
ทีไ่ ม่ มสี ่ วนให้ ผู้อยู่อาศัย 20,001 – 100,000 40
( คํานวณโหลดเต้ ารับละ 180 VA ) ( ร้ อยละ )
ประกอบอาหารได้ * ส่ วนเกิน 100,000 30
โรงเก็บพัสดุ ไม่ เกิน 12,500 100 10 kVA แรก 100
ส่ วนเกิน 12,500 50 ส่ วนทีเ่ กิน 10 kVA 50
อาคารประเภทอืน่ ทุกขนาด 100

5 6

3.โหลดเครื่องใช้ ไฟฟ้ าทัว่ ไป อนุญาตให้ ใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9.3
ตารางที่ 9.3 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สําหรับเครื่องใช้ ไฟฟ้ าทัว่ ไป 4. เต้ ารับในอาคารทีอ่ ยู่อาศัยทีต่ ่ อเครื่องใช้ ทีท่ ราบโหลดแน่ นอน ให้
ชนิดของอาคาร ประเภทของโหลด ดีมานด์ แฟกเตอร์ คํานวณโหลดดังนี้
1. อาคารทีอ่ ยู่อาศัย เครื่องหุงต้ มอาหาร 10 A + 30% ของส่ วนทีเ่ กิน 10 A
เครื่องทํานํา้ ร้ อน กระแสใช้ งานจริงของสองตัวแรก L = Lmax + 0.4 Lr
ทีใ่ ช้ งาน + 25% ของตัวทีเ่ หลือทั้งหมด
เครื่องปรับอากาศ 100% โดยที่
2. อาคารสํ านักงาน
ร้ านค้ ารวมถึง
เครื่องหุงต้ มอาหาร กระแสใช้ งานจริงของตัวทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ด + 80% และ
ของตัวใหญ่ รองลงมา + 60% ของตัวที่
L = โหลดรวม ( A , VA )
ห้ างสรรพสิ นค้ า เหลือทั้งหมด Lmax = โหลดเต้ ารับทีม่ ขี นาดสู งสุ ด ( A , VA )
เครื่องทํานํา้ ร้ อน 100% ของสองตัวแรกทีใ่ หญ่ ทสี่ ุ ด
+ 25% ของตัวทีเ่ หลือทั้งหมด Lr = โหลดเต้ ารับทีเ่ หลือ ( A , VA )
เครื่องปรับอากาศ 100%
สํ าหรับโหลดของระบบเมนไม่ ได้ ให้ ข้อกําหนดไว้ ดังนั้นการ
3. โรงแรม และ เครื่องหุงต้ มอาหาร เหมือนข้ อ 2
อาคารประเภทอืน่ คํานวณโหลดรวมก็ใช้ วธิ ีของการคํานวณโหลด สายป้ อน
เครื่องทํานํา้ ร้ อน เหมือนข้ อ 2
เครื่องปรับอากาศ 75%
ประเภทแยกแต่ ละห้ อง
7 8
ตัวอย่ างที่ 9.1 (ต่ อ)
ตัวอย่ างที่ 9.1 บ้ านหลังหนึ่งมีโหลดไฟฟ้าดังนี้
วิธีทาํ
- ดวงโคมหลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 x 36 W ( 100 VA ) 10 ชุ ด
โหลดไฟฟ้าแสงสว่ าง
- ดวงโคมหลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 x 18 W ( 100 VA ) 20 ชุ ด
ดวงโคมหลอดฟลูออเรสเซนต์ 36 W 100 x 10 = 1000 VA
- เต้ ารับใช้ งานทัว่ ไป 30 ชุ ด
ดวงโคมหลอดฟลูออเรสเซนต์ 18 W 100 x 20 = 2000 VA
- เครื่องทํานํา้ ร้ อน ขนาด 1500 W 2 ชุ ด
รวม = 3000 VA
- เครื่องปรับอากาศขนาด 12000 BTU ( 1500 VA ) 3 เครื่อง
2000 VA แรก D.F. 100% = 2000 VA
ให้ คาํ นวณหาโหลดรวมของบ้ านหลังนี้
( 3000 – 2000 ) D.F. 35% = 350
VA
รวม = 2350VA

9 10

ตัวอย่ างที่ 9.1 (ต่ อ)


ตัวอย่ างที่ 9.2 อพาร์ ทเมนต์ แห่ งหนึ่งมี 10 ชั้นๆ ละ 20 ห้ อง
โหลดเต้ ารับสํ าหรับใช้ งานทัว่ ไป 180 x 30 = 5400 VA ในแต่ ละห้ องมีโหลดดังนี้
เครื่องทํานํา้ ร้ อน 1500 x 2 = 3000 VA - ไฟฟ้าแสงสว่ าง หลอดฟลูออเรสเซต์ 1 x 18 W (100 VA) 6 ชุ ด
เครื่องปรับอากาศ 1500 x 3 = 4500 VA - ไฟฟ้าหลอดไส้ 60 W 2 ชุ ด
โหลดรวมทั้งหมด = 2350 + 5400 + 3000 + 4500 - โหลดเต้ ารับ 6 ชุ ด
= 15250 VA - เครื่องปรับอากาศขนาด 12000 BTU 1 เครื่อง
สํ าหรับระบบไฟฟ้า 1 เฟส 220V - เครื่องทํานํา้ ร้ อนขนาด 3000 W 1 ชุ ด
กระแสโหลด = 15250 220 = 69.3 A
ใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 30 ( 100 ) , 220 V

11 12
ตัวอย่ างที่ 9.2 (ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.2 (ต่ อ)
โหลดส่ วนกลางมีดงั นี้ วิธีทาํ
- ลิฟต์ 4 เครื่อง เครื่องละ 15 kVA โหลดของแต่ ละห้ อง
- ปั๊มนํา้ 2 เครื่อง ” 5 kVA ไฟฟ้าแสงสว่ าง หลอดฟลูออเรสเซนต์ 6 x 100 = 600 VA
หลอดไส้ 2 x 60 = 120 VA
- ไฟฟ้าแสงสว่ าง 10 kVA
รวม = 720 VA
- เครื่องปรับอากาศ 6 kVA
โหลดเต้ ารับ 6 x 180 = 1080 VA
จงคํานวณหา
เครื่องปรับอากาศ 12000 BTU = 1500 VA
- โหลดของแต่ ละห้ อง
เครื่องทํานํา้ ร้ อน = 3000 VA
- โหลดสายป้อนแต่ ละชั้น รวมโหลดแต่ ละห้ อง = 720 + 1080 + 1500 + 3000 = 6300
- โหลดของทั้งอาคาร VA
กระแสโหลด = 6300/220 = 28.6 A
13 14
ใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 15 ( 45 A ) 220 V

ตัวอย่ างที่ 9.2 (ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.2 (ต่ อ)


