You are on page 1of 26

SPA II-6 ระบบการจัดการดานยา

II – 6.1 การวางแผน การจัดการ การเก็บและสํารองยา


(Medication Planning, Management, and Storage)
องคกรสรางความมั่นใจในระบบการจัดการดานยาที่ปลอดภัย เหมาะสม และไดผล
พรอมทั้งการมียาที่มีคุณภาพสูงพรอมใชสําหรับผูป วย

ก. การวางแผนและการจัดการ ข. การเก็บและสํารองยา
2 บัญชียาโรงพยาบาล 3 จัดหายา 1
การเก็บ/สํารองยา
จํากัดรายการ มาตรการความปลอดภัย ยาในบัญชี ยาขาดแคลน
เพียงพอ มีคุณภาพ คงตัว พรอมใช
สําหรับยาใหมและยานอกบัญชี ยาจําเปนเรงดวน
4
4 ลดความเสี่ยงในการใชยา ยา/เวชภัณฑฉุกเฉิน
1 คณะกรรมการ ระบุยา ออกแบบกระบวนการ 2 ในหนวยดูแลผูปวย การจัดการกับ
สหสาขาวิชาชีพ ควบคุม ทดแทน ยาที่ถูกสงคืน
กําหนดทิศทาง สงเสริม
ระบบที่มีประสิทธิภาพ
3 ระบบจายยาเมื่อ
นโยบายปองกัน ME/ADE หองยาปด

5
ตอบสนอง ME/ADE
อยางเหมาะสม 6 สื่อสาร
การใชยา ยาที่มีคณภาพสูง
ใหความรู พรอมใช

7 ประเมินและปรับปรุง

II – 6.2 การใชยา (Medication Use)


องคกรสรางความมั่นใจวามีการสั่งใชยาและการใหยา ที่ปลอดภัย ถูกตอง เหมาะสม และไดผล

ก. การสั่งใชยาและถายทอดคําสั่ง ข. การเตรียม จัดจาย และใหยา


10
5
Drug Reconcile ยาที่ผูปวยนํามา
ขอมูลผูปวย รับใหม ยาย จําหนาย
1
4 สงมอบให
ทั่วไป โรค lab หนวยดูแลผูปวย
1 ทบทวน คําสั่ง
เหมาะสม ปลอดภัย
คําสั่งใชยา ตรวจสอบ
2 ขอมูลยา ชัดเจน เหมาะสม 7
2 จัดเตรียม ใหยาแกผูปวย
4
9
นโยบาย สื่อสาร/
3 ปองกัน ถายทอดคําสั่ง 3 ติดฉลาก 8
ผูปวยไดรับขอมูล ติดตามผล
ME/ADE ถูกตอง มีมาตรฐาน มีสวนรวม บันทึก
ตรวจสอบ สงมอบใหผูปวย
ความถูกตอง 5

สิ่งแวดลอมทางกายภาพ รายงาน
7 เหตุการณที่ไมพึงประสงค
6
สะอาด พื้นที่ แสงสวาง ไมรบกวน ความคลาดเคลื่อนทางยา

1
ความสําคัญ
การจัดการดานยา เปนองคประกอบสําคัญ ในการบรรเทา การบําบัดอาการ การปองกัน และการใหการ
รักษาโรคและสภาวะของผูปวย การจัดการดานยาครอบคลุมระบบและกระบวนการที่องคกรใชในการ
ใหบริการดานเภสัชกรรมบําบัดแกผูปวย การจัดการดานยาไมใชเปนความรับผิดชอบของกลุมงาน/ฝายเภสัช
กรรม แตยังเปนความรับผิดชอบรวมของผูใหบริการหรือหัวหนางาน/ผูจัดการทางคลินิก ตองการความ
เปนสหสาขาวิชาชีพ อันเปนความพยายามที่จะประสาน บูรณาการกิจกรรมของบุคลากรในสถานบริการ
สุขภาพ บนหลักการของการออกแบบกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ การนําลงสูการปฏิบัติ และ การปรับปรุง
การคัดเลือก การจัดหา การเก็บรักษา การสั่งใชยา การถายทอดคําสั่ง การกระจาย การเตรียม การสงมอบ
การบริหาร การบันทึกเอกสาร และการติดตาม ที่เกี่ยวของกับการบําบัดดานยา นอกจากนี้ในเชิงระบบยัง
ครอบคลุมเรื่องการวางแผน การจัดองคกร และการประเมินผลการจัดการเชิงระบบ ทัง้ นี้โดยมีเปาประสงค
หลักที่สําคัญคือความปลอดภัยผูปวย

6.1 การวางแผน การจัดการ การเก็บและสํารองยา (MMS.1)


องคกรสรางความมั่นใจในระบบการจัดการดานยาทีป่ ลอดภัย เหมาะสม และไดผล พรอมทั้งการมี
ยาที่มีคุณภาพสูงพรอมใชสําหรับผูปวย.

ก. การวางแผนและการจัดการ
(1) มีคณะกรรมการหรือกลุมบุคคลที่มาจากสหสาขาวิชาชีพ ทําหนาที่กําหนดทิศทางและสงเสริมใหเกิด
ระบบการจัดการดานยาที่มีประสิทธิภาพ.
• การจัดตั้งคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด หรือคณะกรรมการยา ที่ประกอบดวยบุคลากร
จากสหสาขาวิชาชีพ อาทิ เชน
o ผูอํานวยการหรือผูที่ผูอํานวยการมอบหมายเปนประธาน
o เภสัชกร 1-2 คน ทําหนาที่กรรมการและเลขานุการ และ/หรือผูชวยเลขานุการ
o แพทยผูแทนจากสาขาหลัก ตามความเหมาะสม และ/หรือ
o หัวหนาฝาย/กลุมงานการพยาบาล และ/หรือ
o บุคลากรสายสนับสนุนทางการแพทยที่เหมาะสมเชน เทคนิคการแพทย
• คณะกรรมการดังกลาวตองมีการประชุมพิจารณารายการยาเพื่อที่จะนําเขา-ออก และแนวทาง
ปฏิบัติที่สําคัญ อยางนอยปละครั้ง เชน การประกาศนโยบายที่สําคัญๆดานยา เพื่อความ
ปลอดภัยที่เกี่ยวของกับยา การกําหนดคาบริการ การทบทวนการสั่งใชยา การติดตามความ
เหมาะสมของการสั่งใชยา เปนตน สําหรับกิจกรรมในการติดตามผล โดยมุงเนนความปลอดภัย
ผูปวยใหเปนไปตามความเหมาะสมของแตละองคกร ทั้งนีค้ วรคํานึงถึง
o พันธกิจขององคกร ความตองการของผูปวย และประเภทของการใหบริการ
o โรงพยาบาลรัฐบาล ควรคํานึงหรือกําหนดสัดสวนรายการยาในบัญชียาหลักแหงชาติ
และนอกบัญชียาหลักฯ
o สําหรับโรงพยาบาลเอกชน (หรือแมแตโรงพยาบาลรัฐบาล) อาจคํานึงสัดสวนในลักษณะ
ยาชวยชีวิต: ยาจําเปน: ยาทั่วไป (live saving drugs: essential drugs: non-essential
drugs)

2
• หนาที่ความรับผิดชอบดูแล กํากับ ครอบคลุมกระบวนการหลัก 8 กระบวนการ ตั้งแต
o การวางแผนและการจัดองคกร
o กระบวนการคัดเลือกยา และการจัดหา
o การควบคุมเก็บรักษา การสํารอง
o การสั่งใชยา การถายทอดคําสั่ง
o การเตรียมและการจายยา
o การบริหารยา
o การติดตามผลตามคําสั่งการรักษา และ
o การประเมินผล
• คณะกรรมการฯ ควรกําหนดแนวทางการประเมินผลความสําเร็จผานการติดตาม performance
indicators หรือตัวบงชี้คุณภาพที่สะทอนระบบ เชน กระบวนการหลักที่มกี ารดําเนินการใน
ลักษณะปจจัยนําเขา หรือไมเกิดอุบัติการณรายแรงที่สามารถปองกันไดจากปจจัยสาเหตุเชิง
ระบบ และสนับสนุนใหมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งการรายงานตาม
วงรอบเวลาที่กําหนด
• คณะกรรมการฯ จะมีองคประกอบมากหรือนอยขึ้นกับบริบทของโรงพยาบาล และอาจแยกเปน
คณะอนุกรรมการในแตละประเภทกลุมยา ตลอดจนคณะกรรมการที่เกีย่ วของอื่นๆ เชน
คณะกรรมการความปลอดภัยทางยา
• ควรมีแนวทางที่ชัดเจนในการประสานกับทีมพัฒนาคุณภาพอื่นเกี่ยวของ

(2) มีการจัดทําบัญชียาโรงพยาบาลเพื่อจํากัดใหมีรายการยาเทาที่จําเปน มีการทบทวนบัญชียาอยางนอยป


ละครั้ง มีการกําหนดมาตรการความปลอดภัยสําหรับยาใหมที่มีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนสูง รวมทั้งมี
แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมในการขอใชยาที่อยูนอกบัญชียาเมื่อจําเปน
• คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด กําหนดแบบนําเสนอรายการยาเขาบัญชีโรงพยาบาล
อยางนอยประกอบดวยขอมูลทั่วไปของยา ไดแก
o ชื่อสามัญ ชื่อการคา
o ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
o การจําแนกกลุมยาตามบัญชียาหลักฯหรือตําราอางอิงตามความเหมาะสม
o ขอบงใช

