You are on page 1of 116

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน

Occupation Health and Safety in Factory

คณะผูผลิต

นางสาวณัฐริกา ซื่อมาก

นายรตน หิรัญ

นางสาวประภาพร แกวสุกใส

อาจารยที่ปรึกษา
อาจารยชายชาติ ธรรมครองอาตม

ภาควิชาวืทยาศาสตรทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
สนับสนุนโดย
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
สารบัญ

หนา
1. คําอธิบายรายวิชา
………………………………………………………………………………..
2. แนวคิด
…………………………………………………………………………………………..
3. วัตถุประสงคื…………………………………………………………………………………….
4. ความหมายและการพัฒนางานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย……………
5. กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย…………………………….
6. มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และมาตรฐานอื่นที่เกีย่ วของ………
7. หลักการและวิธีการควบคุมอันตรายจากการทํางาน
……………………………………………..
8. พิษวิทยา…………………………………………………………………………………………
9. หลักการดานเออรโกโนมิกส……………………………………………………………………
10. โรคจากการทํางานในโรงงาน
…………………………………………………………………...
11. อัคคีภัย
…………………………………………………………………………………………..
12. เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล
……………………………………………………………….
13. การกําจัดของเสียจากโรงงาน
……………………………………………………………………
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน

รหัสวิชา วท 351
ชื่อวิชา (ภาษาไทย) อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน
ชื่อวิชา (ภาษาอังกฤษ) Occupation Health and Safety in Factory
จํานวนหนวยกิต (ภาคทฤษฎี) 3 หนวยกิต 3(2-2)
(ภาคปฏิบัติ)
คณะ วิทยาศาสตร สาขา วิชาวิทยาศาสตรทวั่ ไป
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คําอธิบายรายวิชา

ศึ ก ษาสิ่ ง แวดล อ มภายโรงงาน สาเหตุ แ ละการป อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ ที่ เ กิ ด ภายในโรงงาน


กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวของ และการกําจัดของเสียจากโรงงาน
แนวคิด
(1) ผูเรียนสามารถนําความรูท ี่ไดรับไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพไดอยางปลอดภัย
(2) ทําใหทราบถึงกฎหมายและมาตรฐานในประเทศไทย เพือ่ สามารถนําไปปฏิบัติใชไดอยาง
ถูกตอง
(3) ผูเรียนไดรับรูถึงโรค และอันตรายที่เกิดจากการทํางานในโรงงานรูปแบบตางๆพรอมทั้ง
ทราบถึงวิธีการปองกันที่ถกู ตอง ปลอดภัย
วัตถุประสงค
(1) เพื่อทราบถึงความหมายและงานอาชีวอนามัยในประเทศไทย
(2) เพือ่ ทราบถึงกฎหมายและมาตรฐานที่เกีย่ วของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(3) เพือ่ ทราบถึงอันตรายตางๆ ที่เกิดขึ้นภายในโรงงานและวิธีปองกันแกไขปญหาทีเ่ กิดขึ้น
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บทที่ 1
ความหมายและการพัฒนางานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย
ความหมายของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
รากฐานของคําวาอาชีวอนามัย คําวาอาชีวอนามัยมาจากคําสองคําผสมผสานกัน
• อาชีวะ (Occupation) : หมายถึงบุคคลที่ประกอบสัมมาชีพ หรือคนที่
ประกอบอาชีพ ทั้งมวล
• อนามัย (Health) : หมายถึงสุขภาพอนามัย ความเปนอยูที่สุขสมบูรณของ
ผูประกอบอาชีพ
เมื่อนําสองคํานี้มารวมกันเปนคําวาอาชีวอนามัย หมายถึง งานที่เกี่ยวของกับการควบคุม
ดูแล สุขภาพอนามัยของผูประกอบอาชีพทั้งหมด เปนงานที่เกี่ยวของกับการปองกันและสงเสริม
สุขภาพอนามัย รวมทั้งการดํารงคคงไวซึ่งสภาพรางกาย และจิตใจที่สมบูรณของผูประกอบอาชีพ
ทุกอาชีพ
แตเดิมนั้นจะเห็นวาความหมายของงานดานอาชีวอนามัยจะครอบคลุมเฉพาะในสวนที่
เกี่ยวของกับ ดานสุขภาพทางกายเปนหลัก (Physical Health) ปจจุบันลักษณะงานจะกวาง
ออกไป ครอบคลุมทุกดานเชน ดานจิตใจและอารมณ (Mental Health) และดานสังคม
(Social Effect) องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO)ไดใหความหมายใน
เบื้องตนหมายถึงงานที่เกี่ยวของกับการสงเสริม ธํารงไวซึ่งสุขภาพทางกาย ทางจิตใจ และทาง
สังคมที่ดีงามของผูประกอบอาชีพทั้งมวล

สุขภาพจิต

อาชีวอนามัย

สุขภาพทางกาย สถานะทาง
สังคม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

องคการอนามัยโลก (WHO) และองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ได


ประชุมรวมกันใหลักษณะงานดานอาชีวอนามัยไว ประกอบดวยลักษณะงาน 5 ประการสําคัญคือ
1. การสงเสริม (Promotion) หมายถึง การสงเสริมและธํารงครักษาไว เพื่อให
แรงงานทุกอาชีพมีสุขภาพรางกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่สมบูรณที่สุด และมีความเปนอยูในสังคมที่ดี
ตามสถานะที่พึงมีได
2. การปองกัน (Prevention) หมายถึงงานดานปองกันแรงงานไมใหมีสุขภาพ
อนามัย เสื่อมโทรมหรือผิดปกติอันมีสาเหตุอันเนื่องมาจากสภาพ สภาวะการทํางานที่
ผิดปกติ
3. การปองกันคุมครอง (Protection) หมายถึง การปกปองคนทํางานในสถาน
ประกอบการ หรือลูกจางไมใหทํางานที่เสี่ยงตอสภาพการทํางานที่อันตรายจนเปนสาเหตุสําคัญที่
ทําใหเกิดปญหาอุบัติเหตุ การบาดเจ็บจากการทํางานได
4. การจัดการงาน (Placing) หมายถึง การจัดสภาพตางๆของการทํางาน และปรับ
สภาพแรงงาน ใหทํางานในสิ่งแวดลอมของการทํางานที่เหมาะสมกับความสามารถของรางกาย
และจิตใจของแตละคนมากที่สุดเทาที่จะทําได โดยคํานึงถึงความเหมาะสมในดานตางๆ โดยการ
นําเอาดานการลงทุนมาประกอบพิจารณาถึงความเปนไปไดดวย
5. การปรับงานใหกับคนและปรับคนใหกับงาน (Adaptation) หมายถึง การปรับ
สภาพของงานและของคนใหสามารถทํางานไดอยางเหมาะสม คํานึงถึงสภาพทางสรีระวิทยาของ
แรงงานมากที่สุด อยูในพื้นฐานของความแตกตางกันของสภาพรางกายและจิตใจ พยายามเลือก
จัดหางานใหเหมาะสมกับสภาพรางกายของแรงงานมากที่สุด เพื่อประสิทธิภาพของงาน ทํางานให
เกิด ประสิทธิผลมากที่สุด

ความปลอดภัย (Safety) : หมายถึง สภาพแวดลอมของการทํางาน ที่ปราศจากภัย


คุกคาม ไมมีอันตราย (Danger) และความเสี่ยงใดๆ (Risk) ในทางปฏิบัตินั้นอาจจะไม
สามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงในการทํางานที่มีผลตอสุขภาพ การบาดเจ็บ การพิการ การ
ตายไดทั้งหมด แตตองมีการดําเนินงาน มีการกําหนดกิจกรรมดานความปลอดภัยเพื่อใหเกิด
อันตรายหรือความเสี่ยงนอยสุดเทาที่จะทําได

การพัฒนางานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย
มีการพัฒนากันอยางตอเนื่องคลายกับของอารยะประเทศทั้งหลาย เกิดจากมีการพัฒนา
งานดานอุตสาหกรรมมากขึ้นตามแผนพัฒนาประเทศ มีโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น เกิดปญหา
มลพิษจากสิ่งแวดลอมในการทํางาน ในสิ่งแวดลอมทั่วไป เกิดโรคจากการทํางาน มีอุบัติเหตุการ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บาดเจ็บพิการ ตายจากการประกอบอาชีพมีการผลักดันจากฝายตางๆ เชน นักวิชาการ องคกร


เอกชนอิสระ และจากแรงงานโดยตรงเพื่อใหรัฐบาลดูแลและเอาใจใสควบคุมสภาพการทํางานให
ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น การพัฒนางานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไดเริ่มตนอยางเปนทางการ
โดยมีการนําเอาพระราชบัญญัติของกระทรวงอุตสาหกรรมมาใช โดยเมื่อมีการออก
พระราชบัญญัติโรงงานขึ้นมาในป พ.ศ.2472 ถือวาเปนกฎหมายดานอุตสาหกรรมฉบับแรกที่
กลาวถึงการใหความคุมครองความปลอดภัยของคนงานที่ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม
ตอมากระทรวงสาธารณสุขไดมีพระราชบัญญัติสาธารณสุข ป พ.ศ.2477 และปรับปรุง
ใหม บังคับใชในป พ.ศ.2484 กําหนดใหมีการคุมครองสุขภาพและอนามัยของลูกจางใน
สถานที่ทํางานขึ้น การดําเนินงานดานอาชีวอนามัยในกระทรวงสาธารณสุข มีการดําเนินการแฝง
ในงานตางๆ ในหลายกรมกองที่รับผิดชอบทั่วไป ยังไมเนนสําหรับการดูแลสุขภาพอนามัยของผู
ทํางานในโรงงาน ผูบริหารกระทรวงยุคนั้นเห็นถึงความสําคัญของงานดานนี้ จัดสงบุคคลากรไป
ศึกษาดูงานยัง ตางประเทศกลับมาเริ่มงานโดยการตั้งโครงการอาชีวอนามัยขึ้นในป
พ.ศ.2510 และไดรับอนุมัติ จัดตั้งเปนกองอาชีวอนามัย ในป พ.ศ.2515 สังกัดกรม
สงเสริมสาธารณสุข หรือกรมอนามัยในปจจุบัน
หลังจากป พ.ศ.2491 มีกรณีพิพาทแรงงานบอยครั้งขึ้น กองแรงงาน กรม
ประชาสงเคราะห กระทรวงมหาดไทย ไดเสนออนุมัติรางพระราชบัญญัติแรงงานขึ้น 2 ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน และพระราชบัญญัติสหภาพแรงงาน และรัฐบาลได
เสนอรางเมื่อป พ.ศ.2499 ไดรับการอนุมัติใชรางพระราชบัญญัติแรงงาน โดยสภาผูแทนราษฎร
มีผลการบังคับใชเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2500
ในป พ.ศ.2500 นี้เองมีการกําหนดแผนงานดานอาชีวอนามัยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติขึ้น ในป พ.ศ.2509 สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดบรรจุ
โครงการดาน อาชีวอนามัย เขาไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2
(พ.ศ.2510-2514) และในป พ.ศ.2511 คณะรัฐมนตรีไดมีมติตั้งคณะกรรมการ
ประสานงานอาชีวอนามัยแหงชาติขึ้น เพื่อประสานการทํางานของหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม และทบวงมหาวิทยาลัย
ในป พ.ศ.2512 กระทรวงอุตสาหกรรมไดปรับปรุงออกพระราชบัญญัติโรงงานขึ้นมา
บังคับใช มีรายละเอียดดานการควบคุมโรงงานมากขึ้น โดยเฉพาะงานดานความปลอดภัยในการ
ทํางานและการควบคุมสภาพแวดลอมในการทํางานใหปลอดภัย
ในดานการศึกษาของประเทศ ในป พ.ศ.2512 รัฐบาลไดเห็นถึงความสําคัญของ
การศึกษาดานนี้ ไดมอบใหมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร หรือมหาวิทยาลัยมหิดลในปจจุบนั โดยคณะ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

สาธารณสุขศาสตรในขณะนั้น ไดจัดตั้งภาควิชาอาชีวอนามัยขึ้นเมื่อ วันศุกรที่ 8 เดือนสิงหาคม


พ.ศ.2512 ภาควิชาไดรางหลักสูตรการเรียนการสอนดานอาชีวอนามัยในระดับปริญญาตรีขึ้น
ไดรับการอนุมัติใหเปดสอนในปเดียวกันนี้ นับเปนสถาบันการศึกษาแหงแรกของประเทศไทยที่มี
การเปดการเรียนการสอนในดานนี้ ภาควิชาอาชีวอนามัยไดผลิตนักศึกษาออกมาทํางานดาน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอยางตอเนื่อง โดยระยะแรกบัณฑิตที่สําเร็จออกมาจะเขาไป
ปฏิบัติงานในภาคราชการเปนหลัก รวมกับบุคคลากรสาขาวิชาชีพอื่นในการกระตุนและ
วางรากฐานของงานดานนี้ในหนวยงานของรัฐ ในกระทรวงทบวงกรม ตางๆ เชน
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข เปนตน สวนหนึ่งของบัณฑิตไดทํางานในภาค เอกชน
โดยในสมัยนั้นยังไมมีกฎหมายบังคับที่เขมงวดมากนัก แตผูบริหารของภาคเอกชนบางแหงที่เห็น
ถึงความสําคัญงานดานนี้ ไดมีการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยอยางเปนรูปธรรม เพื่อยกระดับ
ฐานะของแรงงานใหมีมาตรฐาน ความปลอดภัยทัดเทียมกับของนานาชาติตอมาในป
พ.ศ.2525 ภาควิชาอาชีวอนามัยไดมีการเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโทในสาขาสุขศาสตร
อุตสาหกรรมและความปลอดภัยขึ้น หลังจากนั้นในสถาบันตางๆ ของรัฐและเอกชนก็เริ่มมีการ
เปดสอนหลักสูตรดานนี้กันแพรหลายมากยิ่งขึ้น ปจจุบันมีการบรรจุสูตรการเรียนการสอนดานอา
ชีวอนามัยและความปลอดภัย ในโรงเรียน ในวิทยาลัย ในสถาบันการศึกษา ในมหาวิทยาลัย
ภายในประเทศอยางแพรหลาย
การพัฒนาดานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยนั้น ในป พ.ศ.2515 ไดมีการออก
ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2515 นับเปนกฎหมายพื้นฐานในการ
ทํางานดานการคุมครองความปลอดภัย สุขภาพอนามัยและสวัสดิการของคนงาน ประกาศคณะ
ปฏิวัติฉบับนี้มี บทบาทในการบังคับใชมากในป พ.ศ.2517 มีการตั้งฝายความปลอดภัย
ในการทํางาน สังกัดกอง คุมครองแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ตอมาในป พ.ศ.2519
กระทรวงมหาดไทยไดประกาศกําหนดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจางขึ้น
ในป พ.ศ.2526 กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ไดตั้งสถาบันความปลอดภัยในการทํางานขึ้น
มีบทบาทในการทํางานดานสงเสริม วิชาการและเทคโนโลยีทางดานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย ใหกับประเทศไทยมากยิ่งขึ้น
ในป พ.ศ.2528 กระทรวงมหาดไทยไดออกประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง ความ
ปลอดภัยในการทํางานของลูกจางหลายฉบับที่เกี่ยวของกับการทํางาน ที่สําคัญคือการบังคับให
โรงงานที่มีคนงานเกิน 100 คน ตองมีเจาหนาที่ความปลอดภัยประจํา ทํางานเต็มเวลาในโรงงาน
เจาหนาที่ความปลอดภัยเหลานี้มาจากหลายแหลงเชน สําเร็จปริญญาจากมหาวิทยาลัยมหิดลหรือ
ผานการฝกอบรมตามหลักสูตรของกระทรวง จํานวน 180 ชั่วโมง ทําใหมีบุคลากรดานนี้มาชวย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ในการพัฒนาในเรื่องการคุมครองความปลอดภัยของคนงานมากขึ้น หลังจากป พ.ศ.2530 มีการ


ออกประกาศกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน ตามอํานาจของประกาศ
คณะปฏิวัติฉบับที่ 103 อีกรวม 17 ฉบับในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับดานความปลอดภัย
ในป พ.ศ.2533 จัดตั้งสํานักประกันสังคมขึ้นตามพระราชบัญญัติประกันสังคม
พ.ศ.2533 ขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย ตอมาสํานักประกันสังคมไดโอนไปสังกัดกระทรวง
แรงงานและ สวัสดิการสังคม
ในป พ.ศ.2536 รั ฐ บาลปรับ ปรุ งส ว นราชการ โดยการจั ด ตั้ ง กระทรวงแรงงานและ
สวัสดิการสังคมขึ้น เมื่อ 23 กันยายน 2536 มีการโอนหนวยงานจากกระทรวงมหาดไทยมา
สังกัดหลายกรมกอง
ในป พ.ศ.2537 ไดมีการออกพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 มาใชแทน
ประกาศ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ในสวนที่เกี่ยวของกับเงินทดแทนตาง ๆ
ป พ.ศ.2540 ไดมีการออกพระราชบัญญัติแรงงานมาบังคับใชแทนประกาศคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ 103 มีผลบังคับใชเมื่อเดือน สิงหาคม พ.ศ.2541 เปนการสรางภาพพจนดานการ
คุมครอง แรงงานของประเทศไทยตอนานาชาติมากยิ่งขึ้น จากพระราชบัญญัติฉบับนี้
จําเปนตองมีการ ปรับปรุงเนื้อหาของกฎหมายที่เกี่ยวของกับแรงงานหลายฉบับใหทันสมัย
เพื่อรองรับกับเทคโนโลยีและความกาวหนาทางวิชาการที่มีการพัฒนาไปมาก โดยเฉพาะในสวนที่
เกี่ยวของกับงานดาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ป พ.ศ.2540 กระทรวงอุตสาหกรรม โดยสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ไดเล็งเห็น
ถึงความสําคัญของงานดานนี้ เพื่อสรางเสริมภาพพจนดานแรงงานของประเทศไทยในสายตาของ
นักลงทุน ในป พ.ศ.2542 ไดมีการกําหนดอนุกรมมาตรฐานดานอาชีวอนามัยความปลอดภัยขึ้น
คือ มอก.-18000 หรือเปรียบเทียบกับอนุกรมมาตรฐานของสากลคือ ISO 18000 ประเทศ
ไทยนับเปนประเทศแรกที่มีการประกาศใชอนุกรมมาตรฐานนี้ คาดวาในอนาคตจะมีการรณรงค
การไดมาซึ่งอนุกรมมาตรฐานดานนี้มากยิ่งขึ้น

แบบฝกหัดบทที่ 1
1. ขอใดไมใชลักษณะงานดานอาชีวอนามัยที่องคการอนามัยโลก (WHO) และองคการ
แรงงานระหวางประเทศ (ILO) ที่ไดกําหนดไว
ก. การสงเสริม
ข. การปองกัน
ค. การจัดการงาน
ง. การปรับคนใหเขากับองคกร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 6
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. ขอใดคือความหมายของ อาชีวอนามัย
ก. บุคคลที่ประกอบสัมมาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทั้งมวล
ข. งานที่เกี่ยวของกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผูประกอบอาชีพทั้งหมด
ค. สุขภาพอนามัย ความเปนอยูที่สุขสมบูรณของผูประกอบอาชีพ
ง. สภาพแวดลอมของการทํางาน ที่ปราศจากภัยคุกคาม
3. กฏหมายฉบับใดเปนกฎหมายดานอุตสาหกรรมฉบับแรกที่กลาวถึงการใหความคุมครองความ
ปลอดภัยของคนงานที่ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม
ก. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2472
ข. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
ค. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2477
ง. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
4. มหาวิทยาลัยใดเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่เปดสอนดานอาชีวอนามัยในระดับปริญญาตรี
ก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ข. มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ค. มหาวิทยาลัยมหิดล
ง. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
5. ความหมายของของงานดานอาชีวอนามัยจะครอบคลุมดานใดบาง
ก. ดานสุขภาพทางกาย
ข. ดานจิตใจและอารมณ
ค. ดานสังคม
ง. ถูกทุกขอ
6. ไดมีการกําหนดใหมีการคุมครองสุขภาพและอนามัยของลูกจางในสถานที่ทํางานในป พ.ศ.
ใด
ก. พ.ศ. 2472
ข. พ.ศ. 2477
ค. พ.ศ. 2484
ง. พ.ศ. 2491