โหลดสายป้อนแต่ ละชั้น โหลดของทั้งอาคาร
1) ไฟฟ้าแสงสว่ าง 20 x 720 = 14400 VA โหลดของห้ องชุดรวม
2000 VA แรก D.F. 100% = 2000 VA 1) ไฟฟ้าแสงสว่ าง 2010720
1000 = 144 kVA
( 14400 – 2000 ) D.F. 35% = 4340 VA 2 kVA แรก D.F. 100% = 2 kVA
รวม = 6340VA ( 144 – 2 ) D.F. 35% = 49.7 kVA
รวม = 51.7
= 6.34 kVA
2) โหลดเต้ ารับ 20101080 = 216 kVA
2) โหลดเต้ ารับ 1000= 21.6 kVA
201080 1000
20101500 =
3) เครื่องปรับอากาศ 300 kVA
3) เครื่องปรับอากาศ 201500 = 30.0 kVA
1000
1000
4) เครื่องทํานํา้ ร้ อน ( 2 x 3 ) + ( 198 x 3 x 0.25 )
4) เครื่องทํานํา้ ร้ อน ( 2 x 3 ) + ( 18 x 3 x 0.25 ) =19.5 kVA = 154.5 kVA
โหลดสายป้อนแต่ ละชั้น = 6.34 + 21.6 + 30.0 + 19.5 โหลดรวมของห้ องชุด = 722.2 kVA
= 77.44 kVA 15 16
ตัวอย่ างที่ 9.2 (ต่ อ)
โหลดของส่ วนกลาง
9.3 การคํานวณโหลดโดยการรวมวงจรย่ อย
ลิฟต์ 4 x 15 = 60 kVA ( Load Calculation by Adding Branch Circuits )
ปั๊มนํา้ 2x5 = 10 kVA
ไฟฟ้าแสงสว่ าง = 10 kVA
วิธีการคํานวณโหลดรวมของสถานประกอบการทีไ่ ด้ รับความนิยม
มากอย่ างหนึ่ง คือ การรวมวงจรย่ อยทั้งหมดเข้ าด้ วยกัน แล้ วใช้ ค่า
เครื่องปรับอากาศ = 6 kVA
Demand Factor ( D.F. ) ทีเ่ หมาะสมคูณเข้ าไป การทีว่ ธิ ีนีไ้ ด้ รับ
โหลดส่ วนกลาง = 86 kVA
ความนิยมมากเนื่องจากวิธีนีเ้ ป็ นผลโดย ตรงจากการออกแบบระบบ
โหลดของทั้งอาคาร= โหลดรวมห้ องชุด + โหลดส่ วนกลาง
ไฟฟ้า และค่ าโหลดทีค่ าํ นวณ ได้ ก็ใกล้ เคียงกับโหลดไฟฟ้าที่
= 722.2 + 86 = 808.2 kVA
ผู้ออกแบบคาดว่ าจะใช้ จริง
ใช้ หม้ อแปลงขนาด 1000 kVA
หมายเหตุ หม้ อแปลงขนาดมาตรฐานมีดงั นี้
315 , 400 , 500 , 630 , 800 , 1000
1250 , 1600 , 2000 , 2500
17 18
kVA

ขัน้ ตอนการคํานวณ 3. ให้ เขียนเลขทีว่ งจรย่ อยไปยังแผงจ่ ายไฟทีก่ าํ หนดให้ แล้ ว โดยพยายามให้
โหลดสามเฟสเป็ นแบบสมดุลทีส่ ุ ดเท่ าทีท่ าํ ได้
ขั้นตอนของการคํานวณโหลด โดยการรวมวงจรย่ อย มีดงั ต่ อไปนี้
4.ทํารายการโหลด ( Load Schedule ) ของแผงจ่ ายไฟซึ่งก็คอื การรวมวงจร
1.กําหนดโหลดไฟฟ้าของสถานประกอบการ เช่ น โหลดแสงสว่ าง , เต้ ารับ ,
อุปกรณ์ ไฟฟ้าทีต่ ดิ ตั้งถาวร และอุปกรณ์ พเิ ศษอืน่ ๆ ย่ อยทีอ่ ยู่ในเฟสเดียวกันเข้ าด้ วยกันแล้ วรวม โหลดของทั้ง 3 เฟส เข้ า
2.รวมโหลดทีม่ ขี นาดเล็กเป็ นวงจรย่ อย ซึ่งอาจเป็ น
ด้ วยกัน คือ โหลดรวมทั้งหมดทีต่ ่ ออยู่ Total Connected Load
- วงจรย่ อยแสงสว่ าง 5.ถ้ าสถานประกอบการทีม่ ขี นาดใหญ่ มีโหลดไฟฟ้าจํานวนมาก และ
- วงจรย่ อยเต้ ารับ จําเป็ นต้ องมีแผงจ่ ายไฟจํานวนมาก ก็ให้ ทาํ Load Schedule ของทุกแผง
- วงจรย่ อยพิเศษ จ่ ายไฟจนครบ

19 20
6. สํ าหรับโหลดไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่ น ลิฟต์ ปั๊มของระบบประปา และนํา้ เสี ย , ระบบปรับ
8. การทํา Feeder Schedule นั้น เนื่องจากโหลด
อากาศเป็ นต้ น อาจจ่ ายไฟให้ เป็ นสายป้อน โหลดไฟฟ้าของสายป้อนเหล่ านี้ ต้ องคิดไว้ ไฟฟ้าของแต่ ละแผงจ่ ายไฟมีจาํ นวนมาก และ
เพือ่ นําไปรวมกับโหลดของ แผงจ่ ายไฟ มีแผงจ่ ายไฟหลายแผง ดังนั้นโอกาสทีใ่ ช้ ไม่
7. นําโหลดรวมของแผงจ่ ายไฟมารวมกัน โดยทําเป็ นตารางโหลดสายป้อน Feeder พร้ อมกันมีอยู่สูง จึงอาจใช้ D.F. เข้ ามาช่ วย
Schedule เพือ่ ให้ สายป้อนเมน ( Main Feeder ) มีขนาด
เหมาะสม ค่ า D.F. นี้ ต้ องเป็ นค่ าทีเ่ หมาะสม
ซึ่งจะกําหนดค่ าให้ ต่อไป
9. ค่ าโหลดทีไ่ ด้ จากข้ อ 8 เมือ่ รวมกับโหลดสาย
ป้อนขนาดใหญ่ อนื่ ๆ คือ ค่ าโหลดรวมทั้งหมด
ของ สถานประกอบการ

21 22

ค่ า Demand Factor ตารางที่ 9.4 ค่ า Demand Factor

ค่ า D.F. สํ าหรับใช้ กบั แผงจ่ ายไฟ หรือ สายป้ อน ยังไม่ มกี ฎ


ข้ อบังคับทีแ่ น่ นอน ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้า ส่ วนมากใช้ ค่า D.F. จํานวนแผงจ่ ายไฟ D.F.
ตามประสบการณ์ ของตนเอง 1 1.00
ค่ า D.F. ทีไ่ ด้ จากประสบการณ์ ในประเทศ สหรัฐอเมริกา และ 2-3 0.90
ตามมาตรฐาน IEC 60439-1 สํ าหรับแผงจ่ ายไฟทีจ่ ่ ายโหลด 4-6 0.80
ลักษณะคล้ ายกันหรือ สายป้ อนหลายชุ ด มีดงั ตารางที่ 9.4 7-10 0.70
มากกว่ า 10 0.60

23 24
การใช้ ค่า DF = 0.8
การเผือ่ โหลด
เพือ่ เป็ นการเผือ่ โหลดในอนาคต ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าหลาย
สํ าหรับระบบไฟฟ้าซึ่งผู้ออกแบบทราบว่ าจะต้ องมีการขยาย โหลดในอนาคต ท่ าน เพือ่ ความสะดวกจะใช้ ค่า D.F. เดียว คือ0.80 เสมอ กล่ าวคือ
ก็ต้องเผือ่ โหลดไว้ ได้ และสํ าหรับระบบไฟฟ้า ทัว่ ไปนั้นการขยายโหลดใน จากผลการออกแบบไฟฟ้าจะสามารถรวมโหลดทั้งหมดเข้ าด้ วยกัน
อนาคตจะมีอยู่เสมอ นั้นคือการหาค่ า Total Connected Load และเอาค่ า 0.8 คูณเข้ า
ดังนั้น ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าควรเผือ่ โหลดสํ าหรับอนาคตไว้ ด้วย ไปก็จะได้ ขนาดของระบบไฟฟ้า ( Demand Load )
การเผือ่ โหลดในอนาคตขึน้ อยู่กบั ผู้ออกแบบระบบไฟฟ้า โดยทัว่ ไปจะ
Demand Load = 0.80 x Total Connected Load
เผือ่ ไว้ ประมาณ 20 - 30%

25 26

7.4 การทํารายการสายป้ อน และสายประธาน ตัวอย่ างที่ 9.3 ให้ ระบบไฟฟ้าของสถานประกอบการแห่ งหนึ่งมีแผงบริภณ ั ฑ์


