You are on page 1of 14

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ : ทิศทางการก�ำหนดกระบวนทัศน์

ในการบริหารจัดการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตหนองคาย
New Public Management : The Defining Management Paradigm of
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nongkhai Campus
สมพงษ์ เกศานุช และคณะ*

บทคัดย่อ
แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) มีหลักการ
ส� ำ คั ญ คื อ การมุ ่ ง เน้ น การลดขนาดขององค์ ก รให้ มี ค วามคล่ อ งตั ว เพื่ อ สะดวกรวดเร็ ว มี คุ ณ ภาพ
และมีประสิทธิภาพในการบริหาร องค์กรสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วต่อการเปลีย่ นแปลง พัฒนาระบบ
การให้บริการที่ทันสมัย โดยการน�ำเทคโนโลยีมาใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน และยึดประโยชน์
ของประชาชนผู้ใช้บริการเป็นเป้าหมาย สร้างและพัฒนากลไกการบริหารงานบุคคลที่ได้มาตรฐาน
สร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศในการท�ำงานแบบมีส่วนร่วม มุ่งเน้นการบริหารงานที่มีความโปร่งใส
มีความรับผิดชอบ และตรวจสอบได้ ดังนัน้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย
ควรน�ำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้เพื่อพัฒนาองค์กรในด้านต่างๆ ด้วยการบูรณาการ
รูปแบบองค์กร (Integrated Organizational) ที่สร้างความเชื่อมโยงของฝ่ายงานต่างๆ เข้าด้วยกัน

* อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


วิ ท ยาเขตหนองคาย และนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รรั ฐ ประศาสนศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
รัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,
จ�ำนงค์ ผมไผ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, รศ.ดร.เสาวลักษณ์
โกศลกิตติอมั พร อาจารย์คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,
รศ.ดร.สัญญา เคณาภูมิ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม และพระราชรัตนาลงกรณ์, ดร. รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย
174 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

เพื่อลดขั้นตอนในการตัดสินใจและให้บริการ พร้อมกับมุ่งการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic


Management) เพื่อผลสัมฤทธิ์ขององค์กร พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (Human
Resource Development) เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการปฏิบตั งิ านและทักษะทีม่ คี วามจ�ำเป็นต่อการ
ปฏิบตั งิ าน พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบริการการศึกษาทีท่ นั สมัย (Technology for Education)
อย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยงเครือข่ายทางการศึกษา (Network Education) กับมหาวิทยาลัยที่อยู่ใกล้
เคียงทัง้ ในและต่างประเทศเพือ่ สร้างความร่วมมือทางด้านวิชาการ บุคลากร และด้านอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์
ต่อการบริหารจัดการ

ค�ำส�ำคัญ: การบริหารจัดการ, การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่

Abstract
The concept of New Public Management (NPM) is the main principle is to focus
on reducing the size of the organization is streamlined for fast and efficient quality
management, Organizations to adapt quickly to changes. Development of modern service
by using technology, management focuses on achievement and work for the benefit of
the service is the goal, Create and develop mechanisms personnel management
standards, An atmosphere of work involved, Oriented administration that is transparent,
responsibility And accountability. The Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Nongkhai Campus. The concept of public administration should be used to develop new
enterprises in various fields. With the integration organizational by creating belief to the
various departments together to ease the process of decision making and service, human
resource development to enhance the performance and skills that are essential to the
operation, Technology development for advanced educational services continued, And
network education adjacent to the university both at home and abroad to establish
cooperation technical personnel and other aspects that are useful to management.

Keywords: Management, New Public Management
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 175

๑. บทน�ำ เพื่อให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการ


กระแสการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณร
(New Public Management : NPM) ถือเป็น และคฤหัสถ์ รวมทัง้ การทะนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม๓
ปรั ช ญาการบริ ห ารจั ด การที่ ภ าครั ฐ น� ำ มาใช้ จึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องปรับกระบวนทัศน์ในการ
เพือ่ สร้างระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้มคี วาม บริหารจัดการให้กา้ วทันกระแส และรูปแบบในการ
ทันสมัยยิง่ ขึน้ ซึง่ การเกิดขึน้ ของแนวคิดการบริหาร บริ ห ารจั ด การยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ มุ ่ ง เน้ น ทฤษฎี ก าร
จั ด การภาครั ฐ แนวใหม่ ใ นหลายๆ ประเทศ บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ทั้งนี้เพื่อเป็นการ
เพือ่ ต้องการสร้างหน่วยงานให้มกี ารขับเคลือ่ นด้วย สร้ า งความมั่ น คงและความมี เ สถี ย รภาพของ
พันธกิจ มีการกระจายอ�ำนาจ มีลกั ษณะทีย่ ดื หยุน่ สถาบันในอนาคต
มีการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างหน่วยงานต่างๆ ดังนั้น บทความนี้ผู้เขียนจึงได้น�ำเสนอ
เข้าด้วยกัน ความต้องการที่จะให้หน่วยงานเป็นไป ความเป็นมาและวิวัฒนาการและสาระส�ำคัญ ของ
ในแนวทางดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ตลอดทั้งข้อ
ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบการบริ ห ารงานให้ มี เสนอแนะในการก�ำหนดทิศทางการน�ำแนวคิดการ
ประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อความต้องการ บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการบริหาร
ของประชาชนในฐานะผู้รับบริการสาธารณะได้ จัดการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อย่ า งครอบคลุ ม สะดวกและรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ๑ วิทยาเขตหนองคาย เพื่อประโยชนในการน�ำไป
โดยมหาวิทยาลัยได้มีการจัดการศึกษาให้เป็นไป ประยุกต์ใช้ต่อไป
ตามพันธกิจทั้ง ๔ ด้านคือ ด้านการสอน ด้านการ
วิจัย ด้านการบริการวิชาการ และด้านการส่งเสริม ๒. ระเบียบวิธีการศึกษา
ศิลปวัฒนธรรม๒ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบผสาน
มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิธที งั้ การศึกษาเอกสาร (Document Research)๔
วิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่มีวัตถุประสงค์ การศึกษาปรากฏการณ์ (Phenomena Research)