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

7. ตามความหมายของการปรับงานใหกับคนและปรับคนใหกับงาน โดยองคการอนามัยโลก
คํานึงถึงเรื่องใดมากที่สุด
ก. สภาพทางสรีระวิทยาของแรงงาน
ข. ความปลอดภัย
ค. เงินทดแทน
ง. อายุ
8. ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานของลูกจางหลายฉบับที่เกีย่ วของ
กับการทํางาน พ.ศ.2528 บังคับใหโรงงานที่มีคนงานเกินกี่คน ที่ตองมีเจาหนาที่ความปลอดภัย
ประจํา
ก. 50 คน
ข. 100 คน
ค. 500 คน
ง. 1000 คน
9. กฎหมายใดเปนพืน้ ฐานในการทํางานดานการคุมครองความปลอดภัย สุขภาพอนามัยและ
สวัสดิการของคนงาน
ก. พระราชบัญญัติสาธารณสุข ป พ.ศ.2477
ข. ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2515
ค. พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537
ง. พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541
10. สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมไดออกมาตรฐานดานอาชีวอนามัยความปลอดภัย แบับใดขึ้น
ก. ISO 9000
ข. ISO 14000
ค. มอก. 18000
ง. ถูกทุกขอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 8
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บทที่ 2
กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย

งานอาชีวอนามัยถูกบรรจุเปนครั้งแรกในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2510-2514) เปนตนมา แตการดําเนินงานอาชีวอนามัยมีนอยมาก สังคมไทยโดย
สวนรวมและสังคมของผูอยูในโรงงานอุตสาหกรรม แทบจะไมรูจักคําวา “อาชีวอนามัย” หลาย ๆ
ครั้งที่พบวา ชื่อเรียกยังถูกเรียกผิด ๆ เปน “ชีวอนามัย” ก็มี จนกระทั่งมาในป 2528 เมื่อ
กระทรวงมหาดไทย โดยกรมแรงงาน (ชื่อในขณะนั้น) ไดออกกฎหมาย ประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง กําหนดใหสถานประกอบการที่
มีลูกจางตั้งแต 100 คนขึ้นไป ตองมีเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน (นิยมเรียกยอ ๆ วา
จป.) งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจึงเริ่มเปนที่รูจักกันในโรงงานอุตสาหกรรมนี้แสดงให
เห็นถึงความสําคัญของกฎหมายที่มีตองานทาง ดานนี้
ถึงแมวางานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะใหความสําคัญกับการปองกันอันตรายที่จะ
เกิดขึ้นกับผูประกอบอาชีพ แตถาจะพิจารณาใหครบถวนแลว ตองพิจารณาวามีกฎหมายใดที่จะ
ถูกนํามาใชในกรณีที่ไมสามารถทําการปองกันไดจนเกิดอุบัติเหตุ และหรือโรคจากการทํางานดวย
ถากําหนดใหผูที่ทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเปนศูนยกลาง แลวพิจารณาวากอน
เกิดอันตราย จะมีกฎหมายใดที่ใหการปองกันอันตรายบางและถาเกิดเหตุอันตรายแลวจะมี
กฎหมายใดใหความคุมครองบาง ก็พบวามีกฎหมายหลายฉบับที่ใหการปองกันอันตราย และมี 1
ฉบับที่ใหความคุมครองดูแลภายหลังการประสบอุบัติเหตุ และหรือเปนโรคจากการทํางาน ดังนี้
1. กฎหมายที่เนนการปองกันการเกิดอันตรายในการทํางาน
1.1 พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541
1.2 ป.มท.* เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร
1.3 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม
1.4 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี)
1.5 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยเกีย่ วกับไฟฟา
1.6 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่อบั อากาศ
1.7 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 9
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

1.8 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับหมอน้ํา


1.9 ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่มีอันตรายจากการตกจากที่
สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพังทลาย
1.10 ป.มท. เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ เพื่อความปลอดภัย
ใน การทํางานสําหรับลูกจาง
1.11 ป.รส.** เรื่อง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมใน
การทํางาน
1.12 ป.รส. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง
1.13 พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
1.14 กฎหมายที่ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
1.15 พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535
1.16 กฎหมายที่ออกตามความใน พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ.2535
1.17 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
1.18 กฎกระทรวงทีอ่ อกตามความใน พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535
1.19 พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535
1.20 กฎกระทรวงที่ออกตามความใน พ.ร.บ. สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
แหงชาติ พ.ศ.2535
1.21 พ.ร.บ.วาดวยการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ.2474
1.22 กฎกระทรวงทีอ่ อกตามความ พ.ร.บ.วาดวยการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง
พ.ศ.2474
1.23 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28 วาดวยการบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว
1.24 กฎหมายที่ออกตามความประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 28 วาดวยการบรรจุกาซ
ปโตรเลียมเหลว
2. กฎหมายที่เนนภายหลังการประสบอันตรายและหรือโรคจากการทํางาน
มีเพียงฉบับเดียวคือ พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.2537 เมื่อพิจารณาบัญชีรายชื่อกฎหมายที่
เกี่ยวของกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการผลิตจะเห็นวามีกฎหมายอยู
หลายฉบับที่บังคับใช ซึ่งกฎหมายเหลานี้ก็อยูภายใตการดูแลของหนวยงานภาครัฐหลายแหง
ทําใหมีเสียงพูดจากผูประกอบการโรงงานวา เกิดความสับสนในการปฏิบัติตามกฎหมาย และตอง
เสียเวลากับเจาหนาที่รัฐในปญหาเรื่องเดียวกัน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 10
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

โดยสรุปแลว อยางนอยมีหนวยงานภาครัฐ 5 กระทรวงที่มีอํานาจหนาที่บังคับใชกฎหมาย


ที่เกี่ยวของกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ตารางที่ 2.1)

ตารางที่ 2.1 หนวยที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


ในอุตสาหกรรมการผลิต
กฎหมาย หนวยงานรับผิดชอบ*
1. พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541,
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
ป.มท. และ ป.รส.
2. พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535 กระทรวงอุตสาหกรรม
และกฎกระทรวง
3. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข
และกฎกระทรวง
4. พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 กระทรวงสาธารณสุข
และกฎกระทรวง
5. พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหง กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
ชาติ พ.ศ.2535 และกฎกระทรวง
6. พ.ร.บ. วาดวยการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย
พ.ศ.2474 และกฎกระทรวง
7. ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 28 กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย
และกฎกระทรวง
* ในที่นี้ยังไมไดนับรวมหนวยงานที่เปนสวนราชการทองถิ่น ที่กฎหมายบางฉบับจะทําใหอํานาจ
ในการบังคับใชกฎหมายนั้น ๆ ดวย
สาระสําคัญของกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ในที่นี้จะนําเสนอเฉพาะสาระสําคัญของกฎหมายบางฉบับที่คอนขางเกี่ยวของมากกับงาน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการผลิต ดังนี้
1. พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541
2. พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535
3. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535
4. ป.มท. เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี)
5. ป.มท. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

6. ป.มท. เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการเพื่อความปลอดภัยใน


การทํางานสําหรับลูกจาง
7. กฎกระทรวง (พ.ศ.2537) ออกตามความใน พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535

ความซ้ําซอมและความขัดแยงของกฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
นอกจากผูประกอบการจะสับสนกับกฎหมายดังกลาวขางตนอันเนื่องมาจากมีกฎหมาย
หลายฉบับแลวรายละเอียดของกฎหมายในบางกรณีก็ไมสอดคลองกัน บางกรณีขัดแยงกัน เรื่อง
ความสับสนนี้มิไดจะเกดกับผูประกอบการเทานั้น บางครั้งเจาหนาที่รัฐและผูบริหารประเทศก็มี
ปญหาในการสั่งการเชนกัน ดังจะเห็นไดจากคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2537
เห็นชอบใหมีคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหนาที่ความรับผิดชอบและกฎหมายดานความปลอดภัยใน
การทํางานของหนวยราชการที่เกี่ยวของ ตามขอเสนอของสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแหงชาติ
แตเปนที่นาเสียดายวาเมื่อมีการเปลี่ยนคณะรัฐบาล คณะกรรมการชุดนี้ก็ไมไดมีการดําเนินการ
ใดๆตอ ทําใหเสียโอกาสที่จะทําการแกไขความซ้ําซอนและความขัดแยงของกฎหมาย
ตัวอยางของกฎหมายที่กลาวมาขางตนที่มีความขัดแยงกัน เชน
1. กฎหมายเกี่ยวกับเสียงดัง
- ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย จะกําหนดมาตรฐานเสียงดังเปนระดับความดัง
หนวยเดซิเบล (เอ) และคานี้จะขึ้นกับระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง แตประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ที่ออกตามความใน พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2512 จะกําหนดเปนคา
ระดับความดังเปนคาเดียวโดดๆ คือหนวยเดซิเบล (ไมมีสเกล “เอ” ตอทาย) และไมขึ้นกับ
ระยะเวลาที่ตอ งสัมผัสเสียงตั้งแตอยางใด
2. กฎหมายเกี่ยวกับอัคคีภัย
- กฎหมายของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานของกรมโยธาธิการและของ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม จะขัดแยงกันในเรื่องของขนาดประตูหนีไฟที่กําหนดไวไมเทากัน
นอกจากนี้ก็มีการกําหนดเรื่องเวลาที่จะใชในการหนีไฟที่ไมเหมือนกัน เชน กฎหมายของ
กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานจะกําหนดเวลาหนีไฟที่ลูกจางทั้งหมดจะตองออกสูทางออก
สุดทายภายใน 5 นาที แตกฎหมายของ 2 หนวยงานที่กลาวถึงไมไดกําหนดในเรื่องเวลานี้ไว
กฎหมายของกรมโยธาธิการจะกําหนดระยะเวลาไวในระบบบันไดหนีไฟที่จะตองคํานวณใหเห็นวา
สามารถลําเลียงบุคคลทั้งหมดในอาคารออกนอกอาคารไดภายใน 1 ชั่วโมง
3. กฎหมายเกี่ยวกับขนาดเขื่อนคอนกรีตที่จะรองรับสารเคมีรั่วไหล

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 12
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

- ปรากฏวาการกําหนดขนาดเขื่อนดังกลาวที่กําหนดไวใน พ.ร.บ.โรงงาน
พ.ศ.2535 มีความแตกตางจากที่กําหนด

ประเทศไทยยั ง ไม มี ก ฎหมายอาชี ว อนามั ย และความปลอดภั ย ที่ เ ป น การเฉพาะและ


ครอบคลุม จากรายชื่อกฎหมายที่กลาวถึงในตอนตนๆ ของบทนี้ จะเห็นไดวาปญหาสุขภาพและ
การบาดเจ็บของคนงานไทยนั้นจะไดรับการขจัดปดเปาดวยกฎหมายที่โดยเจตนารมณแลวมิได
กําหนดขึ้นมาดวยวัตถุประสงคดังกลาว นี้จึงอาจเปนสาเหตุสําคัญสาเหตุหนึ่งที่ทําใหสถิติการเกิด
อุบัติเหตุจากการทํางานของประเทศไทยจึงยังเปนตัวเลขที่นาวิตก
เมื่อพิจารณเหตุผลทายพระราชบัญญัติที่กลาวถึงนั้น พบวาเหตุผลสําคัญของการกําหนด
เปนพระราชบัญญัติฉบับใหมขึ้นมานั้น มาจากความลาสมัยของกฎหมายฉบับเดิม บทบัญญัติเดิม
ไม สอดคลองกับเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน ขอบเขตการบังคับไมกวางขวางสอดรับกับ
ความเจริญ กาวหนาของเทคโนโลยี เปนตน ที่สําคัญคือประเด็นเรื่องอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยของคนงาน ยังเปนเรื่องรองของวัตถุประสงคการบังคับใชพระราชบัญญัติตางๆที่กลาวถึง
ทําใหมีผลตอการออกกฎกระทรวง/ประกาศกระทรวงที่เปนกฎหมายดานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย
รายละเอีย ดของการวิเคาระหถึงเหตุ ผลความจําเปน ที่ตองออกกฎหมายที่เ กี่ยวของกับ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสิ่งที่เปนจุดเนนของกฎหมายนั้น ๆ ขอใหดูไดจากตารางที่
2.2

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 13
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ตารางที่ 2.2 วิเคราะหเหตุผลและออกพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


และสิ่งที่มุงเนนของพระราชบัญญัติเหลานั้น
กฎหมาย เหตุผลการออก พ.ร.บ. สิ่งที่มุงเนน
1. พ.ร.บ. คุมครอง 1. ประกาศคณะปฏิวัติ ฉ.103 ใชมาตั้งแตป 2515 1. สวัสดิการ
แรงงาน จึงมี บทบัญญัติลาสมัย ไมสอดคลองกับสภาพการณ 2. ปรับมาตรการการใช
พ.ศ.2541 ปจจุบัน แรงงาน
2. การกําหนดกฎหมายในรูป “ประกาศกระทรวง” มี 3. การจายคาจาง
ฐานะเปนกฎหมายรองมีปญหาในการยอมรับ
3. เพื่อคุมครองแรงงานบางประเภทเปนพิเศษ ไมใช
เฉพาะแรงงานทั่วไป
4. ตั้งกองทุนเพื่อสงเคราะหลูกจาง
5. ปรับปรุงอัตราโทษ
2. พ.ร.บ.โรงงาน 1. กฎหมายเดิม (พ.ศ.2512) ไมสอดคลองกับสภาพ 1.การปองกันเหตุเดือดรอน
พ.ศ.2535 เศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน รําคาญ
2. ไมเอื้อตอการสงเสริมการประกอบกิจการโรงงาน 2. การปองกันความเสียหาย
3. ปรับปรุงระบบการควบคุมดูแลใหสอดคลองกับ และการปองกันอันตรายที่จะมี
สภาพการประกอบกิจการโรงงาน ตอประชาชนหรือสิ่งแวดลอม
4. ลดการดําเนินงานที่ซ้ําซอน 3. อนุรักษสิ่งแวดลอม
5. ออกกฎเพื่อกําหนดขอบเขตการประกอบกิจการ 4. ความปลอดภัยของ
โรงงานใหชัดเจน ประเทศหรือของสาธารณชน
6. กําหนดขั้นตอนการใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่
7. ปรับปรุงอัตราโทษและกําหนดใหมีการรวมรับผิด

3. พ.ร.บ.วัตถุ 1. ปจจุบันมีการนําวัตถุอันตรายมาใชในกิจกรรมตาง ๆ 1. คํานึงถึงอันตรายที่จะเกิด

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 14
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

อันตราย เปนจํานวนมาก กับบุคคล สัตว พืช ทรัพย


2. มีกฎหมายที่ใชควบคุมอยูหลายฉบับและอยูใน และสิ่งแวดลอม
อํานาจของหลายกระทรวง กฎหมายเหลานี้มีบทบัญญัติ 2. ขอบเขต การควบคุมวัตถุ
แตกตางกันและยังไมครอบคลุมเพียงพอ อันตราย ตั้งแตผลิต นําเขา
3. ขยาย ปรับปรุงกฎหมายวัตถุมีพิษใหครอบคลุมวัตถุ การใช ขนสง เก็บรักษา
อันตรายตาง ๆ ทุกชนิด การมีไวครอบครอง และ
4. กําหนดหลักเกณฑและวิธีการควบคุมวัตถุอันตราย การกําจัดทําลาย
ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น
5. จัดระบบประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ
ตารางที่ 2.2 วิเคราะหเหตุผลและออกพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย และสิ่งที่มุงเนนของพระราชบัญญัติเหลานั้น (ตอ)
กฎหมาย เหตุผลการออก พ.ร.บ. สิ่งที่มุงเนน
4. พ.ร.บ. การสาธารณสุข 1. กฎหมายเดิมลาสมัย ไมทันตอ 1. อนามัยสิ่งแวดลอม
พ.ศ.2535(42) สภาพการเปลี่ยนแปลงและความ 2. คุมครองประชาชนดาน
เจริญกาวหนาของสังคม สาธารณสุขสิ่งแวดลอม
2. ขยายขอบเขตการกํากัดดูแล 3. สภาวะความเปนอยูที่
กิจการตาง ๆ ใหกวางขวางขึ้น เหมาะสมกับการดํารงชีพของ
3. กําหนดมาตรการกํากับ ดูแล ประชาชน
และปองกันเกี่ยวกับการอนามัย
สิ่งแวดลอมใหเพียงพอและมี
ประสิทธิภาพ
4. ปรับปรุงบทบัญญัติใหมี
ลักษณะการกํากับ ดูแล และ
ติดตาม

5. พ.ร.บ.สงเสริมและรักษา 1. กฎหมายเดิมไมมาตรการ 1. คุมครองสิ่งแวดลอมและ


คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ ควบคุมและแกไขปญหา ควบคุมมลพิษ
พ.ศ.2535 สิ่งแวดลอมไดอยางเพียงพอ 2. เนนสิ่งแวดลอมภายนอก
2. นํามาตรการใหม ๆ มาใช โรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ
ไดแก สงเสริมการมีสวนรวม และประชาชนทั่วไป
ของประชาชนและ NGOs
ใชหลักการจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดลอมมาควบคุมแกไข
ปญหากําหนดอํานาจหนาที่ของ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 15
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

หนวยงานรัฐอยางชัดเจน ใช
มาตรการควบคุมมลพิษดวย
ระบบบําบัดมลพิษนั้น ๆ
กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบ
ของผูกอมลพิษ และจัดตั้ง
กองทุนสิ่งแวดลอมขึ้น

ในชวงทศวรรษที่ 60 ในประเทศสหรัฐอเมริกา กฎหมายดานอาชีวอนามัยและความ


ปลอดภัยยังเปนเรื่องที่แตละรัฐจะออกกฎหมายกันเอง รัฐบาลกลางจะมีการออกกฎหมายดานนี้บาง
ก็เพียงไมกี่ฉบับ และครอบคลุมเฉพาะบางอุตสาหกรรมเทานั้น นายจางและลูกจางอีกจํานวนมาก
ไมไดอยูในขอบเขตการบังคับของกฎหมายเหลานี้ ปรากฏวาในชวงทศวรรษดังกลาวสถิติคนงาน
ตาย บาดเจ็บในแตละปมีจํานวนสูงมากจนไมอาจยอมรับไดจนในที่สุดในป 1970 รัฐบาล
สหรัฐอเมริกาจึงประกาศใช พ.ร.บ. ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Occupational
Safety and Health Act 1970) ซึ่งกลาวกันวาเปนกฎหมายที่ถือเปนผลงานชิ้นโบว
แดงกฎหมายหนึ่งทีเดียว
ในสหราชอาณาจักร ประมาณ 1972 รัฐสภาไดแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อ
ศึกษาภาพรวมทั้งหมดของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย พบวากฎหมายที่เกี่ยวกับงานดานนี้
ยั ง ไม มี ค วามครอบคลุ ม พอ กฎหมายขาดความยื ด หยุ น และไม มี ค วามสมบู ร ณ
(Comprehensive) รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการชุดนี้นําไปสูการออก
กฎหมาย Health and Safety at Work Act., etc 1974
การกําหนด พ.ร.บ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของทัง้ 2 ประเทศดังกลาว ทําใหมี
การปรับโครงสรางองคกรและหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ อยางชัดเจน
ในปตอๆมาก็มีการออกกฎหมายดานนี้โดยตรงในอีกหลายประเทศ เชน สวีเดน แคนาดา
ออสเตรเลีย ญี่ปุน เปน
ในกรณีของประเทศไทย ปญหาความไมครอบคลุมกิจการทุกกิจการของกฎหมายที่มีอยู
ความซ้ําซอนของกฎหมายและหนวยงานที่รับผิดชอบ การสิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณ
ดําเนินการตางๆ ฯลฯ นาจะเปนประเด็นนําไปสูการวิจัยอยางลึกซึ้งเพื่อคําตอบที่ชัดเจน ถูกตอง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 16
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