ประธาน
( Feeder Schedule ) ( Main Distribution Board , MDB ) จ่ ายไฟให้ แผงจ่ ายไฟ 4 แผง ซึ่งมีโหลด
ในการออกแบบระบบไฟฟ้านั้น หลังจากทีไ่ ด้ ออกแบบแผงจ่ ายไฟย่ อย และทํา ดังนี้
รายการโหลด ( Load Schedule ) เรียบร้ อยแล้ ว ต้ องนําโหลดของแผงจ่ ายไฟย่ อย ซึ่งมีอยู่ แผง Load ( kVA ) Total Connected Load
จํานวนมาก มาทํา รายการสายป้ อน ( Feeder Schedule ) เพือ่ หาขนาดของเซอร์ กติ เบรก
Phase A B C ( kVA )
เกอร์ และสายป้ อน
LP1A 15 16 17 48
การทํารายการสายป้ อนนั้นเนื่องจากสายป้ อนเมนจะจ่ ายไฟให้ แผง จ่ ายไฟย่ อย
หลายแผงจึงสามารถใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์ ทเี่ หมาะสม ดังทีก่ ล่ าวมาแล้ วได้ LP1B 20 21 19 60
สํ าหรับรายการตัวนําประธาน ( Main Schedule ) การคํานวณเหมือนกับการทํา LP1C 10 10 10 30
รายการสายป้ อน แต่ ต้องคํานึงถึงขนาดมิเตอร์ ตามการไฟฟ้า และขนาดหม้ อแปลง LP1D 14 14 14 42
และให้ Spare อีก 1 แผง 30 kVA
ให้ ทาํ Main Schedule สํ าหรับแผง MDB และเขียน Single Line Diagram

27 28
ตัวอย่ างที่ 9.3 (ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.3 (ต่ อ)
วิธีทาํ แผง LP1B
แผง LP1A MCCB = 2 x 60 = 120 A
ขนาด CB ให้ ใช้ 2 เท่ าของขนาด kVA ตาม = 125 AT
สายไฟฟ้า 4 x 70 , G-16 mm2
 MCCB = 2 x 48 =
96 A ท่ อร้ อยสาย Φ 65 mm ( 2 1/2” )
= 100 AT แผง LP1C
สายไฟฟ้า 4 x 50 , G-10 mm2
Φ
MCCB = 2 x 30 = 60 A
ท่ อร้ อยสาย 50 mm ( 2” ) = 60 AT
สายไฟฟ้า 4 x 25 , G-6 mm2
ท่ อร้ อยสาย Φ 40 mm ( 1 1/2” )
29 30

ตัวอย่ างที่ 9.3 (ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.3 (ต่ อ)


แผง LP1D แผง DB จ่ ายไฟให้ แผงจ่ ายไฟย่ อย 4 แผง
MCCB = 2 x 42 = 84 A อาจใช้ D.F. 0.8 ได้
= 90 AT  Demand Load = 210 x 0.8
สายไฟฟ้า 4 x 35 , G-10 mm2 = 168 kVA
ท่ อร้ อยสาย หรือ IM 1681000
Φ 40 mm ( 1 1/2” ) = 3 380
= 168 x 1.52
Total Connected Load ของแผง DB = 255 A
= 48 + 60 + 30 + 42 + ถ้ าให้ โหลดของ MDB เป็ นแบบต่ อเนื่อง
30  Main CB = 1.25 x 255
= 210 kVA = 319 A
31 32
ตัวอย่ างที่ 9.3 (ต่ อ)
Single Line Diagram ของแผง MDB สามารถเขียนได้ ดงั นี้
ถ้ าให้ โหลดของ MDB เป็ นแบบต่ อเนื่อง
Main CB = 1.25 x 255 = 319 A
4x240,G-25 mm.2 T-4
เลือก Main CB = 350 AT MDB 4" IMC

สายไฟฟ้า 4 x 240 , G-25 mm2 350AT

ท่ อร้ อยสาย Φ 90 mm ( 3 1/2” )


100AT 125AT 60AT 90AT 60AT

4x50,G-10 mm2 T-4

4x70,G-16 mm2 T-4

4x35,G-10 mm2 T-4


4x25,G-6 mm2 T-4
2 1/2" IMC

2 1/2" IMC

2" IMC

2" IMC
LP1A LP1B LP1C LP1D SPARE

รู ปที่ 9.1 Single Line Diagram ของตัวอย่ างที่ 9.3


33 34

9.5 การคํานวณโหลดของอาคารชุ ด รูปแบบการจ่ ายไฟฟ้ าสําหรั บอาคารชุด


อาคารชุดมีรูปแบบการจ่ ายไฟฟ้าดังแสดงในรู ปที่ 9.2
ตาม พ.ร.บ. อาคารชุด พ.ศ. 2522 มีกรรมสิ ทธิ์เช่ นเดียวกับบ้ านทีอ่ ยู่ การไฟฟ้ าฯ

อาศัยหรือร้ านค้ าทัว่ ไป ดังนั้นการไฟฟ้าฯ ซึ่งเป็ นหน่ วยงานบริการ


มิเตอร์การไฟฟ้ าฯ
CT
Wh
สาธารณูปโภค ของรัฐจะต้ องบริการไฟฟ้าให้ แก่ ผู้ใช้ ไฟฟ้าโดยตรง และ VT
12 kV หรือ 24 kV

เนื่องจากอาคารชุดส่ วนมากเป็ นอาคารสู งซึ่งต้ องการระบบไฟฟ้าที่ หม้อแปลง 416/240 V

มาตรฐานสู ง ดังนั้นทางการไฟฟ้าฯ จึงมีกฎเกณฑ์ ข้ อกําหนดของระบบ ตัวนําประธาน

ไฟฟ้าสํ าหรับอาคารชุดโดยเฉพาะ ในหัวข้ อที่ 9.5 นี้ จะกล่ าวเกีย่ วกับการ บริภณั ฑ์ประธานแรงตํา่
(MDB)

ออกแบบระบบไฟฟ้า ในอาคารชุดโดยยึด มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า


สํ าหรับ ประเทศไทย ของ ว.ส.ท. เป็ นหลัก
สายป้ อน
380/220 V

แผงเครื่องวัดรอง

Wh Wh

สายป้ อนจ่ายโหลดห้องชุด
380/220 V

รู ปที่ 9.2 ลักษณะการจ่ ายไฟของอาคารชุด


ห้องชุด
35 Load
36
การคํานวณโหลด
โหลดของอาคารชุด แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ 1. การคํานวณโหลดส่ วนกลาง
1. โหลดส่ วนกลาง หมายถึง โหลดสํ าหรับส่ วนรวมทีใ่ ช้ ร่วม
กัน เช่ น การคํานวณโหลดส่ วนกลางนี้ ทําได้ จากการรวมโหลดของ
- ระบบทําความเย็น หรือ ปรับอากาศส่ วนกลาง
อุปกรณ์ ไฟฟ้าต่ างๆ ทีต่ ดิ ตั้งจริง ซึ่งอาจใช้ D.F. ( Demand
Factor ) ทีเ่ หมาะสมได้ ตามวิธีการคํานวณโหลดดังทีไ่ ด้ กล่ าวไว้ ใน
- ห้ องสํ านักงานอาคารชุด
หัวข้ อ 9.1-9.6
- แสงสว่ างทางเดิน
- ระบบลิฟต์
- ระบบสุ ขาภิบาล
- ฯลฯ
2. โหลดห้ องชุด หมายถึง โหลดทีใ่ ช้ สําหรับห้ องแต่ ละห้ อง
แยกกัน 37 38

มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง
2. การคํานวณโหลดห้ องชุด 2)
- พืน้ ทีไ่ ม่ เกิน 55 m2
ห้ องชุ ดประเภททีอ่ ยู่อาศัย L = 20 x A + 1500 VA
1) ไม่ มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง - พืน้ ที่ 55-180 m2
- พืน้ ทีไ่ ม่ เกิน 55 m2 L = 20 x A + 3000 VA
L = 90 x A + 1500 VA - พืน้ ทีม่ ากกว่ า 180 m2
- พืน้ ที่ 55-180 m2 L = 20 x A + 6000 VA
L = 90 x A + 3000 VA โดยที่
- พืน้ ทีม่ ากกว่ า 180 m2 L = โหลดเป็ น ( VA )
L = 90 x A + 6000 VA A = พืน้ ทีไ่ ม่ รวมเฉลียงเป็ น ( m2 )
39 40
ตัวอย่ างที่ 9.5 ห้ องอาคารชุด ซึ่งมีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ขนาด
ตัวอย่ างที่ 9.4 ห้ องอาคารชุดไม่ มรี ะบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ขนาด พืน้ ทีไ่ ม่ รวมเฉลียง 100 m2 ให้ หาโหลด และขนาดเครื่องวัด
พืน้ ทีไ่ ม่ รวมเฉลียง 80 m2 วิธีทาํ
ให้ หาโหลด และขนาดเครื่องวัด พืน้ ทีม่ ากกว่ า 55 m2 แต่ น้อยกว่ า 180 m2
วิธีทาํ L = 20 x A + 3000 VA
พืน้ ทีม่ ากกว่ า 55 m2 แต่ น้อยกว่ า 180 m2 = 20 x 100 + 3000 VA
L = 90 x A + 3000 VA = 5000 VA
IL = 5000/220 = 22.7 A
= 90 x 80 + 3000 ”
ใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 15 ( 45 ) A , 220 V
= 10200 ”
ในการหาขนาดมิเตอร์ น้ัน สามารถดูได้ จากตารางที่ 9.6 และ 9.7
IL = 10200/220 = 46.4 A ได้ เลย เนื่องจากตารางนีไ้ ด้ คาํ นวณจากโหลดทีก่ าํ หนดให้ แล้ ว
 ใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 30 ( 100 ) A , 220 V

41 42

ห้ องชุ ดประเภทสํ านักงาน หรือ ร้ านค้ าทัว่ ไป ตัวอย่ างที่ 9.6 ห้ องชุ ดสํ านักงานมีขนาด 80 m2 ไม่ มรี ะบบทํา
1) ไม่ มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ความเย็นจากส่ วนกลาง ให้ หาโหลด และ
L = 155 x A VA ขนาดมิเตอร์
2) มีระบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง วิธีทาํ
L = 85 x A VA L = 155 x A VA
สํ าหรับห้ องชุดประเภทสํ านักงาน หรือ ร้ านค้ าทีม่ โี หลดพิเศษ
= 155 x 80 VA
ขนาดใหญ่ เช่ น เตาไฟฟ้า ตู้แช่ ขนาดใหญ่ เป็ นต้ น ต้ องพิจารณาเป็ น
พิเศษตามการใช้ โหลดจริง = 12400 VA
IL = 12400/220 = 56.4
A 
ต้ องใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 30 ( 100 ) A , 220 V
43 44
ตัวอย่ างที่ 9.7 ห้ องชุดประเภทร้ านค้ ามีขนาด 200 m2 ไม่ มรี ะบบทํา
ความเย็นจากส่ วนกลาง และมีตู้แช่ ห้ องชุ ดประเภทอุตสาหกรรม
ขนาด 15 kVA , 380 V ให้ หาขนาดโหลด และมิเตอร์ โหลดของห้ องชุ ดทั้งกรณีมี และไม่ มรี ะบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง
วิธีทาํ ให้ คดิ
L = 155 x A VA L = 220 x A VA
= 155 x 200 ” หรือใช้ โหลดตามทีต่ ดิ ตั้งจริง
= 31000 ”
ตู้แช่ = 15000 ”
โหลดรวม = 46000 ”
= 46000
IL 3 380 = 69.9 A
 ต้ องใช้ มเิ ตอร์ ขนาด 30 ( 100 ) A , 380 V
45 46

ตารางที่ 9.5 สู ตรการคํานวณโหลดของห้ องชุด การกําหนดขนาดเครื่ องวัดหน่ วยไฟฟ้ า


ประเภทห้ องชุด พืน้ ทีห่ ้ อง( m2 ) สู ตรการคํานวณ ( VA )
เครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าสํ าหรับอาคารชุดมี
ไม่ มรี ะบบทําความเย็น มีระบบทําความ 1. เครื่องวัดรวมทีต่ ้ นทางเพือ่ แบ่ งแยกทรัพย์ สิน และเก็บค่ าไฟฟ้าส่ วนกลาง
จากส่ วนกลาง ย็นจากส่ วนกลาง
2. เครื่องวัดรองสํ าหรับผู้ขอใช้ ไฟฟ้าแต่ ละรายของส่ วนห้ องชุด
1. ห้ องชุดประเภททีอ่ ยู่อาศัย ไม่ เกิน 55 L = 90 x A + 1500 L = 20 x A + 1500
ไม่ เกิน 180L = 90 x A + 3000 L = 20 x A + 3000 ในการคิดค่ าไฟฟ้านั้นคิดจากเครื่องวัดรองตามประเภทการใช้ ไฟฟ้า และค่ าไฟฟ้า
เกิน 180 L = 90 x A + 6000 L = 20 x A + 6000 ส่ วนกลางคิดจากผลรวมหน่ วยของเครื่องวัดรวม ลบด้ วยผลรวมหน่ วยของเครื่องวัด
2. ห้ องชุดประเภทสํ านักงาน ทุกขนาด L = 155 x A L = 85 x A รอง
หรือร้ านค้ าทัว่ ไป
ในการหาขนาดเครื่องวัดนั้น ให้ นําโหลดทีค่ าํ นวณได้ ไปคํานวณหาขนาดเครื่องวัด
3. ห้ องชุดทีใ่ ช้ ไฟฟ้ า ทุกขนาด ตามสภาพทีใ่ ช้ จริง แสดงรายการคํานวณ
มากเป็ นพิเศษ หรือใช้ ตามตาราง
4. ห้ องชุดประเภทอุตสาหกรรม ทุกขนาด L = 220 x A

47 48
ตารางที่ 9.7 ขนาดของเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํา่ สํ าหรับห้ องชุดประเภทสํ านักงานหรือร้ านค้ า ทัว่ ไป
ตารางที่ 9.6 ขนาดของเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํา่ สํ าหรับห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย
( สํ าหรับการไฟฟ้านครหลวง )
( สํ าหรับการไฟฟ้านครหลวง )
ลําดับที่ ประเภท พืน้ ทีห่ ้ อง โหลด ขนาดเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้า
ลําดับที่ ประเภท พืน้ ทีห่ ้ อง โหลด ขนาดเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้า ( m2 ) (A)
( m2 ) (A) 1. ไม่ มรี ะบบทําความ 40 30 15 ( 45 ) A 1P
1. ไม่ มรี ะบบทําความเย็น 55 30 15 ( 45 ) A 1P เย็นจากส่ วนกลาง 105 75 30 ( 100 ) A 1P
จากส่ วนกลาง 150 75 30 ( 100 ) A 1P 140 100 50 ( 150 ) A 1P
180 100 50 ( 150 ) A 1P 125 30 15 ( 45 ) A 3P
180 30 15 ( 45 ) A 3P 320 75 30 ( 100 )
A 3P
483 75 30 ( 100 ) A 3P 425 100 50 ( 150 ) A 3P
666 100 50 ( 150 ) A 3P 850 200 200 A 3P
1,400 200 200 A 3P 1,700 400 400 A 3P
2,866 400 400 A 3P
49 50

ตารางที่ 9.8 ตารางโหลดประเมิน และขนาดของเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํา่