สุรศักดิ์ ชะมารัมย์, การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ : กระแสหลักของการเปลีย่ นแปลงในการบริหาร
งานภาครัฐ. แหล่งทีม่ า : http://www.esbuy.net/site/download-file.php?doc_id=4312 [๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙].

โสวิทย์ บ�ำรุงภักดิ์ และทักษิณาร์ ไกรราช, “ความเข้าใจเรื่อง “การบูรณาการ” ระหว่างพุทธศาสนากับ
ศาสตร์สมัยใหม่”, วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ (มีนาคม-มิถุนายน ๒๕๕๙) : หน้า ๑๘๑.

พระราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้าที่
๒๕ เล่มที่ ๒๕ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐.

พระมหาโยธิน โยธิโก, “พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าที่มีต่อชนชั้นล่าง”, วารสารวิชาการธรรมทรรศน์,
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ (พฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๕๙) : หน้า ๑๒๗.
176 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

ผู้เขียนท�ำการรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับการบริหาร ซึ้งมากยิ่งขึ้น โดยสภาพของสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพล


จั ด การภาครั ฐ แนวใหม่ โดยพั ฒ นาเป็ น กรอบ ต่อมุมมองทางการจัดการ ทีเ่ ป็นตัวก�ำหนดรูปแบบ
แนวคิ ด ที่ เ ริ่ ม จากการศึ ก ษาจากปรากฏการณ์ แนวคิดทางการจัดการในขณะนั้น ซึ่งการเปลี่ยน
(Phenomena) ด้วยการสังเกตพฤติกรรมการ ผ่านกระบวนทัศน์ทางการจัดการ เช่น มุมมองและ
บริหารจัดการภาครัฐ๕ เป็นการเบื้องต้นของการ การให้คุณค่า “คนเป็นเสมือนเครื่องจักร” สู่ “คน
พัฒนาขอบเขตด้านเนือ้ หาสาระ หรือกรอบแนวคิด มี ชี วิ ต และหั ว ใจ” ก็ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด การก้ า วข้ า ม
จากนั้ น ท� ำ การพั ฒ นาด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย พรมแดนแห่งยุค Classic ไปยังยุค Neo-Classic
เริ่มต้นจากวิธีการคิดเชิงเหตุผล๖ พร้อมกับท�ำการ และที่ส�ำคัญการเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมจาก
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อหาความลงตัว ช่วงเวลาแห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมสู่สังคมโลกา
ของกรอบแนวคิดการวิจัย๗ ภิวัตน์ ที่ส่งผลต่อการทลายก�ำแพงในยุค Modern
ไปยังยุค Postmodern ทีม่ มุ มองและการให้คณ ุ ค่า
๓. วิ วั ฒ นาการของแนวคิ ด การบริ ห าร มีความลึกซึ้งมากเพื่อการปรับตัวให้อยู่รอดของ
จัดการภาครัฐแนวใหม่ องค์ ก าร จากองค์ ก ารที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต และการใช้
ทฤษฎี อ งค์ ก าร และแนวคิ ด ด้ า นการ เทคโนโลยีในเชิงระบบ สู่มุมมองที่ว่าองค์การนั้นมี
จัดการในแต่ละยุคที่ผ่านมาเกิดจากบริบทที่แตก ชีวติ และเทคโนโลยีสารสนเทศมีความส�ำคัญและมี
ต่างกันไป เป็นการช่วยแต่งเติมและพัฒนารูปแบบ ผลกระทบในมิติที่ซับซ้อนดังนั้นกระบวนทัศน์ของ
ทางการจัดการให้สอดคล้องกับบริบทนัน้ ๆ มากขึน้ ทฤษฎีองค์การหรือแนวคิดการบริหารจัดการทั้ง
และเมื่อเกิดแรงขับที่มีอิทธิพลใหม่ๆ ก็จะส่งผลต่อ ภาครัฐและเอกชน จึงหนีไม่พ้นจากกระแสทาง
การเปลีย่ นผ่านกระบวนทัศน์ (Paradigm Shifted) สังคมและสภาพแวดล้อม ซึง่ ก็คอื ความเป็นโลกาภิ
และการก้าวข้ามในแต่ละยุคนั้นเป็นการให้คุณค่า วัตน์อย่างเช่นปัจจุบัน๘
และมุ ม มองต่ อ ปั จ จั ย หลั ก ของแนวคิ ด นั้ น ๆ ที่ ส�ำหรับแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เปลีย่ นไป ซึง่ มักจะเป็นการให้คณุ ค่าในมุมมองทีล่ กึ (New Public Management : NPM) พัฒนามา


สัญญา เคณาภูมิ, “ปรัชญาการวิจัย : ปริมาณ : คุณภาพ”, วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, ปีที่ ๓ ฉบับ
ที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๗) : หน้า ๕๐.