3
o ยาอื่นๆที่มีในโรงพยาบาลที่อยูในกลุมเดียวกัน
o ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นสําหรับยาเดิมที่จะพิจารณาตัดออก
o เหตุผลสําหรับการขอเพิ่มรายการยา
o ผูเสนอ และ
o ควรเพิ่มสวนของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดเชน การใหความคิดเห็น ผล
การพิจารณา
• กําหนดเกณฑการคัดเลือก โดยพิจารณาจากขอมูลยาที่มีเอกสารอางอิงซึง่ ประกอบดวยขอบงชี้
ประสิทธิผล อันตรกิริยาของยา ขอมูลความปลอดภัย โอกาสที่จะเกิดความคลาดเคลื่อน (เชนยา
ที่ชื่อพอง มองคลาย) การนําไปใชในทางที่ผิด ความเสี่ยงอื่นๆ และตนทุน เปนอยางนอย
• บุคลากรการแพทยมี หรือสามารถเขาถึงบัญชียาโรงพยาบาลที่เปนปจจุบัน
• สําหรับรายการยาที่เขาใหม โดยเฉพาะยาที่ยังไมมีขอมูลความปลอดภัยมากเพียงพอ ควร
กําหนดมาตรการความปลอดภัย เชน แบบฟอรมสั่งยามาตรฐาน แนวทางการสั่งใชยา ระบบ
ตรวจสอบ ระบบเตือนใจ ขอจํากัดในการใช การบริหารยา และการเก็บรักษายา ตลอดจนการ
ติดตามอุบัติการณไมพึงประสงคสําหรับยาที่ตองติดตามความปลอดภัย (Safety monitoring
program) รวมทั้งการใหขอมูลตอผูปวยถึงโอกาสที่จะเกิดเหตุการณไมพึงประสงค
• กรณีที่จําเปนตองใชยาที่อยูนอกบัญชียา มีกระบวนการในการอนุญาตและจัดหาโดยพิจารณา
ความจําเปน ผลขางเคียงที่ไมพึงประสงค ความเสี่ยง และความสามารถในการติดตามผล ทั้งนี้
ระบบการจัดการ การเบิกจาย ใหใชมาตรฐานเดียวกัน
• อยางไรก็ตามเพื่อใหการจัดทําบัญชียาโรงพยาบาลเปนจริงมากที่สุด ยาที่มีการใชสําหรับผูปวย
เฉพาะราย อาจพิจารณารับเขาเปนยาในโรงพยาบาล แตยังไมตองดําเนินการจัดซื้อมาสํารอง ซึ่ง
จะดําเนินการเมื่อเกิดความตองการเปนครั้งคราว
• ใหพิจารณารายการยาที่เขาใหม หากเปนรายการที่ถูกจัดหรือมีขอ มูลสนับสนุนวาเปนยาที่ตอง
ระมัดระวังสูง ใหดําเนินการตามแนวทางที่องคกรกําหนด ครอบคลุมกิจกรรมตั้งแตการสั่งใช
จนถึงการติดตามผล
• มีระบบการพิจารณาที่ทันตอเหตุการณ หากยาที่เขาบัญชีโรงพยาบาล มีการรายงานอุบัติการณ
รุนแรงทั้งในสวนขององคกรเอง หรือจากวารสารที่นาเชื่อถือ

(3) การจัดหายาเปนไปตามบัญชียาที่ผานการรับรอง. มีกระบวนการในการจัดการกับปญหายาขาดแคลน


และยาที่จําเปนเรงดวน
• กําหนดประเภทรายการยาเปน 3 ประเภท ไดแก ยาที่จําเปนตอการชวยชีวิต ยาที่จําเปนในการ
รักษาโรคที่สําคัญ ยาทั่วไปที่ใชในการบําบัด หรือบรรเทา โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการ
บําบัด ทั้งนี้สามารถประสานกับทีมดูแลผูปวยในแตละสาขาในการกําหนด เพื่อหลักประกันเรื่อง
ความพรอมใช และปองกันเหตุการณไมพึงประสงคดานยาที่รุนแรงจากการขาดคราวของยา
สําคัญ
• การจัดสรรงบประมาณโดยคํานึงถึงความสําคัญของยาแตละประเภท โดยเฉพาะยาที่จําเปนตอ
การชวยชีวิต วัคซีน หรือยาจําเปนที่สงผลกระทบตอผูปวยปริมาณมากหากเกิดการขาดคลัง

4
• มีแนวทางหรือชองทางการรายงาน การแจงแกแพทย หรือทีมงาน ในสวนที่เกี่ยวของกับรายการ
ยาที่ขาดชั่วคราว และหรือรายการยาที่ไมมีการผลิตอีก โดยใหขอเสนอแนะ หรือขอมูลวาจะ
ดําเนินการอยางไรในชวงดังกลาว
• ในกรณีที่ตองใชยาทดแทนรายการยาในบัญชีที่ไมสามารถดําเนินการจัดหา ควรมีการจัดทําแนว
ทางการใชหรือจายยาทดแทน การใหความรูเ กี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ ทั้งนีค้ วรไดรับการรับรอง
จากคณะกรรมการที่รับผิดชอบ
• ใหมีระบบที่ชัดเจนและสามารถเปนหลักประกันการจัดหายาที่จําเปนเรงดวน เชน ยาชวยชีวิต
ยาฉุกเฉิน วัคซีน เซรุม หรือยาอื่นๆ ที่องคกรกําหนดใหเปนยาสําคัญ รวมทั้งการจัดหาใน
สถานการณภัยพิบัติ การสรางระบบเครือขาย
• มีระบบการติดตาม การรายงานยาที่มีการเคลื่อนไหวมากกวาปกติ

(4) องคกรระบุยาซึ่งมีความเสี่ยงสูงหรือตองมีความระมัดระวังในการใชสูง, ออกแบบกระบวนการที่เหมาะสม


ปลอดภัยในการจัดหา เก็บรักษา สั่งใช ถายทอดคําสั่ง จัดเตรียม จาย ให และติดตามกํากับยา เพื่อลด
ความเสี่ยงในการใชยาเหลานี้.
• กําหนดรายการยาที่ตองระมัดระวังสูง โดยคณะกรรมการความปลอดภัยดานยา (Medication
Safety Team) โดยมีแนวทางกวางๆดังนี้
o เปนยาที่มีโอกาสเกิดความเสี่ยงตอการใชผิดวัตถุประสงค เชนยาเสพติด ยาควบคุมพิเศษ
บางรายการ
o เปนยาที่มีรายงานความถี่ของการเกิดคลาดเคลื่อนทางยาหรือเหตุการณไมพึงประสงคบอย
ในองคกร
o เปนยาที่มีรายงานวาเปนปจจัยสาเหตุ หรือเกี่ยวของกับเหตุการณพึงสังวร (sentinel
events) ทั้งในวารสารวิชาการ หรือในองคกร หรืออาจรวมถึงยาที่อยูระหวางการศึกษา
ทดลอง ยาที่ตองควบคุม ยาที่ไมอยูในบัญชียาโรงพยาบาล ยาที่มีพิสัยการบําบัดแคบ
(narrow therapeutic range) ยาทางจิตเวช ยาที่มีชื่อคลายกันหรือออกเสียงคลายกัน
(Look alike-sound alike drugs) การกําหนดใหอยูในดุลยพินิจของทีมสหสาขา หรือทีม
ดูแลผูปวย ซึ่งอาจแตกตางกันไดบางตามความเหมาะสม หรือบริบทของงาน/หอผูปวย
o ปจจัยที่อาจคํานึงรวมดวยในการกําหนดกลุมยาที่ตองระมัดระวังสูง คือแบบแผนที่เฉพาะ
ของการใชยาแตละองคกร ขอมูลอุบัติการณภายในองคกร
o อาจใชแบบสํารวจอยางงาย สํารวจความคิดเห็นบุคลากร ตอการจัดประเภทยาที่ตอง
ระมัดระวังสูง รวมกับการรายงานอุบัติการณ
o จัดทําแนวทางการจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูงเชิงระบบ นั่นคือครอบคลุมกระบวนการ
รักษาดวยยาตั้งแตการคัดเลือกยา การจัดหา การเก็บรักษา การสั่งจาย การคัดลอก การ
เตรียม การกระจาย การสงมอบ การบริหาร และการติดตาม
o มีสัญญลักษณ หรือเครื่องหมาย ที่รับรูร วมกันทั้งระบบวาเปนยาที่ตองระมัดระวังสูง อาจ
แยกเก็บเปนสัดสวน หรือเปนกลุมเพื่อใหเกิดความระมัดระวังทั้งในกระบวนการเก็บรักษา
การสํารองในแตละจุด

5
o สรางสื่อความรูที่สามารถนําลงสูการปฏิบัติในลักษณะ drug tips ที่งายตอการนําไปใช หรือ
เพื่อเปนแนวทางใหพยาบาลวางแผนในการติดตามผูปวยภายหลังไดรับยาที่ตองระมัดระวัง
สูง หรือแนบไปพรอมกับยาที่จัด เพื่อเปนการกระตุน เตือน ใหเภสัชกรสงมอบยาดวยความ
ชัดเจน ตามแนวทางที่กําหนด
o ใหสรางระบบการตรวจสอบอิสระซ้ําสําหรับยาที่ตองระมัดระวังสูง โดยเฉพาะในขั้นตอน
ของการรับคําสั่งใชยา การกระจาย การสงมอบ การเตรียม การบันทึก และการบริหารยา
o สําหรับโรงพยาบาลที่มีปญหาดานอัตรากําลัง ไมสามารถดําเนินการไดครอบคลุมทุก
รายการ การกําหนดรายการยาที่ตองระมัดระวังสูงที่ตองใหความสําคัญพิเศษในกลุมยาที่
ตองระมัดระวังสูงดวยกัน เพื่อการติดตามเฉพาะ เชน heparin, insulin, morphine,
potassium chloride และ warfarin ก็เปนขั้นตอนที่จําเปนเพื่อเพิ่มความเปนไปได
• องคกรจัดหาแหลงขอมูลสารสนเทศทางยา อยางเหมาะสม หรือมีศักยภาพในการเขาถึง
แหลงขอมูลทางยา ทั้งในสวนของกลุมงาน/ฝายเภสัชกรรมโดยตรง และในสวนของหอผูปวย
หรือหนวยงานที่ดูแลผูปวยสําคัญ
• สําหรับองคกรที่มีการศึกษาดานยาทางคลินิก ใหมีระบบการจัดการยาดังกลาวที่ชัดเจน แยกจาก
ยาที่อยูในบัญชียาโรงพยาบาล และตองดําเนินการครอบคลุมระบบการจัดการยาทั้ง 8 ดาน โดย
ดําเนินการในลักษณะโครงการที่ไดรับการรับรองใหมีการศึกษาได และเปนการพิทักษสิทธิผูปวย

(5) องคกรกําหนดนโยบายการปองกันความคลาดเคลื่อนทางยาและเหตุการณไมพึงประสงคจากยา และ