สํ าหรับห้ องชุดประเภทอยู่อาศัย ตารางที่ 9.9 ตารางโหลดประเมิน และขนาดของเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าแรงตํา่
( สํ าหรับการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค ) สํ าหรับห้ องชุดประเภทสํ านักงานหรือร้ านค้ าทัว่ ไป
ลําดับที่ ประเภท พืน้ ทีห่ ้ อง โหลดสู งสุ ดของ ขนาดเครื่องวัดฯ ( สํ าหรับการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค )
( m2 ) เครื่องวัดฯ ( A ) ลําดับที่ ประเภท พืน้ ทีห่ ้ อง โหลดสู งสุ ดของ ขนาดเครื่องวัดฯ
1. ไม่ มรี ะบบทําความ 55 36 15 ( 45 ) A 1P (m ) 2 เครื่องวัด ( A )
เย็นจากส่ วนกลาง 150 80 30 ( 100 ) A 1P 1. ไม่ มรี ะบบทําความ 40 36 15 ( 45 ) A 1P
180 36 15 ( 45 ) A 3P เย็นจากส่ วนกลาง 105 80 30 ( 100 ) A 1P
483 80 30 ( 100 ) A 3P 125 36 15 ( 45 ) A 3P
2. มีระบบทําความเย็น 35 12 5 ( 15 ) A 1P 320 80 30 ( 100 ) A 3P
เย็นจากส่ วนกลาง 180 36 15 ( 45 ) A 1P 2. มีระบบทําความ 80 36 15 ( 45 ) A 1P
525 80 30 ( 100 ) A 1P เย็นจากส่ วนกลาง 190 80 30 ( 100 ) A 1P
690 36 15 ( 45 ) A 3P 230 36 15 ( 45 ) A 3P
2,475 80 30 ( 580 80 30 ( 100 ) A 3P
100 ) A 3P
51 52
การกําหนดขนาดตัวนําประธานเข้ าห้ องชุด
การป้ องกันกระแสเกินของเครื่ องวัด
( เฉพาะสายแรงดันตํ่าจากเครื่ องวัดรองเข้ าห้ องชุด )
ต้ องติดตั้งเซอร์ กติ เบรกเกอร์ ทางด้ านไฟเข้ าเครื่องวัดหน่ วยไฟฟ้าทุก
เครื่อง เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ต้องมีขนาดพิกดั ดังนี้ พิกดั กระแสของตัวนําประธาน
IC  ICB
และต้ องมีขนาดไม่ เล็กกว่ า 6 mm2
ICB  1.25 IL
ขนาดของบริ ภณ ั ฑ์ ประธานของแต่ ละห้ องชุด
และให้ ใช้ ค่าขนาดใกล้ เคียงทีส่ ู งขึน้ ถัดไป แต่ ต้องไม่ เกินค่ าทีก่ าํ หนดใน IM  ICB
ตารางที่ 9.6 , 9.7 , 9.8 และ 9.9 โดยที่
IC = ขนาดพิกดั กระแสของตัวนํา ( A )
IM = ขนาดพิกดั กระแสของบริภณ
ั ฑ์ ประธาน ( A )
ICB = ขนาดพิกดั กระแสของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ ( A )
IL = กระแสโหลด ( A )
53 54

ตัวอย่ างที่ 9.8 ห้ องชุดทีอ่ ยู่อาศัยไม่ มรี ะบบทําความเย็นจากส่ วนกลาง ขนาด ตัวอย่ างที่ 9.8 (ต่ อ)
80 m2 ( ตัวอย่ างที่ 9.4 ) ให้
ขนาดสาย T-4 2 x 25 mm2 ( 77 A )
หาขนาด
ขนาด เซอร์ กติ เบรกเกอร์
- ตัวนําประธาน
ICB = 58 A
- เซอร์ กติ เบรกเกอร์
- บริภณ ั ฑ์ ประธาน AT = 60 A , 1P
วิธีทาํ จากตัวอย่ างที่ 9.4 เพือ่ ความสะดวก และเพือ่ เป็ นการเผือ่ โหลดในอนาคตด้ วย อาจใช้ ขนาด
IL = 46.4 A เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ตามตารางที่ 10.1 ( ก.ฟ.น. ) ได้
มิเตอร์ ขนาด 30 ( 100 ) A , 1P เครื่องวัด 30 ( 100 ) A , 1P
ขนาดตัวนําประธาน CB = 100 A
 ICB  1.25 IL = 1.25 x 46.4 = 58 A เมือ่ ใช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ขนาดโตขึน้ ตัวนําประธานต้ องโตตามไปด้ วย
ตัวนําประธาน ( T-4 ) = 2 x 50 mm2 ( 117 A )

55 56
การกําหนดขนาดสายป้ อน โหลดสําหรั บสายป้ อน
( จาก MDB ไปยังแผงเครื่ องวัดรอง ) โหลดสํ าหรับสายป้อนให้ คาํ นวณโดยการรวมโหลดของห้ อง ชุด แล้ วใช้
ตัวนําประธาน
ค่ า โคอินซิเดนท์ แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9.10 และ 9.11

บริภณั ฑ์ประธานแรงตํา่
ขนาดสายป้ อน
ขนาดสายป้ อนให้ คาํ นวณโดยคิดว่ าโหลดทีค่ าํ นวณเป็ นแบบต่ อเนื่อง
(MDB)

และขนาดไม่ เล็กกว่ าเครื่องป้ องกันกระแสเกิน


สายป้ อน IF ICB

แผงเครื่องวัดรอง

จ่ายโหลด
รู ปที่ 9.3 แสดงตําแหน่ งสายป้ อน 57 58

ขนาดเครื่ องป้ องกัน ตารางที่ 9.10 ค่ าโคอินซิเดนท์ แฟกเตอร์ สํ าหรับห้ องชุ ดประเภทอยู่
อาศัย
ขนาดของเซอร์ กติ เบรกเกอร์ หาได้ ดงั นี้
ลําดับห้ องชุ ด โคอินซิเดนท์ แฟกเตอร์
ICB = 1.25 ILF
1-10 0.9
11-20 0.8
โดยที่
21-30 0.7
IF = พิกดั กระแสสายป้ อน ( A )
31-40 0.6
ILF = โหลดของสายป้อน ( A )
41 ขึน้ ไป 0.5
ICB = พิกดั กระแสเซอร์ กติ เบรกเกอร์ ( A )

59 60
ตัวอย่ างที่ 9.9 อาคารชุดทีอ่ ยู่อาศัยแห่ งหนึ่ง ไม่ มรี ะบบทําความเย็น
ตารางที่ 9.11 ค่ าโคอินซิเดนท์ แฟกเตอร์ สําหรับห้ องชุดประเภทสํ านักงาน ส่ วนกลาง แต่ ละชั้นมี 15 ห้ องชุด ประกอบด้ วย
หรือ ร้ านค้ าทัว่ ไปและประเภทอุตสาหกรรม ห้ องชุดแบบ A ขนาดพืน้ ที่ 80 m2 10
หน่ วย
” B ” 100 m2 5 หน่ วย
ลําดับห้ องชุด โคอินซิเดนท์ แฟกเตอร์ ให้ หาขนาดสายป้อน และ เซอร์ กติ เบรกเกอร์
ระบบไฟฟ้าแรงดันตํา่ 380/220 V 3 เฟส 4 สาย
1-10 1.0
11 ขึน้ ไป 0.85
วิธีทาํ
อาคารชุดแบบ A
โหลด = 80 x 90 + 3000= 10200 VA= 10.2 kVA
หมายเหตุ ลําดับห้ องชุดให้ เริ่ มจากห้ องชุดทีม่ โี หลดสู งสุ ดก่ อน
อาคารชุดแบบ B
โหลด = 100 x 90 + 3000 = 12000 VA= 12.0
kVA
61 62

ตัวอย่ างที่ 9.9 (ต่ อ)


โหลดสายป้ อน การกําหนดขนาดหม้ อแปลง
ลําดับ 1-10 D.F. 0.9 = 0.9 ( 5 x 12 + 5 x 10.2 ) = 99.9 โหลดของหม้ อแปลง
kVA
” 11-15 D.F. 0.8 = 0.8 ( 5 x 10.2 ) = 40.8 การคํานวณโหลดของหม้ อแปลงให้ ทาํ เช่ นเดียวกับสายป้อน
kVA 140.7103 กล่ าวคือให้ หาโหลดของแต่ ละห้ องชุดนํามารวมกัน แล้ วใช้ ค่า โค
3 380 อินซิเดนท์ แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9.10 และ 9.11
โหลดรวม = 140.7 kVA
IL = = 213.9 A
เนื่องจากโหลดเป็ นแบบต่ อเนื่อง