สัญญา เคณาภูม,ิ “การสร้างกรอบแนวคิดการวิจยั ทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยการคิดเชิงเหตุผล”, ราชภัฏ
เพชรบูรณ์สาร, ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗) : หน้า ๑๒.

สัญญา เคณาภูมิ, “การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปริมาณทางรัฐประศาสนศาสตร์จากการทบทวน
วรรณกรรม”, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗) : หน้า ๒๐.

วสันต์ สุทธาวาศ, ทฤษฎีองค์การในศตวรรษที่ ๒๑ : The next station of Organization Theory.
แหล่งที่มา : http://www.edsiam.com [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 177

จากแนวคิ ด ในการบริห ารงานภาครัฐ (Public น� ำ ไปสู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลงเชิ ง ปฏิ วั ติ ก าร


Administration) ทีม่ แี นวปฏิบตั ติ ามกรอบแนวคิด บริหารงานภาครัฐ (A Revolutionary Change)
หรื อ ตั ว แบบระบบราชการในอุ ด มคติ ข องแม็ ค ทีเ่ รียกว่า การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New
เวเบอร์ (Max Weber)๙ จนกระทั่งในช่วงต้น Public Management : NPM)๑๑ โดยถือกันว่า
ทศวรรษที่ ๑๙๘๐ กลุ่มผู้น�ำทางการเมืองได้หันมา NPM เป็นเรื่องของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ให้ความส�ำคัญ และตระหนักถึงความไม่ยั่งยืนของ ใหม่ในการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งมีรูปแบบที่
ระบบการรวมอ�ำนาจในการให้บริการสาธารณะ เปลี่ยนแปลง หรือแตกต่างไปจากเดิมที่ไม่ใช่แค่ใน
ดังนั้น ผู้น�ำทั้งในยุโรป เอเชีย และอเมริกาเหนือ ลั ก ษณะของการส่ ง มอบการบริ ก ารทางสั ง คม
จึ ง เริ่ ม ใช้ จ ่ า ยงบประมาณที่ ป ระหยั ด และมี หรือการแสดงบัญชีงบประมาณของรัฐบาลเท่านั้น
ประสิทธิภาพในการจัดท�ำบริการสาธารณะมากขึน้ แต่รวมไปถึงการเปลีย่ นแปลงในด้านโครงสร้างของ
ทั้ ง เรื่ อ งของสวั ส ดิ ก ารสาธารณะ ด้ า นสุ ข ภาพ การบริหารปกครองที่น�ำเอารูปแบบ หรือวิธีการ
ด้านการขนส่ง ทีก่ อ่ นหน้านีก้ ต็ อ้ งประสบกับปัญหา ต่างๆ ของภาคธุรกิจเอกชนมาปรับใช้ให้เหมาะสม
วิกฤตินำ�้ มันในช่วงปลายปี ค.ศ. ๑๙๗๐ และวิกฤติ กั บ บริ บ ทภาคของรั ฐ ๑๒ ซึ่ ง การบริ ห ารจั ด การ
ของเศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง ภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management)
ท� ำ ให้ นั ก วิ ช าการและนั ก ปฏิ บั ติ ก ารต้ อ งค้ น หา ได้ตงั้ อยูบ่ นสมมติฐานของความเป็นสากลในทฤษฎี
แนวทางการบริหารภาครัฐใหม่๑๐ เพื่อรับมือกับ การบริหารและเทคนิควิธีการจัดการ ที่สามารถ
สภาพการเปลีย่ นแปลงของโลกทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว ประยุกต์ใช้ได้ ทั้งการบริหารรัฐกิจและการบริหาร
ทั้งหมดจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ผลักดันท�ำให้ภาครัฐ ธุรกิจ ซึ่ง NPM มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ต้องการ
จ�ำต้องด�ำเนินการปฏิรูประบบการบริหารจัดการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของภาคราชการ โดยใช้วิธี
เสี ย ใหม่ เพื่ อ ให้ ส ามารถปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สภาพ การบริหารจัดการแบบภาคเอกชน และมุง่ ประสิทธิภาพ
แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น ของกระบวนทั ศ น์ ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ ง

วรเดช จันทรศร, ปรัชญาการบริหารภาครัฐ, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : สหายบล็อกและการพิมพ์,


๒๕๔๑), หน้า ๒๗-๒๘.