นําสูการปฏิบัติ. มีการตอบสนองอยางเหมาะสมตอเหตุการณไมพึงประสงคจากยาและความคลาดเคลื่อน
ทางยาที่เกิดขึ้นหรือที่มีโอกาสเกิดขึ้น.
• คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด ควรแตงตั้ง หรือสนับสนุนใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการ
ความปลอดภัยดานยา ขึ้นมาดูแล และวางระบบยา เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ผานการติดตาม
อุบัติการณ หรือเหตุการณไมพึงประสงคดานยาที่เกิดขึ้นในองคกร
• นโยบายการปองกันความคลาดเคลื่อนทางยาและเหตุการณไมพึงประสงคจากยาที่ควรมี ไดแก
การปองกันการสั่งใชคูยาที่มีอันตรกิริยารุนแรง สงเสริมการใชชื่อสามัญทางยา มาตรการเพื่อ
ปองกันคําสั่งใชยาที่มีโอกาสเกิดปญหา (เชน การใชคําสั่ง PRN การใชคาํ สั่งยืน การใชคําสั่งหยุด
ยาอัตโนมัติ การใชคําสั่งเดิมตอ การใชคําสั่งที่ปรับขนาดยา การใชคําสั่งลดยา การใชคําสั่งที่ระบุ
พิสัย การสั่งยาผสมซึ่งไมมีจําหนาย การสั่งใชอปุ กรณสําหรับใชยา การสั่งยาที่อยูระหวาง
การศึกษาทดลอง การสั่งยาสมุนไพร การสั่งยาเมื่อจําหนาย)
• กําหนดนโยบายความปลอดภัยดานยา โดยพิจารณาจากนโยบายและเปาประสงคในระดับองคกร
นโยบายองคกรวิชาชีพ หรือสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล และผลการวิเคราะห
ปจจัยสาเหตุของอุบัติการณองคกร หรือประเภทของอุบัติการณองคกรที่ไดรับการประเมินวามี
คะแนนความเสี่ยงสูง เพื่อใหเปนทิศทางสําหรับระดับหนวยงานในการวางแผน
• กําหนดความหมายของคําที่เกี่ยวของกับอุบตั ิการณ เหตุการณไมพึงประสงค หรือความคลาด
เคลื่อนที่งายตอการนําลงสูการปฏิบัติ และเปนไปตามความหมายที่ถูกตองในระบบความ

6
ปลอดภัย เชนเหตุการณพึงสังวร (sentinel event) ความคลาดเคลื่อนทางยาแตละประเภท
เหตุการณไมพึงประสงคดานยา อาการไมพึงประสงคดานยา เหตุเกือบสูญเสีย (Near miss)
• กําหนดระดับความรุนแรงของอุบัติการณ ในทางคลินิก อาจใชการแบงระดับความรุนแรงของ
ความคลาดเคลื่อนทางยา 9 ระดับ ตาม The National Coordinating Council for Medication
Error Reporting and Prevention และสรางความเขาใจรวมกันทั้งระบบ
• กําหนดแนวทางการรายงาน ระยะเวลา รูปแบบของบันทึก หรือการรายงาน ตามระดับความแรง
อุบัติการณ
• กําหนดบทบาทหนาที่ในระดับแกนนํา ทีมไกลเกลี่ย ในการจัดการอุบัติการณรายแรง การให
ขอมูล การสื่อสารที่เหมาะสม อยางทันเหตุการณ เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมา
• มีแนวทางในการปอนกลับขอมูลอยางเปนรูปธรรม และการติดตามประเมินผล ผานตัวบงชี้
คุณภาพในระดับตางๆ
• สงเสริมใหหนวยงานมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ จากการวางระบบ ตามวงลอคุณภาพ
• สงเสริมใหหนวยงานมีการศึกษาวิจัยที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของการปฏิบตั ิงานประจํา (routine to
research)
• มีการศึกษาวารสารทางวิชาการที่ทันสมัย เพื่อคนหาวิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยผูปวยที่ดีที่สุด
อยูตลอดเวลา โดยสรางบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนและเรียนรู นําไปสูการสรางโอกาสพัฒนา
ระบบยาที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น

(6) ผูประกอบวิชาชีพไดรับการประเมินและเพิ่มความรูความสามารถเกี่ยวกับระบบยา และการใชยาที่


เหมาะสม ปลอดภัยกอนเริ่มตนปฏิบัติงานและเปนประจําทุกป.
• องคกรควรมีแนวทางที่ชัดเจนในการปฐมนิเทศ และการฝกปฏิบัติงานกับบุคลากรใหมทุกระดับ
ที่มุงเนนเรือ่ งความปลอดภัยผูปวย ผานการนําอุบัติการณืที่เกิดขึ้น มาเปนกรณีศึกษาและ
เตือนใจ
• ฝายพัฒนาทรัพยากรบุคคลประสานองคกร หรืองานที่เกีย่ วของ ในการกําหนดทิศทางการพัฒนา
บุคลากรใหตอบเปาประสงคขององคกร โดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัย การสื่อสาร การทํางาน
เปนทีม และการสงตอขอมูลเพื่อประสิทธิภาพการรักษา รวมทั้งวัฒนธรรมองคกร
• ความรูความสามารถเกี่ยวกับระบบยา เชน ระบบยาของโรงพยาบาล ความปลอดภัยผูปวย การ
ดําเนินการเพื่อลดความคลาดเคลื่อน และบทบาทหนาที่ของบุคลากรการแพทยที่เกี่ยวของ
• เพิ่มความรูเรื่องการวิเคราะหปจจัยสาเหตุของอุบัติการณ หรือสอดแทรกเขาสูกิจกรรมทาง
วิชาการ เชน Dead case conference
• รวบรวมประเด็นปจจัยสาเหตุของอุบัติการณที่เกี่ยวของกับ competency and credentialing
เพื่อใหองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของ นําไปสูการกําหนดแนวทางเพื่อการพัฒนาสมรรถนะ

7
(7) องคกรประเมินและปรับปรุงระบบบริหารจัดการดานยาเปรียบเทียบกับเปาประสงคของระบบ มีการ
ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่ประสบความสําเร็จและเทคโนโลยีใหมๆ เกี่ยวกับระบบจัดการดาน
ยาอยางสม่ําเสมอ.
• คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดกําหนดนโยบายดานยา ทั้งนี้คณะกรรมการความ
ปลอดภัยดานยานํานโยบายดังกลาว กําหนดเปนเปาประสงค จากเปาประสงคกําหนดตัวบงชี้
คุณภาพ ทั้งในสวนที่เปนปจจัยนําเขา หรือความมุงหมาย กระบวนการ และผลลัพธของการ
ดําเนินการ
• สงเสริมใหเกิดการศึกษาระบบยา ทบทวนการใชยา จําแนกตามกระบวนการหลัก เชน
o การวางแผน ใหมีการศึกษาดานการติดตามผลสัมฤทธิ์ หรือการประสานงาน หรือการ
ตอบสนองตออุบัติการณ การสํารวจสถานการณการบริหารเวชภัณฑโดยใช VEN-ABC
analysis
o การคัดเลือก การจัดหา ประเมินเรื่องความพรอมใช คุณภาพของยา ผลกระทบของการ
จัดหายาไมทันตอผูปวย
o การสํารองยา สํารวจเรื่องการควบคุมเก็บรักษา ที่ไมเปนไปตามขอกําหนด หรือ ความ
เสี่ยงที่เกิดขึ้นในคลังยา
o การสั่งใช และการคัดลอก สงเสริมใหมีการทบทวนการสั่งใชยา โดยภาพรวมหรือรายการ
ยาที่สําคัญ หรือประเมินความเหมาะสมของการสั่งใชยา ในกลุมยาใหมหรือยาที่มีมูลคาการ
จัดซื้อสูง หรือยาที่มีความเสี่ยงอื่นๆ หรือศึกษาเหตุการณไมพึงประสงคทางยาที่เกี่ยวของ
กับความคลาดเคลื่อนในการสัง่ ใชยา
o การเตรียม และการจายยา รวบรวมอุบัตกิ ารณที่เกี่ยวของ เชน ความไมปราศจากเชื้อ หรือ
ความคลาดเคลื่อนทางยา ทั้งจากการเตรียม การจาย หรือเหตุการณไมพึงประสงครุนแรงที่
เกี่ยวของทางยา
o การบริหารยา สํารวจการจัดการยาบนหอผูปวย ความเสี่ยงที่นําไปสูการบริหารยา
คลาดเคลื่อน การจัดทําฉลาก IV admixtures
o การติดตาม ประเมินเหตุการณไมพึงประสงคที่เกี่ยวของกับการติดตามที่ไมเปนไปตาม
ขอกําหนด หรือความลาชาในการติดตามทั้งการประเมินอาการ หรือผลทางหองปฏิบัติการ
o การประเมินระบบ ติดตามผานเหตุการณไมพึงประสงคทางยา หรือ morbidity related
indicator
ข. การเก็บสํารองยา
(1) ยาทุกรายการไดรับการเก็บสํารองอยางเหมาะสมและปลอดภัย เพื่อสรางความมั่นใจวาจะมียาใชอยาง
เพียงพอ, มีคณุ ภาพและความคงตัว, พรอมใช, ปองกันการเขาถึงโดยผูไ มมีอํานาจหนาที่, ปองกัน
ความคลาดเคลื่อนทางยาและผลไมพึงประสงคจากยา, สามารถทวนกลับถึงแหลงที่มา, มีการตรวจสอบ
บริเวณที่เก็บยาอยางสม่ําเสมอ, โดยมีการปฏิบัติเพื่อเปาหมายดังกลาวทั่วทั้งองคกร.
• เภสัชกรงานบริหารเวชภัณฑ งานคลังฯ และงานบริการเภสัชสนเทศ ใหความสําคัญตอขอมูลการ
เก็บรักษา และสงเสริมใหมีการเก็บ สํารองทีเ่ ปนไปในแนวทางเดียวกันในทุกจุดที่มีการสํารองยา