IC = 1.25 x 213.9 = 267.3 A
ใช้ CB = 280 A
ใช้ สาย T-4 ในท่ อร้ อยสายโลหะ 4 x 185 mm2
Φ
G-25mm2 63 64
ขนาดหม้ อแปลง
ขนาดเครื่ องป้ องกันกระแสเกิน
โหลดทีค่ าํ นวณได้ ถอื ว่ าเป็ นโหลดแบบต่ อเนื่อง
 IT = 1.25 IL
IC  1.25 IL
หรือ TR ( kVA ) = 1.25 L ( kVA )
ขนาดตัวนําประธานแรงตํ่า
โดยที่
ขนาดตัวนําประธานแรงตํา่ ของหม้ อแปลงหาได้
IT = กระแสของหม้ อแปลง ( A )
IL = กระแสของโหลด ( A )
IC = 1.25 IL
L = โหลด ( kVA )
และยอมให้ ใช้ โคอินซิเดนซ์ แฟกเตอร์ ตามตารางที่ 9.10 และ 9.11
TR = พิกดั ของหม้ อแปลงซึ่งเป็ นขนาดพิกดั
ได้
เมือ่ ยังไม่ ใช้ พดั ลมเป่ า ( kVA )
65 66

ตัวอย่ างที่ 9.10 อาคารชุ ดทีอ่ ยู่อาศัยแห่ งหนึ่งสู ง 20 ชั้น มี ตัวอย่ างที่ 9.10 (ต่ อ)
การจัดแบ่ งพืน้ ทีด่ งั นี้ วิธีทาํ
- ชั้นล่ างมีร้านค้ า 15 ร้ าน แต่ ละร้ านมีพนื้ ที่ 50 m2 ร้ านค้ า
- ชั้น 2-4 เป็ นทีจ่ อดรถ โหลดแต่ ละร้ าน = 155 x A VA
- ชั้น 5-20 เป็ นห้ องชุด = 155 x 50 ”
- แต่ ละชั้นของห้ องชุดมี = 7750 ”
ห้ องชุ ดแบบ A พืน้ ที่ 50 m2 5 = 7.75 kVA
หน่ วย ห้ องชุ ด
” B ” 30 m2 15 แบบ A โหลด = 90 x 50 + 1500 = 6000 VA = 6.0
หน่ วย kVA
- โหลดไฟส่ วนกลางรวม 100 kVA แบบ B โหลด = 90 x 30 + 1500 = 4200 VA = 4.2
67 68
ให้ หาขนาดหม้ อแปลง kVA
ตัวอย่ างที่ 9.10 (ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.10 (ต่ อ)
โหลดรวม 2) โหลดห้ องชุด
1)โหลดร้ านค้ า แบบ A มี 16 x 5 = 80 หน่ วย
ลําดับที่ 1-10 D.F. 100%= 10 x 1 x 7.75 แบบ B มี 16 x 15 = 240 หน่ วย
= 77.5 kVA
ลําดับที่ 1-10 D.F. 0.910 x 0.9 x 6 = 54 kVA
” 11-15 D.F. 85% = 5 x 0.85 x 7.75 ” 11-20 D.F. 0.810 x 0.8 x 6 = 48 ”
= 32.9 kVA ” 21-30 D.F. 0.710 x 0.7 x 6 = 42 ”
รวม = 110.4 kVA ” 31-40 D.F. 0.610 x 0.6 x 6 = 36
แบบ A 80 - 40 = 40 หน่ วย
แบบ B = 240 หน่ วย
ลําดับ 41 ขึน้ ไป D.F. 0.5
0.5 ( 40 x 6 + 240 x 4.2) = 624 kVA
รวม = 804 ”

69 70

ตัวอย่ างที่ 9.10 (ต่ อ) การติดตั้งไฟฟ้ าในอาคารชุด


3) โหลดส่ วนกลาง = 100 kVA ตัวนําประธานเข้ าห้ องชุด
โหลดทั้งหมด = 110.4 + 804 + ตัวนําประธานเข้ าแต่ ละห้ องชุดมีข้อกําหนดดังนี้
100 - สายไฟฟ้าต้ องเป็ นสายทองแดงหุ้มฉนวน
= 1014.4 kVA - สายไฟฟ้าต้ องเดินในท่ อสายโลหะ ( Metal Raceway )
ขนาดหม้ อแปลง = 1.25 x 1014.4 - ยอมให้ ใช้ ท่อสายอโลหะได้ แต่ ท่อสายนีจ้ ะต้ องฝังในคอนกรีต
kVA - ต้ องแยกท่ อสายสํ าหรับแต่ ละห้ องชุด
=1268 - ถ้ าเดินในรางเดินสาย ( Wireway ) อนุญาตให้ เดินรวมกันได้
kVA - ไม่ อนุญาตให้ เดินสายแบบเกาะผนัง ( เดินตีกบี๊ ) หรือบนรางเคเบิล (
ใช้ หม้ อแปลงขนาด 1 x 1600 kVA Cable Tray )
หรือ 2 x 800 ” - ถ้ าใช้ Busway จะต้ องเป็ นแบบ Totally Enclosed
ถ้ าใช้ หม้ อแปลงมากกว่ า 1 ลูกขึน้ ไป ต้ องจัดโหลดใหม่ แล้ว
คํานวณโหลดและขนาดหม้ อแปลงใหม่ 71 72
หม้ อแปลง
สายป้ อนจาก MDB ไปยังแผงสวิตช์ ของเครื่ องวัดรอง 1) ถ้ าติดตั้งหม้ อแปลงภายในอาคารต้ องเป็ นแบบแห้ ง ( Dry Type ) หรือ
สายป้อนมีข้อกําหนดดังนี้ ฉนวนไม่ ตดิ ไฟ และติดตั้งในเครื่องห่ อหุ้มไม่ ตาํ่ กว่ า IP21
2) พิกดั ของหม้ อแปลงสํ าหรับการไฟฟ้านครหลวงเป็ นดังนี้
- ต้ องเดินในท่ อสายโลหะ ( Metal Raceway )
- พิกดั แรงดัน 12kV/416-240 V หรือ 24kV-416-240
- ใช้ Busway หรือ Bus Trunking ได้ V หรือ
- ถ้ าเดินในช่ องเดินสาย ( Electrical Shaft ) ห้ ามมีท่อ ( 12kV/24kV )-416-240 V
ระบบอืน่ ทีไ่ ม่ ใช่ ระบบไฟฟ้า - แทปแรงสู งใช้ เป็ น 4 x ( ) 2.5% ของพิกดั เต็มทีด่ ้ านปฐมภูมิ
- กําลังสู ญเสี ยทั้งหมดต้ องไม่เกิน 1.5% ของพิกดั เต็มที่
ทีค่ ่ าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าเท่ ากับ 1.0

