You are on page 1of 10

แบบสอบถาม

เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ทางสุขภาพกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช
แบบสอบถาม 1 ฉบับ ประกอบด้วยข้อคาถาม 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล จานวน 15 ข้อ
ส่วนที่ 2 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
- ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ จานวน 8 ข้อ
- ด้านการเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพที่เพียงพอต่อการปฏิบัติ จานวน 5 ข้อ
- ด้านการตรวจสอบข้อมูลและบริการสุขภาพ จานวน 6 ข้อ
- ด้านการสื่อสารและการสนับสนุนทางสังคม จานวน 17 ข้อ
- ด้านการจัดการสุขภาพตนเอง จานวน 11 ข้อ
ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
- ด้านการออกกาลังกาย จานวน 7 ข้อ
- ด้านโภชนาการ จานวน 8 ข้อ
- ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ จานวน 9 ข้อ
- ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จานวน 9 ข้อ
- ด้านการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จานวน 9 ข้อ
- ด้านการจัดการความเครียด จานวน 9 ข้อ
รวมทั้งหมด 113 ข้อ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย / ลงใน [ ] หรือเติมคาตอบลงในช่องว่าง
1. เพศ [ ] 1. ชาย [ ] 2. หญิง
2. อายุ [ ] 1. 15-30 ปี [ ] 2. 31-45 ปี [ ] 3. 46-60 ปี
3. นาหนัก (ระบุ)...............................กิโลกรัม
4. ส่วนสูง (ระบุ)................................เซนติเมตร
5. ดัชนีมวลกาย (BMI) [ ] 1. น้อยกว่า 18.5 [ ] 2. 18.5-22.9 [ ] 3. 23.0-24.9
[ ] 4. 25.0-29.9 [ ] 5. มากกว่า 30
6. เส้นรอบเอว (ระบุ)……………………………เซนติเมตร
7. สถานภาพสมรส
[ ] 1. โสด [ ] 2. คู่ [ ] 3. หม้าย [ ] 4. หย่า/แยก
8. ระดับการศึกษาสูงสุดในปัจจุบัน
[ ] 1. ไม่ได้เรียนหนังสือ [ ] 2. ประถมศึกษา [ ] 3. มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า
[ ] 4. อนุปริญญา [ ] 5. ปริญญาตรี [ ] 5. สูงกว่าปริญญาตรี
[ ] 6. อื่นๆ (ระบุ).........................................
9. อาชีพ
[ ] 1. พนักงานราชการ [ ] 2. พนักงานกระทรวงสาธารณสุข [ ] 3. ข้าราชการ
[ ] 4. ลูกจ้างประจา [ ] 5. ลูกจ้างเหมาบริการ [ ] 6. ลูกจ้างชั่วคราว
[ ] 7. ค้าขาย [ ] 8. อื่นๆ (ระบุ).......................................
10. ความเพียงพอทางเศรษฐกิจ
[ ] 1. พอใช้ มีเหลือเก็บ [ ] 2. พอใช้ ไม่เหลือเก็บ [ ] 3. ไม่พอใช้ [ ] 4. ไม่พอใช้และมีหนีสิน
11. ปัจจุบันท่านสูบบุหรี่หรือไม่
[ ] 1. สูบบุหรี่ ระบุ [ ] ……….......มวน/วัน
[ ] 2. ไม่สูบบุหรี่ ระบุ [ ] ไม่เคยสูบบุหรี่เลย [ ] เลิกมานาน.......................เดือน, ปี
12. ปัจจุบันท่านดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือไม่
[ ] 1. ดื่ม ระบุ [ ] มากกว่า 4 ครัง/สัปดาห์ [ ] 2-3 ครัง/สัปดาห์
[ ] 2-4 ครัง/เดือน [ ] เดือนละครังหรือน้อยกว่า
[ ] 2. ไม่ดื่ม ระบุ [ ] ไม่เคยดื่มเลย [ ] เลิกมานาน.......................เดือน, ปี
13. ท่านมีโรคประจาตัวหรือไม่
[ ] 1. ไม่มี
[ ] 2. มี โรคไม่ติดต่อเรือรัง เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมันสูง อ้วนลงพุง โรคหัวใจ มะเร็ง ไต ฯลฯ
[ ] 3. มี โรคติดเชือ โรคติดต่อ เช่น โรคติดเชือทางเดินหายใจ โรคปอด วัณโรค โรคเลือด ฯลฯ
[ ] 4. อื่นๆ (ระบุ).........................................