8
โดยเฉพาะเงื่อนไขดานอุณหภูมิ การปองกันแสง โดยยึดขอมูลความคงตัวของผูผลิตเปนสําคัญ
ในกรณีที่ไมมีขอ เสนอแนะจากผูผลิตชัดเจน สามารถดําเนินการตามแหลงขอมูลที่นาเชือ่ ถือ
• ใหความสําคัญกับการตรวจรับยา เวชภัณฑ โดยปองกันการปะปนกับปริมาณยาที่มีอยูเดิม และ
ใหคงคุณภาพระหวางการรอตรวจรับ และดําเนินการตรวจรับใหเร็วที่สุด หรือไมเกินกวา
ระยะเวลาที่กําหนด
• กําหนดรายการยาที่ตองมีการตรวจรับ หรือการตรวจสอบคุณภาพการขนสงเปนพิเศษ เชนยาที่
ตองอยูในระบบหวงโซความเย็น ทั้งนี้เนนใหมีการตรวจสอบจริง มีการบันทึกผลการตรวจรับ
หากพบวาไมเปนไปตามขอกําหนด ใหมีระบบการจัดการ การเก็บรักษาเพื่อรอสงคืนที่ชดั เจน
• การบันทึกขอมูลการตรวจรับเขาคลังหรือการลงบัญชีควบคุม ใหดําเนินการภายใน 24 ชั่วโมงที่
กระบวนการตรวจรับเสร็จสิ้น
• กรณีที่มีปญหาดานคุณภาพยา ใหมีระบบที่สามารถเรียกเก็บกลับคืนยา และหากจําเปนจะตอง
สามารถเรียกเก็บกลับคืนยาที่อยูในความรับผิดชอบของผูปวยได รวมทั้งการใหขอมูลแกแพทย
พยาบาล บุคลากรการแพทยที่เกี่ยวของ หรือผูปวย ถึงเหตุผล ความจําเปน
• ระบบการเบิกจายจากคลัง โดยภาพรวม ควรดําเนินการตัดจายในลักษณะที่เปนกลองบรรจุ
หลีกเลี่ยงการจายหนวยยอย เพราะยากในการควบคุม
• คลังยามีการจัดการเรื่องอุณหภูมิ และความชื้นที่เปนไปตามขอกําหนด มีความสะอาด และ
แข็งแรง มีอุปกรณที่ชวยในการจัดเก็บ การเบิก
• ตูเย็นเก็บเวชภัณฑเหมาะสม เพียงพอ และมีระบบการติดตามอุณหภูมิอยางสม่ําเสมอ ทุกวัน
สําหรับตูเย็นเก็บวัคซีน หรือยาที่จําเปนตองควบคุมอุณหภูมิเขมงวด จําเปนที่จะตองมีระบบการ
สํารองไฟทันที ที่ไฟฟาจากภายนอกดับ
• คลังยาควรมีระบบปองกันการโจรกรรม และปองกันการเขาถึงโดยบุคลากรที่ไมใชเจาหนาที่
รับผิดชอบเฉพาะ หลีกเลี่ยงการเปดคลังคางไวทั้งวัน การถือกุญแจอาจมีมากกวา 1 รายที่รวม
รับผิดชอบ
• คลังยาควรมีระบบการจัดเก็บที่สามารถระบุสถานที่จัดเก็บ มีความเพียงพอ อยูในบริเวณ
เดียวกัน หลีกเลี่ยงการเก็บรักษายารายการเดียวกันแยกจากกัน ควรมีบัตรควบคุมที่คลังเพื่อ
สอบทานกับรายการยาและปริมาณในฐานขอมูล
• ยาควรเก็บในภาชนะ หรือหีบหอเดิม มีฉลากที่ครบถวน และจัดเก็บในระบบ first expired first
out สามารถบอกไดถึงกําหนดวันหมดอายุ
• ควบคุมเก็บรักษา ยากลุมพิเศษ เชนยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท ใหเปนไปตาม
ระเบียบที่เกี่ยวของ และรัดกุม หลีกเลี่ยงการเขาถึงโดยงาย และในกระบวนการเบิกจายกลุมยา
ดังกลาวเภสัชกรจะตองรับรูก อนทุกครัง้
• การเบิกจายเปนไปตามแนวทางที่กําหนด เนนใหมีการตรวจสอบ การตัดจาย และการอนุมัติการ
เบิกจายใหเปนไปตามระเบียบพัสดุฯ หรือกอนที่จะมีการจัด จาย ยกเวนในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งอาจ
ผานการรับรู อนุมัติกอนที่จะมีการตัดจาย

9
• ใหมีระบบการสุมตรวจสอบปริมาณคงคลังอยางเปนระบบและตอเนื่องทุกวัน กําหนดเปนตัวบงชี้
คุณภาพ เพื่อเปนการประกันคุณภาพ และใชเปนแนวทางการพัฒนา หรือสามารถตรวจพบ
ความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นไดทันตอเหตุการณ เชน รอยละความถูกตองของยาคงคลัง
(ครอบคลุมรอยละ 10 ของรายการยาทั้งหมด เปนตน) และการตรวจสอบตามวงรอบป
• การสรางความมั่นใจวายามีความคงตัว การดูแลสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมในดานอุณหภูมิ แสงสวาง
ความชื้น การถายเทอากาศ สําหรับยาที่มีความไวตออุณหภูมิ และ แสง โดยจัดใหมี
เทอรโมมิเตอรที่สามารถระบุอุณหภูมิต่ําสุด หรือสูงสุดในแตละรอบวัน รวมทั้งใหมีอุปกรณตรวจ
ความชื้น การบันทึกผลอยางตอเนื่อง และเปนประจํา
• ยาหมดอายุ ยาเสื่อมสภาพหรือยาที่เรียกเก็บกลับคืนเนื่องจากปญหาคุณภาพ ตองแยกออกไว
ตางหากอยางชัดเจน และระมัดระวังสําหรับรายการยาที่เสี่ยงตอการนําไปใชในทางที่ผิด ทั้งนี้ให
มีระบบการบันทึกรายการ ปริมาณที่ชัดเจน สําหรับยาที่ไมสามารถแลกเปลี่ยนใหมีระบบการ
กําจัดตามความเหมาะสม เชน การละลายน้ํา การเผา หรือการกําจัดโดยวิธีเฉพาะ
• การสํารองยาบนหอผูปวย หรือหนวยงานอืน่ ๆที่มิใชหองยา ใหมีเฉพาะรายการยาที่จําเปน
กําหนดโดยทีมดูแลผูปวยที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ใหมีระบบการสํารองที่สามารถควบคุมและมีการคืน
กลับตามความเหมาะสม เชน นําคืนกลับตามระบบการเบิกจายปกติ
• หลีกเลี่ยงการสํารองอิเล็คโทรไลตความเขมขนสูงบนหอผูป วย ยกเวนรายการที่มีความจําเปนที่
จะตองใชทันทีเพื่อความปลอดภัยผูปวย ซึ่งตองมีระบบหรือขอควรระวังในการเขาถึงเพือ่ ปองกัน
การบริหารคลาดเคลื่อนโดยไมไดตั้งใจ
• ยาที่สํารองนอกหนวยงานเภสัชกรรม ควรอยูในรูปที่พรอมบริหารที่ผลิตจากผูผลิตโดยตรง หรือ
อยูในรูปหนึง่ หนวยการใชที่มีฉลากและขอมูลครบถวน
• มีระบบการติดตามรายการยาที่ไมมีการเคลื่อนไหว โดยตองประสานแพทยผูเกี่ยวของ เพื่อรับรู
เหตุผล หรือปจจัยสาเหตุ ที่จะดําเนินการเพื่อไมใหเกิดการคางคลังยา หรือความเสียหาย

(2) มีการจัดใหมียา และ / หรือ เวชภัณฑฉุกเฉินที่จําเปนในหนวยดูแลผูป วยตางๆ อยูตลอดเวลา, มีระบบ


ควบคุม และดูแลใหเกิดความปลอดภัย, และมีการจัดทดแทนโดยทันทีหลังจากที่ใชไป
• คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด หรือทีมฉุกเฉิน กําหนดรายการยาฉุกเฉินที่ควรสํารอง
บริเวณหนวยฉุกเฉิน และหอผูปวยที่แตกตางกันไป ตามกลุม/ประเภท ผูปวย ทั้งนี้ควรคํานึงวา
การสํารองยาดังกลาว จําเปนที่จะตองใชวัสดุการแพทย หรือสวนประกอบจําเปนอื่นๆรวมดวย
หรือไม และปริมาณที่สํารองใหเหมาะสม สอดคลองกับขนาดที่ใชในการรักษาของยาแตละขนาน
ซึ่งในระยะแรกอาจใชเพื่อจัดการภาวะฉุกเฉิน เมื่อสามารถควบคุมสภาวะฉุกเฉิน จําเปนที่จะตอง
ใหตอเพื่อคงระดับการรักษา
• ระบบควบคุมยาฉุกเฉิน เชน มีการจัดเก็บยาฉุกเฉินในลักษณะที่สามารถระบุไดวายาที่บรรจุใน
ภาชนะนั้นยังมีครบถวนและไมหมดอายุ และมีแนวทางในการเติม อาจดําเนินการในลักษณะที่
เปนกระเปาฉุกเฉิน เมือ่ มีการใชใหนําไปแลก หรือมีระบบการสงตอขอมูลวามีการใช โดยฝาย
เภสัชกรรมเขามารวมรับผิดชอบเรื่องความพรอมใช

10
• หากเปนไปไดยาฉุกเฉินที่สํารองควรอยูในรูปที่พรอมใชทนั ที มีฉลากครอบคลุม และอาจ
สอดคลองกับกลุมอายุผูปวย ใหมีระบบการขานหรือทวนซ้าํ ชื่อยาเพื่อการรับรูรวมกัน เปนการ
ตรวจสอบอิสระ เพื่อลดความเสี่ยงจากการบริหารคลาดเคลือ่ น
• สนับสนุนแหลงขอมูลยาที่นาเชื่อถือ เนื่องจากความรีบดวน จําเปนที่จะตองมีไวเพื่ออางอิง เพื่อ
ปองกันความคลาดเคลื่อนรุนแรงที่อาจเกิดขึน้

(3) มีระบบที่จะจายยาเพื่อตอบสนองความตองการของผูป วยอยางปลอดภัยในเวลาที่หองยาปด


• มีการกําหนดเปนหนาที่ ความรับผิดชอบของบุคลากรอื่นๆที่ตองใหบริการจายยานอกเวลา อยาง
ชัดเจน ทั้งนี้ควรเปนแพทย หรือพยาบาลที่รับผิดชอบในการใหบริการแตละชวงเวลานั้นๆ
กําหนดแนวทางปฏิบัติ การควบคุมเก็บรักษา การจาย การตรวจสอบซ้ําอิสระ เพื่อลดหรือ
ปองกันความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น
• กําหนดรายการเทาที่จําเปนในการสํารองทีจ่ ุดจาย หรือบริเวณดังกลาว โดยอยูในรูปแบบ หรือ
ภาชนะที่พรอมจาย และเก็บรักษาตามเงื่อนไขของยาแตละรายการ ทั้งนี้ควรไดรับการรับรองจาก
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
• ใหมีการจัดทํารายการและปริมาณยาสํารองที่ชัดเจน และเมื่อมีการบริการใหรวบรวมคําสั่งใชยา
สงที่หองยาในวันรุงขึ้นเพื่อทําการทดแทน ทั้งนี้เภสัชกรควรเขามารับผิดชอบในการตรวจสอบ
และทบทวนทุกครั้ง
• กําหนดแนวทางปฏิบัติ ในกรณีที่มีความจําเปนที่จะตองใชยาที่ไมมีการสํารอง หรือเกิดขอสงสัย
ที่เกี่ยวของกับยาที่ใหบริการ โดยใหมีระบบการติดตามเภสัชกร เพื่อใหบริการตามความ
เหมาะสม เนื่องจากยาดังกลาวมักเปนยาจําเปน หรือยาที่ตองระมัดระวังสูง