๑๐
Robert B. Denhardt and Joseph W. Grubbs, Public Administration : An Action Orientation,
6th ed, (USA : Wadsworth/Thomson Learning Publications, 2003), pp. 334-335.
๑๑
Sowaribi Tolofari, “New Public Management and Education”, Policy Futures in Education,
Vol. 3 No. 1 (2005) : pp. 75-89.
๑๒
Mariko & Keiichi Eguchi, The Limited Effect of PBL on Learners: A Case study of English
Magazine Projects, (Asian EFL Journal. Retrieved 6 September 2007), from : http://www.asian-efl-
journal.com [1 6 2016].
178 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

และสังคม ตามหลักความรับผิดชอบตรวจสอบได้ ซึง่ เป็นแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิรปู การบริหาร


(Accountability) ความโปร่งใส (Transparency) ภาครัฐโดยน�ำเอาวิธกี ารหรือเทคนิคต่างๆ ของภาค
การเปิ ด เผย (Openness) ความยุ ติ ธ รรม ธุรกิจเอกชนมาใช้ หรือเป็นการบริหารงานที่เลียน
(Fairness) และความเสมอภาค (Equity)๑๓ แบบภาคธุรกิจเอกชน๑๔ ซึง่ แนวคิดของ Christopher
จะเห็นได้ว่า แนวคิดการบริหารจัดการ Hood ได้อธิบายถึงแนวคิดและลักษณะส�ำคัญของ
ภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) การจัดการภาครัฐแนวใหม่ไว้วา่ ๑) เป็นกระบวนการ
เป็นการพัฒนา เพือ่ แก้ปญ
ั หาของภาครัฐทีย่ ดึ ระบบ บริ ห ารที่ เ น้ น การบริ ห ารงานในแบบมื อ อาชี พ
ในการบริหารจนไม่มคี วามคล่องตัวและไม่สามารถ ท�ำให้ผู้บริหารมีอิสระและความคล่องตัวในการ
ปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของกระแสโลกที่ บริหารงาน ๒) เป็นกระบวนการบริหารที่มีการ
มีความเป็นพลวัตร โดยหันให้ความส�ำคัญต่อการ ก�ำหนดวัตถุประสงค์และตัวชีว้ ดั ผลการด�ำเนินงาน
ตอบสนองความต้องการของประชาชนและสามารถ อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ๓) เป็นกระบวนการ
ปรับตัวเข้ากับกระโลกาภิวัตน์ของโลกยุคปัจจุบัน บริ ห ารที่ พ ยายามปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งองค์ ก าร
เพื่อท�ำให้หน่วยงานมีขนาดเล็กลง และเกิดความ
๔. สาระส� ำ คั ญ ของแนวคิ ด การบริ ห าร เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน ๔) เป็นกระบวนการ
จัดการภาครัฐแนวใหม่ บริหารที่ให้มีการแข่งขันในการบริการสาธารณะ
แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่ จ ะ ช ่ ว ย ป รั บ ป รุ ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ ห ้ ดี ขึ้ น
ว่าเกิดมาจากการรวมตัวของ ๒ กระแสแนวคิดหลัก ๕) ปรับเปลีย่ นวิธกี ารบริหารงานให้มคี วามทันสมัย
ของฮูด (Hood) โดยกระแสแนวคิดแรกคือ แนวคิด และเลียนแบบวิธีการของภาคเอกชน และ ๖)
เศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่ (New Institutional เป็นกระบวนการบริหารที่เสริมสร้างวินัยในการ
Economics) ที่ เ กิ ด มาจากทฤษฎี ท างเลื อ ก ใช้จ่ายเงินแผ่นดิน เน้นความประหยัดและคุ้มค่า
สาธารณะ ทฤษฎีผวู้ า่ จ้าง-ตัวแทน (Principal-Agent ในการใช้ ท รั พ ยากร โดยแนวความคิ ด ของการ
Theory) และทฤษฎีตน้ ทุนธุรกรรม (Transaction บริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่หรือการจัดการนิยม
Theory) ซึง่ มองการเมืองเปรียบเสมือนปรากฎการณ์ (Managerialism) ตั้งอยู่บนสมมุติฐานของความ
ทางการตลาด และอี ก กระแสแนวคิ ด หนึ่ ง เป็ น สากลทฤษฎี ก ารบริ ห ารและเทคนิ ค วิ ธี ก าร
คือ แนวคิดการจัดการนิยม (Managerialism) จั ด การว่ า สามารถน�ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ ทั้ ง ในแง่
๑๓
พิทยา บวรวัฒนา, แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกา ๒, ประมวลสาระชุด
วิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ ๔, (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๒),
หน้า ๑๕.
๑๔
Hiromi Yamamoto, New Public Management-Japan’s Practice, (Japan : Institute for
International Policy Studies Publications, 2004), p. 6.
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 179

ของการบริหารรัฐกิจและบริหารธุรกิจ๑๕ จะเห็นได้ว่า การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่


แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) เป็นแนวคิดพืน้ ฐาน
(New Public Management) มุ่งเน้นเรื่องการ ของการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งจะน�ำไปสู่การ
เติบโตขององค์การเป็นส�ำคัญ เป็นการพิจารณา เปลีย่ นแปลงระบบต่างๆ ของภาครัฐ และยุทธศาสตร์
ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข ององค์ ก าร ที่ จ ะต้ อ งท� ำ การ ด้านต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม โดยยึดแนวทางในการ
ปรั บ ตั ว สมดุ ล กั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้บริการที่มีคุณภาพแก่ประชาชนค�ำนึงถึงความ
ภายในและภายนอกองค์การ ให้ประสานสนับสนุน ต้องการของประชาชนเป็นหลัก ลดการควบคุม
กันได้อย่างดีในทุกแง่ทกุ มุม โดยหลอมรวมหลักการ จากส่วนกลาง เพิม่ อิสระแก่หน่วยงานส่วนภูมภิ าค
ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้พร้อมกับปรับตัวที่จะรับ พัฒนาระบบการบริหารงาน ทีม่ งุ่ ผลสัมฤทธิม์ รี ะบบ
กั บ สิ่ ง ใหม่ ๆ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตลอดเวลา ๑๖ สนับสนุนทางด้านบุคลากรและเทคโนโลยี และ
โดยคุ ณ ลั ก ษณะส� ำ คั ญ ของการจั ด การภาครั ฐ มุ ่ ง เน้ น การแข่ ง ขั น ระหว่ า งหน่ ว ยงานภาครั ฐ
แนวใหม่ ประกอบด้วย การให้บริการที่มีคุณภาพ กับเอกชน
แก่ประชาชน การลดการควบคุมจากส่วนกลาง
และเพิ่ ม อิ ส ระในการบริ ห ารให้ แ ก่ ห น่ ว ยงาน ๕. การบริหารจัดการและความจ�ำเป็นใน
การก�ำหนด การวัด และการให้รางวัลแก่ผลการ การน�ำแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐ
ด�ำเนินงาน ทั้งในระดับองค์การและระดับบุคคล แนวใหม่ ม าปรั บ ใช้ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย
การสร้างระบบสนับสนุนทั้งในด้านของบุคลากร๑๗ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
เช่ น ระบบการอบรม ระบบค่ า ตอบแทน หนองคาย
ระบบคุณธรรม และเทคโนโลยี เช่น ระบบข้อมูล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สารสนเทศ เพือ่ ช่วยให้หน่วยงานสามารถท�ำงานได้ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ
บรรลุวัตถุประสงค์ และการเปิดกว้างต่อแนวคิด พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า
ในเรื่องของการแข่งขัน ทั้งการแข่งขันระหว่าง เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๕ ได้ ท รงสถาปนาขึ้ น
หน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง และระหว่างหน่วยงาน โดยพระราชทานนามว่ า “มหาธาตุ วิ ท ยาลั ย ”
ของรัฐกับหน่วยงานของภาคเอกชน เมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๓๐ ต่อมาได้ทรงเปลี่ยน
๑๕
Christopher Hood, A public management for all seasons, (Public Administration, (69),
1991), pp. 3-19.
๑๖
กีรติ ยศยิ่งยง, การจัดการความรู้ในองค์การและกรณีศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : มิสเตอร์ก๊อปปี้
(ประเทศไทย) จ�ำกัด, ๒๕๔๙), หน้า ๓๘-๓๙.
๑๗
ทิพาวดี เมฆสวรรค์, การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์คณะกรรมการว่าด้วย การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน
ของหน่วยงานของรัฐ, (กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, ๒๕๔๐), หน้า ๒๔.
180 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

จากมหาธาตุวิทยาลัยเป็น “มหาจุฬาลงกรณราช กรณราชวิ ท ยาลั ย ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ เลขที่ ๒๑๙


วิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์” เมื่อวันที่ ๑๓ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลค่ายบกหวาน อ�ำเภอเมือง จังหวัด
กันยายน พุทธศักราช ๒๔๓๙ จนกระทัง่ พุทธศักราช หนองคาย รู ป แบบการบริ ห ารจั ด การยึ ด ตาม
๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
เดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ มีรองอธิการบดีเป็นผู้บังคับ
พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช บัญชา และรับผิดชอบการบริหารงานของวิทยาเขต
วิทยาลัย ให้มีสถานภาพเป็นนิติบุคคล และเป็น ตามที่ อ ธิ ก ารบดี ม อบหมาย มี ห น่ ว ยงานหลั ก
มหาวิทยาลัยของรัฐ ตามประกาศในราชกิจจา ๔ หน่วยงาน ประกอบด้วย ๑) ส�ำนักงานวิทยาเขต
นุเบกษา เล่มที่ ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ หนองคาย มี ห น่ ว ยงานในสั ง กั ด ได้ แ ก่
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐๑๘ ปัจจุบันมหาจุฬาลงกรณ คณะกรรมการประจ�ำส�ำนักงาน ฝ่ายบริหารงาน
ราชวิทยาลัยตั้งส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่ต�ำบลล�ำไทร ทั่ ว ไป ฝ่ า ยคลั ง และวั ส ดุ ฝ่ า ยกิ จ การนิ สิ ต
อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอน และโครงการครู พ ระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น
ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอก ทั้งส่วน ๒) ส�ำนักวิชาการวิทยาเขตหนองคาย มีหน่วยงาน
กลางและส่วนภูมภิ าคกว่า ๔๐ จังหวัดทัว่ ประเทศ๑๙ ในสังกัด ได้แก่ คณะกรรมการประจ�ำส�ำนักงาน
รูปแบบการบริหารงานในลักษณะเป็นมหาวิทยาลัย ฝ่ า ยวิ ช าการและวิ จั ย ฝ่ า ยทะเบี ย นและวั ด ผล
ของรั ฐ เพราะถื อ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย สงฆ์ ไ ทย ฝ่ า ยห้ อ งสมุ ด และเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
แห่งคณะสงฆ์ไทย ฝ่ายมหานิกาย การบริหารและ ๓) วิทยาลัยสงฆ์หนองคาย มีหน่วยงานในสังกัด
การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความสัมพันธ์ ได้แก่ คณะกรรมการประจ�ำส�ำนักงาน ฝ่ายบริหาร
ทางกฎหมายทั้งกับรัฐบาลและคณะสงฆ์๒๐ งานทัว่ ไป ฝ่ายวางแผนและวิชาการ คณะกรรมการ
ในส่ ว นของวิ ท ยาเขตหนองคายนั้ น ประจ�ำสาขาวิชา และหน่วยวิทยบริการจังหวัด
จัดตั้งขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๑ ที่วัดศรีษะเกษ สกลนคร และ ๔) วิ ท ยาลั ย สงฆ์ น ครพนม
อ�ำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ซึง่ ถือเป็น มีหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ คณะกรรมการประจ�ำ
วิทยาเขตแห่งแรกของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง วิทยาลัยสงฆ์ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายวางแผน

๑๘
หัฏฐกรณ์ แก่นท้าว, “การพัฒนาบทบาทมหาวิทยาลัยสงฆ์ของรัฐเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน”,
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), ๒๕๕๗.
๑๙
พระธรรมโกศาจารย์, ยุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสงฆ์. แหล่งทีม่ า : http://www.mcu.ac.th/
site/pres_info_content_desc.php?p_id=13 [๑ มีนาคม ๒๕๕๙].
๒๐
พระราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้าที่
๒๕ เล่มที่ ๒๕ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐.
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 181

และวิชาการ และคณะกรรมการประจ�ำสาขาวิชา๒๑ บริหารจัดการของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ


ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย มีประสิทธิภาพ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย เปิดท�ำการเรียน และสามารถปรั บ ตั ว ให้ ทั น ต่ อ กระแสการ
การสอนในระดับปริญญาตรี ๔ สาขาวิชา ได้แก่ ๑) เปลี่ยนแปลงของสังคมยุคปัจจุบันมากยิ่งขึ้น ผู้
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ ๒) เขียนจึงขอเสนอแนะแนวทางในการประยุกต์ใช้
สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ ๓) สาขาวิชา แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New
ภาษาอังกฤษ คณะมนุษย์ศาสตร์ ๔) สาชาวิชา Public Management) เพื่อน�ำมาปรับใช้ในการ
รัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และเปิดสอนในระดับ บริหารจัดการให้เหมาะแก่บริบทของมหาวิทยาลัย
ปริญญาโท ๑ สาขาวิชา คือ สาขาวิชาพระพุทธ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
ศาสนา หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต นอกจาก
นั้ น ยั ง มี ก ารเปิ ด สอนในระดั บ ประกาศนี ย บั ต ร ๖. ทิศทางการก�ำหนดกระบวนทัศน์ในการ
๒ หลักสูตร คือ ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
คณะสงฆ์ และประกาศนียบัตรการสอนศีลธรรม กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย
ในโรงเรี ย น มี นิ สิ ต ที่ เ ป็ น พระภิ ก ษุ สามเณร ภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐ
และคฤหั ส ถ์ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศเข้ า ศึ ก ษา แนวใหม่
เป็นจ�ำนวนมากทุกปีการศึกษา๒๒ จากการทบทวนวรรณกรรม และแนวคิด
จะเห็นได้ว่า มหาวิทยาลัยสงฆ์โดยเฉพาะ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ข้างต้น พบว่า
อย่างยิง่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลั ก การส� ำ คั ญ ของการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ
วิทยาเขตหนองคาย เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่ให้ แนวคิ ด ใหม่ นั้ น เป็ น การมุ ่ ง เน้ น การลดขนาด
บริการด้านการศึกษาแก่สังคม มีโครงสร้างและ ขององค์กรให้มีความคล่องตัวเพื่อสะดวกรวดเร็ว
ระบบการบริหารจัดการที่มีความเป็นเอกลักษณ์ มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสามารถปรับตัวได้
เฉพาะตัว โดยมุ่งการบริหารจัดการในรูปแบบของ อย่ า งรวดเร็ ว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพ
หน่วยงานราชการที่มีโครงสร้างอ�ำนาจหน้าที่ตาม แวดล้อม ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร พร้อมกับ
กฎหมาย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และพันธกิจ พัฒนาระบบการให้บริการที่ทันสมัย โดยการน�ำ
ของมหาวิทยาลัย ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการ เทคโนโลยี ม าใช้ ข ณะที่ ก ารปฏิ บั ติ ง านของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, โครงสร้างการบริหาร. แหล่งที่มา :


๒๑

http://www.mcunk.ac.th/data_4374 [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].


๒๒
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, หลักสูตรมหาวิทยาลัย. แหล่งที่มา :
http://www.mcu.ac.th/site/curriculum.php [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].
182 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีลักษณะมุ่งผล เพื่ อ วางแนวทางการด� ำ เนิ น งานให้ เ หมาะสม