และเหมาะสมในเรื่องการออก พ.ร.บ.อาชีวอนามัยและความปลอดภัยและการปรับปรุง
โครงสราง องคกร ตลอดจนหนาที่ความรับผิดชอบ
อนึ่ ง ได มี การยกรา ง พ.ร.บ.ความปลอดภัย อาชีว อนามั ย และสภาพแวดล อ มในการ
ทํางาน ในกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เสร็จเรียบรอยแลว แตยังไมมีการเคลื่อนไหวเพื่อการ
ประกาศใชแตอยางใด
แบบฝกหัดบทที่ 2
1. กฎหมายฉบับใดที่เนน ภายหลังการประสบอันตรายและหรือโรคจากการทํางาน
ก. ป.รส. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง
ข. พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ.2537
ค. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ.2535
ง. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ.2535
2. ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514) ไดใชหนวยใดในการกําหนด
มาตรฐานเสียงดัง
ก. เดซิเบล
ข. เดซิเบล และขึ้นกับระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง
ค. เดซิเบล เอ
ง. เดซิเบล เอ และขึ้นกับระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง
3. พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ไมมุงเนนเรื่องใด
ก. สวัสดิการ
ข. ปรับมาตรการการใชแรงงาน
ค. การจายคาจาง
ง. ความปลอดภัยของประเทศ
4. เหตุผลในการออก พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 คือขอใด
ก. ปจจุบันมีการนําวัตถุอันตรายมาใชจํานวนมาก
ข. มีกฎหมายควบคุมอยูไมมากและอยูในอํานาจของกระทรวงเดียว
ค. กําหนดหลักเกณฑและวิธีการควบคุมวัตถุอันตรายใหเหมาะสมยิ่งขึ้น
ง. จัดระบบประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ
5. พ.ร.บ. ฉบับใดมุงเนนดานอนามัยสิ่งแวดลอม
ก. พ.ร.บ.สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535
ข. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 17
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ค. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535


ง. พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535
6. ประเทศใดยังไมมีการออกกฎหมายดานอาชีวอนามันและความปลอดภัยโดยตรง
ก. อเมริกา
ข. แคนาดา
ค. ไทย
ง. ญี่ปุน

7. ตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 แบงวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ไวอยางไร


ก. วัตถุอันตรายที่หามมิใหมีการผลิต นําเขา การสงออกหรือมีไวในครอบครอง
ข. วัตถุอันตรายที่การผลิต การนําเขา การสงออกหรือการมีไวในครอบครองตอง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนด
ค. วัตถุอันตรายที่การผลิต การนําเขา การสงออกหรือการมีไวในครอบครองตอง
ตองแจงเจาหนาที่ทราบกอน
ง. วัตถุอันตรายที่การผลิต การนําเขา การสงออกหรือการมีไวในครอบครองตอง
ตองไดรับอนุญาต
8. งานดานอาชีวอนามัยไดรับการบรรจุเปนครั้งแรกในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับใด
ก. ฉบับที่ 2
ข. ฉบับที่ 4
ค. ฉบับที่ 5
ง. ฉบับที่ 6
9. เรื่องใดไมใชประกาศของกระทรวงมหาดไทย
ก. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร
ข. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานของลูกจาง
ค. เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่อับอากาศ
ง. เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 18
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

10. ตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 กรณีโรงงานที่มีการใชหมอไอน้ํา แตไมมีผูควบคุม


ประจํา หมอไอน้ํา จะตองไดรับโทษในขอใด
ก. ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท
ข. ปรับไมเกินสองแสนบาท
ค. ปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. ปรับไมเกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

บทที่ 3
มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวของ

ปจจุบันภาวะการแขงขันทางดานการคาระหวางประเทศกาวสูระบบการคาเสรีและมีการ
แขงขันสูงขึ้นตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของทางดานเศรษฐกิจ องคการคาโลก (World
Trade Organization : WTO) ไดสนับสนุนใหประเทศสมาชิกนํามาตรฐานสากล
ตางๆ ที่ยอมรับไปใช เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและโปรงใสทางการคามากขึ้น ประกอบกับปญหา
ของโรคจากการทํางาน อุบัติเหตุการบาดเจ็บ และอุบัติเหตุที่ไมกอใหเกิดการบาดเจ็บที่เกิดขึ้น
ประเมินความสูญเสียเปน ตัวเงินประมาณรอยละ 10 ของการลงทุนของสถานประกอบการ
จากการสํารวจพบวา คาใชจายที่ไมไดรับชดเชยจากบริษัทประกันจะสูงกวาคาใชจายที่ไดรับจาก
การประกันจากอุบัติเหตุอยูระหวาง 3 ถึง 50 เทา สามารถปองกันไดโดยการนําระบบการทํางาน
และการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพมาใช แนวทางดังกลาวสอดคลองกับมาตรฐานสากลใน
ดานการผลิตและการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอมดวย
ในระดับสากลไดมีการจัดทํารางมาตรฐาน ISO 18000 มีแนวโนมวาจะนําพื้นฐาน
ของ มาตรฐานของประเทศอังกฤษ (British Standard : BS 8800) มาใช
จุดมุงหมายของมาตรฐาน BS 8000 เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายตอลูกจางและผูอื่น
เพื่อปรับปรุงรูปแบบการทํางานของธุรกิจ และเพื่อเสริมสรางภาพลักษณความรับผิดชอบใหกับ
องคกร ในการที่จะดําเนินเพื่อความอยูรอดไดในวงการธุรกิจ ทั้งนี้การจัดการมาตรฐาน ISO
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 19
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

18000 ใชหลักการเชนเดียวกับ ISO 9000 หรือ BS 5750 และ ISO 14000 หรือ
BS 7750
องคกรควรใหความสําคัญกับการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี โดยถือวาเปน
ความสําเร็จตามมาตรฐานของการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย องคกรตองปรับปรุง
โครงสรางอยางเหมาะสม ใหสามารถวิเคราะหปญหา สามารถประเมินขนาดของปญหาและ
ควบคุมความเสี่ยงที่เกิดจากการทํางาน การจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมีขั้นตอน
ตาง ๆ เปนไปตามรูปแบบที่องคกรจะสามารถกําหนดวิธีการดําเนินการ เพื่อกําหนดนโยบายและ
วัตถุประสงคงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผูประกอบอาชีพได สามารถพัฒนาวิธีการที่
จะทําใหประสบความสําเร็จได เนื่องจากมาตรฐาน 8800 นี้ไมไดวางรูปแบบรายละเอียดของ
วิธีการปฏิบัติดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ยังไมไดกําหนดรายละเอียดไว เพราะตองการ
เปดโอกาสใหองคกรตางๆ สามารถปรับแนวทางการปฏิบัติได
ISO ไดจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการขึ้น ณ เมืองเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด มี
ผูแทนจากประเทศสมาชิกตาง ๆ ของ ISO จํานวน 45 ประเทศ เขารวมสัมมนา ผลการสัมมนา
สมาชิกสวนใหญ เห็นวา มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ ISO ยัง
ไมถึงเวลาตองประกาศใชเปนขอกําหนดในขณะนี้ในกลุมประเทศพัฒนาเห็นวา เรื่องอาชีวอนามัย
และความ ปลอดภัยในสถานประกอบการ ไดมีกําหนดไวอยูในกฎหมายทองถิ่น และเปนลักษณะ
การทํางานรวมกันของกลุมลูกจางและนายจาง อันเปนรูปแบบขององคการแรงงานระหวางประเทศ
(ILO) หากพิจารณาถึงมาตรฐานของ ISO เปนลักษณะของแนวทาง (Guideline)
เพื่อใหประเทศที่กําลังพัฒนานํามาตรฐานนี้ในทางปฏิบัติในเรื่องการกําหนดนโยบายดานอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัย ใหสอดคลองกับระบบการบริหารจัดการมาตรฐานระบบการจัดการดานอาชี
วอนามั ย และความปลอดภั ย เป น มาตรฐานการจั ด การตั ว หนึ่ ง ที่ มี แนวโน ม จะประกาศเป น
มาตรฐานสากล
ประเทศไทยโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ได
มอบใหสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) กําหนดอนุกรมมาตรฐานระบบ
การจัดการดานอาชีวอนามัยความปลอดภัย ไดแก มอก.18000 เปนแนวทางใหหนวยงานตาง ๆ
นําไปใช เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูใชแรงงานเพื่อเปนภาพลักษณที่ดี และเพื่อเปนการสงเสริม
ประสิทธิภาพในการทํางาน ปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดตอผูปฏิบัติงาน เพื่อนรวมงาน หรือตอชุมชน
ที่อยูใกลเคียง ประเทศไทยโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ไดจัดทํา
อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 โดยมีเหตุผลที่ประเทศไทยตองเตรียมรับ ISO 18000 ดังนี้

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 20
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

1. การบริหารจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สวนใหญยังไมเปนระบบ โดย


สถิติของโรคและอุบัติเหตุจากการทํางานมีแนวโนมสูงขึ้น
2. โรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มจํานวนมากขึ้น มีการนําเทคโนโลยีตางประเทศเขามาใช
3. นโยบายรัฐบาลไดกําหนดไวชัดเจน คือ ตองการลดอุบัติเหตุลงจาก 44/1000
เหลือ 26/1000 ภายในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (2540-2544)
4. ทั่วโลกตื่นตัวในอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000, ISO 14000 และเริ่ม
พิจารณา ISO 18000 ประเทศ ตาง ๆ ในยุโรปและเอเซียบางประเทศกําลังดําเนินการอยู
5. ในอนาคต หากไมมีการเตรียมพรอมเมื่อมีการประกาศใช ISO 18000 ประเทศ
ไทยเราจะไมสามารถรองรับไดทัน เชนเดียวกับ ISO 9000 และ ISO 14000
6. หาก ISO 18000 มีผลทางปฏิบัติ ประเทศคูคาในยุโรป อเมริกา หรือประเทศ
อื่น จะไมซื้อสินคาจากโรงงานที่ไมมีมาตรฐานระบบจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 นี้สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม จัดทําโดย
ยึดตามแนวทาง BS 8800 : 1996 Guide to occupational health and
safety (OH&S) management systems ซึ่งคาดวาการดําเนินการตามอนุกรม
มาตรฐาน มอก.18000 เปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพจะกอใหเกิดประโยชนตอประเทศไทย
มาก เชน ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุ กอใหเกิดภาพพจนที่ดีตอองคกรเปนใบเบิกทางไปสู
ตลาดโลก ลดตนทุนในการผลิตเสียเบี้ยประกันนอยลง และไดระบบการจัดการบริหารงานดานอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยที่ดี แนวทางของอนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 แบงออกเปน 2
เลม ดังนี้
1. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
ขอกําหนดตามมาตรฐานเลขที่ มอก.18000-2540 (Occupational health and
safety management system : Specification)
2. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
ขอแนะนําดานเทคนิคและวิธีการนําไปปฏิบัติ ตามมาตรฐานเลขที่ มอก.18001-2541
(Occupational health and safety management system : guide to
technical and implementation)
วัตถุประสงคของมาตรฐาน กําหนดขึ้นเพื่อใชเปนเกณฑในการดําเนินการดานอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยขององคกรในดานตาง ๆ คือ
1. ลดความเสี่ยงตออันตรายและอุบัติเหตุตาง ๆ ของพนักงานและผูเกี่ยวของ
2. ปรับปรุงการดําเนินงานของธุรกิจใหเกิดความปลอดภัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 21
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3. ชวยสรางภาพพจนความรับผิดชอบขององคกรตอพนักงานภายในองคกร ตอองคกร
และตอสังคม

ขั้นตอนในการจัดทําระบบการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1. การทบทวนสถานะเริ่มตน องคกรจะตองพิจารณาทบทวนระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่มีอยู เพื่อทราบสถานะภาพปจจุบันขององคกร โดยมี
วัตถุประสงคในการกําหนดขอบเขตของการนําเอาระบบการจัดการไปใช และเพื่อใชในการวัดผล
ความกาวหนา
2. เปาหมายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ผูบริหารระดับสูงขององคกรจะตองกําหนด
นโยบายและจัด ทําเปนเอกสารพรอมทั้งลงนามเพื่อแสดงเจตจํานงดานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยขึ้น แลวมอบหมายใหมีการดําเนินการตามนโยบายที่วางไว พรอมทั้งจัดสรรทรัพยากรที่
จําเปนในการดําเนินการ ตองใหพนักงานทุกคนทุกระดับเขาใจนโยบาย ไดรับการฝกอบรมที่
เหมาะสมและมีความสามารถที่จะปฏิบัติงานตามหนาที่และความรับผิดชอบ รวมทั้งสงเสริมใหเขา
มามีสวนรวมในระบบการจัดการ
3. การวางแผน มีการชี้บงอันตรายและประเมินความเสี่ยง รวมทั้งชี้บงขอกฎหมายที่
เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อใชในการจัดทําแผนงานควบคุมความเสี่ยงและวัดผลและการทบทวนระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไดอยางเหมาะสม พรอมทั้งกําหนดวัตถุประสงคและ
เปาหมายที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถจัดสรรทรัพยากรไดถูกตองทั้งดานงบประมาณและดานบุคคล
4. การนําไปใชและการปฏิบัติ องคกรตองนําแผนงานที่กําหนดไวมาปฏิบัติ มีผูบริหาร
ระดับสูงเปนผูรับผิดชอบโครงการ จัดใหมีการฝกอบรมบุคคลกรเพื่อใหมีความรูและความสามารถ
ที่เหมาะสมและจําเปน จัดทําและควบคุมเอกสารใหมีความทันสมัย มีการประชาสัมพันธเพื่อ
ปลุกจิตสํานึกใหทุกคนในองคกรตระหนักถึงความรับผิดชอบรวมกัน ใหความสําคัญและรวมมือ
กันนําไปใชปฏิบัติ ควบคุมการปฏิบัติใหมั่นใจวากิจกรรมดําเนินไปดวยความปลอดภัย และ
สอดคลองกับแผนงานที่วางไว รวมถึงมีการเตรียมความพรอมสําหรับกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉินขึ้น
5. การตรวจสอบและแกไข ผูบริหารขององคกรตองกําหนดใหมีการติดตามผลการ
ปฏิบัติงานเปนระยะๆ โดยการตรวจประเมินเพื่อวัดผลการปฏิบัติและหาขอบกพรองของระบบ
แลวนําไปวิเคราะหหาสาเหตุและทําการแกไข แลวบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร
6. การทบทวนการจัดการ ผูบริหารระดับสูงขององคกร จะตองกําหนดใหมีการ
ทบทวนระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจากการดําเนินงาน ผลการตรวจประเมิน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 22
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

รวมทั้งปจจัยตางๆ ที่เปลี่ยนไป นํามาปรับปรุงการดําเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงอยางตอเนื่อง และ


กําหนดงานในเชิงปองกัน

การนํามาตรฐานไปใช
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถนําไปใชไดในทุกองคกร ทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชน ทุกขนาด ทุกประการ ปจจัยที่ทําใหองคกรที่นํามาตรฐานไปใชได
ประโยชนสูงสุดนั้น ประกอบไปดวย
1. ผูบริหารระดับสูงตองมีความมุงมั่นและตั้งใจแนวแนในการนําระบบมาใชและให
การสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่อง
2. ทุกคนในองคกรตองมีความเขาใจ ใหความสําคัญมีสวนรวมและใหความรวมมือ
3. ตองไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยางพอเพียง
4. มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยอยาง
ตอเนื่อง
ขั้นตอนการขอการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แนะนําผูที่จะขอการรับรองระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย แบงเปนขั้นตอนการเตรียมการ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษามาตรฐาน มอก.18000 และกฎหมายที่เกี่ยวของ
ขั้นตอนที่ 2 ประชุมฝายบริหารเพื่อขอการสนับสนุนโครงการในการจัดทําระบบการ
จัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 3 ตั้งคณะกรรมการชี้นํา เพื่อจัดทําระบบและควบคุมดูแลใหเปนไปตามที่ได
กําหนด
ขั้นตอนที่4 กําหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วางแผนการจัดการระบบ
จัดทําวิธีการปฏิบัติและคําแนะนําที่จําเปน
ขั้นตอนที่ 5 ลงมือปฏิบัติตามระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่กําหนด
ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบติดตามระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อ
ตรวจสอบวาระบบเปนไปตามแผนและขอกําหนดของมาตรฐานและไดมีการนําไปใชอยางตอเนื่อง
ขั้นตอนที่ 7 แกไขขอบกพรองที่พบจากการตรวจติดตามภายใน และปรับปรุงระบบ
การ จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ขั้นตอนที่ 8 ผูบริการระดับสูงที่รับผิดชอบโครงการดําเนินการทบทวนระบบการจัดการ
จากผลการดําเนินงาน การตรวจสอบติดตามการประเมินระบบ รวมทั้งพิจารณาจากปจจัยตาง ๆ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 23
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

แลวนํามาปรับนโยบาย แผนงาน เปาหมาย เพื่อประสิทธิผลของระบบการจัดการทั้งระบบ เพื่อให


แนใจวามีความพรอมสําหรับการขอการรับรอง
ปจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ ไปมาก กระแสหลักอีกหนึ่งกระแสของ
การพัฒนา คือเรื่องของการพัฒนาไปสูคุณภาพ(Quality) มีกิจกรรมรองรับเรื่องของคุณภาพ
มากมายอาทิ กิจกรรม 5 ส การพัฒนาคุณภาพทั่วทั้งองคกร(TQM) การรับรองคุณภาพ
โรงพยาบาล(HA) ไมวา จะ เปนภาครัฐ หรือ เอกชน มีการแขงขันกันมาก ขึ้นอยาง
เขมขน ยิ่งโลกในยุคไรพรมแดน มาตรฐานที่เปนที่ยอมรับในระดับโลก(Global) เปนสิ่ง ที่
ผูผลิตสินคาและบริการ มีความปรารถนาจะไปใหถึง เพื่อสรางความเขาใจ สรางภาวะแหงการถก
(debate)และเถียง(discussion) จึงขอนําเสนอ ขอมูล ความจริงในเรื่อง มาตรฐานสากล
ISO และมาตรฐานไทย PSO ที่เกิดขึ้นมาเพื่อรองรับกระแสแหงการเปลี่ยนแปลง กระแสแหง
การปรับ เปลี่ยนสถานภาพองคกร(organizational change)
ISO หรือ International Organization for Standardization เปน
องคกรระหวางประเทศที่วาดวยการมาตรฐาน ตั้งอยู ณ กรุงเจนิวา ประเทศสวิสเซอรแลนด จัดเปน
องคกร ชํานาญพิเศษที่มิใช หนวยงานรัฐบาล มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือ และ
การกําหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อประโยชน
ทางการคาหรือ เกิดมาตรฐานของโลก ที่สมบูรณยิ่งขึ้นไป ในอนาคต โดยมาตรฐานของ ISO นี้
จัดเปนมาตรฐานของระบบ องคกร ซึ่งในประเทศไทยมีสํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม(สมอ.) เปนตัวแทนของ ISO ในการ จัดการดานมาตรฐานสากลตางๆ
ความเปนมา ระบบ ISO เริ่มขึ้นจากระบบการตรวจรับสินคาของทหารองคการนาโต
ซึ่งเดิมจะตรวจสอบเฉพาะสินคาที่ไดมาตรฐาน เพื่อนํามาใชเทานั้น แตตอมาพบวาการตรวจสอบ
สินคาที่ไดรับ ณ ปลายทางวาไดมาตรฐานนั้น ไมใชขอสรุปที่สมบูรณทีเดียว จึงมีการเปลี่ยนแปลง
ขบวนการตรวจสอบสูขบวนการผลิต โดยตอมาประเทศ อังกฤษ ไดนําระบบดังกลาวไป
ประยุกตใชในระบบ BS5750 ซึ่งกลายมาเปนตนแบบของมาตรฐาน ISO ในเวลาตอมา
มาตรฐานอื่นๆทีเกี่ยวของ
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม(สมอ.) ไดรบั เอาระบบคุณภาพอนุกรม
มาตรฐานสากล ISO มาใชในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพในการบริหารองคกรโดยมาตรฐาน ISO ที่
สําคัญไดแก
1. อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 : มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ISO 9000 เปนมาตรฐานระบบคุณภาพเพื่อพัฒนาและยกระดับการบริหาร การ
ดําเนินงานหรือการจัดการคุณภาพและประกับคุณภาพ โดยเนนการสรางคุณภาพภายในองคกร ซึ่ง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 24
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ไมไดจํากัดวาจะเปนองคกรประเภทใด ขนาดเทาใด ผลิตสินคาและใหบริการแบบใด มี