(4) มีการจัดการกับยาที่สงคืนมาที่หองยาอยางเหมาะสม เชน ยาที่แพทยสั่งหยุดใช


• ประสานกับแพทยเรื่องการสั่งหยุดใชยาที่หนาปจจุบันของ physician’s order sheet
• กําหนดแนวทางปฏิบัติในการตรวจรับยาที่สงคืนจากหอผูปว ย หากเปนเม็ดยาเปลือยพิจารณา
การทําลาย หากเปนยาที่อยูในแผง สามารถที่จะนํามาไวเพื่อบริการตอไป
• กรณีที่เภสัชกรรับคําสั่งพบวาแพทยมีการสั่งหยุดยา แตไมมีการคืนยา ใหประสานกับหอผูปวย
เพื่อนํายาลงมาคืน หรือเก็บแยก เพราะบอยครั้งพบวาจะมีการใหยาตอเนื่องไปจนจบวัน จัดเปน
การบริหารยาคลาดเคลื่อน
• หากเปนยาของผูปวยที่ใชอยูในโรงพยาบาล เชน multiple dose vial ที่จําเปนตองใชตอ หรือ
insulin injection ใหมรี ะบบการจายยาดังกลาวแกผูปวย พรอมใหคําแนะนํา การเก็บรักษา และ
อุปกรณที่ตองใชประกอบ

11
6.2 การใชยา (MMS.2)
องคกรสรางความมั่นใจวามีการสั่งใชยาและการใหยาที่ปลอดภัย ถูกตอง เหมาะสม และไดผล.
ก. การสั่งใชยาและถายทอดคําสั่ง
(1) ผูที่เกี่ยวของกับระบบยาสามารถเขาถึงขอมูลเฉพาะของผูปวยแตละราย ไดแก ขอมูลทั่วไป การ
วินิจฉัยโรคหรือขอบงชี้ในการใชยา, และขอมูลทางหองปฏิบัติการที่จําเปน
• องคกรกําหนดระดับขอมูล และบุคลากรที่สามารถเขาถึงฐานขอมูลผูปวย เพื่อสรางระบบการ
ตรวจสอบขาม และเพื่อปองกันความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งการสั่งการรักษาที่ซ้ําซอน
• ขอมูลทั่วไปที่สําคัญ เชน การแพยา การตั้งครรภ น้ําหนักตัว พื้นที่ผิวเมื่อตองใชคํานวณขนาดยา
ควรมีอยูในเอกสารที่เกี่ยวของกับการสั่งการรักษาทุกประเภท เชน ใบสั่งยา แฟมประวัติผูปวย
ซึ่งอาจแตกตางไปตามประเภท หรือคลินิกทีร่ ักษา
• การกําหนดประเภทบุคลากรที่สามารถเพิ่มเติม หรือปรับแกขอมูล ในฐานขอมูลแตละประเภท
เชนการปรับขอมูลสถานะการแพยาของผูร บั บริการโดยเภสัชกร

(2) มีขอมูลยาที่จําเปนในรูปแบบที่ใชงาย ในขณะสั่งใช จัด และใหยาแกผูปวย.


• สรางสื่อ หรือบัตรยา บันทึก โปสเตอร ที่สรุปประเด็นสําคัญ แนวทางปฏิบัติดานยา เพื่อใหงาย
ตอการนําไปใช เชน ความเขากันไดของยาในโรงพยาบาลกับสารละลายปริมาณมากปราศจาก
เชื้อ หรือแนวทางการติดตามผูปวย ภายหลังการบริหารยาที่ตองระมัดระวังสูง เชน dopamine
injection, KCl injection
• การใชบัตรแนะนําการใชยาผูปวยบางกลุม เชน warfarin โดยเจาหนาที่อาจเปนผูหยิบใสพรอม
ยา เพื่อเตือนใหเกิดกิจกรรมขณะสงมอบ
• มี หรือสามารถเขาถึงแหลงขอมูลทางยาในทุกจุดตรวจ หรือหอผูปวย
• ผูปวยควรไดรับขอมูลที่กระชับสําหรับยาที่ตองเฝาระวัง รวมทั้งคําแนะนําที่จะติดตอกลับหากเกิด
ปญหา

(3) องคกรจัดทํานโยบายเพื่อปองกันความผิดพลั้ง / คลาดเคลื่อน และเหตุการณไมพึงประสงคจากการสั่งใช


ยาและการถายทอดคําสั่ง พรอมทั้งนําสูการปฏิบัติ, ครอบคลุมการระบุรายละเอียดที่จําเปนในคําสั่งใชยา,
การระมัดระวังเปนพิเศษสําหรับยาที่ดูคลายกันหรือชื่อเรียกคลายกัน, มาตรการเพื่อปองกันคําสั่งใชยาที่มี
โอกาสเกิดปญหา และการปองกันการใชคูยาที่มีอันตรกิริยารุนแรง
• กําหนดมาตรการเพื่อปองกันคําสั่งใชยาที่มีโอกาสเกิดปญหาใหชัดเจน เชน
o คําสั่งที่อยูในแตละฝงของ physician’s order sheet หมายความวาอยางไร เชน คําสั่งใชยา
ที่มีการกําหนดปริมาตรชัดเจน หากสั่งใชในฝง 24 ชั่วโมง เมื่อยาหมดตามปริมาตรกอน 24
ชั่วโมง จําเปนที่ตองใหตอหรือไม หรือสิ้นสุดที่ปริมาตรนั้น
o การใชคําสั่ง PRN ตองระบุขอบงใชเฉพาะทุกครั้ง และวัน/เวลาที่สิ้นสุดของคําสั่งนั้น
o การใชคําสั่งยืน (Standing orders) เปนคําสั่งใชยาที่เขียน/จัดทําลวงหนา ซึ่งจะตองมี
คําแนะนําที่เฉพาะสําหรับการบริหาร สําหรับสถานการณที่ตองใชอยางชัดเจน

12
o การใชคําสั่งหยุดยาอัตโนมัติ (Automatic stop orders) จําเปนที่ตองระบุวัน หรือเวลาที่
หยุดยา
o การใชคําสั่งเพื่อปรับขนาดยา (Titrating orders) เปนคําสั่งใชที่ใหเพิ่ม หรือลดขนาดยาตาม
สภาวะของผูปวย ทั้งนี้ควรมีการกําหนดชวงที่ยินยอมใหปรับเพิ่ม ลด ชัดเจน เพื่อกันการ
บริหารยาที่มากเกินขนาด อันเนื่องจากการตอบสนองของผูปวยที่ไมดีพอตอยาที่ใช
o การใชคําสั่งลดยา (Taper orders) เปนคําสั่งที่ใหลดขนาดยาในปริมาณที่ชัดเจน ตามแตละ
ชวงเวลาของการบริหาร
o การใชคําสั่งที่ระบุเปนชวง (Range orders) เปนคําสั่งที่ระบุขนาดยา หรือชวงระยะเวลาให
ยา ผันแปรอยูในชวงของการสั่งใช ขึ้นกับเงือ่ นไข หรือ สภาวะของผูปวย
o การสั่งเตรียมยา หรือยาผสมซึ่งไมมีจําหนาย ควรระบุความชัดเจนของตัวยาสําคัญที่
ตองการ ในสวนประกอบหรือยาพื้นอะไร
o การสั่งใชอุปกรณสําหรับใชยา เนื่องจากเงื่อนไขผูปวยที่แตกตาง การไมระบุอาจทําใหการ
บริหารยาไมเปนไปตามที่แพทยตองการ เชน nebulizers หรือ catheters
o การสั่งยาที่อยูระหวางการศึกษาทดลอง จําเปนที่ตองมีการกําหนดเกณฑ เชน ผูสั่งใช แบบ
บันทึกที่เกี่ยวของ การรวบรวมขอมูล และการติดตาม
o การสั่งยาสมุนไพร ตองทราบขอมูลรายการยาที่มี และเภสัชกรควรตรวจสอบอันตรกิริยา
กับยาอื่นๆที่มีการสั่งใช หรือผูปวยมีการใชอยูเองในปจจุบัน
o การสั่งยาเมื่อจําหนาย หรือการสงตอ ในสวนนี้จะตองมีการสื่อสารที่ชัดเจน หลีกเลี่ยงการ
เขียนวายาเดิม และระบบควรสรางหลักประกันเรื่องการบันทึกขอมูลการสั่งใชยาครั้ง
สุดทาย หรือยาที่จําหนายอยางถูกตองลงในเอกสารที่ใชในการติดตามผูปวยหรือประวัติใน
เลมเวชระเบียนผูปวยนอก
(4) มีการเขียนคําสั่งใชยาอยางชัดเจนและถายทอดคําสั่งอยางถูกตอง. มีการกําหนดมาตรฐานการสื่อสาร
คําสั่งใชยาเพื่อลดโอกาสเสี่ยงตอความคลาดเคลื่อน มีการทบทวนและปรับปรุงคําสั่งใชยาที่จัดพิมพไว
ลวงหนาใหทันสมัยอยางสม่ําเสมอ
• นโยบายหรือแนวทางการเขียนใบสั่งยาที่สมบูรณ
• องคประกอบของใบสั่งยาควรมีขอมูลใดบาง
• วางระบบเพื่อลดการคัดลอกคําสั่งระหวางบุคลากรการแพทย โดยมุงเนนใหทุกกลุมสาขาอาชีพ
สามารถเขาถึงคําสั่งใชยา โดยตรง เพื่อตองการลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการคัดลอกยา
อันเปนความเสี่ยงที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนในขั้นตอนอืน่ ๆตามมา
• เงื่อนไขการสั่งใชยาที่ควรระบุชื่อการคาหรือชื่อทั่วไปรวมดวยเพื่อปองกันความคลาดเคลื่อน
• เงื่อนไขที่ตองระบุขอบงใชในการสั่งใชยาบางรายการ ที่มีขอ บงใชหลักที่แตกตางกันโดยเฉพาะ
ขนาดที่ใชในการรักษา
• ขอควรระวัง หรือแนวทางการสั่งใชยาที่ชื่อพอง มองคลาย
• มาตรฐานการสื่อสารคําสั่งใชยาเพื่อลดโอกาสเสี่ยงตอความคลาดเคลื่อน เชน การสั่งโดยวาจา
หรือทางโทรศัพท จะสามารถทําไดในกรณีใด และกระบวนการรับคําสั่งเพื่อลดความคลาดเคลื่อน
เชน การอานทวน หรือการสะกดทีละอักษร

13
• ตัวยอที่ไมควรใช แนวทางการดําเนินการหากพบวาไมเปนไปตามขอกําหนด
• ควรมีขอมูลการวินิจฉัย เงื่อนไขผูปวย และ ขอบงใช สําหรับการสั่งใชยาทุกครั้ง
• กําหนดกลุมโรค หรือกลุมผูปว ยที่จําเปนตองมีการระบุคาตางๆที่จําเปน เชน น้ําหนัก

(5) มีกระบวนการในการระบุ จัดทํารายการยาที่ผูปวยไดรับหรือมีการใชอยูในปจจุบันอยางถูกตองแมนยํา