73 74

3) พิกดั ของหม้ อแปลงสํ าหรับการไฟฟ้าส่ วนภูมภิ าค


- พิกดั แรงดัน 22kV/400-230 V แผงสวิตช์ แรงตํ่า
แผงสวิตช์ แรงตํา่ ( MDB ) มีข้อกําหนดดังนี้
หรือ 33kV/400-230 V
- ระดับการป้องกัน ( Degree of Protection ) ต้ องไม่ ตาํ่ กว่ า IP31
- แทปแรงสู ง 2 x (  ) 2.5 %
- โครงสร้ างของแผงสวิตช์ ต้องทนต่ อแรงทีเ่ กิดจากการ ลัดวงจรได้
แผงสวิตช์ แรงสู ง - เครื่องป้ องกันกระแสเกิน คือ เซอร์ กติ เบรกเกอร์
แผงสวิตช์ แรงสู งต้ องเป็ นไปตามข้ อกําหนด 5.16 ต้ องมี IC ไม่ น้อยกว่ าค่ ากระแสลัดวงจรทีจ่ ุด
- ถ้ าใช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ จะต้ องเป็ นชนิด Nonflammable
Cooling Medium
- หากใช้ Power Fuse ต้ องใช้ ร่วมกับ Load Break
Switch ( Switch Disconnector )
- แผงสวิตช์ แรงสู งต้ องมี IP31 ขึน้ ไป 75 76
การต่ อลงดิน 9.6 การประมาณโหลด ( Load Estimating )
- แผงสวิตช์ เมน ( MDB ) ต้ องมีการต่ อลงดินตามบทที่ 4 ในการออกแบบระบบไฟฟ้านั้นหลังจากได้ แบบจาก สถาปนิกแล้ ว
- ห้ องชุดทุกห้ องต้ องมีการต่ อลงดิน โดยต้ องเดินสายดินมา วิศวกรไฟฟ้าต้ องทําการประมาณโหลด เพือ่ ให้ ทราบขนาดของ
จากแผงสวิตช์ เครื่องวัดรอง ระบบไฟฟ้า สามารถหาขนาดอุปกรณ์ ไฟฟ้าทีเ่ หมาะสมอย่ างคร่ าวๆ
- เต้ ารับต้ องเป็ นแบบมีสายดิน และต้ องต่ อลงดิน เช่ น หม้ อแปลง ตู้บริภณ ั ฑ์ ประธานเครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํ ารอง เป็ น
ต้ น นอกจากนีก้ ารประมาณโหลดยังมีประโยชน์ ในการวาง แผน
จัดหาพืน้ ทีเ่ พือ่ ติดตั้งบริภณ
ั ฑ์ ไฟฟ้าต่ างๆ แต่ เนิ่นๆ อีกด้ วย

77 78

หลักการประมาณโหลด การประมาณโหลดทีไ่ ม่ มีข้อมูลของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้ าแต่ มีข้อมูล


การประมาณโหลดสามารถแบ่ งได้ ออกตามลักษณะข้ อมูลทีไ่ ด้ รับมาดังนี้ ของพืน้ ทีใ่ ช้ งาน
1. ไม่ มขี ้ อมูลของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า แต่ มขี ้ อมูลของพืน้ ทีใ่ ช้ งาน
2. มีข้อมูลของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า และข้ อมูลของพืน้ ทีใ่ ช้ งาน สํ าหรับกรณีนีส้ ามารถทําการประมาณโหลดได้ ดงั นี้ โดยจะทํา
โดยทีข่ ้ อมูลของบริภณ ั ฑ์ ไฟฟ้า ได้ แก่ ขนาดโหลด ( VA หรือ kVA ) และจํานวน การประมาณโหลดตามชนิดของโหลด ในทีน่ ีจ้ ะกล่ าวถึงเฉพาะโหลด
บริภณั ฑ์ ไฟฟ้าแต่ ละชนิด ทีใ่ ช้ เป็ นส่ วนใหญ่ ได้ แก่ โหลดไฟฟ้าแสงสว่ าง โหลดไฟฟ้าเต้ ารับ
ข้ อมูลของพืน้ ทีใ่ ช้ งาน ได้ แก่ ขนาดของพืน้ ที่ ซึ่งอาจมีข้อมูลเพิม่ เติมเช่ น เป็ น และโหลดไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ จากหนังสื อ IEEE
ห้ องทีม่ กี ารใช้ เครื่องปรับอากาศ Recommended Practice for Electric Power Systems in
Commercial Buildings สามารถสรุปเป็ นตารางแยกตามประเภท
ของอาคารได้ ดงั นี้

79 80
1. การประมาณโหลดไฟฟ้าแสงสว่ างในอาคารชนิดต่ างๆ 1. การประมาณโหลดไฟฟ้าแสงสว่ างในอาคารชนิดต่ างๆ
2. การประมาณโหลดไฟฟ้าเต้ ารับในอาคารชนิดต่ างๆ ประเภทอาคาร โหลดทีใ่ ช้ ( VA/m2 )
อาคารเรียน 25
3. การประมาณโหลดไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศในอาคารชนิดต่ างๆ ศ ูนย์คอมพิวเตอร์ 20
4. การประมาณโหลดตามชนิดของอาคาร ห้องประช ุม 20
ทางเดิน , ระเบียง 8
5. การประมาณโหลดอืน่ ๆ ห้องอาหาร 18
โหลดของไฟตู้โชว์ , เต้ ารับหลายจุด และ Lighting Track อาจ ห้องเขียนแบบ 60
โรงพยาบาล , ห้องผ่าตัด 100
ประมาณโหลดได้ ต่อความยาวดังนี้ คือ โรงพยาบาล , ห้องผูป้ ่ วย 14
- ไฟตู้โชว์ 670 VA/m ห้องครัว 20
ห้องทดลอง 50
- เต้ ารับหลายจุด 120 ” ห้องสมุด , พื้นทีส่ ําหรับอ่านหนังสือ 30
- Lighting Track 360 ” ห้องสมุด , พื้นทีค่ น้ หาหนังสือ 10
อาคารสํานักงานทัว่ ไป 30
ห้องเครือ่ งจักร 20
ห้างสรรพสินค้า 30
81 82

2. การประมาณโหลดไฟฟ้าเต้ ารับในอาคารชนิดต่ างๆ 3. การประมาณโหลดไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศในอาคารชนิดต่ างๆ

ประเภทอาคาร โหลดที่ใช้ ( VA/m2 ) ประเภทอาคาร โหลดทีใ่ ช้ ( VA/m2 )


ห้องบรรยาย 2
ธนาคาร 80
ห้องอาหาร 2
โบสถ์ 2 ห้างสรรพสินค้า 50
ห้องเขียนแบบ 7 โรงพยาบาล 70
อาคารกีฬา 2 อาคารสํานักงานทัว่ ไป 70
โรงพยาบาล 10 ร้านค้าขนาดย่อม 90
ห้องเครื่องจักร 15 ห้องอาหาร ( ไม่รวมห้องครัว ) 90
อาคารสํานักงานทัว่ ไป 10
โรงเรียน 7

83 84
4. การประมาณโหลดตามชนิดของอาคาร
5. การประมาณโหลดอืน่ ๆ
โหลดของไฟตู้โชว์ , เต้ ารับหลายจุด และ Lighting Track
ชนิดของอาคาร โหลดต่อพื้นที่ ( VA/m2 )
1. สํานักงาน
- ไม่มีเครื่องปรับอากาศ
- มีเครื่องปรับอากาศ
80-120
120-150
อาจประมาณโหลดได้ ต่อความยาวดังนี้ คือ
- ต่อคนทํา งาน 2.5-3.0 kVA - ไฟตู้โชว์ 670 VA/m
2. โรงเรียน และมหาวิทยาลัย
- โรงเรียนทัว่ ไป 30-50 - เต้ ารับหลายจุด 120 ”
- สอนวิชาสังคมศาสตร์
- สอนวิชาวิทยาศาสตร์
50-75
120-200 - Lighting Track 360 ”
3. โรงแรม และที่ อยูอ่ าศัย
- อาคารขนาดใหญ่ 40-80
- ต่อห้อง หรือต่อชดุ ที่พกั อาศัย 3.5-4.5 kVA
4. โรงพยาบาล
- ขึ้นอยูก่ บั ขนาด และ Facilities 60-120
- ถึง 50 เตี ยง , ต่อเตี ยง 3.5-4.5 kVA
- ถึง 150 เตียง , ต่อเตียง 3.0-3.5 kVA
- ถึง 250 เตียง , ต่อเตียง 2.0-3.0 kVA
- เกิน 300 เตียง , ต่อเตี ยง 1.5-2.0 kVA
5. ห้างสรรพสินค้า
- มีเครื่องปรับอากาศ 150-200

85 86

ตัวอย่ างที่ 9.11(ต่ อ)