สัมฤทธิ์ของงาน และยึดประโยชน์ของประชาชน สอดคล้องกับสถานการณ์ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการก�ำหนด
ผูใ้ ช้บริการเป็นเป้าหมาย สร้างและพัฒนากลไกการ กรอบหรือทิศทางการท�ำงานขององค์กรให้ชัดเจน
บริหารงานบุคคลที่ได้มาตรฐานสร้างวัฒนธรรม โดยการเขี ย นวั ต ถุ ป ระสงค์ ข ององค์ ก รไว้ อ ย่ า ง
และบรรยากาศในการท� ำ งานแบบมี ส ่ ว นร่ ว ม เป็นระบบ ซึ่งจะท�ำให้เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้
มุ่งเน้นการบริหารงานที่มีความโปร่งใส มีความ อย่ า งเหมาะสม ช่ ว ยให้ อ งค์ ก รปรั บ ตั ว ตาม
รับผิดชอบ และตรวจสอบได้๒๓ ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ สภาวการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ และสามารถ
เข้ากับบริบทของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ปรับทิศทางการด�ำเนินงานได้สอดคล้องกับสภาวะ
วิทยาลัย วิทยาเขตหนองคายแล้ว ผู้เขียนจึงมี ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาและทิศทางการ ๓. พั ฒ นาระบบการบริ ห ารจั ด การ
บริ ห ารจั ด การตามแนวคิ ด การบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรบุคคล (Human Resource Development)
ภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ดังนี้ การบริ ห ารและพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลใน
๑. บูรณาการรูปแบบองค์กร (Integrated มหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งพั ฒ นาให้ ส อดรั บ กั บ การใช้
Organizational) มุ่งพัฒนาระบบการจัดองค์กร เครื่องมือหรือวิธีการบริหารสมัยใหม่ การบริหาร
แบบบู ร ณาการ โดยการสร้ า งความเชื่ อ มโยง และพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงต้องเร่งปรับตัวตาม
ของฝ่ายงานต่างๆ เข้าด้วยกัน และพัฒนาให้เป็น อย่างรวดเร็ว ด้วยการปรับพื้นฐาน (Platform)
จุดบริหารหรือจุดบริการแบบ One-Stop Service เพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาทักษะที่มีความ
เพือ่ บูรณาการเชือ่ มโยงหน่วยงานภายในให้ทำ� งาน จ�ำเป็นต่อการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ มุ่งเน้นให้
ร่ ว มกั น พร้ อ มกั บ การพั ฒ นาให้ ม หาวิ ท ยาลั ย บุคคลากรตระหนักและเรี ยนรู้หลักการบริหาร
เป็ น องค์ ก รแห่ ง ความรู ้ (The Knowledge จัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่มุ่งความพึงพอใจของ
Organization) เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ ผูร้ บั บริการ สร้างวัฒนธรรมในการร่วมงานทีเ่ ต็มไป
ตามแนวคิดของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ด้วยความรักและความสามัคคี
๒. มุ ่ ง การบริ ห ารจั ด การเชิ ง กลยุ ท ธ์ ๔. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การ
(Strategic Management) เพือ่ การบริหารจัดการ บริการการศึกษาที่ทันสมัย (Technology for
อย่างเป็นระบบจากวิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่ผ่าน Education) โดยการส่งเสริม สนับสนุนให้มีวัสดุ
กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ และประเมิ น สภาพ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการ
แวดล้ อ ม ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร จัดเก็บข้อมูล ให้เพียงพอกับการใช้งานและพัฒนา

๒๓
จุมพล หนิมพานิช, การบริหารจัดการภาครัฐใหม่ : หลักการ แนวคิด และกรณีตัวอย่างของไทย, พิมพ์
ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๐), หน้า ๔๑๔-๔๑๖.
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 183

บุคลากรทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบระบบสารสนเทศให้มี หรือเป้าหมายทีใ่ กล้เคียงกัน เพือ่ สร้างความร่วมมือ


ความรู้ความสามารถ โดยเฉพาะระบบการบริการ ทางด้านวิชาการ บุคลากร และด้านอื่นๆ ที่เป็น
แก่นักศึกษา เช่น การสมัครเรียนออนไลน์ ระบบ ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ
การลงทะเบียนเรียนออนไลน์ เป็นต้น รวมทั้ง
ประสานความร่ ว มมื อ และเชื่ อ มโยงเทคโนโลยี ๗. สรุป
สารสนเทศกั บ สถานศึ ก ษาและองค์ ก รอื่ น ๆ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New
เพื่อท�ำให้เกิดองค์การรูปแบบใหม่ที่มีลักษณะเป็น Public Management : NPM) นับเป็นกระบวน
เครือข่ายที่เชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ทัศน์ทางการบริหารจัดการที่ปรับเปลี่ยนแนวทาง
๕. เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยทางการศึ ก ษา หรือวิธีการด�ำเนินงานของภาครัฐ โดยให้ความ
(Network Education) ทั้งนี้เนื่องจาก ในอนาคต ส�ำคัญกับการบริหารจัดการเพือ่ มุง่ ผลสัมฤทธิ์ และ
การอยู่โดดเดี่ยวขององค์การมีความเป็นไปได้ยาก การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับปรุง
ความเชื่อมโยงกับองค์การอื่นภายนอก จะมีความ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ มีการใช้เทคโนโลยี
ส�ำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยจะต้องปรับตัว สารสนเทศ และมุ่งใช้วิธีการบริหารเชิงกลยุทธ์
และสร้างความร่วมมือในลักษณะเป็นพันธมิตร เพือ่ สนองความต้องการของประชาชน โดยการจัด
ระหว่ า งองค์ ก รหรื อ สถาบั น เพื่ อ แลกเปลี่ ย น องค์การที่มีความยืดหยุ่นและกระจายอ�ำนาจการ
ทรั พ ยากร เทคโนโลยี ความรู ้ หรื อ ต้ น ทุ น ตัดสินใจเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว แต่ทั้งนี้
โดยขอบเขตการศึกษาองค์การ จึงจ�ำเป็นต้องขยาย แนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่กย็ งั ขาด
จากองค์กรเดียวไปยังองค์กรอื่นที่มีสายสัมพันธ์ เอกลักษณ์และขาดกรอบความคิดที่ชัดเจน ดังนั้น
เชือ่ มโยงกัน ดังนัน้ มหาวิทยาลัยจะต้องสร้างความ การประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวจึงขึ้นอยู่กับความ
สั ม พั น ธ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ที่ อ ยู ่ ใ กล้ เ คี ย งทั้ ง ในและ สามารถและบริบทขององค์กรต่างๆ ที่จะน�ำมาใช้
ต่างประเทศ รวมทั้งมหาวิทยาลัยที่มีวัตถุประสงค์ ให้บรรลุตามเป้าหมายขององค์กรต่อไป