และใชบันทึกรายการยานี้ในการสั่งใชยาที่ถูกตองแกผูปวยในทุกจุดของการใหบริการ. มีการเปรียบเทียบ
บันทึกรายการยาของผูปวยที่ใชอยูในปจจุบันกับคําสั่งแพทยทุกครั้งเมื่อมีการรับไว ยายหอผูปวย และ /
หรือ จําหนาย. (Admission, transfer, and discharge medication reconciliation)
• กําหนดนโยบายการดําเนินการเรื่อง การเปรียบเทียบและปรับเปลี่ยนทางยา (medication
reconciliation) วัตถุประสงค แนวทางปฏิบัติ และการกําหนดงาน กลุมยา กลุมโรคที่จะ
ดําเนินการตามความเหมาะสม
• ในระยะเริ่มตนเนื่องจากเปนกิจกรรมที่ตองใชเวลามาก และไมสามารถที่จะดําเนินการไดใน
ผูปวยทุกราย โดยเฉพาะโรงพยาบาลขนาดใหญ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไมเอื้ออํานวย
อาจดําเนินการในผูปวยนอก หรือในกลุมยาสําคัญเชนยาที่ตองระมัดระวังสูง ผูปวยโรคเบาหวาน
ผูปวยที่ใชยาวารฟาริน เปนตน
• สรางความเขาใจในสหวิชาชีพถึงแนวคิด และกําหนดเปาประสงคของการดําเนินการ ขั้นตอนการ
ดําเนินการกอนหลัง
o การสื่อสาร และการมี การเขาถึง และความถูกตองของขอมูล เปนปจจัยสาเหตุสําคัญของ
ความคลาดเคลื่อนทางยา โดยเฉพาะการสั่งใชยา
o การสั่งใชยาคลาดเคลื่อนเปนปจจัยสาเหตุสําคัญของการเกิดเหตุการณไมพึงประสงคทาง
ยา
o ความพรอม และความถูกตองของขอมูลในขณะสั่งใชยา จึงเปนกระบวนการหนึ่งทีน่ ําไปสู
การลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน
• สรางหลักประกันความถูกตองและความครบถวนของขอมูลในเวชระเบียนผูปวยนอก หรือใน
ฐานขอมูลกําหนดแนวทางปฏิบัติไมใหมีการบันทึกขอมูลการสั่งใชยาในลักษณะคําสั่ง “ยาเดิม”
หรือ RM ทั้งนีก้ ารตรวจสอบใหเปนหนาที่ของเจาหนาที่เวชระเบียน โดยแจงเภสัชกร หรือ
พยาบาล ใหประสานกับแพทยผูสั่งใช กรณีที่โรงพยาบาลสามารถพิมพประวัติการสั่งใชยาครั้ง
สุดทาย อาจใชชุดคําสั่งนั้นติดลงในเลมเวชระเบียน
• กําหนดแบบบันทึกที่เกี่ยวของ เพื่อระบุรายการยาที่ผูปวยไดรับอยางนอยครอบคลุม ชือ่ ยา
ความแรง ขนาดยา ความถี่ และวิธีการบริหารยา
• การยืนยันและการไดมาซึ่งขอมูลควรเริ่มตั้งแตแรกรับ โดยสอบถามผูปวย หรือผูดูแล ซึ่งหาก
ไมไดในขณะนั้นอาจตองหาแหลงขอมูลอืน่ ๆ หรือเมื่อโอกาสอํานวย

14
• การดําเนินการในผูปวยนอก อาจเริ่มที่เภสัชกรงานใหคําปรึกษาดานยาผูปวยนอก เปนผูเตรียม
แบบบันทึกรายการยาที่สมบูรณของผูปวย ที่ไดจากประวัติเดิม และการสัมภาษณ จากนั้นสงตอ
ประวัติการใชยาที่สมบูรณใหแพทย และพิจารณารายการยาที่แพทยสั่งพรอมขอมูลคลินิก
ประกอบเพื่อประเมินความสอดคลอง ตอเนือ่ งของการรักษา หากพบวาไมมีเหตุผลรองรับ
เพียงพอใหปรึกษาแพทยเจาของไข เพื่อพิจารณาตอไป (ดังภาพ)

• สําหรับผูปวยในกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานในแตละขั้นตอน ผูรับผิดชอบ การดําเนินการใน


ผูปวยในแรกรับ เภสัชกรควรดําเนินการภายใน 24 ชั่วโมง โดยยึดหลักการสําคัญอยางนอย 3
ขั้นตอน คือ
o รวบรวม (Collecting) รายการยาที่ผูปวยไดรับในปจจุบันอยางถูกตอง ครบถวน ผานการ
สัมภาษณ หรือยาที่นําติดตัวมา โดยบันทึกในแบบบันทึกการเปรียบเทียบและปรับเปลี่ยน
ทางยาที่สรางขึ้น
o เปรียบเทียบรายการยาที่แพทยสั่งแรกรับเขา หรือเมื่อมีการสงตอ หรือจําหนาย กับบันทึก
รายการยาที่ผูปวยไดรับประทานอยูในปจจุบัน
o ปรับเปลี่ยน หรือแกไข (Resolving) ความแตกตางที่พบระหวางบันทึกรายการยากับ
รายการยาที่แพทยสั่งกอนทีจ่ ะเกิดเหตุการณไมพึงประสงคทางยา

15
16
17
ข. การเตรียม การจัดจาย และการใหยา
(1) มีการทบทวนคําสั่งใชยาทุกรายการเพื่อความมั่นใจในความเหมาะสมและความปลอดภัย
• เภสัชกรควรรับทราบคําสั่งใชยาของแพทยทั้งผูปวยนอกและผูปวยในทุกรายกอนที่จะมีการใหยา
แกผูปวย รวมทั้งยาที่มีการสํารอง ยกเวนกรณีที่ลาชาแลวอาจเปนอันตรายตอผูปวย
• กรณีที่หองยาไมมีบริการครอบคลุม 24 ชั่วโมงหรือไมเปดทําการ 7 วันตอสัปดาห เภสัชกรตอง
ทบทวนยอนหลังถึงรายการยาที่มีการสั่งใชในเวรที่ผานไป ทันทีที่ขึ้นปฏิบตั ิงาน
• คําสั่งใชยาควรไดรับการทบทวนอยางนอยดังนี้
o ประวัติการแพยา หรือมีศักยภาพที่จะเกิดความไวตอยา
o อันตรกิริยาหรือมีศักยภาพที่จะเกิดอันตรกิริยาของยาที่ไดรับการสั่ง กับยาเดิมผูปวย
หรืออาหารทีร่ บั ประทานอยู
o ความเหมาะสมของยาที่ไดรบั ขนาด ความถี่ และวิถีทางบริหารยา
o การไดรับยาซ้ําซอน
o การไดรับยาที่หามใช
o การสั่งจายยานั้นไมไดเปนไปตามขอบงใชที่องคกรกําหนด
o ผลกระทบ หรือโอกาสเกิดผลกระทบที่สามารถระบุจากผลทางหองปฏิบัติการ
• สําหรับรายการยาที่ตองระมัดระวังสูง ใหมีการกําหนดเกณฑที่ชัดเจนในการรับคําสั่ง เพื่อเปน
หลักประกันความถูกตอง และปองกันเหตุการณไมพึงประสงคทางยาที่อาจเกิดขึ้น เชน ขนาดยา
ที่เหมาะสม ตอครั้ง/ตอวัน หรือความเขมขนของยาไมมากเกินไป
• สําหรับยา IV admixture ใหประสานแพทยในการสั่งใชที่เปนหนวยความแรงหรือขนาดยาที่
ตองการ ในสารละลายที่ตองการ ปริมาตรเทาไร และบริหารอยางไร เภสัชกร ควรเปน
ผูรับผิดชอบในการที่จะชวยทวนสอบความเหมาะสมของสารละลายสําหรับใหเขาหลอดเลือดที่ใช
เจือจาง แนวทางการเตรียม ความเขมขนสุดทายที่ตองการ วาเปนไปตามขอกําหนด หรือขอมูล
วิชาการ มุงเนนความคงตัว ความเขากันได
• นอกเหนือจากยาที่ตองระมัดระวังสูง อาจดําเนินการกําหนดรายการกลุมสําคัญเพื่อการติดตาม
และเชื่อมโยงกับกิจกรรมอืน่ ๆ เชน การเปรียบเทียบปรับเปลี่ยนทางยา การเฝาระวังอาการไมพึง
ประสงคทางยา
• หากพบปญหาใหดําเนินการประสานทันที

(2) มีการจัดเตรียมยาอยางเหมาะสมและปลอดภัย แผนกเภสัชกรรมเปนผูเตรียมยาสําหรับผูปวยเฉพาะราย


หรือยาที่ไมมีจาํ หนายในทองตลาด โดยใชวิธีการปฏิบัติที่เปนมาตรฐาน
• เภสัชกร หรือบุคลากรภายใตการกํากับโดยเภสัชกร โรงพยาบาลศุนย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
หรือโรงพยาบาลที่มีศักยภาพและปริมาณงานที่มากเพียงพอ ควรรับผิดชอบในการผสมหรือ
เตรียมยาผสมที่ปราศจากเชื้อ เชน ยาเคมีบําบัด IV admixtures ยกเวนรายที่ลาชาแลวอาจเปน
อันตราย หรือความคงตัวของยาสั้นมาก

18
• สําหรับโรงพยาบาลที่มีปริมาณการผลิตไมมาก ใหเปนไปตามนโยบายหรือใชระบบเครือขายใน
การสนับสนุน อยางไรก็ตาม โรงพยาบาลที่มีปริมาณการสั่งใช หรือการบริหารยาเคมีบําบัด
มากกวา 20 ขนานตอเดือน เภสัชกรควรเขามารับผิดชอบในกระบวนการผลิต
• แมวาจะไมมีบทบาทในการเตรียม เภสัชกรควรเขารวมวางระบบที่ชัดเจนในการจัดการดาน
สถานที่เพื่อลดการปนเปอน ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับผูปฏิบัติงาน และการกําจัดขยะอันตราย
• การเตรียมยาที่เหมาะสมและปลอดภัย มีการใชวัสดุอุปกรณที่ปลอดภัย ใชเทคนิคเพื่อใหมั่นใจใน
ความถูกตอง และใชเทคนิคปองกันการปนเปอนที่เหมาะสมสําหรับการเตรียมยาในทุกจุด
• ยาหรือสารเคมีที่ใชในการเตรียม ไดรับการติดฉลากอยางเหมาะสมเพื่อปองกันความ
คลาดเคลื่อน เชน สวนประกอบ วันหมดอายุ คําเตือน
• การเตรียมยาสําหรับผูปวยเฉพาะราย (extemporaneous preparation) คือเภสัชภัณฑที่เตรียม
ขึ้นใชในทันที หรือมิไดเตรียมลวงหนา โดยอาศัยศาสตรและศิลปในการเตรียมยา อาจ
เนื่องมาจากไมมีรูปแบบหรือขนาดดังกลาวจําหนาย ตอบสนองความตองการของแพทยสําหรับ
ผูปวยเฉพาะราย เฉพาะโรคหรือกลุมที่มีความสําคัญเชนเด็กเล็ก ทารก รวมทั้งยาเตรียม
ปราศจากเชื้อ เชน ยาฉีด IV admixtures, Total Parenteral Nutrition, Cytotoxic preparation,
ยาหยอดตา หรือยาที่มุงหมายอื่นๆที่ตองเตรียมโดยวิธีปราศจากเชื้อ เชน dilution ของ heparin
โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกันการปนเปอนจากเชื้อโรค ซึง่ จะตองใชความระมัดระวังในทุก
ขั้นตอน ตั้งแตการเก็บ เตรียม และบรรจุ