แนวความคิดที่สําคัญ คือ สามารถตรวจติดตามระบบคุณภาพไดโดยผานทางเอกสาร ISO
9000 นี้ สมอ.ไดนํามาประกาศใชในประเทศไทยเมื่อป 2534 ในชื่อ "อนุกรมมาตรฐาน
ระบบบริหารงานคุณภาพ มอก-ISO9000" ทั้งนี้เพื่อสรางความมั่นใจวาองคกรจะสามารถ
สรางสรรคสินคาและใหบริการไดตามที่ลูกคาหรือผูใชบริการพึงพอใจ กลาวไดวา ISO9000
เปนมาตรฐานที่มิไดหมายถึงการรับประกัน สินคาและบริการแตหมายถึงสินคาและบริการจะมี
คุณภาพไดเกิดขึ้นจากระบบที่มีประสิทธิภาพสามารถตอบสนองตอลูกคาหรือผูใชบริการ หรืออีก
นัยหนึ่งก็คือ เมื่อกระบวนการ(Process) ดี ผลได(Output)รับก็ยอมจะดีไปดวย
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 มีเนื้อหาแบงออกได 5 เรื่อง ดังนี้
1. ISO 9000 ใชเปนแนวทางและกรอบในการเลือกใชมาตรฐาน ชุดนี้ให
เหมาะสม
2. ISO 9001 เปนมาตรฐานระบบคุณภาพซึ่งกํากับดูแลตั้งแตการออกแบบ การ
พัฒนา การผลิต การติดตั้งและการบริการ
3. ISO 9002 เปนมาตรฐานระบบคุณภาพซึ่งกํากับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง
และ การบริการ
4. ISO 9003 เปนมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกํากับดูแลเฉพาะการตรวจสอบขั้น
สุดทาย
5. ISO 9004 เปนแนวทางเพื่อใชในการบริหารระบบคุณภาพใหเกิด
ประสิทธิภาพ สูงสุด
จะเห็นวา ISO 9000 และ ISO 9004 เปนแนวทางในการเลือกใชมาตรฐาน
ISO ชุดนี้ ดังนั้นมาตรฐานที่องคกรสามารถขอใบรับรองไดคือ ISO 9001 ISO
9002 และ ISO 9003
การจัดทําระบบคุณภาพ สามารถกระทําไดตามขั้นตอนดังนี้
1. ทบทวนสถานภาพกิจการ : พิจารณาวาองคการมีความเหมาะสมกับ ISO
ประเภทใด จากนั้นผูบริหารระดับสูงจึงกําหนดนโยบายและตั้งคณะทํางาน
2. จัดทําแผนการดําเนินการและระบบเอกสาร : คณะทํางานจัดทําคูมือในการทํางาน
ใน ขั้นตอนตางๆ รวมทั้งคูมือคุณภาพและฝกอบรมทําความเขาใจตอพนักงานทุกระดับให
เขาใจตรงกัน
3. นําระบบเอกสารบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัติ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 25
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. ตรวจสอบระบบบริหารงานคุณภาพวา ระบบที่ทําขึ้นเหมาะสมเพียงใด ถาพบ


ขอบกพรองก็จัดการปรับปรุงแกไข
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 นี้นอกจากจะนํามาใชแพรหลายในองคกรธุรกิจ ตางๆ
เชน ธนาคาร โรงพยาบาลเอกชน สายการบิน บริษัทประกันภัย สถาบันฝกอบรม โรงเรียน และ
อื่นๆ แลวยังสามารถนํามาใชกับหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจเพื่อใหสามารถดําเนินงานได
อยางมีประสิทธิภาพดวยเชนกัน
2. อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 : มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม
ISO 14000 เปนมาตรฐานที่นําไปใชกับการจัดการสิ่งแวดลอมขององคกรให
มี ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ทั้งในสวนของกิจการภายใน การผลิตสินคา และ
การจัดการเรื่องผลกระทบ หรืออาจกลาวไดวาเปนการจัดการสิ่งแวดลอมที่ครอบคลุมถึงระบบ
โครงสราง องคกร การกําหนดความรับผิดชอบ การปฏิบัติงาน ระเบียบปฏิบัติ
กระบวนการดูแลทรัพยากร มาตรฐาน ISO 14000 นี้ สามารถใชไดกับทั้งระบบอุตสาหกรรม
การผลิตและบริการ เชนเดียวกับ ISO 9000 ทั้งนี้เพราะในแตละองคกรมีผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอมทั้งสิ้น และ สมอ.ไดนํามาประกาศใชในประเทศไทย เมื่อป 2540 ในชื่อ "อนุกรม
มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม มอก.-ISO 14000"
อนุกรมมาตรฐาน มอก.-ISO 14000 มีเนื้อหาแบงออกได 3 กลุมดังนี้
1. มาตรฐานระบบการบริ ห าร(Environmental Management
Systems: EMS) ไดแก
• ISO 14001 เปนขอกําหนดระบบการจัดการสิ่งแวดลอม
• ISO 14004 เปนขอแนะนําดานหลักการและเทคนิคในการจัดระบบ
2. มาตรฐานการตรวจประเมินและวัดผล (Evaluation and Auditing) เปน
มาตรฐานการกําหนดวิธีตรวจประเมินดานสิ่งแวดลอม ประกอบดวย
2.1 มาตรฐานการตรวจประเมิน(Environmental Auditing : EA)ไดแก
• ISO 14010 เปนหลักการทั่วไปของการตรวจประเมิน
• ISO 14011 เปนวิธีการตรวจประเมินระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม
• ISO 14012 เปนขอกําหนดคุณสมบัติของผูตรวจประเมิน
2.2 มาตรฐานการวั ด ผลปฏิ บั ติ ง านด า นสิ่ ง แวดล อ ม(Environmental
Performance Evaluation : EPE) ไดแก ISO 14031 ชึ่งเปนหลักการนําไป
วัดผลการปฏิบัติงานดานสิ่งแวกลอม
3 มาตรฐานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ประกอบดวย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 26
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3.1 มาตรฐานฉลากสิ่งแวดลอม(Environmental Labelling: EL)


เปนมาตรฐานการติดฉลากผลิตภัณฑที่ชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไดแก
• ISO 14020 เปนหลักการพื้นฐานในการติดฉลากผลิตภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม
• ISO 14021 เปนการกําหนดหลักเกณฑและสัญลักษณใหผูผลิตสินคาและ
บริ ก ารสามารถประกาศรั บ รองตนเองได ว า ได ผ ลิ ต สิ น ค า และบริ ก ารที่ ช ว ยลดผลกระทบต อ
สิ่งแวดลอม
• ISO 14024 เปนหลักการ ระเบียบปฏิบัติ ขอกําหนดและวิธีการรับรอง
ผลิตภัณฑเพื่อ สิ่งแวดลอมของหนวยรับรอง
3.2 มาตรฐานการประเมิ น วงจรชี วิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ (Life Cycle
Assessment : LCA) เปน มาตรฐานวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑ
นับตั้งแตขั้นวัตถุดิบจนกระทั่งเลิกใช ไดแก
• ISO 14040 เปนหลักการพื้นฐานและกรอบการดําเนินงาน
• ISO 14041 เปนการรวบรวมขอมูลดานสิ่งแวดลอม
• ISO 14042 เปนการประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
• ISO 14043 เปนการแปรผลที่ไดจากขอมูล
สําหรับมาตรฐานที่องคกรธุรกิจสามารถขอรับรองไดคือ ISO 14001 หรือ
มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม
การจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอม มีขั้นตอนดังนี้
1. กําหนดนโยบายสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมกับสภาพ ขนาด และผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกิจกรรมตางๆ
2. วางแผน โดยระบุลักษณะปญหา ขอกําหนดในกฎหมายและระเบียบอื่นๆ ที่
เกี่ยวของ กําหนดเปาหมายดานสิ่งแวดลอมใหสอดคลองกับนโยบาย ตลอดจนจัดทําโครงการ
จัดการ สิ่งแวดลอม เพื่อใหบรรลุเปาหมาย
3. นํานโยบายไปปฏิบัติ
4. ตรวจสอบและแกไข ตลอดจนปองกันสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนด
5. ทบทวนการจัดการสิ่งแวดลอม

ประโยชนของการจัดทํามาตรฐาน ISO

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 27
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

จากขอมูลที่นําเสนอมาแลว จะเห็นวาประเทศตางๆ มีความตื่นตัวในการนํา


มาตรฐานสากลมาใชมากขึ้น เนื่องจากเล็งเห็นประโยชนของมาตรฐานสากลนี้ในระดับนานาชาติ
ซึ่งสามารถสรุปประโยชนของมาตรฐาน ISO ประเภทตางๆ ไดดังนี้
1. อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000
ตอผูประกอบการ
• ชวยปรับปรุง พัฒนาศักยภาพการจัดการ การบริหารงาน การผลิต ตลอดจนการ
ใหบริการอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ นําไปสูการลดตนทุน ประหยัดคาใชจายใน
การดําเนินงาน
• ทําใหเกิดภาพพจนที่ดีตอสินคาและบริการใหเปนที่นาเชื่อถือ และไดรับ
การยอมรับทั้งจากตลาดภายในประเทศและตางประเทศซึ่งถือเปนจุดชวยสนับสนุนภาคการสงออก
• ขจัดปญหาขอโตแยงและการกีดกันทางการคาระหวางประเทศ
• ไดรับการเผยแพรชื่อเสียงทั้งภายในประเทศและตางประเทศจาก สมอ. ซึ่งเปน
สมาชิกขององคกร ISO และสามารถนําเอาผลการรับรองไปประชาสัมพันธเชิงการตลาด
ตอผูบริโภค
• กอใหเกิดความมั่นใจในคุณภาพของสินคาและบริการ
• สะดวกประหยัดเวลาและคาใชจายโดยไมตองตรวจสอบคุณภาพของสินคา
ซ้ําอีก
• สะดวกตอการเลือกซื้อสินคาหรือบริการ เนื่องจากไดมีการเผยแพรโดย มอก.
เปนแนวทางอยูแลว
• ไดรับการคุมครองทั้งในดานคุณภาพความปลอดภัยและการใชงานโดย สมอ.
ในฐานะผูใหการรับรองจะเปนผูตรวจสอบประเมินผลและติดตามผลขององคกรที่ไดรับการรับรอง
ระบบคุณภาพอยางสม่ําเสมอ
นอกจากจะก อ ประโยชน ตอ ผู ป ระกอบการและผู บ ริโ ภคแล ว บุ ค คลในองคก รยัง ได
รับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ มีวินัยในการทํางาน และสามารถทํางานอยางมีระบบมากขึ้นดวย
2. อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
องคกรหรือผูประกอบการที่ดําเนินการจะไดประโยชน ดังนี้
• ชวยลดตนทุนในระยะยาวเนื่องจากมีการใชทรัพยากรอยางคุมคาเกิดประโยชน
สูงสุด และมีการจัดการสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม อยางมีระบบ เชน การจัดการทรัพยากร การจัดการ
ของเสีย เปนตน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 28
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

• สามารถเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน พรอมกับเพิ่มโอกาสในการขยายตลาดใน
อนาคต
• เกิดภาพพจนที่ดีตอองคกร เปนที่ยอมรับของสังคม
• สภาพแวดลอมในการทํางานดีขึ้น
• ได รั บ เครื่ อ งหมายรั บ รองระบบการจั ด การสิ่ ง แวดล อ มซึ่ ง องค ก รสามารถ
นําไปใชประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมในเชิงการตลาด
ในสวนของผูบริโภคจะไดรับประโยชนคลายคลึงกับมาตรฐาน ISO 9000
3. มาตรฐาน มอก.18000
• รั ก ษาและป อ งกั น ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น อั น เนื่ อ งมาจากอุ บั ติ เ หตุ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น
ในองคกร
• เตรียมพรอมสําหรับอุบัติเหตุและภาวะฉุกเฉิน เพื่อชวยลดความเสียหายและ
ความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสิน นําไปสูการลด ตนทุนคาใชจายในเรื่องอุบัติเหตุและคา
รักษาพยาบาล
• สร า งความเชื่ อ มั่ น ด า นความปลอดภั ย แก พ นั ก งานในองค ก รส ง ผลให
ประสิทธิภาพการทํางานดีขึ้น
• ไดรับเครื่องหมายระบบการจัดการอาชีวอนามัย ซึ่งองคกรสามารถนําไปใช
ประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมภาพลักษณทางสังคมและในเชิงกลยุทธทางการตลาด
นอกจะมีประโยชนดังกลาวมาแลว มาตรฐานสากล ISO ก็ยังมีขอเสียที่เนชัดคือการเกิด
ความเสียเปรียบใน องคกรขนาดเล็กที่มีงบประมาณในการจัดทํา ISO นอยเมื่อเทียบกับองคกร
ขนาด ใหญและ อีกประการสําคัญคือ การนํามาตรฐานนี้มาใชเปนขอกีดกันทางการคา แตถามอง
อีกดานกลับปรากฏวา มาตรฐานสากล ISO นี้ เปนมาตรฐาน ที่มีสวนทําใหสินคาและบริการเปน
บรรทัดฐานเดียวกัน ดังนั้นแลวการที่หนวยงานราชการใดกําลัง ตัดสินใจจะนํา ระบบมาตรฐานมา
ใชก็คงจะตองถามใจตัวเองกอนมาเรามีความพรอมขนาดไหน รวมทั้งทานไดสํารวจทางเลือก อื่นๆ
ที่มีอยูหรือยัง
แบบฝกหัดบทที่ 3
1. จุดมุงหมายของมาตรฐาน BS 8000 คือขอใด
ก. เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายตอลูกจางและผูอื่น
ข. เพื่อปรับปรุงรูปแบบการทํางานของธุรกิจ
ค. เพื่อเสริมสรางภาพลักษณความรับผิดชอบใหกับองคกร
ง. ถูกทุกขอ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 29
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. ขอใดไมใชเหตุผลที่ประเทศไทยจัดทําอนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 ขึ้นเพื่อเตรียมรับ


ISO 18000
ก. การบริหารจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สวนใหญยังไมเปนระบบ
โดยสถิติของโรคและอุบัติเหตุจากการทํางานมีแนวโนมลดลง
ข. โรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มจํานวนมากขึ้น มีการนําเทคโนโลยีตางประเทศเขามาใช
ค. ในอนาคต หากไมมีการเตรียมพรอมเมื่อมีการประกาศใช ISO 18000
ประเทศไทยเราจะไมสามารถรองรับไดทัน เชนเดียวกับ ISO 9000 และ
ISO 14000
ง. หาก ISO 18000 มีผลทางปฏิบัติ ประเทศคูคาในยุโรป อเมริกา หรือ
ประเทศอื่น จะไมซื้อสินคาจากโรงงานทีไ่ มมีมาตรฐานระบบจัดการดานอาชีวอ
นามัยและความปลอดภัย
3. สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม จัดทําอนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 โดยยึด
ตามแนวทางมาตรฐานใด
ก. BS 8800 : 1996
ข. BS 8800 : 1998
ค. BS 8800 : 2000
ง. BS 8800 : 2001
4. ถาการดําเนินการตามอนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 เปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพจะ
กอใหเกิดประโยชนตอประเทศไทยอยางไร
ก. ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุ
ข. กอใหเกิดภาพพจนที่ดีตอองคกรเปนใบเบิกทางไปสูตลาดโลก
ค. ลดตนทุนในการผลิตเสียเบี้ยประกันนอยลง
ง. ถูกทุกขอ
5. มอก.18001-2541 มีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. ขอกําหนด
ข. ระเบียบ ขอบังคับ
ค. ขอแนะนําดานเทคนิคและวิธีการนําไปปฏิบัติ
ง. ขอแนะนําดานความปลอดภัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 30
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

6. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กําหนดขึ้น
เพื่อวัตถุประสงคใด
ก. ลดความเสี่ยงตออันตรายและอุบัติเหตุตาง ๆ ของพนักงานและผูเกีย่ วของ
ข. ปรับปรุงการดําเนินงานของธุรกิจใหเกิดความปลอดภัย
ค. ชวยสรางภาพพจนความรับผิดชอบขององคกรตอพนักงานภายในองคกร ตอ
องคกร และตอสังคม
ง. ถูกทุกขอ
7. ปจจัยใดที่ทําใหองคกรที่นํามาตรฐานมอก.18000ไปใชไมไดรับประโยชนสูงสุด
ก. ผูบริหารระดับสูงตองมีความมุงมั่นและตั้งใจแนวแนในการนําระบบมาใชและให
การสนับสนุนอยางจริงจังและตอเนื่อง
ข. ทุกคนในองคกรตองมีความเขาใจ ใหความสําคัญมีสวนรวมและใหความรวมมือ
ค. ตองไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยางพอเพียงจากนอกองคกร
ง. มีการติดตามและปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อยางตอเนื่อง
8. มาตรฐานใดทีเ่ กี่ยวกับระบบการบริหารงานคุณภาพ
ก. ISO 9000
ข. ISO 14000
ค. มอก. 18000
ง. ถูกทุกขอ
9. เรื่องใดเปนแนวทางในการเลือกใชมาตรฐาน มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพชุดนี้
ก. ISO 9000 และ ISO 9001
ข. ISO 9000 และ ISO 9002
ค. ISO 9000 และ ISO 9003
ง. ISO 9000 และ ISO 9004
10. มาตรฐานฉลากสิ่งแวดลอม อยูในกลุมใดของอนุกรมมาตรฐาน มอก.-ISO 14000
ก. มาตรฐานระบบการบริหาร
ข. มาตรฐานการตรวจประเมินและวัดผล
ค. มาตรฐานเกีย่ วกับผลิตภัณฑ
ง. ถูกทุกขอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 31
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บทที่ 4

หลักการและวิธีการควบคุมอันตรายจากการทํางาน

ในการดําเนินงานของอุตสาหกรรมประเภทตางๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรม การกอสราง


การขนสง สภาพของการทํางานที่มีเครื่องจักร กระบวนการผลิต เครื่องมืออุปกรณที่อาจจะเกิด
อันตรายขึ้นแกคนปฏิบัติงาน เกิดจากการที่กระบวนการผลิตไมสมบูรณบกพรองขณะทํางาน มี
มลพิษออกมาสูบริเวณการทํางาน มลพิษปนเปอนสภาวะแวดลอมในการทํางานเปนอันตรายตอ
สุขภาพอนามัยของคนทํางาน เครื่องจักรทํางานมีเสียงดังเกิน ในสภาพการทํางานที่มีการใชสารเคมี
อันตรายเปนวัตถุดิบ ความจําเปนในการใชอุณหภูมิสูง ความดันสูง ในกระบวนการผลิตเพื่อ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของวัตถุดิบเปนสินคา อันตรายเหลานี้มีผลกระทบกับคนงานโดยตรงเปน
สาเหตุของโรคจากการทํางาน
อันตรายจากการทํางาน หมายถึง งานใดที่ทําแลวอาจเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยหรือ
เสี่ยงตอความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน หรือจะนําไปสูการเกิดอุบัติเหตุการบาดเจ็บ ระดับความ
รุนแรงของสภาพอันตรายขึ้นกับปจจัยหลักสองประการคือ ระดับความเขมขนหรือระดับอันตราย
(intensity) และระยะเวลาในการสัมผัส (duration) กับสารอันตรายนั้น สภาพอันตราย
จาก การทํางานที่พบบอยเชน
อันตรายทางดานกายภาพ (Physical Hazards)
เปนอันตรายที่เกิดจากการถูกของมีคมบาด การถูกตัด การเสียดสี การหนีบทับกระดูก
ลักษณะของการบาดเจ็บที่เกิดจากการทํางานเชนกระดูกสันหลังหัก อาการปวดหลังจากการยก
ของหนัก ถูกรถยก รถบรรทุกชน การตกจากที่สูงในการทํางานในงานกอสราง เปนตน
อันตรายทางดานเคมี (Chemical Hazards)
เปนอันตรายที่เกิดจากสารเคมีอันตราย หรือจากพิษภัยของสารเคมีที่เขาสูรางกายคนที่
ปฏิบัติงานโดยการกิน การหายใจ หรือการสัมผัสดูดซึมผานผิวหนัง เมื่อสารเคมีเหลานั้นสะสมอยู
ในระดับหนึ่งจะเกิดอาการเจ็บปวย รายที่ไดรับมากอาจถึงตายได บางรายจะเกิดอาการในระยะยาว
อวัยวะบางอยางถูกทําลายสูญเสียหนาที่ในการทํางาน ทําใหไมสามารถดํารงชีวิตเชนคนปกติได
สารเคมีบางชนิดเปนสารกอมะเร็ง ระดับอันตรายของสารเคมีขึ้นกับอัตราการสะสมในรางกาย
ปริมาณสารเคมีที่มีในบรรยากาศ ระยะเวลาในการสัมผัส เชน กรด ดาง สารพิษ เชน คลอรีน
แอมโมเนีย ยาปราบศัตรูพืช ยาปราบศัตรูพืช อนุภาคขนาดเล็ก เปนตน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 32
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

อันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางาน (Environmental Hazards)


หมายถึงอันตรายที่เกิดจากสภาพแวดลอมในการทํางานที่ผิดปกติ มีผลมาจากแหลงกําเนิด
มลพิษหรือแหลงกําเนิดอันตรายภายในสถานที่ทํางาน เชน เสียงดังเกิน อุณหภูมิในที่ทํางานสูง
ความเย็น ความชื้นมากเกิน อากาศไมมีการเคลื่อนไหว ระบบระบายอากาศไมดี รังสีจากดวง
อาทิตยที่มีผลกระทบกับผูทํางานกลางแจง ระดับแสงสวางในบริเวณทํางานนอยเกินไป ในที่
ทํางานมีฝุนกระจายทั่วไป เปนตน
อันตรายทางดานชีวภาพ (Biological Hazards)
หมายถึงอันตรายที่มีสาเหตุมาจากจุลชีพ (microorganisms) ที่เปนอันตราย ทําให
เกิดโรคภัย เชน เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อโรคติดตอ โรคติดเชื้ออันตรายทั้งหลาย จุลชีพเหลานี้
เขาสูรางกายคลายสารเคมี โดยเขาทางปาก ทางเดินหายใจ หรือจากการสัมผัสกับน้ําเหลือง เลือด
ที่มีเชื้อโรคอยู โอกาสการติดเชื้อมีมากสําหรับผูที่ปฏิบัติงานตองสัมผัสกับคน สัตวที่เจ็บปวย เชน
การทํางานในโรงพยาบาล ในโรงแรม โรงฆาสัตว ภัตตาคาร โรงงานอาหารสัตว โรงบําบัดน้ําเสีย
โรงงานผลิตยารักษาโรค งานหองทดลองทางวิทยาศาสตร ในสํานักงาน ในหองทํางานที่มีการใช
เครื่องปรับอากาศที่เปนแหลงเพาะเชื้อโรค เปนตน
อันตรายจากเครื่องจักรอุปกรณ (Mechamical Hazards)
ในสถานประกอบการคนตองทํางานกับเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือตางๆ ในการทํางาน
เกี่ยวของอาจจะเกิดอันตราย การบาดเจ็บ การตาย มีสาเหตุมาจากเครื่องจักรอุปกรณที่กลาวมาแลว
ชํารุดเสียหาย องคประกอบไมสมบูรณ ขาดการดปองกันอันตรายจากจุดที่เคลื่อนไหว จุดหมุน
สายพานที่วิ่งตลอดเวลา ฟนเฟองที่ขบกัน การกระแทก สาเหตุที่กลาวมาจะทําใหเกิดอุบัติเหตุ
การบาดเจ็บได
อันตรายจากกระแสไฟฟา (Electrical Hazards)
ระบบไฟฟาที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการทั่วไป จะมีทั้ง
กระแสไฟฟาแรงต่ํา และไฟฟาแรงสูง ในประเทศไทยสวนใหญจะใชไฟฟากระแสสลับ
แรงดันไฟฟา 220 โวลท เรียกไฟฟาสองสาย และแรงดันระดับ 380 โวลท เรียกไฟฟาสามสาย
เปนหลัก ไฟฟาเปนอันตรายที่เกิดกับ ผูปฏิบัติงานบอยครั้ง เชน เกิดการบาดเจ็บเมื่อตองสัมผัส
กับกระแสไฟฟา
อันตรายทางดานเออรโกโนมิกสหรือทางดานการยศาสตร (Ergonomics)
เปนอันตรายที่เกิดจากการทํางานในทาทางการทํางานที่ผิดปกติ การทํางานทาทางที่ฝน
ธรรมชาติ การทํางานที่ซ้ําซาก การทํางานที่ทําใหกลามเนื้อใชงานหนักหรือมากชิ้นเกินไปทําให
เกิดการเมื่อยลา การนั่ง เดินผิดธรรมชาติ เกาอี้นั่งออกแบบมาไมถูกตอง เวลาทํางานเคลื่อนไหว

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 33
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

รางกายมากเกินไป คือ เทาตองขยับตลอดเวลา ผลการทํางานดังกลาวทําใหเกิดการบาดเจ็บของ


กลามเนื้อ การเจ็บปวย การเมื่อยลา ประสิทธิภาพการทํางานลดลง เปนตน
อันตรายจากสภาพรังสี (Radiation Hazards)
รังสีที่ใชในการทํางาน คลื่นแมเหล็ก คลื่นไฟฟา ในโรงงานอุตสาหกรรมบางครั้งไม
สามารถตรวจวัดได เนื่องจากไมมีเครื่องมือที่เหมาะสมในการตรวจวัด ทําใหผูปฏิบัติงานไมทราบ
ระดับอันตราย รังสีดังกลาวอาจจะทําลายอวัยวะของรางกาย มีผลตอสุขภาพอนามัยในระยะยาว
เนื้อเยื่อเกิดการชํารุด เปนเนื้องอกรายแรง รังสีมีทั้งชนิดที่แตกตัวได และชนิดไมแตกตัว เชน คลื่น
ไมโครเวฟ คลื่นแมเหล็ก กระแสไฟฟาแรงสูง แสงอุลตราไวโอเลท แสงอินฟาเลต เปนตน
อันตรายจากสภาพจิตใจและสังคม (Psychological and Social Hazards)
หมายถึง อันตรายที่เกิดมีผลมาจากสภาพจิตใจและสังคมรอบๆ ตัวของผูทํางาน เปน
ผลกระทบที่เกิดในระยะยาว เปนอาการที่แสดงออกทางดานจิต แตอาจจะเปนผลกระทบตอทาง
รางกายได เชน คนที่มีความเครียดในการทํางานตลอดเวลา มักจะเกิดอุบัติเหตุบอยกวาผูที่ไมมี
ความเครียด หรือเกิดปญหากับลูกคาบอยๆ สภาพการทํางานที่จําเจ นาเบื่อหนายจะสงผลทําให
ผูปฏิบัติงานขาดความรับผิดชอบ เกิดปญหาเกี่ยวกับอาชญากรรมความรุนแรง
อั น ตรายที่ ก ล า วมาทั้ ง หมดจํ า เป น ต อ งหาวิ ธี ก ารป อ งกั น อั น ตรายอั น อาจจะเกิ ด ขึ้ น กั บ
ผูปฏิบัติงาน วิธีการปองกันและควบคุม มีหลายวิธี การเลือกใชวิธีหนึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมกับ
สถานการณ หลักการทั่วไปทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ใชควบคุมปองกันอันตรายที่
อาจจะเกิดขึ้นนั้นพิจารณาจาก 3 วิธีการหลักคือ
1. ควบคุมที่ตนตอหรือแหลงกําเนิด (Source) คือ พยายามหาทางควบคุมที่ตนตอ
หรือแหลงกําเนิดของอันตรายที่จะเกิดตอผูประกอบอาชีพโดยตรง เชน ที่ตัวเครื่องจักรเครื่องมือ
อุปกรณตางๆ แหลงที่มีการใชสารเคมีเปนพิษ การควบคุมที่แหลงนี้จะมีประสิทธิผลมากที่สุด เปน
การควบคุมที่ตัวปญหาไมใหเกิดขึ้น ปองกันไมใหอันตรายหรือพิษภัยแพรกระจายออกไปไดเลย
วิธีที่นิยมใชคือ
1.1 การใชสารเคมีที่เปนพิษภัยนอย หรืออุปกรณที่มีอันตรายนอย เอาไปใชแทนสาร
ที่เปนพิษมากหรือมีอันตรายมาก
1.2 เลือกใชกระบวนการผลิตทีม่ ีอันตรายนอยทดแทนทีม่ ีอนั ตรายมาก หรืออาจจะ
หาทางเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตใหเหมาะสม ไมกอใหเกิดมลพิษจากการทํางาน
1.3 ใชวิธีปดปกคลุมใหมิดชิด เชน กระบวนการผลิต เครื่องจักรทีท่ าํ งานแลว
อาจจะมีมลพิษออกมาสูภายนอกได ใหหาทางปดคลุมกระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรใหมิดชิด
ไมใหมลพิษทีอ่ าจจะเกดขึน้ ออกมาสูภายนอก และแพรกระจายไปสูบริเวณทํางานไดเลย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 34
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

1.4 แยกเอาขบวนการผลิตหรือเครื่องจักรที่มีอนั ตรายมากหรือปลอยมลพิษออกมา


มากออกไปจากบริเวณทีม่ ีคนทํางานอยูมาก เชน เครื่องจักรทีม่ ีเสียงดัง เครื่องจักรที่ปลอยความ
รอนออกมาสูบ รรยากาศมาก ใหแยกไปไวในบริเวณตางหากหรือจัดหองเฉพาะที่สามารถควบคุม
ได
1.5 ใชระบบทําใหเปยกชืน้ แทน เพราะจะทําใหเกิดฝุนละอองนอย เชน มีการพน
ละอองน้าํ ใหเปนฝอยในโรงงานอุตสาหกรรมที่บริเวณทํางานใหละอองน้าํ จับฝุนละอองรวมตัวกัน
ตกลงสูพนื้
1.6 ใชระบบระบายอากาศเฉพาะแหงเก็บรวบรวม ระบายเอามลพิษตรงจุดที่มี
พิษภัยมากออกไป และทําการขจัดมลพิษนั้นดวยวิธีการที่เหมาะสม
1.7 จัดใหมีวิธกี ารบํารุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณการผลิตทีด่ ี จะชวยทําใหเครื่องจักร
อยูในสภาพเรียบรอยปลอดภัย ไมเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน
2. ควบคุมที่ทางผาน (Path) การควบคุมอันตรายโดยเลือกวิธีควบคุมที่ทางผาน
ของอันตรายจากแหลงกําเนิดไปสูคนปฏิบัติงานนั้น วิธีนี้มักจะเลือกใชรองลงมาจากวิธีแรก เปน
วิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่ง เชน บรรยากาศในบริเวณการทํางานจะเปนทางผานของ
อันตรายสูคนที่ทํางานในบริเวณนั้น วิธีควบคุมคือ พยายามหาทางปดกั้นเสนทางเดินของอันตราย
นั้น คือ หา สิ่งของมากั้นระหวางตนตอกับตัวคน เชน เก็บรักษาวัสดุตางๆ ใหเปนระเบียบ
เรียบรอย ซึ่งจะสามารถลดพิษภัยตาง ๆ ลงได ออกแบบระบบระบายอากาศที่ดี มีประสิทธิภาพ
พยายามนําอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกเขาไปในบริเวณทํางานใหมาก โดยการออกแบบระบบ
ระบายอากาศที่ดี เลือกใชชองเปด ประตู หนาตาง ชองลมที่เหมาะสมในการชวยเจือจางมลพิษ
ตางๆ เพิ่มระยะทางระหวางแหลงกําเนิดของอันตรายกับคนทํางานใหมากที่สุด ซึ่งระยะทางจะชวย
ลดปริมาณการสัมผัสอันตรายตางๆ ของคนลงได ทําใหคนไดรับปริมาณนอยลง มีการติดตั้ง
อุปกรณพิเศษที่จะสามารถเตือนหรือบอกระดับอันตรายไดเปนอยางดี ถาหากวาระดับของอันตราย
สูงมากจนเกิดพิษภัยแกคนที่ทํางานบริเวณนั้น สัญญาณจะเตือนใหคนในบริเวณนั้นหาทางปองกัน
ตนเองไดทัน
3. ควบคุมที่ตัวบุคคล (Reciever) เปนมาตรการลําดับสุดทายที่จะเลือกใชควบคุม
อันตรายในสถานที่ทํางาน เนื่องจากวาการควบคุมอันตรายที่ตัวบุคคลนี้กระทําไดยากมาก ไดผล
นอยถาไมไดรับความรวมมืออยางจริงจัง การควบคุมอันตรายแบบนี้เหมือนกับเปนการ
เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมและความเคยชินของคน ถาเราไมสามารถหลีกเลี่ยงไดก็
จําเปนตองเลือกใช เปนวิธีการที่ลงทุนนอยที่สุด ซึ่งมีวิธีการที่ใชกันดังนี้ โดยจัดโครงการให
การศึกษาและอบรมเกี่ยวกับดานความปลอดภัยใหแกคนงานโดยทั่วถึง โดยการหมุนเวียน
สับเปลี่ยนหนาที่ของคนงาน ถาคนงานคนใดไดรับพิษภัยมากหรือสัมผัสกับอันตรายเปนระยะเวลา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 35
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

นาน ก็จัดหมุนเวียนใหไปทําในที่อื่นใหปริมาณสารพิษในรางกายลดลง งานเดิมใหจัดคนงานอื่น


มาทําแทนจัดสถานที่ทํางานของคนงานใหมี สภาพแวดลอมที่ดีที่สุด หรือจัดสถานที่
ทํางานที่มีคนงานจํานวนมากทํางานใหแยกออกมาจากบริเวณที่มีอันตราย อาจจะใหคนงานทํางาน
ในหองที่ทําเปนพิเศษ เชน หองปรับอากาศ โดยการติดอุปกรณเตือนภัย หรือเตือนอันตรายที่จะ
เกิดขึ้นกับคนที่ที่ตัวคนงาน ซึ่งจะชวยชี้ระดับอันตราย เชน คนที่ทํางานกับรังสีใหติดแผนฟลม
บอกระดับรังสีที่ไดรับ โดยการใชเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน
วิธีการควบคุมอันตรายจากการทํางาน
ในการทํางานของคนงานในสถานประกอบการ ในบรรยากาศของการทํางานจะมีการ
ปนเปอนของมลพิษจากแหลงกําเนิดเสมอ วิธีการที่นํามาใชควบคุมอันตรายที่จะเกิดตอคนขณะ
ทํางานในสภาพแวดลอมที่ผิดปกตินั้นมีหลายวิธีการ สวนใหญจะอาศัยหลักการดังที่กลาวมาแลว
แตตองพิจารณาเลือกใหเหมาะสมและไดผลมากที่สุด วิธีที่นิยมทําคือ
1. หลักการทดแทน (Substitution) โดยการหาสารเคมีที่มีพิษภัยตอสุขภาพ
อนามัยของคนนอยที่สุด ทดแทนสารเคมีที่มีพิษหรืออันตรายที่มากกวา เชน ในกระบวนการผลิต
ที่มีการใช สารคารบอน เตตราคลอไรด เปนตัวทําละลายที่มีอันตรายสูงนั้น ใชตัวทํา
ละลายอื่นที่มีพิษนอยกวาทดแทน เชน ใชสารเมททีลคลอโรฟอรมไดคลอโรมีเทนเปน
สารประกอบไฮโดรคารบอนชนิด วงจรปดเปนตัวทําละลายที่มีพิษนอยกวาคารบอนเตตรา
คลอไรด วิธีการทําความสะอาดอาจใช ผงซักฟอกผสมน้ําแทนพวกตัวละลายที่เปน
สารอินทรีย หรือสารละลายประเภทเบนซีนที่มีพิษ รายแรงมากก็สามารถใชโทลูอีน
แทนได
2. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Changing the process) การเปลี่ยน
วิธีการผลิตหรือกระบวนการผลิตใหม ใหคํานึงถึงการปรับปรุงคุณภาพและลดตนทุนของผลผลิต
และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตดวย แทนที่จะพิจารณาแตการปรับปรุงสิ่งแวดลอมอยาง
เดียว ซึ่งอาจจะกระทบกระเทือนตอผลผลิต การเปลี่ยนกระบวนการผิตนั้น อาจจะชวยลดปริมาณ
ฝุนหรือไอควันที่มีอันตรายมากได เชน การเปลี่ยนกระบวนการผลิตใหมโดยใชเครื่องขัดทรายที่มี
ความเร็วรอบต่ําแทนเครื่องขัดที่มีความเร็วรอบสูง การทาสีดวยแปรงแทนการพนสี ซึ่งจะชวยลด
ปริมาณความ เขมขนของอนุภาคสีที่แขวนลอยในบรรยากาศการทํางาน ใชการเชื่อมดวย
ไฟฟาแทนการตอกย้ําดวยหัวหมุด ซึ่งกอใหเกิดเสียงดังมาก
3. การแยกออกหรือใชระบบปด (Isolation or Enclosure) เพื่อเปนการ
ลดจํานวนคนที่จะสัมผัสตอสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่เปนอันตราย เชน แยกกระบวนการผลิต หรือ
เครื่องจักรที่มีเสียงดังออกไปตางหาก การใชฉากดูดเสียงกั้น หรือทําหองเก็บเสียงเฉพาะ การลด
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 36
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ปริมาณการสัมผัสกับไอระเหยในกระบวนการพนสีนั้น ควรแยกหองพนสีออกไปจากอาคารผลิตที่
มีคนทํางานมากออกไปกันการกระจายของไอระเหยละอองสีที่พนออกมาสูคนงานในแผนกอื่น
4. วิธีการทําใหเปยก (Wet Methods) ฝุนละอองที่ฟุงกระจายในบริเวณการ
ทํางานจะเกิดปญหากับคนงาน วิธีการลดฝุนละอองโดยเฉพาะชนิดที่มีขนาดเล็กที่สามารถหายใจ
เขาไปในปอดของคนไดนั้น อาจจะทําไดโดยการพนหรือฉีดละอองน้ําใหเปนฝอยเล็กๆ เปนวิธีการ
งาย และไดผล เชน ในโรงงานทอผาที่มีฝุนฝาย อาจจะติดเครื่องพนน้ําฝอยทําใหฝุนฝายชื้น มี
น้ําหนักและตกลงมาที่พื้น หรือการทํางานในเหมืองแรอาจจะใชน้ําพนในระยะ ๆ เพื่อปองกันฝุน
ฟุงกระจายออกไป
5. การระบายอากาศเฉพาะแหง (Local Exhaust Ventilation) การใช
ระบบการระบายอากาศเฉพาะที่เพื่อตองการที่จะดูดจับสารพิษ ฝุน ไอควัน หรือไอน้ําจากบริเวณ
แหลงกําเนิด เพื่อปองกันไมใหคนงานที่ยืนหรือทํางานอยูรอบๆ บริเวณนั้นมีโอกาสสัมผัสหรือ
หายใจเอาฝุนหรือ สารพิษเขาไป หลังจากที่ติดตั้งระบบแลวจําเปนตองคอยตรวจสอบระบบการ
ระบายอากาศเปนระยะ ๆ เชน อัตราการไหลของอากาศ ความเร็วในทอระบายอากาศ ความดัน
ภายในทอดวย เพื่อปองกันมิใหเกิดความดันยอนกลับ หรือเปนการตรวจสอบประสิทธิภาพการ
ทํางานของระบบการระบายอากาศเฉพาะแหงนั่นเอง
6. การระบายอากาศทั่ว ๆ ไป หรือการทําใหเจือจาง (General or Dulution
Ventilation) การระบายอากาศแบบทั่วๆ ไป หมายถึง การสงอากาศปริมาณมากเขาไป
ในสถานที่ทํางาน เพื่อจะไดเจือจางสารพิษ หรือฝุน หรือสารที่เปนอันตรายใหอยูในระดับ
ปลอดภัย อาจจะทําไดโดย การระบายอากาศแบบธรรมชาติ เชน การเปดประตู หนาตาง ชองลม
เพื่อใหอากาศถายเทสะดวกและคลอง หรืออาจจะใชพัดชวยดูดและเปาอากาศ หรืออาจจะติดพัดลม
ดูดอากาศที่หลังคา หรือทําทอระบายอากาศไวบนหลังคาหรือการทําหลังคา 2 ชั้น ก็จะชวยให
อากาศรอนระบายออกไปไดเชนกัน ระบบการระบายอากาศแบบทั่วไป หรือทําใหเจือจางนั้น
เหมาะสําหรับสิ่งแวดลอมที่ไมมีพิษสูง เกินไป
7. การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (Personal Protective
Equipment) การปรับปรุงและควบคุมสิ่งแวดลอมในสถานที่ทํางานหรือลดอันตรายจาก
สิ่งแวดลอม ควรจะพิจารณาดําเนินการเปนอันดับแรก หากทําไมได หรือประสิทธิภาพไมพอจึง
เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เชน เครื่องปองกันตาและใบหนา แวนตานิรภัย โลห
กันหนา และแวนตากันแสงรังสีตางๆ เครื่องปองกันหูปองกันเสียงดังเกินทําใหหูพิการหรือสูญเสีย
การไดยิน ไดแกที่อุดหู ที่ครอบหู อุปกรณสวมใสกันภัยไดแก ถุงมือ ผากันเปอน รองเทา การ
เลือกเครื่องปองกันแบบนี้ตองขึ้นอยูกับลักษณะงาน อุปกรณชวยการหายใจในการเลือกใชตองดู