บรรณานุกรม
๑. ภาษาไทย
(๑) หนังสือ :
กีรติ ยศยิ่งยง. การจัดการความรู้ในองค์การและกรณีศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มิสเตอร์ก๊อปปี้
(ประเทศไทย) จ�ำกัด, ๒๕๔๙.
จุมพล หนิมพานิช. การบริหารจัดการภาครัฐใหม่ : หลักการ แนวคิด และกรณีตัวอย่างของไทย.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๐.
184 ธรรมทรรศน์ ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐

ทิพาวดี เมฆสวรรค์. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์คณะกรรมการว่าด้วย การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน


ของหน่วยงานของรัฐ. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, ๒๕๔๐.
พระราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐. หน้าที่
๒๕ เล่มที่ ๒๕ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐.
พิทยา บวรวัฒนา. แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกา ๒. ประมวลสาระชุด
วิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ ๔. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช, ๒๕๕๒.
วรเดช จันทรศร. ปรัชญาการบริหารภาครัฐ. พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สหายบล็อกและการพิมพ์,
๒๕๔๑.
(๒) วารสาร :
พระมหาโยธิน โยธิโก. “พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าทีม่ ตี อ่ ชนชัน้ ล่าง”. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์,
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓ (พฤศจิกายน-ธันวาคม ๒๕๕๙).
สัญญา เคณาภูมิ. “ปรัชญาการวิจัย : ปริมาณ : คุณภาพ”. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, ปีที่ ๓
ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๗).
_______. “การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์โดยการคิดเชิงเหตุผล”. ราชภัฏ
เพชรบูรณ์สาร, ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๗).
_______. “การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย เชิ ง ปริ ม าณทางรั ฐ ประศาสนศาสตร์ จากการทบทวน
วรรณกรรม”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน
๒๕๕๗).
โสวิทย์ บ�ำรุงภักดิ์ และทักษิณาร์ ไกรราช. “ความเข้าใจเรื่อง “การบูรณาการ” ระหว่างพุทธศาสนากับ
ศาสตร์สมัยใหม่”. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๑ (มีนาคม-มิถนุ ายน ๒๕๕๙).
(๓) วิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์/สารนิพนธ์/รายงานวิจัย :
หัฏฐกรณ์ แก่นท้าว. “การพัฒนาบทบาทมหาวิทยาลัยสงฆ์ของรัฐเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน”.
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๕๗.
(๔) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ :
พระธรรมโกศาจารย์. ยุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยสงฆ์. แหล่งที่มา : http://www.mcu.
ac.th/site/pres_info_content_desc.php?p_id=๑๓, [๑ มีนาคม ๒๕๕๙].
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย. โครงสร้างการบริหาร. แหล่งที่มา :
http://www.mcunk.ac.th/data_4374 [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].
ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๒ ประจ�ำเดือน พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๐ ธรรมทรรศน์ 185

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย. หลักสูตรมหาวิทยาลัย. แหล่งที่มา :


http://www.mcu.ac.th/site/curriculum.php [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].
วสันต์ สุทธาวาศ. ทฤษฎีองค์การ ในศตวรรษที่ ๒๑ : The next station of Organization Theory.
แหล่งที่มา : http://www.edsiam.com [๑ มิถุนายน ๒๕๕๙].
สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ : กระแสหลักของการเปลีย่ นแปลงในการบริหาร
งานภาครัฐ. แหล่งทีม่ า : http://www.esbuy.net/site/download-file.php? doc_id=4312
[๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙].

๒. ภาษาอังกฤษ
(1) Book :
Christopher Hood. A Public Management for all Seasons. Public Administration (69), 1991.
Hiromi Yamamoto. New Public Management-Japan’s Practice. Japan : Institute for
International Policy Studies Publications, 2003.
Robert B. Denhardt and Joseph W. Grubbs. Public administration : An Action Orientation.
6th ed. USA : Wadsworth/Thomson Learning Publications, 2003.
(2) Journal :
Sowaribi Tolofari. “New Public Management and Education”. Policy Futures in Education,
Vol. 3 No. 1 (2005).
(3) Website :
Mariko & Keiichi Eguchi. The Limited Effect of PBL on Learners : A Case Study of
English Magazine Projects. (Asian EFL Journal. Retrieved 6 September 2007).
from : http://www.asian-efl-journal.com [1 6 2016].

You might also like