(3) ยาไดรับการติดฉลากอยางเหมาะสม ชัดเจนและอานงายติดที่ภาชนะบรรจุยาทุกประเภท และมีฉลากยา


ติดจนถึงจุดที่ใหยาแกผูปวย โดยระบุชื่อผูปว ย ชื่อยา ความเขมขน และขนาดยา
• ยาทุกรายการที่ไมไดบริหารทันที จะตองไดรับการติดฉลากอยางเหมาะสม
• การติดฉลากที่ภาชนะบรรจุยา รวมทั้งไซริงกสําหรับฉีดยาและ flush สายน้ําเกลือที่เตรียมนอก
หองผูปวยหรือไกลจากเตียงผูปวยทั้งหมด
• ขอมูลบนฉลากใหเปนไปตามระเบียบ หรือแนวทางที่กําหนดสําหรับการปฏิบัติที่ดี
o ชื่อยา ความแรง ปริมาณ (ปริมาตร)
o วันหมดอายุ หากไมไดใชภายใน 24 ชั่วโมง
o เวลาที่หมดอายุเมื่ออายุยานอยกวา 24 ชั่วโมง
o วันที่เตรียม และสารละลายที่ใชเจือจาง หรือผสม และสูตรสารอาหารที่ใหเขาทางหลอด
เลือดดํา
o ในกรณีที่เตรียมใหผูปวยหลายรายพรอมกัน หรือผูเตรียมไมใชผูใหยา จําเปนที่จะตองมีชื่อ
ผูปวย หอผูปวย (อยางไรก็ตามหอผูปวยไมสามารถใชเปนการยืนยันผูปวยที่รัดกุมตาม
แนวทาง สองตัวบงชี้ผูปวย) วิธีการให อุปกรณที่ใช และคําแนะนํา ขอควรระวัง
o กลาวโดยสรุปการจัดทําฉลากยาเปนสิ่งจําเปนที่ตองดําเนินการหากไมไดเปนการเตรียมให
ผูปวยเฉพาะราย และใหยาทันที โดยไมมีกจิ กรรมอืน่ ใดๆเขามาคั่น ขอมูลบนฉลาก
โดยเฉพาะ IV admixtures ควรประกอบดวย ชื่อผูปวย ชือ่ ยา ความแรง ขนาดยาที่ให

19
สารละลายที่ผสม ปริมาตร ขนาดยา/อัตราเร็วที่บริหาร วิถที างที่ให เวลาที่เริ่มให เวลาที่
หมด ผูเตรียม ผูตรวจสอบ

(4) มีการสงมอบยาใหหนวยดูแลผูปวยในลักษณะที่ปลอดภัย รัดกุม และพรอมใหใช ในเวลาที่ทันความ


ตองการของผูป วย
• เภสัชกรตองเปนผูตรวจสอบยาที่พรอมจัดสง โดยพิจารณาความถูกตอง สอดคลองจากยา ฉลาก
ยา และคําสั่งใชยาตนฉบับ หากพบความคลาดเคลื่อนใหแกไข และลงบันทึกความคลาดเคลื่อน
จากการจัด จายยา ตามที่กําหนด
• การสง/กระจายยา ใหหอผูปว ย ควรอยูในลักษณะที่พรอมใชใหมากที่สุด หรือในระบบการจายยา
รายวัน ขึ้นกับบริบทและความพรอมขององคกร และควรเปนระบบเดียวกันไมวาจะเปนรูปแบบ
ยาใด หรือหอผูปวยใด
• กลุมงานเภสัชกรรมประกันรอบกระจายยาวาจะจัดสงในชวงระยะเวลาใด
• สําหรับยาที่ตองแชเย็น หรือยาเสพติด หรือยาที่ตองควบคุมเปนพิเศษ ใหมีระบบการจัดสงที่
รัดกุม หรือแยกจากกัน เพื่อปองกันความคลาดเคลื่อน
• ฉลากยาสําหรับผูปวยในควรมีขอมูลครบถวนเหมือนผูปวยนอก เพือ่ เปนเงื่อนไขใหหอผูป วยได
ชวยทวนสอบกับบันทึกการบริหารยาผูปวย (Medication Administration Record)

(5) การสงมอบยาใหแกผูปวยทําโดยเภสัชกรหรือบุคลากรที่ไดรับมอบหมายและไดรับการฝกอบรม มีการ


ตรวจสอบความถูกตองของยากอนที่จะสงมอบ และมีการใหคําแนะนําการใชยาอยางเหมาะสม
• เภสัชกรตองเปนผูสงมอบยาใหกับผูปวย พรอมทั้งกําหนดแนวทางการสงมอบที่ชัดเจน เชน
คําถามหลักที่ใชในการสงมอบ
• การใหคําแนะนําการใชยาแกผูปวย มีเปาหมายเพื่อใหเกิดความรวมมือ ความถูกตอง
ความสามารถในการบริหารยาและมุงใหเกิดประโยชนสูงสุดจากการใชยานั้นๆ ควรครอบคลุม
อยางนอยในกลุมยาเด็ก ยาที่มีชวงการรักษาที่แคบ ยาที่มีอาการอันไมพงึ ประสงคสําคัญ ยาที่มี
เทคนิคการใชพิเศษเชน ยาสูดพน
• สําหรับโรงพยาบาลชุมชน ที่อาจมีปญหาดานอัตรากําลัง ในภาวะเรงดวน อาจมอบหมายใหเจา
พนักงานเภสัชกรรม หรือบุคลากรระดับรองที่ไดรับการฝกฝน เปนผูสงมอบยาแทน ในกลุม
ผูปวยทั่วไปที่ไมใชโรคเรือ้ รังที่ตองติดตาม หรือไมใชผูปวยคลินิกพิเศษ หรือไมใชผูปวยที่ใชยาที่
ตองระมัดระวังสูง
• ผูปวยที่ตองใชยาที่มีเทคนิกการใชพิเศษ หรือผูปวยที่ตองติดตามตอเนื่อง ควรใหคําแนะนําใน
สถานที่ที่เอื้อตอการใหคําแนะนํา ไมถูกดึงดูดจากสิ่งแวดลอม เชน หองใหคําปรึกษา
• มีฉลากชวยตามความเหมาะสม หรือแผนพับใหความรูที่เกี่ยวของกับยาที่รับประทาน การปฏิบัติ
ตน ขอควรระวัง
• ผูรับบริการสามารถรับรูช องทางการติดตอ หากเกิดปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยา

20
(6) การสั่งใช คัดลอกคําสั่ง จัดเตรียม จัดจาย และใหยา กระทําในสิ่งแวดลอมทางกายภาพซึ่งมีความสะอาด
มีพื้นที่และแสงสวางพอเพียง และเปดโอกาสใหผูประกอบวิชาชีพมีสมาธิกับการใชยาโดยไมมีการรบกวน.
• จัดระบบการไหลเวียนของงานไมใหไหลทวน หรือยอนไปมา
• หองตรวจที่แพทยสั่งใชยาตองมีความเปนสวนตัวอยางเหมาะสม ไมเปดโลง
• บริเวณจายยาควรเอื้อตอการไดยิน หรือรับรูค ําแนะนําของเภสัชกร
• มีแสงสวางที่เหมาะสม เปนไปตามขอกําหนด โดยเฉพาะในพื้นที่ของการจัดเตรียมยา
• มีการจัดการสถานที่บริเวณรอรับยา ไมใหแออัด และปองกันการแพรกระจายเชื้อ

(7) มีการใหยาแกผูปวยอยางปลอดภัยและถูกตองโดยบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมและอุปกรณการใหยาที่
ไดมาตรฐาน, โดยมีการตรวจสอบความถูกตองของยา คุณภาพยา ขอหามในการใช และเวลา / ขนาดยา /
วิธีการใหยา ที่เหมาะสม ผูสั่งใชยาไดรับการรายงานเมื่อมีเหตุการณไมพึงประสงคจากยาหรือความ
คลาดเคลื่อนทางยา
• กําหนดบุคลากรที่สามารถบริหารยา ที่แตกตางตามประเภทของการบริหาร เชน การฉีดเขา
หลอดเลือดดํา การฉีดเขาไขสันหลัง หรือการฉีดยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะกอใหเกิดเหตุการณไม
พึงประสงค ยาเคมีบําบัด สารทึบรังสี และใหมีระบบการกํากับหรือดูแลบุคลากรการแพทยฝกหัด
ที่ตองบริหารยาอยางใกลชิด
• การบริหารยาจะตองยึดเอกสารสําคัญในการประกันความถูกตอง ไดแก บันทึกการบริหารยา
ผูปวย (Medication Administration Record: MAR) โดยตองคํานึงถึงหลักการอยางนอยตอไปนี้
o การเยี่ยมผูปวยแบบสหสาขา พรอมกัน เพื่อลดปญหาการสื่อสาร
o ขอมูลที่สําคัญบน MAR อยางนอยประกอบดวยขอมูลทั่วไปที่มีความสําคัญ (นอกเหนือจาก
ชื่อผูปวย เตียง หอ) เชน ขอมูลแพยา น้ําหนัก (โดยเฉพาะเด็ก) หรือรวมสวนสูง ในผูปวย
ที่ใชยาเคมีบําบัดบางรายการ
o คัดลอกโดยตรงจาก DOS โดยผูที่เยี่ยมผูปวยรวมกับแพทย ซึ่งสวนมากมักเปน incharge
o สรางแนวทางการตรวจสอบความถูกตองของการลงบันทึกอยางอิสระ โดยพยาบาลอีกคน
ทันที แ
o รายการยาแตละรายการควรมีชื่อ ขนาดยาที่ให วิธีบริหาร ความถี่ และขอควรระวังสําคัญ
เชน อัตราเร็ว
o รับยาจากหองยาใหนํามาตรวจสอบกับ MAR เปนการตรวจสอบขาม
o ตารางการบันทึกควรแยกระหวางยาที่ใหใน 1 วันกับยาที่ใหตอเนื่องและระบุวันที่ชัดเจน
o การบริหารยาควรใช MAR กํากับและนําติดตัวไปที่ขางเตียงผูปวย
o ลงเวลาที่เปนจริงในการบริหารแตละครั้ง และลายเซ็นตผูบริหารยา
o บันทึกเหตุการณไมพึงประสงคดานยาที่รายแรงทันทีในบริเวณ/ชองที่กําหนดใน MAR และ
ทําสัญลักษณหรือขีดฆาที่รายการยาดังกลาว สงตอขอมูลใหเภสัชกร เพือ่ ประเมินและ
รวบรวมลงฐานขอมูล
o สรางแนวทางการกํากับ การยืนยันความถูกตองของการบันทึก เชน การสุมตรวจสอบวามี
การลงเวลาตามที่เปนจริงหรือไม หรือการสอบทานระหวางเวร