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 37
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ลักษณะงาน เชน ชนิดฟอกอากาศบริสุทธิ์กอนหายใจเขาไป หรือแบบการจายดวยอากาศบริสุทธิ์


เขาไป เชน การใชถังบรรจุออกซิเจนติดหลัง เวลาทํางานในอุโมงคในที่อับอากาศ เปนตน การใช
ครีมปองกันผิวหรือน้ํามันทาปองกันไมใหถูกแสงหรือความรอนมากเกินไป
8. การจัดเก็บรักษาการทําความสะอาด (Good House Keeping) การรักษา
ความสะอาดในบริเวณสถานที่ทํางาน เปนวิธีการปองกันอันตรายจากสิ่งแวดลอมที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง
ฝุนละอองหรือ สารพิษที่กระจายสะสมบนพื้นทั่วๆ อาจจะฟุงกระจายไปในอากาศได เปน
อันตรายมากเมื่อคนงานหายใจเขาไป เชน เมื่อมี กรด ดาง ตัวทําละลาย หรือสารเคมีที่เปนพิษ
รั่วไหลปนเปอนออกมา ควรจะทําความสะอาดทันที เปนมาตรการการควบคุมที่จําเปน ไมควรใช
เครื่องเปาอากาศไลไอระเหย เพราะวายิ่งจะทําใหฟุงกระจายมากยิ่งขึ้น
9. การกําจัดขยะมูลฝอยและของเสียหรือกากอุตสาหกรรม (Waste Disposal)
สารเคมีที่เปนอันตรายหรือเปนพิษ ควรจะมีวิธีการขจัดที่มีประสิทธิภาพ โดยใชเจาหนาที่ที่มี
ความรูและความเขาใจ ไมควรปลอยสารพิษลงในทอระบายสาธารณะ แหลงน้ําสาธารณะ เพราะ
จะทําใหสารพิษแพรกระจายออกไปในบริเวณกวางเปนอันตรายตอผูอื่น โรงงานอุตสาหกรรมควร
สรางระบบขจัดน้ําเสีย ระบบขจัดมลพิษทางอากาศ ระบบขจัดกากอุตสาหกรรมที่เหมาะสมที่
สามารถขจัดสารเคมีที่เปนพิษ และสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย
10. การควบคุมปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพดานบุคคล จากหลักการทั่วไป
การควบคุมปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพที่ตัวบุคคลนั้นกระทําไดยาก เนื่องจากมี
องคประกอบหรือตัวแปรที่จะตองศึกษาและควบคุมมากมายแตการควบคุมที่ตัวบุคคลนี้ก็ยังมีความ
จําเปนที่จะตองทําอยูเนื่องจากยังไมมีวิธีการควบคุมปองกันอันตรายชนิดใดที่สามารถทําไดอยาง
ครบถวนรอยเปอรเซ็นต จึงตองมีการควบคุมดานตัวบุคคลควบคูไปดวย มีวิธีการดังตอไปนี้
โดยวิธีการจัดการ
1. จัดใหมีการฝกอบรมปฐมนิเทศถึงวิธีการทํางานที่ถูกตอง มีประสิทธิภาพ ทั้ง
กอนทํางาน ระหวางทํางาน หรือมีการอบรมฟนฟูความรู เมื่อทํางานไประยะหนึ่ง
2. ใหสุขศึกษาและสวัสดิศึกษาแกคนงานอยูตลอดเวลา เพื่อใหคนงานรูจักถึง
วิธีปองกันตัวเองใหรอดพนจากอันตราย ตองชี้แจงใหคนงานทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติตัวเอง
ซึ่งอาจจะตองตั้งกลุมหรือหนวยงานที่มาทําหนาที่นี้โดยตรงขึ้นมา
3. มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนคนงาน โดยพยายามใหคนงานไดมีโอกาสฟนตัว
จากพิษภัยตาง ๆ กอนแลว จึงจะใหกลับเขาไปทํางานในสถานที่เดิม
4. มีการคัดเลือกคนงานใหเหมาะสมกับสภาพงานมากที่สุด โดยเฉพาะงานที่มี
อันตรายมากๆ เชน ความรอนสูง เสียงดัง ความกดดันที่ผิดปกติ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 38
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

5. การจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
และพอดีกับคนสวมใสมากที่สุด ตองมีการแนะนําวิธีการใช การเก็บรักษา และวิธีการบํารุงรักษาที่
ดี

11. ดานการแพทย โดยการจัดใหมีการตรวจสุขภาพเปนประจํา เชน


1. กอนเขาทํางานจะตองมีการตรวจสุขภาพ ตรวจสมรรถภาพของรางกายเพื่อดู
ความเหมาะสมในการทํางาน เชน ตรวจโรคทั่วไป ตรวจสมรรถภาพการทํางานของปอด ตรวจหู
ความ แข็งแรง ซึ่งขอมูลที่เก็บครั้งแรกนี้จะชวยในการวินิจฉัยโรคเมื่อคนงานทํางานไปแลว
ระยะหนึ่งได อยางดี ผลการตรวจจะเปนขอมูลพื้นฐานในการทํางานตอไป
2. การตรวจสุขภาพประจําปนั้นตองมีการตรวจสุขภาพเปนประจําทุกป เพื่อดูความ
ผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากทํางานไประยะหนึ่งแลว เพื่อตรวจดูถาหากมีอาการผิดปกติจะได
หาทางควบคุมปองกันไดทัน กอนที่โรคจะลุกลามเปนมากขึ้น
3. การตรวจเปนพิเศษเฉพาะกลุม เชน เด็ก ผูหญิง คนสูงอายุ เนื่องจากกลุมนี้เปน
กลุมที่มีความตานทานคอนขางต่ํา ถาหากเกิดเปนโรค หรือไดรับพิษภัยเขาไปจะเกิดอาการรุนแรง
รวดเร็วมาก
4. การตรวจสุขภาพของคนงานที่ตองทํางานเสี่ยงตออันตรายมากเปนพิเศษปกติ
กฎหมายจะบังคับใหมีการตรวจบอยครั้งกวากลุมอื่น เชน ทุก 6 เดือน ไดแก คนงานที่ทํางาน
สัมผัสกับสารรังสี
5. การตรวจรักษาเมื่อผานการเจ็บปวยหรือไดรับบาดเจ็บพิการ ดูความเหมาะสม
ของงานวาจะสามารถปฏิบัติงานดังเดิมไดหรือไม หรืออาจจะตองตั้งหนวยฟนฟูสมรรถภาพการ
ทํางานของผูปวย ผูบาดเจ็บ ผูพิการขึ้นมาทําหนาที่ฟนฟูความสามารถของคนงานกอนสงเขาไป
ทํางาน
แบบฝกหัดบทที่ 4
1. ผูที่ทํางานกลางแจงไดรับผลกระทบจากรังสีจากดวงอาทิตย จัดเปนอันตรายจากการทํางาน
ขอใด
ก. อันตรายทางดานกายภาพ
ข. อันตรายจากสภาพแวดลอมในการทํางาน
ค. อันตรายทางดานเออรโกโนมิกส
ง. อันตรายจากสภาพรังสี
2. ขอใดตอไปนีไ้ มอยูใน ความหมายของอันตรายจากการทํางาน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 39
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ก. งานที่ทําแลวอาจเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย
ข. งานที่เสี่ยงตอความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน
ค. งานที่นําไปสูก ารเกิดอุบัติเหตุการบาดเจ็บ
ง. งานที่ทําแลวเกิดความปลอดภัยสูง
3. สาเหตุในขอใดทําใหเกิดอันตรายตอรางกายที่มาจากสภาพจิตใจและสังคม
ก. ความเครียด
ข. สภาพการทํางานที่จําเจ นาเบื่อหนาย
ค. อาการงวงนอน
ง. ขอ ก และ ข ถูก
4. หลักการควบคุมปองกันอันตรายจากการทํางาน คือขอใด
ก. ควบคุมแหลงกําเนิด
ข. ควบคุมทางผาน
ค. ควบคุมที่ตัวบุคคล
ง. ทั้ง 3 ขอรวมกัน
5. การควบคุมทีแ่ หลงใดจะมีประสิทธิผลมากที่สุด
ก. ควบคุมแหลงกําเนิด
ข. ควบคุมทางผาน
ค. ควบคุมที่ตัวบุคคล
ง. ควบคุมที่ทางผานและตัวบุคคล
6. วิธีการใดทีน่ ํามาใชควบคุมอันตรายที่จะเกิดตอคนขณะทํางานในสภาพแวดลอมที่ผิดปกติ
ก. หลักการทดแทน และ การจัดเก็บรักษาการทําความสะอาด
ข. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต และการใชอุปกรณปอ งกันอันตรายสวน
บุคคล
ค. การแยกออกหรือใชระบบปด และการระบายอากาศเฉพาะแหง
ง. ถูกทุกขอ
7. การเชื่อมดวยไฟฟาแทนการตอกย้ําดวยหัวหมุด เปนวิธคี วบคุมอันตรายในการทํางานในขอใด
ก. หลักการทดแทน
ข. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต
ค. การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
ง. การควบคุมปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพดานบุคคล

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

8. ขอใดไมใช วิธีการควบคุมปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพดานบุคคล
ก. จัดใหมีการฝกอบรมปฐมนิเทศถึงวิธีการทํางานที่ถูกตอง
ข. ใหสุขศึกษาและสวัสดิศึกษาแกคนงานอยูต ลอดเวลา
ค. มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนคนงานตลอดเวลา
ง. มีการคัดเลือกคนงานใหเหมาะสมกับสภาพงานมากที่สดุ
9. คนงานที่ทํางานสัมผัสกับสารรังสี ควรจัดใหมีการตรวจสุขภาพแบบใด
ก. ทุกวัน
ข. ทุก 6 เดือน
ค. ทุก 1 ป
ง. ทุก 3 ป
10. การระบายอากาศทั่วๆ ไป หรือการทําใหเจือจาง กระทําไดอยางไรบาง
ก. การเปดประตู หนาตาง ชองลม
ข. ใชพัดชวยดูดและเปาอากาศ
ค. ติดพัดลมดูดอากาศที่หลังคา
ง. ถูกทุกขอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 41
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บทที่ 5
พิษวิทยา

ความหมายของพิษวิทยา
พิษวิทยา (Toxicology) หมายถึง การศึกษาผลกระทบของสารเคมีตอสิ่งมีชีวิต หรือ
หากจะกลาวใหละเอียดยิ่งขึ้นก็หมายถึงการศึกษาเพื่อใหทราบถึงผลัพธเชิงลบและระดับปริมาณ
ของผลลัพธเชิงลบของการไดรับสัมผัสสารเคมีสิ่งคุกคามสุขภาพทางกายภาพและสภาวะอื่น ๆ
พิษวิทยา เปนการศึกษาที่รวมเอาวิชาการตางมารวมกัน ทั้งวิทยาศาสตรชีวภาพ
วิทยาศาสตรการแพทย ระบาดวิทยา เคมี ฟสิกส และอื่นๆ และเปนการศึกษาที่มีระเบียบวิธีดาน
การวิจัยที่หลากหลาย อาจเปนไดตั้งแตการวิจัยพื้นฐานเพื่อการทราบถึงกลไกในการทําปฏิกิริยา
ของสารพิษตอรางกายสิ่งมีชีวิต ไปจนถึงการพัฒนาวิธีการทดสอบที่ใชเปนมาตรฐานในการศึกษา
คุณสมบัติของสารพิษ พิษวิทยาทําใหเราไดทราบและเขาใจสมมติฐานของความผิดปกติที่เกิดขึ้น
รวมทั้งทราบถึงความนาเชื่อถือของสัมพันธระหวางการไดรับสัมผัส อาชีพที่เกี่ยวของและโรคที่
เกิดขึ้น
ประเภทของพิษวิทยา
พิษวิทยาแบงไดเปน 3 ประเภท คือ
1. พิษวิทยาดานนิติเวช (Forensic toxicology) เปนพิษวิทยาที่รวมเอา
หลักการของวิชาเคมีวิเคราะหเขากับหลักการของพิษวิทยา มีเนื้อหาหลักที่มุงเนนการศึกษาอันตราย
ของสารเคมีตอสิ่งมีชีวิตในเชิงการแพทยที่เกี่ยวโยงกับดานกฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการ
พิสูจนหลักฐานที่สามารถใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการพิสูจนสาเหตุการตาย และใหความ
กระจางเกี่ยวกับประเด็นแวดลอมตางๆ ที่เกี่ยวของซึ่งใชเปนพยานหลักฐานทางกฎหมาย
2. พิษวิทยาดานคลินิก (Clinical toxicology) เปนพิษวิทยาที่เกี่ยวของ
โดยตรงกับงานดานวิทยาศาสตรการแพทย ซึ่งมุงเนนการศึกษาโรคที่เกิดจากหรือมีความเกี่ยวของ
กับสารพิษ นัก พิษวิทยาคลินิกโดยทั่วไปมักจะเปนแพทยที่ผานการศึกษาและฝกอบรม
เฉพาะดานมาทางดานการแพทยฉุกเฉินและการจัดการสารพิษ มีงานหลักในการดูแลรักษาผูปวยที่

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 42
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ไดรับพิษจากยาหรือ สารเคมี รวมทั้งทําหนาที่ในการศึกษาเพื่อพัฒนาวิธีการดูแลรักษาผูปวย


ดังกลาวดวย
3. พิษวิทยาดานสิ่งแวดลอม (Environmental toxicology) เปนพิษวิทยา
ที่เกี่ยวของกับการศึกษาผลกระทบของสารมลพิษที่ปนเปอนอยูในสิ่งแวดลอมตอมนุษย และ
สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ พิษวิทยาดานนิเวศวิทยา (Ecological Toxicology) เปนสาขาพิเศษของ
พิ ษ วิ ท ยาด า นสิ่ ง แวดล อ มที่ เ น น เรื่ อ งผลกระทบของสารพิ ษ ต อ ประชาชนในระบบนิ เ วศน
การศึกษาจลนศาสตรของสารเคมีในสิ่งแวดลอม เชน การขนสง การเปลี่ยนแปลง และการทํา
ปฏิกิริยาของสารเคมีในสิ่งแวดลอมเปนสวนประกอบสําคัญของทั้งพิษวิทยาดานสิ่งแวดลอมและ
พิษวิทยาดานนิเวศวิทยา
ความหมายของสารพิษ
สารพิษ หมายถึง สารที่มีความสามารถในการทําใหเกิดปฏิกิริยาที่เปนความเสียหายตอ
ระบบของรางกายของสิ่งมีชีวิต ทําใหการทํางานของอวัยวะตาง ๆ เสียหายหรือทําใหเสียชีวิต
การแบงประเภทสารพิษ
การแบงประเภทสารพิษทําไดหลายวิธี โดยขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการแบง ดังนี้
1. การแบงประเภทสารพิษตามอวัยวะเปาหมายการใชประโยชน แหลงที่มา และผลที่
เกิดแกรางกาย โดยจัดกลุมสารพิษที่ไปทําลายอวัยวะเปาหมายเดียวกันไวดวยกัน เชน ตับ ไต
ระบบสรางโลหิต เปนตน หรือแบงตามลักษณะการใชประโยชนของสารพิษ เชน กลุมสารกําจัด
ศัตรูพืช กลุมสารตัวทําละลาย กลุมสารผสมอาหาร เปนตน แบงตามแหลงที่มาของสารพิษวาเปน
สารพิษที่มาจากพืช หรือสัตว หรือเปนสารพิษที่มาจากสิ่งไมมีชีวิต หรือแบงตามผลกระทบที่เกิด
แกรางกาย เชน สารกอมะเร็ง สารที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม สารที่เปนพิษตอตับ
เปนตน
2. การแบงประเภทสารพิษตามสภาวะทางกายภาพ คุณสมบัติทางเคมี และระดับความ
เปนพิษ เชน เปนกาซฝุน ของเหลว แบงตามลักษณะขอกําหนดดานฉลาก เชน เปนวัตถุระเบิด
สารไวไฟ สารออกซิไดเซอร แบงตามคุณสมบัติโครงสรางทางเคมี เชน กลุม aromatic
amine เปนตน หรือแบงตามระดับความเปนพิษ เชน พิษสูงมาก เปนพิษมาก เปนพิษเล็กนอย
เปนตน
3. การแบงประเภทสารพิษตามกลไกทางชีวเคมีของการทําปฏิกิริยาในรางกาย เชน เปน
สารยับยั้งการทําปฏิกิริยาทางอนุมูล sulfhydryl เปนสารสราง methemoglobin เปน
ตน การแบงลักษณะนี้ทําใหทราบรายละเอียดของการทําปฏิกิริยาในรางกายไดมากกวาการแบง
ประเภทกวางๆ เปนกลุมสารกอความระคายเคืองและสารกัดกรอน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 43
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. การแบงประเภทสารพิษตามลักษณะการกอปญหา เชน กลุมสารมลพิษทางอากาศ


กลุมสารพิษในการประกอบอาชีพ หรือแบงเปนกลุมที่ทําใหเกิดพิษเฉียบพลันและกลุมที่ทําให
เกิดพิษเรื้อรังก็ได
ดังนั้น จะเห็นไดวาประเภทของสารพิษและลักษณะของการเกิดพิษมีกวางขวางมาก
และวิธีการแบงประเภทสารพิษแบบใดแบบหนึ่ง ไมสามารถครอบคลุมไดทั้งหมด อยางไรก็ตาม
วิธีการแบงประเภทสารพิษที่พิจารณาทั้งคุณสมบัติทางเคมีและชีวภาพของสารพิษกับลักษณะ
ทางการไดรับสัมผัสสารพิษจะเปนประโยชนตอการกําหนดมาตรการทางกฎหมาย มาตรการ
ควบคุมอันตราย และการศึกษาทางพิษวิทยามากกวาวิธีอื่น ๆ