14. โรคทางพันธุกรรม
[ ] 1. ความดันโลหิตสูง (HT) [ ] 2. เบาหวาน (DM) [ ] 3. หลอดเลือดสมอง (Stroke)
[ ] 4. มะเร็ง (Cancer) [ ] 5. ถุงลมโป่งพอง [ ] 6. อ้วนลงพุง
[ ] 7. อื่นๆ (ระบุ)..................... [ ] 8. ไม่มีโรคทางพันธุกรรม
15. ในระหว่าง 7 วันที่ผ่านมา ท่านรู้สึกว่าสุขภาพของท่านเป็นอย่างไร
[ ] 1. ดีมาก [ ] 2. ดี [ ] 3. ค่อนข้างดี [ ] 4. ค่อนข้างไม่ดี
[ ] 5. ไม่ดี [ ] 6. ไม่ดีเลย
ส่วนที่ 2 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ระดับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับท่าน
ข้อคาถามประเมินจาก การรับรู้ความรู้สึก ความเชื่อมั่น มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ข้อที่
ความสามารถ หรือทักษะด้านสุขภาพของตนเอง ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
1. การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ
ฉันสามารถค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วย
1
ตนเอง เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่ฉันกังวลอยู่ได้
ฉันสามารถค้นหาข้อมูลสุขภาพที่ถูกต้องได้จากหลาย
2
แหล่ง เช่น จากผู้รู้ จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ เป็นต้น
3 ฉันเปิดรับข้อมูลสุขภาพเสมอเพื่อฉันจะได้เป็นผู้มีสุขภาพดี
ฉันสามารถค้นหาข้อมูลสุขภาพด้วยตนเองโดยไม่ต้อง
4
พึ่งใคร
ฉันสามารถค้นหาแหล่งบริการสุขภาพที่จะให้การ
5
ช่วยเหลือในด้านสุขภาพของฉัน
ฉันสามารถไปพบแพทย์ บุคลากรสาธารณสุข หรือ
6
ผู้ให้บริการสุขภาพได้ทุกเมื่อตามที่ต้องการ
ฉันมั่นใจว่าแหล่งบริการสุขภาพที่ฉันเลือกใช้นันสามารถ
7
ให้ความช่วยเหลือได้ตรงกับความต้องการของฉัน
ฉันสามารถสืบค้นหาแหล่งบริการสุขภาพได้สอดคล้องกับ
8
สภาพปัญหาที่ฉันหรือคนในครอบครัวของฉันเป็นอยู่
2. การเข้าใจข้อมูลและบริการสุขภาพที่เพียงพอต่อการปฏิบัติ
ฉันสามารถกรอกข้อมูลด้านสุขภาพได้ถูกต้อง
9
ตามแบบฟอร์มของแหล่งบริการสุขภาพนันได้
ฉันสามารถปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือเอกสารหรือแผ่น
10
พับที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือดูแลรักษาสุขภาพได้
ฉันสามารถอ่านและเข้าใจข้อมูลด้านสุขภาพจากสื่อ
เช่น สิ่งพิมพ์ แผ่นพับโปสเตอร์ ใบสั่งแพทย์ โปรแกรมใช้
11
งานบนมือถือ (application) และสื่อออนไลน์
(Facebook, Line) ได้
ฉันรู้และเข้าใจในข้อมูลด้านสุขภาพที่เผยแพร่ทาง
12 โทรทัศน์ วิทยุ สื่อออนไลน์ผ่านโทรศัพท์มือถือ
อินเทอร์เน็ตยูทูป (You tube) เพื่อสุขภาพ
13 ฉันรู้และเข้าใจในคาอธิบายของผู้ให้บริการสุขภาพ
ระดับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับท่าน
ข้อคาถามประเมินจาก การรับรู้ความรู้สึก ความเชื่อมั่น มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ข้อที่
ความสามารถ หรือทักษะด้านสุขภาพของตนเอง ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
3. การตรวจสอบข้อมูลและบริการสุขภาพ
ก่อนที่ฉันจะตัดสินใจเลือกแหล่งบริการสุขภาพฉันจะ
14 สอบถามความต้องการที่แท้จริงของตนเองและคนใน
ครอบครัวก่อน
ฉันมักเปรียบเทียบข้อมูลด้านสุขภาพนันก่อนที่จะตัดสินใจ
15
เชื่อหรือทาตาม