ตัวอย่ างที่ 9.11 อาคารสํ านักงานแห่ งหนึ่งสู ง 18 ชั้น แต่ ละชั้น วิธีทาํ
มีพนื้ ทีร่ วม 1800 m2 ซึ่งแยกออกได้ ดงั นี้ จากตารางค่ าประมาณโหลดเลือกใช้ ค่าประมาณโหลดดังนี้
1. ทางเดิน 100 m2 พืน้ ทีส่ ํานักงาน
2. ห้ องไฟฟ้าและห้ องภารโรง 20 ” โหลดไฟฟ้าแสงสว่ าง 30 VA/m2
3. ช่ องลิฟต์ 80 ” โหลดเต้ ารับ 10 VA/m2
จงประมาณโหลดสํ าหรับอาคารสํ านักงานแห่ งนี้ โหลดเครื่องปรับอากาศ 70 VA/m2
โหลดเผือ่ อืน่ ๆ 20 VA/m2
รวมโหลดพืน้ ทีส่ ํ านักงาน 130 VA/m2
พืน้ ทีท่ างเดิน
โหลดไฟฟ้าแสงสว่ าง 6 VA/m2
87 88
ตัวอย่ างที่ 9.11(ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.11(ต่ อ)
ทําการประมาณโหลด 2. พืน้ ทีท่ างเดิน ( พืน้ ทีท่ างเดิน + พืน้ ทีห่ ้ องไฟฟ้า )
1. พืน้ ทีส่ ํ านักงาน พืน้ ทีท่ างเดิน = 120 m2 /ชั้น
พืน้ ทีส่ ํ านักงาน = 1800 - 100 - 20 - 80 ค่ าประมาณโหลดพืน้ ทีท่ างเดิน = ( 6 x 120 )/1000
0.72 kVA /ชั้น
= 1600 m2 /ชั้น =
ดังนั้นค่ าประมาณโหลดทั้งหมดของอาคารแห่ งนี้
ค่ าประมาณโหลดพืน้ ทีส่ ํ านักงาน = ( 130 x 1600 )/1000
= ( 208 + 0.72 ) x 18
= 208 kVA /ชั้น = 3757 kVA
หม้ อแปลงไฟฟ้ามีขนาดมาตรฐานดังนี้ 1000 , 1250 , 1600 ,
2000 , 2500 kVA อาคารหลังนีอ้ าจใช้ หม้ อแปลง 2 ลูก คือ 2 x 2000
kVA และผู้ออกแบบจะต้ องเฉลีย่ โหลดให้ เหมาะสมกับหม้ อแปลงทั้งสอง

89 90

ตัวอย่ างที่ 9.12 ร้ านสรรพสิ นค้ ามีพนื้ ที่ 1000 m2 มีโหลดไฟฟ้ าต่ างๆ ดังต่ อไปนี้
การประมาณโหลดในกรณีทมี่ ีข้อมูลของ - ไฟตู้โชว์ ยาว 25 m

บริ ภณ
ั ฑ์ ไฟฟ้ า และข้ อมูลของพืน้ ทีใ่ ช้ งาน - Lighting track
- แสงสว่ างภายนอก
9 kVA
40 ดวงๆ ละ 180 VA
- แสงสว่ างส่ องป้าย 5.8 kVA
การประมาณโหลดในกรณีนี้ เนื่องจากมีข้อมูลทีม่ ากขึน้ ทําให้ - เต้ ารับโหลด 122 ชุด
ผู้ออกแบบสามารถทํา การประมาณโหลดได้ ละเอียดมากขึน้ โดยทํา - เต้ ารับหลายจุดยาว 10 m
การรวมโหลดของอุปกรณ์ ท้งั หมดทีท่ ราบข้ อมูล แล้ วจึงพิจารณา - Freezer ขนาดพิกดั 8 kVA
- ตู้แช่ ไอศครีม ” 9 kVA
พืน้ ทีใ่ ช้ งานเพือ่ ประมาณโหลดทีเ่ หลืออยู่ ( สํ าหรับโหลดทีไ่ ม่ มี - พัดลมระบายอากาศ พิกดั รวม 32 kVA
ข้ อมูล ) - หม้ อต้ มนํา้ ร้ อน 12 kVA
- เครื่องทํานํา้ เย็น 10 kVA
- ปั๊มนํา้ 9 kVA
- เครื่องปรับอากาศ 50 kVA
ให้ คาํ นวณหาโหลดรวมของร้ านสรรพสิ นค้ าแห่ งนี้

91 92
ตัวอย่ างที่ 9.12(ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.12(ต่ อ)
วิธีทาํ โหลดเต้ ารับ
โหลดไฟแสงสว่ าง - เต้ ารับโหลดไม่ ต่อเนื่อง 122 x 180 = 21.96 kVA
1000
- ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป 1000 x 30
1000 = 30 kVA - 10 kVA แรก 100% = 10
- ไฟตู้โชว์ 25 x 670
1000 = 16.75 ”
kVA อีก 11.96 kVA ต่ อมา 50% = 5.98 ”
- Lighting track 40 x 180 = 9.0 kVA รวมx 120
10 = 15.98 ”
1000 1000
- ไฟแสงสว่ างภายนอก = 7.2 kVA - เต้ ารับหลายจุด = 1.20 ”
- ไฟส่ องป้าย = 5.8 kVA รวม = 17.18 ”
รวม = 68.75 kVA

93 94

ตัวอย่ างที่ 9.12(ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.12(ต่ อ)


บริภณ
ั ฑ์ ไฟฟ้าพิเศษ เครื่องปรับอากาศ
- Freezer = 8.00 kVA  รวม = 50.00 kVA
- ตู้แช่ ไอศครีม = 9.00 ”
- หม้ อนํา้ ร้ อน = 12.00 ” โหลดมอเตอร์
- เครื่องทํานํา้ เย็น = 10.00 พัดลมระบายอากาศ = 32.00 kVA
” ปั๊มนํา้ = 9.00 ”
รวม = 39.00  รวม = 41.00 ”
” โหลดทั้งหมด= 68.75 + 17.18 + 39.00 + 50.00 + 41.00
= 215.93 kVA
โหลดรวมของร้ านสรรพสิ นค้ านี้ = 215.93 ‘’
95 96
ตัวอย่ างที่ 9.13 อาคารสํ านักงาน ขนาดพืน้ ที่ 2000 m2 มีโหลดไฟฟ้า ตัวอย่ างที่ 9.13(ต่ อ)
ต่ างๆ ดังนี้ วิธีทาํ
- ไฟฟ้าแสงสว่ างนอกอาคาร 60 ชุดๆ ละ 180 VA โหลดไฟแสงสว่ าง
- ไฟส่ องป้ าย 4 ชุดๆ ละ 1200 VA - ไฟฟ้าแสงสว่ างทัว่ ไป 2000 30 = 60 kVA
1000
- เต้ ารับ 300 ชุด - ไฟฟ้าแสงสว่ างนอกอาคาร 60
=180 10.8 ”
1000
- ระบบปรับอากาศ 200 kVA
- ไฟส่ องป้าย 41200 = 4.8 ”
- พัดลมระบายอากาศ 25 kVA 1000
 รวม = 75.6 ”
- PC 5 ชุดๆ ละ 2400 VA
- ปั๊ม 5 ชุดๆ ละ 5 kVA
- Water Heater 5 kW
- Copy Machines 5 ชุดๆ ละ 1500 VA

97 98

ตัวอย่ างที่ 9.13(ต่ อ) ตัวอย่ างที่ 9.13(ต่ อ)


โหลดเต้ ารับ บริภณ
ั ฑ์ ไฟฟ้าพิเศษ
300180
- เต้ ารับ 1000 = 54 kVA - PC 52400 = 12 kVA
1000
10 kVA แรก D.F. 100% = 10 - Water Heater = 5.0 ”
” 51500
1000 =
- Copy Machines 7.50 ”
54-10 ) kVA ต่ อมา D.F. 50%
( = 22
 รวม = 24.50


รวม = 32 ”
เครื่องปรับอากาศ

รวม = 200 kVA

99 100
ตัวอย่ างที่ 9.13(ต่ อ)
โหลดมอเตอร์
- พัดลมระบายอากาศ = 25 kVA
- ปั๊มนํา้ = 25 ”
 รวม = 50 ”

 โหลดทั้งหมด = 75.6 + 32.0 + 24.5 + 200 +


50
 = 382.1 kVA
โหลดรวมของสํ านักงานนี้ = 382.1 ”

101 102

You might also like