การเปนพิษและปจจัยที่มีผลตอการเปนพิษตอรางกายของสารเคมี
1. ความหมายของความเปนพิษ (Toxicity) ของสารเคมี
ความเปนพิษ (Toxicity) ของสารเคมี หมายถึงคุณสมบัติประจําตัวของสารเคมี
ในการทําอันตรายตอสิ่งมีชีวิต
สารเคมีที่มีพิษมาก เมื่อเขาไปในรางกายสิ่งมีชีวิตแมเพียงปริมาณนอยนิดก็ทําอันตราย
ตอสิ่งมีชีวิตนั้นได สวนในทางกลับกัน สารเคมีที่มีพิษนอยเมื่อเขาไปในรางกายสิ่งมีชีวิตแมใน
ปริมาณมาก ก็ทําอันตรายเพียงเล็กนอยตอสิ่งมีชีวิตนั้น ดังนั้นการอธิบายถึงความเปนพิษของสารใด
จึงจําเปนตองอางอิงปริมาณที่เขาไปในรางกายของสารนั้น ซึ่งเรียกวา “Dose” รวมทั้งวิธีการที่
สารนั้นเขาสูรางกาย เชน การฉีดเขากลามเนื้อ หายใจ หรือกิน นอกจากนี้ ตองระบุระยะเวลาหรือ
จํานวนครั้งที่สารนั้นเขาสูรางกาย ชนิดและความรุนแรงของผลกระทบ และระยะเวลาที่จําเปนใน
การทําใหเกิดผลกระทบนั้นดวย
ปริมาณของสารเคมีที่เขาสูรางกาย โดยทั่วไปจัดเปนปริมาณของสารตอหนวยน้ําหนัก
รางกายของสิ่งมีชีวิตที่ไดรับสารนั้น ปริมาณสารที่เขาสูรางกายโดยทางที่ตางกันยอมจะเขาสูกระแส
เลื อ ดไดไ ม เ ท ากัน เพราะประสิ ทธิ ภาพการดู ด ซึมผานผนังกั้ น เข าสู เ สนเลือดของแต ละบริเ วณ
ไมเทากัน
ปริมาณของสารเคมีจากภายนอกที่อยูในเลือด เปนปริมาณสารเคมีนั้นที่ถูกดูดซึมเขาสู
กระแสเลือด ซึ่งโดยทั่วไปปริมาณความเขมขนของสารเคมีในเสนเลือดมีคาไมคงที่ โดยจะมีคา
มากขึ้นเมื่อมีการดูดซึมเพิ่มมากขึ้น และจะมีคาลดลงเมื่อมีการกระจายของสารเคมีไปสะสมใน
เนื้อเยื่อและอวั ยวะตางๆ ถูกเปลี่ยนแปลงโดยกระบวนการเมตาบอลิซึมใหเปนสารอื่ นและถู ก
ขับถายออกจากรางกายเพิ่มขึ้น

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 44
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. ผลกระทบตอรางกายหรือการเปนพิษตอรางกาย (Adverse or Toxic


Effects)
ผลกระทบตอรางกายหรือการเปนพิษตอรางกาย หมายถึง ผลที่เกิดตอสิ่งมีชีวิตใน
ลักษณะของความผิดปกติในการทํางานของระบบตางๆ และหรือผลจากพยาธิสภาพที่ทําใหการ
ทํางานของรางกายไมเปนปกติ หรือทําใหความสามารถตอบสนองตอสิ่งเราลดลงไปจากปกติ
ผลกระทบตอรางกายจากการไดรับสารเคมี (Effects) โดยความหมายทั่วไปก็คือ
ปฏิกิริยาตอบสนองของรางกาย (Response) ตอสารเคมีที่เขาไปในรางกาย แตมีนักพิษวิทยา
บางกลุมที่แยก Effects และ Response ใหตางกันโดยให Effect หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพจากการที่สารเคมีเขาไปในรางกายสวน Response หมายถึง สัดสวน
ของคนในกลุ มประชากรที่ มี การเปลี่ ย นแปลงทางผลกระทบต อรา งกายจากการได รับสารเคมี
สามารถแบงตามลักษณะของระยะเวลาการเกิดผลกระทบหลังจากการไดรับสารเคมีไดเปน
2.1 ผลกระทบแบบเฉียบพลัน (Acute effects) เปนผลกระทบที่เกิดแกรางกาย
ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ภายหลังจากที่ไดรับสารเคมีเขาไปในรางกายเพียงครั้งเดียว มีเพียงสวนนอย
เทานั้นที่จะเกิดจากการไดรับสารเคมีหหลายครั้งติดตอกัน
2.2 ผลกระทบแบบเรื้อรัง (Chronic effects) เปนผลกระทบที่เกิดแกรางกาย
ที่เกิดขึ้นหลังจากที่ไดรับสารเคมีเขาไปในรางกายหลายครั้งอยางตอเนื่องเปนเวลานาน แตบางครั้งก็
อาจ เกิดขึ้นได หลังจากที่ไดรับสารเคมีเขาสูรางกายเพียงครั้งเดียว ผลกระทบแบบเรื้อรังนี้ มี
ลักษณะไมเพียงแตชวงระยะเวลาของการแสดงอาการที่เปนไปอยางซ้ํา ๆ เทานั้น แตมีลักษณะของ
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นดวย ซึ่งอาจเปนผลกระทบที่เกิดจากการสะสมของสารพิษหรือผลจากการเมตา
บอลิซึมของสารพิษในรางกายหรือเปนผลรวมของการเกิดพิษแบบเฉียบพลันหลายๆครั้ง ระยะเวลา
ของการแสดงอาการอาจยาวนานมากในกรณีที่สารพิษที่เขาสูรางกายมีปริมาณนอยมาก
สวนอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับรางกายหลังจากที่ไดรับสารเคมีแบงไดเปน 2 แบบดังนี้
1. อาการเฉพาะที่ (Local effects) เปนอาการที่เกิดที่อวัยวะหรือบริเวณที่
ไดรับ ผลกระทบเทานั้น เชน ผิวหนังที่ถูกกับกรด จะเกิดอาการระคายเคือง แสบรอน
เฉพาะบริเวณที่ไดรับสัมผัส เทานั้น
2. อาการแบบระบบ (Systemic effects) เปนอาการที่เกิดขึ้นเมื่อสารเคมีซึม
เขาสูกระแสโลหิต แลวถูกพาไปทําลายอวัยวะเปาหมายตาง ๆ เชน ตะกั่วอนินทรีย เมื่อเขาสูกระแส
โลหิตจะไปทําอันตรายระบบสรางเม็ดเลือดแดงและระบบประสาท เปนตน
3. สารเคมีที่ทําอันตรายแกรางกายแบงใหเปนกลุมใหญๆ ตามลักษณะของอันตรายที่เกิดแก
รางกาย ดังนี้

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 45
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3.1 สารกอความระคายเคือง (Irritants) คือ สารเคมีที่ทําใหเกิดการอักเสบของ


เนื้อเยื่อบุกั้น (tissue membrane) ที่ไดสัมผัสสารเคมีดังกลาว แบงไดเปน
3.1.1 สารกอความระคายเคืองปฐมภูมิ (Primary Irritants) เปนสารกอ
ความระคายเคืองที่ทําใหเกิดการอักเสบในบริเวณที่ถูกสัมผัสภายในเวลาอันสั้น อาจเกิดขึ้นภายใน
เวลาไมกี่ ชั่วโมงหลังการสัมผัส ตัวอยางเชน สารตัวทําละลายอินทรีย และสารประเภทใชซัก
ลาง (Detergents)
3.1.2 สารกอความระคายเคืองอยางแรง (Strong Irritants) เปนสารกอ
ความ ระคายเคืองที่ทําใหเกิดการทําลายเนื้อเยื่อ เปนแผล ที่เห็นไดชัดเจนในบริเวณที่ถูกสัมผัส
ภายในเวลาเพียงไมกี่นาที สารกัดกรอน (Corrosive agents) เชน กรดและดาง จัดเปนสาร
กอความระคายเคืองอยางแรง
3.1.3 สารกอความระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ (Respiratory
Irritants) สามารถทํา ใหเกิด การระคายเคือ งเยื่ อบุชุมของจมูก ปาก ลํ าคอ และปอดได เชน
anhydrous ammonia เปนตน
3.1.4 สารที่ ทําใหน้ําตาไหล (Lacrimators) เปนสารเคมีกอความระคาย
เคืองแกเยื่อบุชุมของตาทําใหตาแดง และกระตุนใหน้ําตาไหล เชน acrolein, chlorine และ
ethyl iodoacetate เปนตน
3.2 สารกระตุนใหเกิดอาการแพ (Sensitizers) คือ สารเคมีที่กระตุนปฏิกิริยา
สนองดานภูมิคุมกันของรางกายสารกลุมนี้มีลักษณะพิเศษ คือ ปฏิกิริยาตอบสนองทางรางกายไม
สัมพันธกับปริมาณที่รางกายไดรับ และโดยทั่วไปตองมีการไดรับสัมผัส ครั้งแรกซึ่งจะไปกระตุน
กลไกดานภู มิคุมกัน ของรางกายกอน เมื่อมีการสัมผัสสารเดิมในครั้งตอไปรางกายจึงจะแสดง
ปฏิกิริยาภูมิแพ เกิดขึ้น สารกลุมนี้แบงไดเปน
3.2.1 Allergic Sensitizer เปนสารเคมีที่ทําใหเกิดความไวตอการเกิด
ภูมิแพในการ ไดรับสัมผัสครั้งแรก
3.2.2 Photosensitizers เปนสารเคมีที่ทําใหผิวหนังเกิดปฏิกิริยาไวตอแสง
สวางหรือแสงอัลตราไวโอเลตในลักษณะของปฏิกิริยาภูมิแพ
3.3 สารที่ทําใหเกิดพิษแบบเปนระบบ (Systemic poison) เปนสารเคมีที่
สามารถทําใหเกิดอันตรายตออวัยวะเปาหมายหรือระบบการทํางานของรางกาย ซึ่งแบงไดเปน
3.3.1 Convultants ทําใหเกิดอาการชัก และอาจรุนแรงถึงหมดสติได เชน
Parathion

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 46
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3.3.2 Hepatoxins เปนพิษตอตับ เชน Carbon tetrachloride,


nitrohydrocarbon
3.3.3 Nephrotoxins เปนพิษตอไต เชน carbondisulfide,
chloroform ปรอทและ parathion
3.3.4 Central Nervous System Depressants กดระบบ
ประสาทสวนกลางทําใหเกิดการปวดศรีษะ คลื่นไส ควบคุมการทํางานของแขนขาลําบาก งวงนอน
สมองสับสน เชน toluene, methanol
3.3.5 Neurotoxins เปนพิษตอประสาท เชน n-hexane ปรอท ตะกั่ว
Chlordane
3.3.6 Hemolytic agents ทําใหเม็ดโลหิตแดงแตกและทําอันตรายตอ
องคประกอบตาง ๆ ของโลหิต เชน arsine, benzene และตะกั่ว
3.3.7 Reproductive System Toxin เปนอันตรายตอระบบสืบพันธุ
ของทั้งชายและหญิง เชน สาร Steroids, cadmium chloride และ alkylating
agents
3.4 สารกอมะเร็ง สารทําใหเกิดการกลายพันธุและสารที่ทําใหเกิดภาวะรูปราง
ไมสมประกอบของทารกในครรภ ที่สําคัญไดแก
3.4.1 สารกอมะเร็ง (Carcinogens) ทําใหเซลลมีการเจริญเติบโตผิดปกติ
กลายเปนเนื้อราย เชน asbestos, kepone, benzene และ coal tar pitch
volatiles เปนตน
3.4.2 สารทําใหเกิดการกลายพันธุ (Mutagens) มีคุณสมบัติทําใหเกิดความ
ผิดปกติของยีนส และโครโมโซมของเซลลสืบพันธุของพอหรือแม ซึ่งมีผลทําใหเกิดความผิดปกติ
ในรุนลูกหลานตอๆ ไป
3.4.3 สารที่ทํา ให เกิด ภาวะรู ปรางไม สมประกอบของทารกในครรภ
(Teratogens) มีคุณสมบัติในการทําลายหรือรบกวนพัฒนาการทางรางกายของตัวออนหรือ
ทารกในครรภ ทําใหมีรูปรางวิกลผิดปกติ เชน thalidomide, diethyl stilbestrol เปน
ตน
3.5 สารที่ทําใหเกิดการขาดออกซิเจน (Asphyxiants) ตอสารที่ทําใหรางกาย
ไมไดรับออกซิเจนตามที่รางกายตองการ แบงไดเปน
3.5.1 Simple asphyxiants เปนสารที่เขาไปอยูในอากาศและทําให
อากาศนั้นมีปริมาณออกซิเจนไมเพียงพอกับความตองการของรางกาย คือ นอยกวา 19.5% ทําให

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 47
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

เกิดอาการปวดศรีษะ หมดสติ และเสียชีวิตได ตัวอยางเชน carbondioxide, nitrogen,


helium และ methane
3.5.2 Chemical asphyxiats เปนสารที่รบกวนการจับออกซิเจนของ
เม็ ด โลหิ ต แดงหรื อ รบกวนการสง ออกซิ เ จนจากโลหิ ต ให แ ก เ ซลล ตั ว อย า งเช น hydrogen
sulfide, nitrobenzene และ hydrogen cyanide เปนตน
4. ปจจัยที่มีผลตอการเปนพิษตอรางกายของสารเคมี
4.1 คุณสมบัติทางเคมีของสารเคมี
4.2 สภาพทางกายภาพของสารเคมี
4.3 ทางเขาสูรางกายของสารเคมี
4.4 อวัยวะหรือสวนของรางกายที่มีปฏิกิริยากับสารเคมี
4.5 ความถี่ ความเขมขน และระยะเวลาของการไดรับสัมผัสกับสารเคมี
4.6 ความแตกตางระหวางบุคคล
ปฏิกิริยาตอบสนองของรางกายตอสารพิษที่เขาสูรางกาย
คุณสมบัติที่สําคัญอยางหนึ่งของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด คือ ความสามารถในการตอบสนองจาก
สิ่งเราภายนอกรางกาย เปนสวนของการรับรูสิ่งแวดลอมและการปรับตัวใหสามารถดํารงชีวิตอยูใน
สิ่ ง แวดล อ มนั้ น หรื อ หนี จ ากสิ่ ง แวดล อ มที่ เ ป น อั น ตรายตอ รา งกายและชีวิ ต ในการปรับ ตั ว ให
สามารถดํารงชีวิตอยูในสิ่งแวดลอม ซึ่งมีสิ่งที่สามารถทําอันตรายตอรางกายทั้งจากภายนอกและ
ภายในนั้น ธรรมชาติไดสรางกลไกการปองกันอันตรายตามธรรมชาติ (Natural defensive
mechanism) ขึ้น เชน เมื่อฝุนหรือสารกอความระคายเคืองเขาตา น้ําตาจะไหลเพื่อลางและพัด
พาสิ่งดังกลาวออกจากตา การไอ จามเพื่อไลสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ เม็ดโลหิตขาว
และแอนติบอดีตาง ๆ รวมไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงสารที่มีพิษมากใหเปนสารที่มีพิษนอย หรือไม
มีพิษ (detoxification) โดยตับ และขจัดออกจากรางกายพรอมของเสียอื่นทางปสสาวะโดย
ไต เป น ต น การรั ก ษาสุ ข ภาพให ส มบู ร ณ อ ยู เ สมอจะทํ า ให ก ลไกการป อ งกั น อั น ตรายตาม
ธรรมชาติทําหนาที่ตามธรรมชาติไดดี แตหากรางกายเสื่อมโทรมกลไก ดังกลาวก็จะเสื่อมตามไป
ดวย ทําใหคนที่มีสุขภาพดีมีความตานทานตอโรค และพิษภัยไดดีกวาคนที่มีสุขภาพเสื่อมโทรม
ความสามารถในการปรับสมดุลของระบบการทํางานของรางกาย เพื่อใหสามารถดํารงอยู
ได ใ นสภาพแวดล อ มที่ เ ปลี่ ย นไป เรี ย กว า “Homeostasis” เมื่ อ ใดที่ สิ่ ง เร า จากภายนอก
(Stimuli) มีมากเกิน Homeostasis แลวก็จะเกิดความผิดปกติของรางกายขึ้น
การตอบสนองของร า งกายจึ งมี ตั้ งแต ที่ร ะดั บ สิ่ ง เร า จากภายนอกยั ง ไม ทํ าให เ กิ ด ความ
เสียหายตอรางกาย ซึ่งเรียกวา ระดับความทนไดของรางกาย (Threshold) เพราะยังไมเกิน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 48
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ความสามารถของกลไก Homeostasis จะปรับสมดุลใหรางกายเปนปกติอยูได ไปจนถึงระดับ


ของสิ่ ง เร า ที่ มี ม ากขึ้ น Homeostasis จะรั บ ได แ ล ว ก็ จ ะเกิ ด ความผิ ด ปกติ ห รื อ อั น ตรายต อ
รางกายได สารพิษสวนใหญมีคา Threshold ที่ระดับปริมาณที่ไมเกินคา Threshold จึง
เปนระดับที่ปลอดภัย แตมีสารพิษที่กอใหเกิดมะเร็งหรือการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซมนั้น ไมมี
คา Threshold เพราะแมมีเพียงปริมาณนอยนิดสักเทาใดก็ตามก็สามารถทําใหเกิดมะเร็งหรือ
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมได นั่นคือ ไมมีระดับความปลอดภัยนั่นเอง
ความทนตอสารพิษ (Tolerance) ความทนตอสารเคมีหรือสารพิษ คือสภาวะของ
รางกายที่มีปฏิกิริยาตอบสนองตอสารเคมีหรือสารพิษลดนอยลง อันเปนผลจากการเคยไดรับสาร
นั้นหรือสารที่มีโครงสรางคลายคลึงกันมากอน กลไกของรางกายที่ทําใหเกิดความทนตอสารพิษ
ประกอบดวย
- การลดปริมาณสารพิษที่ไปถึงอวัยวะหรือเนื้อเยื่อที่สารพิษนั้นจะไปทําใหเกิดอันตราย
- การลดการตอบสนองของเนื้อเยื่อตอสารพิษ ซึ่งรายละเอียดของกลไกในการลด
ปฏิกิริยาตอบสนองของเนื้อเยื่อตอสารพิษนั้นยังไมเปนที่ทราบแนชัด สวนการลดปริมาณสารพิษที่
จะไปถึ ง อวั ย วะหรื อ เนื้ อ เยื่ อ ที่ ส ารพิ ษ นั้ น จะไปทํ า ลายมี ตั ว อย า งได เช น carbon
tetrachloride ซึ่งปกติจะถูกเปลี่ยนสภาพไปเปนอนุมูล trichloromethyl ซึ่งเปนพิษ
ตอตับลดลง และ cadmium ก็จะรวมตัวกับ metallothionine ซึ่งเปนโปรตีนที่ทํา
ปฏิกิริยากับโลหะไดกลายเปนสารที่มีพิษนอยลง ทําใหรางกายเกิดสภาพที่มีความทนตอสารพิษมาก
ขึ้นกวาปกติ
ความสัมพันธของปริมาณสารพิษที่รางกายไดรับ และปฏิกิริยาตอบสนองของรางกาย
(Dose Response Relationship) ความสัมพันธระหวางปริมาณมลสารที่รางกาย
ได รั บ และ ตอบสนองของร า งกายสํ า หรั บ สารเคมี แ ต ล ะชนิ ด เป น สิ่ ง ที่ ใ ช อ ธิ บ ายถึ ง
ความสัมพันธระหวางการ ไดรับสัมผัส และปฏิกิริยาตอบสนองของรางกายตอสารเคมีชนิดนั้น
ๆ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ความสัมพันธดังกลาวนี้ สามารถใหขอมูลเพื่อคาดคะเนถึงการเปลี่ยนแปลง
ของความรุนแรงของ ผลกระทบตอสุขภาพที่การไดรับสัมผัสสารเคมีที่ระดับตาง ๆ โดย
ขอมูลดังกลาวนี้ไดมาจาก
- การอนุมานผลจากการทดลองในสัตวมาเปนผลในมนุษย
- การอนุ ม านผลของการตอบสนองของรา งกายตอ สารเคมี ใ นปริม าณสู ง ที่ร า งกาย
สัตวทดลองไดรับหรือที่เกิดกับกลุมประชากรที่มีความเสี่ยงสูงตอสารเคมีมาเปนผลการตอบสนอง
ของ รางกายตอสารเคมีในปริมาณต่ํา ๆ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 49
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