21
o การเคลื่อนยายผูปวยตองสงตอ MAR เสมอ
o ใชเปนเอกสารหลักชิ้นหนึ่งในการดําเนินการเปรียบเทียบและปรับเปลี่ยนทางยา
• กอนการบริหารยาทุกครั้งตองยืนยันผูปวย และความถูกตองครอบคลุม ทั้งนี้ใหยึดบันทึกการ
บริหารยาเปนหลักในการชวยทวนสอบ และควรใหผูปวยมีสวนรวมในการชวยยืนยันความ
ถูกตอง
o ถูกคน ยืนยันอยางนอย 2 ตัวบงชี้
o ถูกยา พิจารณาฉลาก กับบันทึกการบริหารยา พิจารณารูปแบบ ลักษณะภายนอก ตะกอน
การเปลี่ยนสี ยังไมหมดอายุ
o ถูกขนาด เปนไปตามขนาดที่แพทยระบุ หรือคํานวณจากน้ําหนัก ไมเกินขนาดที่สามารถให
ได โดยเฉพาะยาที่ตองระมัดระวังสูง
o ถูกวิธีบริหาร ระวังยาที่มีเทคนิกพิเศษ หรือยาที่ใหเขาไขสันหลัง ใหสรางระบบการยืนยัน
ซ้ําอิสระ ใหมีระบบการประกันความเสี่ยงของอุปกรณการแพทยที่สามารถเชื่อมตอได
ระหวางการใหทางหลอดเลือด กับความตองการบริหารโดยวิธีอื่น เชน กระบอกฉีดยา
สําหรับยารับประทานสามารถสวมตอกับ catheter ที่บริหารเขาหลอดเลือด
o ถูกเวลา ทีมดูแลผูปวยอาจกําหนดระยะเวลาที่ยอมรับไดในการบริหารยาที่ไมเปนไปตาม
actual time เพื่อใหพยาบาลสามารถวางระบบ และสามารถบันทึกเวลาในการบริหารจริง
o ถูกเทคนิก โดยเฉพาะยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะกอใหเกิดเหตุการณขางเคียงเชน การทําลาย
เนื้อเยื่อหากเกิดการแทงทะลุนอกหลอดเลือด
• หากยังมีขอกังวลใดๆ จะตองยังไมบริหารยาจนกวา ขอกังวลหรือขอสังเกตุนั้นไดรับการแกไข
หรือทําความเขาใจ จนมั่นใจวาไมเกิดความคลาดเคลื่อน
• กอนการบริหารยา ควรใหขอมูลกับผูปวยหรือญาติ ถึงความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ
ไมพึงประสงคดานยาที่สําคัญ หรือสิ่งที่ตองใหความสนใจเนื่องจากเปนยาใหม เปนตน
• โรงพยาบาลมีแนวทางที่ชัดเจนในการจัดการกับยาที่ผูปวยนําติดตัวมา หรือญาตินํามาให
เพิ่มเติม กําหนดเกณฑที่ชัดเจนวาเมื่อไรสามารถใชได ทั้งนี้อาจสามารถดําเนินการไดในหลาย
ลักษณะ
o หากพยาบาลไมสามารถระบุรายการยาได แจงเภสัชกรใหชวยระบุ หรือสอบถามขอมูลจาก
สถานบริการทีเ่ กี่ยวของ เชนโรงพยาบาล รานยา ที่ผูปวยรับบริการเดิม
o พิจารณาสภาพยาวายังสามารถใชไดหรือไม
o เภสัชกรจัดทํารายการ หรือใหขอมูลตอแพทยวา ผูปวยเคยไดรับการรักษาดวยยาใด
o หากแพทยเห็นสมควรที่จะใชยาของผูปวยตอ แพทยระบุรายการยาดังกลาวลงในแฟม
ประวัติผูปวย เภสัชกรควรลงบันทึกการใชยาดังกลาวในประวัติการใชยาของกลุมงาน (หาก
มี) สําหรับการใหยาอาจสามารถทําไดหลายกรณี เชน
ƒ ใชยาเดิมผูปวย โดยพยาบาลเปนผูจัดใหรว มกับยาอื่นๆที่ผูปวยไดรับ
ƒ ใชยาเดิมผูปวย โดยนํามาที่หองยาและดําเนินการรวมกับยาอื่นๆตามระบบการ
จายยาปกติ

22
ƒ เก็บยาของผูปวย โดยใหผูปวยรับรู และใชยาของโรงพยาบาลขนานเดียวกันแทน
ยาดังกลาว เมื่อจําหนาย หากยังเปนรายการเดิม ใหนํามาปรับแกตามคําสั่งใชยา
ใหม และคืนใหผูปวย เพิ่มเติมปริมาณใหสอดคลองคําสั่งแพทย
• มีความพรอมดานอุปกรณการใหยา เชน infusion pump เนื่องจากปจจุบันมียาหลายรายการที่มี
ความเสี่ยง และมีอันตรายสูงหากบริหารยาในอัตราที่ไมเหมาะสม ใหมีระบบการตรวจสอบความ
เที่ยง อยางสม่ําเสมอ สุมประเมินระยะเวลาที่ยาควรหมดกับระยะเวลาที่ใชในการบริหารจริง
• หากเกิดความคลาดเคลื่อนใหระงับอุบัติการณนั้นเปนเบื้องตน รีบรายงานแพทยผูเกี่ยวของทันที
และดําเนินการตามระบบการรายงาน การจัดการอุบัติการณที่องคกรกําหนด

(8) ผูปวยและครอบครัวไดรบั ความรูเกี่ยวกับยาที่ตนไดรับ และรวมเปนสวนหนึ่งของกระบวนการดูแล เพื่อ


เปาหมายความถูกตอง ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใชยา
• องคกรประกาศสิทธิที่ผูปวยควรไดรับจากการรักษาพยาบาล
• ซองยาใหขอมูลครบถวน หรือมีฉลากชวย ตลอดจนแผนพับแนะนําการใชยาที่เหมาะสม
• ความรูที่ผูปวยควรไดรับ เชน การปองกันความคลาดเคลื่อนทางยา ขอบงชี้เมื่อควรขอคําปรึกษา
จากเภสัชกร
• กอนการบริหารยา ผูปวยจะไดรับขอมูลวามีการบริหารยาอะไรบางอยางไร
• มีการวางแผนจําหนายผูปวยที่เปนสหสาขา เภสัชกรควรทราบหรือเปนสวนหนึ่งในการวาง
แผนการจําหนาย รับรูวัฒนธรรม แบบแผน หรือแนวทางทีแ่ พทย พยาบาล ใชในการวางแผนให
ขอมูลเมื่อจําหนาย หรือกําหนดขึ้นใหมโดยทีมรักษาพยาบาล เพื่อการใหการวางแผนกอน
จําหนาย และการติดตามเมื่อเยี่ยมบาน เปนไปในทิศทางเดียวกัน
• ผูปวยและญาติควรไดรับโอกาสในการที่จะบริหารยาตนเองกอนที่จะจําหนายออกจาก
โรงพยาบาลเพื่อเปนการสรางความคุนเคย และการเอื้ออํานาจใหผูปวยไดดูแลตนเอง ภายใต
สายตาของบุคลากรการแพทย

(9) ผูปวยไดรับการติดตามผลการบําบัดรักษาดวยยาและบันทึกไวในเวชระเบียน เพือ่ สรางความมั่นใจใน


ความเหมาะสมของเภสัชบําบัดและลดโอกาสเกิดผลที่ไมพึงประสงค
• ประสานกับแพทยในทีมที่เกี่ยวของเรื่องการยึดมาตรฐานการรักษาในผูปวยแตละโรค ใหเปนไป
ในแนวทางเดียวกัน เนื่องจากพบวามีการใชมาตรฐานตางฉบับ มักเกิดปญหาในการสื่อสาร และ
การใหคําแนะนํา
• องคกรสงเสริมใหมีการนํามาตรฐานการรักษาผูปวยมากําหนดแนวทางการปฏิบัติเชิงระบบใน
สวนที่เกี่ยวของกับแพทย เภสัชกร และพยาบาล ครอบคลุมตั้งแตการใหความรู การออกแบบ
บันทึก การติดตาม การรายงาน และการจัดการภาวะฉุกเฉิน นอกเหนือไปจากการใชเปนแหลง
มาตรฐานอางอิงสําหรับการสั่งการรักษา
• เภสัชกรใชหลักการเรื่องการบริบาลเภสัชกรรมเขามาชวยในการดูแลผูปวยอยางเหมาะสม

23
• ประสานกับงานบริการในการประกันเรื่องคุณภาพการกระจายยาเพื่อลดความคลาดเคลื่อน และ
เสริมเรื่องการเตรียมยาที่เปนไปตามมาตรฐานกําหนด
• การติดตามผลการบําบัดรักษาดวยยา ควรระบุถึงการตอบสนองยาที่ผูปวยไดรับ ปญหาที่เกิดขึ้น
หรือมีโอกาสเกิดขึ้น รวมทั้งมีกระบวนการเฝาระวังการตอบสนองตอยาใหมที่ผูปวยไดรับเปนครั้ง
แรก
• ประสานกับงานอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน งานติดตามอาการไมพึงประสงคจากการใชยา งานบริการ
เภสัชสนเทศ

(10) มีการจัดการกับยาที่ผูปวยและครอบครัวนําติดตัวมา เพื่อใหเกิดความปลอดภัยและสอดคลองกับ


แผนการดูแลผูป วยที่เปนปจจุบัน
• เภสัชกร หรือพยาบาลหอผูปวยซักประวัติ และสอบถามเรื่องยาที่ผูปวยนําติดตัวมา
• แพทยรับรูและพิจารณาวามีความจําเปนที่จะตองใชตอเนื่องหรือไม หากมีการใช ตองระบุในแฟม
ประวัติผูปวย พยาบาลตองบันทึกลงใน MAR
• กําหนดแนวทางการจัดการที่ชัดเจน โดยเฉพาะการเก็บยา หรือการสั่งใช การกระจาย
• เงื่อนไขของยาแตละรายการอาจแตกตางกันออกไป
• ตัวอยางแนวทางการปฏิบัติ ตามภาพ

24
25
26

You might also like