เมื่อมีข้อมูลด้านสุขภาพใหม่เข้ามาฉันจะตรวจสอบความ
16 ถูกต้องของแหล่งที่มาของข้อมูลนันก่อนที่จะตัดสินใจเชื่อ
หรือทาตาม
ฉันมักศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลด้านสุขภาพจากหลาย
17 แหล่งเพื่อยืนยันความเข้าใจที่ถูกต้องของตนเองก่อนที่จะ
บอกคนอื่นต่อ
ฉันรู้ว่าจะหาข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้องจากแหล่งใดเพื่อ
18
นามายืนยันข้อมูลนันก่อนที่จะเชื่อและทาตาม
ฉันมักสอบถามหรือขอคาปรึกษาจากผู้รู้หรือผู้ให้บริการ
19 สุขภาพเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติในด้านสุขภาพนันก่อนที่จะ
ทาตาม
4. การสื่อสารและการสนับสนุนทางสังคม
ฉันมีผู้ให้บริการสุขภาพอย่างน้อย 1 คน ที่สามารถให้
20
คาแนะนาที่ถูกต้องกับฉันได้
ฉันมีผู้ให้บริการสุขภาพอย่างน้อย 1 คน ที่จะให้ข้อมูล
21
ด้านสุขภาพแก่ฉันได้
ฉันมีผู้ให้บริการสุขภาพอย่างน้อย 1 คน ที่เป็นที่ปรึกษา
22
ได้ในช่วงที่ฉันมีปัญหาสุขภาพ
ฉันมีผู้ให้บริการสุขภาพอย่างน้อย 1 คน ที่ฉันไว้วางใจ
23
ให้เป็นที่พึ่งหรือที่ปรึกษาด้านสุขภาพได้
ฉันมีผู้ให้บริการสุขภาพอย่างน้อย 1 คน ที่คอยให้กาลังใจ
24
กับฉันในการดูแลสุขภาพตนเอง
ฉันสามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลหรือกลุ่มคนที่มีความรู้
25
ด้านสุขภาพได้
ฉันมีคนรอบข้างมากพอที่จะคอยช่วยเหลือฉันได้ หากฉัน
26
ไม่สบายหรือเจ็บป่วย
ถ้าฉันต้องการความช่วยเหลือ ฉันมีญาติหรือเพื่อนที่พร้อม
27
จะให้การช่วยเหลือฉันได้
ระดับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับท่าน
ข้อคาถามประเมินจาก การรับรู้ความรู้สึก ความเชื่อมั่น มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ข้อที่
ความสามารถ หรือทักษะด้านสุขภาพของตนเอง ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
ฉันมีคนรอบข้างอย่างน้อย 1 คน ที่ให้การสนับสนุนกับฉัน
28
ในการดูแลสุขภาพตนเอง
29 ฉันมีผู้สนับสนุนอย่างเข้มแข็งที่พร้อมเป็นกาลังใจให้กับฉัน
ฉันมั่นใจว่าผู้ให้บริการสุขภาพจะเข้าใจฉัน เมื่อมีการ
30
แลกเปลี่ยนพูดคุยกับฉัน
ฉันสามารถซักถามสิ่งที่ฉันเป็นกังวลหรือต้องการรู้กับผู้ให้
31
บริการสุขภาพได้
ฉันสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้หรือแนวทางปฏิบัติตน
32
เกี่ยวกับสุขภาพกับผู้ให้บริการสุขภาพได้
ฉันซักถามเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองกับผู้ให้บริการ
33
สุขภาพ เพื่อการดูแลสุขภาพของตนเองได้ดียิ่งขึน
ฉันสามารถติดต่อขอข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพกับผู้รู้ด้าน
34
สุขภาพ เพื่อให้หายข้อสงสัยได้
35 ฉันมักพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ให้บริการด้านสุขภาพ
ฉันสามารถถ่ายทอดข้อมูลด้านสุขภาพให้บุคคลอื่นยอมรับ
36
และเข้าใจในข้อมูลสุขภาพนันได้
5. การจัดการสุขภาพตนเอง
ฉันมีข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพเป็นอย่างดีที่จะจัดการ
37
สุขภาพตนเอง
ฉันมีข้อมูลด้านสุขภาพเพียงพอที่จะดูแลสุขภาพตนเอง
38
เมื่อยามเจ็บป่วยได้
ฉันมีข้อมูลด้านสุขภาพเพียงพอที่จะนามาใช้ในการ
39
ส่งเสริมและป้องกันการเจ็บป่วยของตนเองได้
ฉันมีข้อมูลด้านสุขภาพที่จาเป็นเพียงพอต่อการดูแล
40
สุขภาพตนเอง
ฉันให้เวลากับการทากิจกรรมเพื่อสุขภาพตนเอง
41
เป็นอย่างมาก
ฉันวางแผนทากิจกรรมที่จาเป็นเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
42
ของฉันเอง
ถึงแม้ว่าฉันจะมีภารกิจมากแต่ฉันก็ยังสามารถแบ่งเวลา
43
เพื่อดูแลสุขภาพตนเองได้
ฉันตังเป้าหมายที่จะออกกาลังกายดูแลสุขภาพตนเองและ
44
จะทาให้ได้ตามที่ตังใจไว้
ระดับความเป็นจริงที่เกี่ยวกับท่าน
ข้อคาถามประเมินจาก การรับรู้ความรู้สึก ความเชื่อมั่น มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ข้อที่
ความสามารถ หรือทักษะด้านสุขภาพของตนเอง ที่สุด กลาง ที่สุด
(5) (4) (3) (2) (1)
ฉันหมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกายจิตใจตนเองเพื่อ
45
คอยกากับดูแลสุขภาพตนเองให้ดีขึน
ฉันปรับปรุงสิ่งแวดล้อมรอบตัวเพื่อให้ฉันอยู่ในสถานที่
46
ที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพที่ดีได้
ฉันเข้าร่วมทากิจกรรมด้านสุขภาพกับผู้ให้บริการด้าน
47
สุขภาพ
ส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
คาชี้แจง โปรดทาเครื่องหมาย (/) ในแต่ละข้อความตามความเป็นจริงของความถี่ของการปฏิบัติในแต่ละ
กิจกรรม โดยมีเกณฑ์การตอบดังนี
สม่าเสมอ หมายถึง ปฏิบัติกิจกรรมนันอย่างสม่าเสมอหรือ 6-๗ วัน/สัปดาห์
บ่อยครัง หมายถึง ปฏิบัติกิจกรรมนันบ่อยครังหรือ ๔-๕ วัน/สัปดาห์
บางครัง หมายถึง ปฏิบัติกิจกรรมนันบางครังหรือ ๑-๓ วัน/สัปดาห์
ไม่เคย หมายถึง ไม่ได้ปฏิบัติกิจกรรมนัน ๆ เลย

การปฏิบัติ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ สม่าเสมอ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
1. ด้านการออกกาลังกาย
1. ท่านได้ทาตามแผนออกกาลังกาย
2. ท่านออกกาลังกายที่ใช้แรงมากเป็นเวลา 20-30 นาที
อย่างน้อย 3 ครังต่อสัปดาห์ เช่น เดินเร็ว แอโรบิก ฯลฯ
3. ท่านออกกกาลังกายที่ใช้แรงน้อยหรือปานกลาง เช่น เดิน
ติดต่อกันนานอย่างน้อย 5 ครังต่อสัปดาห์
4. ท่านบิดเนือบิดตัวและเหยียบแขนขาอย่างน้อย 3 ครังต่อ
สัปดาห์
5. ท่านหาโอกาสออกกาลังกายเล็กๆน้อยๆในแต่ละวัน เช่น
เดินขึนบันไดแทนการใช้ลิฟต์
6. ท่านนับชีพจรทุกครังก่อนและหลังออกกาลังกาย
7. ท่านพยายามเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจเวลาออกกาลัง
กาย
2. ด้านโภชนาการ
8. ท่านเลือกรับประทานอาหารที่มีไขมันและโคเลสเตอรอล
ต่า เช่น ผัก ผลไม้ ปลา ธัญพืช เป็นต้น
9. ท่านหลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัด เช่น นาอัดลม
ขนมหวาน เป็นต้น
10.ท่านรับประทานข้าวเป็นอาหารหลักสลับกับอาหาร
ประเภทแป้งเป็นบางครังเช่น ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน
11. ท่านรับประทานผลไม้ทุกวัน
12. ท่านรับประทานผักทุกวัน
13. ท่านดื่มนมหรือนาเต้าหู้ทุกวัน
14. ท่านรับประทานปลา เนือสัตว์ไม่ติดมัน ไก่ ไข่ และถั่ว
เมล็ดแห้งทุกวัน
15. ท่านรับประทานอาหารเช้าทุกวัน
การปฏิบัติ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ สม่าเสมอ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
3. ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ
16. ท่านปรึกษาแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์เมื่อมี
อาการผิดปกติของร่างกาย
17. ท่านติดตามข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพจากแหล่ง
ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์
18.ท่านสอบถามผู้รู้ เช่น แพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย
หมอชาวบ้าน เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองเมื่อเจ็บป่วย
19. ท่านสอบถามผู้อื่นเมื่อสงสัยในคาแนะนาของแพทย์หรือ
พยาบาล
20. ท่านปรึกษาปัญหาทางสุขภาพกับแพทย์หรือพยาบาล
21. ท่านสังเกตความผิดปกติของร่างกายด้วยตนเองอย่าง
น้อยเดือนละครัง เช่น ตรวจเต้านมด้วยตนเอง
22. ท่านอ่านฉลากคุณค่าทางอาหารที่ข้างซองอาหารหรือ
ข้างขวด
23. ท่านเข้าร่วมฟังการบรรยายหรือการให้สุขศึกษาเกี่ยวกับ
การดูแลตนเองด้านสุขภาพ
24. ท่านขอความช่วยเหลือหรือขอคาปรึกษาจากผู้อื่นเมื่อ
จาเป็น
4. ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
25.ท่านพูดคุยปรึกษาปัญหาและความกังวลใจกับบุคคลที่
ใกล้ชิด
26.ท่านแสดงความชมเชนและยินดีกับความสาเร็จของผู้อื่น
27.ท่านรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
28.ท่านใช้เวลาในการสังสรรค์กับเพื่อนที่ใกล้ชิด
29.ท่านแสดงความรัก ความห่วงใยกับผู้อื่น
30.ท่านสัมผัสหรือได้รับการสัมผัสโดยบุคคลใกล้ชิด
31.ท่านแสวงหาเพื่อนที่รู้ใจ
32.ท่านได้รับความช่วยเหลือและกาลังใจจาก พ่อแม่ พี่น้อง
ญาติ หรือเพื่อนๆ
33.ท่านปรับความเข้าใจและประนีประนอมเมื่อมีความ
ขัดแย้งกับผู้อื่น
การปฏิบัติ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ สม่าเสมอ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
5. ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ
34.ท่านรู้สึกว่าชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึน
35.ท่านเชื่อว่าชีวิตท่านมีเป้าหมาย
36.ท่านตังความหวังไว้กับอนาคต
37.ท่านพอใจในตนเองและไม่มุ่งหวังในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
38.ท่านตังเป้าหมายชีวิตในระยะยาว
39.ท่านรู้สึกว่าวันเวลาที่ผ่านไปแต่ละวันน่าสนใจและท้าทาย
40.ท่านรู้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่สาคัญต่อชีวิตท่าน
41.ท่านรู้สึกว่าธรรมะเป็นที่พึ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
42.ท่านสนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ๆและสิ่งที่ท้าทายความสามารถ
6. ด้านการจัดการความเครียด
43. ท่านพักผ่อนอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
44. ท่านหาเวลาพักผ่อนในแต่ละวัน เช่น ดูโทรทัศน์ นอน
45. ท่านยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนในชีวิตได้ไม่ว่าจะ
เป็นเรื่องร้ายหรือดี
46. ท่านเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการหรือเข้าร่วมชมรม เช่น
ชมรมว่ายนา ชมรมแอโรบิก ชมรมไทเก๊ก
47. ท่านสวดมนต์ไหว้พระก่อนนอน
48. ท่านหาวิธีการที่เหมาะสมกับตนเองที่จะควบคุม
ความเครียด
49. ท่านบริหารเวลาให้สมดุลระหว่างการทางานกับการ
พักผ่อน
50. ท่านหาโอกาสทาสมาธิเป็นเวลา 15-20 นาที
51. ท่านหยุดพักทุกครังเมื่อรู้สึกว่าเหนื่อย

You might also like