- การอนุมานผลของการไดรับสารเคมีในระยะสั้นของการทดลองมาเปนผลของการ
ไดรับปจจัยเสี่ยงเปนระยะยาวนาน
- การอนุมานผลของการทดลองใหสารเคมีเขาไปในรางกายในวิธีที่แตกตางไปจากวิธีที่
มนุษยไดรับจริง
ความสัมพันธระหวางปริมาณสารเคมีที่รางกายไดรับและตอบสนองของรางกายสําหรับ
สารกอมะเร็งและสารไมกอมะเร็งมีความแตกตางกันดังนี้ คือ
1. กรณีที่สารเคมีเปนสารกอมะเร็ง หลักคิดคือไมมีระดับการไดรับสัมผัสใดที่ไมมีการ
เสี่ยงอันตรายนั่นคือ การไดรับสัมผัสสารกอมะเร็งในปริมาณที่ถึงแมจะนอยมากสักเทาใดก็ตามก็
สามารถเพิ่มโอกาสที่จะเกิดมะเร็งขึ้นได เสนกราฟแสดงความสัมพันธของปริมาณสารเคมีที่รางกาย
ไดรับกับการตอบสนองของรางกายในกรณีนี้เปนกราฟเสนตรง
ปจจุบันมีแบบจําลองทางคณิตศาสตรจํานวนมากที่ใชในการอนุมานหาผลกระทบตอ
สุขภาพของสารในปริมาณต่ํามาก ๆ ตัวอยางเชน One-hit model, Multi-hit model,
Multistage model, Probit model, Logistic model, Weibull model
และ Hardly-Seilken model เปนตน เงื่อนไขการใชแบบจําลองแตละชนิดขึ้นอยูกับ
ความเหมาะสมของขอมูลทางชีววิทยา กลไกการเกิดมะเร็งและสถิติอื่นๆ กรณีที่มีขอมูลจํากัดและ
ไมทราบกลไกการกอมะเร็งของมลสารนั้น แบบจําลองที่นิยมใชก็คือ แบบจําลองลักษณะเสนตรง
หลายขั้นตอ ซึ่งคํานึงถึงความปลอดภัยตอมนุษยสูงกวาแบบจําลองอื่น ๆ
2. กรณีที่สารเคมีเปนสารไมกอมะเร็ง หลักคิดคือมีระดับการไดรับสัมผัสที่ไมกอใหเกิด
อันตรายตอรางกายได นั่นคือมนุษยสามารถไดรับสัมผัสสารเหลานี้ไดในระดับหนึ่ง โดยไมเกิด
อันตรายตอสุขภาพเปนระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดหรือเปนระดับปลอดภัยตอมนุษยทั้งนี้ดวย
เหตุ ผ ลคื อ ร า งกายมนุ ษ ย มี ก ลไกในการป อ งกั น อั น ตรายโดยธรรมชาติ อ ยู แ ล ว ในการป อ งกั น
สิ่งแปลงปลอมที่จะทําอันตรายและซอมแซมสวนที่สึกหรือใหกลับคืนสูสภาพปกติ
กลไกสําคัญในการเกิดพิษจากสารเคมี ไดแก
1. การทําปฏิกิริยาเคมีของสารเคมีกับเนื้อเยื่อ
2. การรบกวนการทํ า งานตามปกติ ข องเนื้ อ เยื่ อ กั้ น ของประสาท (excitable
membrane)
3. การรบกวนการสรางพลังงานของเซลล
4. การยึดจับกับโมเลกุลของสารชีวภาพ (biomolecules)
5. การรบกวนการรักษาสมดุลของแคลเซียมภายในเซลล
6. การทําใหเซลลบางชนิดตาย
7. การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลลเนื้อโดยไมทําใหเซลลตาย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 50
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ผลกระทบต อรางกายจากสารเคมี ความผิด ปกติของรา งกายอัน เปนผลจากการได รั บ


สารเคมี มีดังนี้
• ปฏิกิริยาภูมิแพ (Allergic Reaction)
• ปฏิ กิ ริ ย าต อ สารเคมี อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ป จ จั ย ทางพั น ธุ ก รรม (Idiosyncratic
Reaction)
• การเกิดปฏิกิริยาทันทีทันใดและแบบลาชา (Immediate and delayed
toxicity)
• การเกิ ด ผลกระทบชนิ ด คื น สู ส ภาพปกติ ไ ด แ ละชนิ ด ที่ สู ส ภาพปกติ ไ ม ไ ด
(Reversible and Irrever-sible Effects) หรือการเกิดผลกระทบแบบชั่วคราวและ
แบบถาวร
• การเกิดอันตรายหรือพิษแบบเฉพาะที่และแบบเปนระบบ (Local and
systematic Toxicity)
แบบฝกหัดบทที่ 5
1. ความหมายของพิษวิทยา คือขอใด
‫א‬. การศึกษาผลกระทบของสารเคมีตอสิ่งมีชีวิต
‫ב‬. การศึกษาเพื่อใหทราบถึงผลัพธเชิงบวก
‫ג‬. การศึกษาระดับปริมาณของผลลัพธเชิงบวกของการไดรบั สัมผัสสารเคมี
‫ד‬. ขอ ข และ ค

2. พิษวิทยาประเภทใดที่มุงเนนการศึกษาอันตรายของสารเคมีตอสิ่งมีชีวิตในเชิงการแพทยที่
เกี่ยวโยงกับดานกฎหมาย
‫א‬. พิษวิทยาดานนิติเวช
‫ב‬. พิษวิทยาดานคลินิก
‫ג‬. พิษวิทยาดานสิ่งแวดลอม
‫ד‬. ทั้ง 3 ดานรวมกัน
3. พิษวิทยาประเภทใดมุงเนนการศึกษาโรคที่เกิดจากหรือมีความเกีย่ วของกับสารพิษ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 51
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫א‬. พิษวิทยาดานนิติเวช
‫ב‬. พิษวิทยาดานคลินิก
‫ג‬. พิษวิทยาดานสิ่งแวดลอม
‫ד‬. ไมมีขอใดถูก
4. วัตถุระเบิด สารไวไฟ ใชหลักการใดในการแบงประเภทสารพิษ
‫א‬. ตามอวัยวะเปาหมายการใชประโยชน
‫ב‬. ตามสภาวะทางกายภาพ คุณสมบัติทางเคมี และระดับความเปนพิษ
‫ג‬. ตามกลไกทางชีวเคมีของการทําปฏิกิริยาในรางกาย
‫ד‬. ตามลักษณะการกอปญหา
5. หลักการใดในการแบงประเภทสารพิษเปนประโยชนตอการกําหนดมาตรการทางกฎหมาย
มาตรการควบคุมอันตราย มากที่สุด
‫א‬. ตามอวัยวะเปาหมายการใชประโยชน
‫ב‬. ตามกลไกทางชีวเคมีของการทําปฏิกิริยาในรางกาย
‫ג‬. ตามคุณสมบัติทางเคมีและชีวภาพของสารพิษกับลักษณะทางการสัมผัสสารพิษ
‫ד‬. ตามลักษณะการกอปญหา
6. ในการอธิบายถึงความเปนพิษของสารใดจําเปนตองอางอิงถึงสิ่งใดบาง
‫א‬. ปริมาณที่เขาไปในรางกาย
‫ב‬. วิธีการที่สารนั้นเขาสูรางกาย
‫ג‬. ระยะเวลาหรือจํานวนครั้งที่สารนั้นเขาสูรางกาย
‫ד‬. ถูกทุกขอ

7. สารพิษที่ทําใหเกิดการทําลายเนื้อเยื่อ เปนแผล ที่เห็นไดชัดเจนในบริเวณที่ถูกสัมผัสภายใน


เวลาเพียงไมกนี่ าที จัดเปนสารกอความระคายเคืองขอใด
‫א‬. สารกอความระคายเคืองปฐมภูมิ
‫ב‬. สารกอความระคายเคืองอยางแรง
‫ג‬. สารกอความระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ
‫ד‬. สารที่ทําใหน้ําตาไหล

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 52
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

8. Photosensitizers จัดเปนสารเคมีที่ทําอันตรายแกรางกายตามลักษณะของอันตรายที่เกิดแก
รางกายตามขอใด
‫א‬. สารกอความระคายเคือง
‫ב‬. สารกอมะเร็ง
‫ג‬. สารที่ทําใหเกิดพิษแบบเปนระบบ
‫ד‬. สารกระตุนใหเกิดอาการแพ
9. สารที่รบกวนการจับออกซิเจนของเม็ดโลหิตแดง คือขอใด
‫א‬. Simple asphyxiants
‫ב‬. Chemical asphyxiats
‫ג‬. Hemolytic agents
‫ד‬. Neurotoxins
10. ปจจัยใดที่ไมมีผลตอการเปนพิษตอรางกายของสารเคมี
‫א‬. คุณสมบัติทางเคมีของสารเคมี
‫ב‬. อวัยวะหรือสวนของรางกายที่มีปฏิกิริยากับสารเคมี
‫ג‬. ทางออกจากรางกายของสารเคมี
‫ד‬. อวัยวะหรือสวนของรางกายที่มีปฏิกิริยากับสารเคมี

บทที่ 6
หลักการดานเออรโกโนมิกส

ความหมายของคําวา เออรโกโนมิกส
คําวา เออรโกโนมิกส (Ergonomics) มาจากคําวา Erg = work (งาน) และ
nomy = law (กฎระเบียบ) ดังนั้นจึงแปลวา กฎระเบียบของงาน
นักวิชาการหลายทานไดใหนิยามเกี่ยวกับคําวา เออรโกโนมิกส ไวซึ่งอาจจะพอสรุปได
คือ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 53
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

วิทยาการที่วาดวยความสัมพันธระหวางคนกับสิ่งแวดลอมในการทํางาน หรือ วิทยาการ


ที่วาดวยการออกแบบงานใหเหมาะสมกับคนที่ทํางานนั้น
องคประกอบของเออรโกโนมิกส
สามารถจัดเปนหมวดหมูได 3 กลุม คือ
1. ดานกายวิภาคศาสตร (anatomy) กลาวถึง
1.1 ขนาดมนุษย (anthropometry) ปกติแลวจะมุงพิจารณาปญหาที่
อาจจะเกิดจากขนาด รูปรางของคนและทาทางการทํางานของคน
1.2 ชีวกลศาสตร (Biomechainics) จะมุงพิจารณาปญหาที่อาจจะเกิด
จากการออกแรงหรือใชแรงในขณะทํางานของคน
2. ดานสรีรวิทยา (physiology) นั้นจะกลาวถึง
2.1 สรีรวิทยาการทํางาน (work physiology) จะมุงพิจารณาถึงการ
ใชพลังงานขณะทํางาน ถาหากงานนั้นเปนงานหนักใชพลังงานมากก็อาจเกิดปญหาตอสุขภาพ
รางกายได
2.2 สรีรวิทยาสิ่งแวดลอม (environmental physiology) จะมุง
พิจารณาถึงผลกระทบตอ สุขภาพที่อาจเกิดจากการทํางานเกี่ยวของกับสภาพแวดลอมทาง
กายภาพ เชน ความรอน แสง เสียง การสั่นสะเทือน เปนตน
3. ดานจิตวิทยา (psychology) นั้นจะกลาวถึง
3.1 ความชํานาญ (skill psychology) จะเกี่ยวของกับความเขาอก
เขาใจในลักษณะงานของบุคคล ทราบวาควรจะทํางานอะไร และทําอยางไร ตลอดจนการตัดสินใจ
ในการทํางานนั้นๆ ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความสมบูรณของขาวสารขอมูลดวย ทั้งนี้เพื่อมิให
เกิดการทํางาน ผิดพลาดซึ่งนอกจากจะทําใหเกิดผลเสียตอการผลิตแลวยังอาจกอใหเกิด
อุบัติเหตุได
3.2 จิตวิทยาการทํางาน (occupational psychology) จะพิจารณา
ถึงปญหาดานจิตวิทยาสังคมของบุคคลที่เกิดหรือเนื่องมาจากการทํางาน โดยจะหมายรวมถึงปญหา
สภาวะดานเวลา และสภาวะดานสังคมดวย
หลักการเกี่ยวกับขนาดรางกายและการทํางานของคนงาน
เปนที่ทราบกันวาการออกแบบงานและและบริเวณงาน (work and work space
design) ที่ เหมาะสมนั้น ยอมทําใหคนงานทํางานดวยความรูสึกสบายปราศจากความเครียด
และความเคน ทั้งหลาย ขณะเดียวกันนั้นยังทําใหงานที่ทํานั้นมีประสิทธิภาพสูงขึ้น อันเปน
ผลทําใหเกิดการเพิ่มของผลผลิตขึ้นดวย ในปจจุบันมีเพียงไมกี่ประเทศที่มีการวัดขนาดรางกาย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 54
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

คนงานเพื่อใชในการออกแบบงานในแงเออรโกโนมิกส สวนใหญเปนประเทศที่พัฒนาแลว สวน


ประเทศที่กําลังพัฒนานั้นสวนใหญจะนําเขาเทคโนโลยีและเครื่องจักรจากประเทศที่พัฒนาแลวซึ่ง
อาจมีขนาดใหญไม เหมาะสมกับขนาดรางกายคนไทยทําใหอาจตองมีการเขยงการเอื้อมโดย
ไมจําเปนอาจเกิดการ เมื่อยที่กลามเนื้อ และที่สําคัญอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุได
การวัดขนาดรางกายเพื่อการออกแบบงาน
การวัดขนาดของคน (Anthropometry) อาจแบงได 2 ชนิด คือ
1. การวัดขนาดรางการในทามาตรฐาน (static dimensions) ซึ่งเปนการวัด
ขนาดลําตัว แขน ศีรษะ ขา ในทามาตรฐานตางๆ
2. การวัดขนาดรางกายในขณะทํางาน (dynamic dimensions) เปนการวัด
ขนาดรางกายในตําแหนงที่ทํางาน
ทาทางการทํางานของคน
ความสําคัญของลักษณะทาทางที่เหมาะสม
การรั ก ษาทา ทางที่เ หมาะสมนั้ น จะสงผลให ป ระสิ ทธิ ภ าพในการทํา งานสู งขึ้น และลด
อันตรายที่เกิดจากการทํางานลงดวย สามารถสรุปลักษณะความสําคัญของทาทางการทํางานที่
เหมาะสมไดดังนี้
1. การทํางานบนพื้นที่มั่นคงทําใหการออกแรงในการทํางานเปนไปไดอยางสะดวก แต
ถาพื้นไมมั่นคงทาทางการทํางานของบุคคลก็จะผิดปรกติไป ทําใหสูญเสียพลังงานของรางกายโดย
ไมจําเปน
2. ทาทางการทํางานที่เหมาะสมนั้นจะชวยใหการออกแรงเปนไปอยางมีประสิทธิผลเพียง
อาศัยน้ําหนักของรางกายของบุคคลเปนหลัก วิธีที่พบวามีประสิทธิภาพมากคือการที่ใหรางกายพิง
อยูกับบางสิ่งบางอยางในขณะออกแรง
3. ทาทางการทํางานของรางกายที่ดีและเหมาะสมนั้น จะตองไมไปกอใหเกิดการขัดขวาง
กระบวนการทํางานของอวัยวะภายในรางกาย เชน ระบบการยอยอาหาร ระบบการหายใจ และ
ระบบการไหลเวียนโลหิต เปนตน
4. ทาทางของการทํางานที่ดีนั้น จะตองชวยใหมีการแลกเปลี่ยนความรอนระหวาง
รางกายและสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม โดยใหมีการขับเหงื่อเปนไปอยางเหมาะสมในงานที่มีความ
รอนสูงมาก เปนตน
5. ทาทางการทํางานมีค วามสําคัญยิ่งตอระบบการมองเห็นของตา นั้น คื อทาทางการ
ทํางานจะตองมั่นคง และสายตาตองมองตรงในระดับราบ การมองขึ้นขางบน ขางลาง หรือ
ดานขางจะกอใหเกิดความเคนของกลามเนื้อคอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 55
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

เทคนิคและวิธีการดานเออรโกโนมิกสที่เกี่ยวของกับทาการทํางาน
ทาทางสําหรับบุคคลที่ยืนทํางาน มีหลักทั่วไปดังนี้
1. ในการยืนทํางานนั้น ควรมีบริเวณเลื่อนเทาไปขางๆ กาวไปขางหนา และถอยกลับ
โดยไมมีอะไรกีดขวาง
2. รางกายไมควรเอนไปขางหลัง หรือเอนไปขางหนา ถาจะตองมีการเอนนั้น องศาการ
เอนนั้นควรมีไดเพียงเล็กนอย โดยเฉพาะอยางยิ่งในการยกของ
3. ไมควรเอื้อมมือสูงกวาระดับความสูงของไหล หรือต่ํากวาระดับมือหยิบฉวยได
ในขณะยืน
4. ไมควรหมุนลําตัวหรือเอียงไปขางๆ
5. ไมควรแหงนศีรษะหรือกมศีรษะมากเกินไป
ทาทางสําหรับบุคคลที่นั่งทํางาน มีหลักทั่วไป ดังนี้
1. ศีรษะอยูลักษณะสมดุล คืออยูกึ่งกลางระหวางไหลทั้งสองขาง สายตามองระดับราบ
2. ไหลทั้งสองขางควรอยูในลักษณะธรรมชาติ
3. ลําตัวควรอยูในแนวดิ่งหรือเอียงไปดานหลังเล็กนอยโดยมีที่รองรับหลังอยางเหมาะสม
4. ทอนแขนสวนลาง และตนขาควรอยูในระดับราบ
5. ตนแขน และขาทอนลางควรทํามุมกับแนวดิ่งประมาณ 0 และ 45 องศา
6. ควรมีบริเวณสําหรับสอดเขาไวอยางเหมาะสม
7. ควรมีที่วางเทาอยางเหมาะสม
8. ไมควรมีการเอื้อมหรือบิดตัวโดยไมจําเปน
สําหรับเกาอี้นั่งทํางานในสํานักงานนั้นไดมีผูทําการศึกษาและเสนอแนะดังนี้
1. ความสูงของที่นั่งควรปรับไดระหวาง 40 – 53 ซ.ม.
2. พนักพิงหลังควรปรับไดในแนวดิ่งจาก 15 – 24 ซ.ม.
3. พนักพิงหลังควรจะปรับไดในแนวลึกระหวาง 34 -44 ซ.ม. จากขอบที่นั่งดานหนา
4. ความลึกของที่นั่งอยางนอย 35 ซ.ม.
5. เกาอี้ควรมีความมั่นคงไมโยกหรือเลื่อนไปมา
6. เกาอี้ควรจะเคลื่อนไหวไดอยางอิสระ
หลักการดานสภาวะแวดลอมการทํางาน
อุณหภูมิของอากาศ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 56
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ปกติคนงานจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่ออุณหภูมิพอเหมาะ คือไมรอนไม
หนาวเกินไป และเพื่อใหคนงานสามารถทํางานในสภาวะที่อุณหภูมิไมเหมาะสมนั้น การปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงที่คนสามารถทําไดโดย
1. ปรับปรุงเสื้อผาที่สวมใส
2. ปรับปรุงตําแหนงการทํางานเพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรงของอุณหภูมิเวลานั้น
3. การปรับปรุงทาทางการทํางาน
4. การขับเหงื่อ
5. การเปลี่ยนแปลงระดับของกิจกรรมการทํางานของบุคคล
บุคคลจะรูสึกคุนเคยกับสภาวะตางๆ เมื่อบุคคลนั้นพบวาเขารูสึกสบาย สภาวะตางๆ นี้
หมายถึง อุณหภูมิ การแผรังสี ความชื้น ความเร็วลม และอุณหภูมิของผิวสวนตางๆ ของรางกาย
ชาวยุโรปจะรูสึกสบายที่สภาวะอุณหภูมิ 19-23 องศาเซลเซียส ความชื้น 30-70 % และ
ความเร็วลม 12 เมตร/นาที ปกติแลวอุณหภูมิรอบๆ ตัวที่เหมาะสมจะต่ํากวาอุณหภูมิรางกายมาก
เพราะคนเราตองการใหอุณหภูมิในรางกายสูงกวาอุณหภูมิผิวหนัง ซึ่งจะสามารถขจัดความรอนที่
เกิดขึ้นภายในรางกายได สภาวะความเครียดที่เกิดจากความรอนสามารถแกไขไดโดยใหมีอากาศ
ถายเทมากขึ้น และจัดใหลมพัดแรงมากขึ้น และการลดความเครียดที่เกิดจากความหนาวเย็นนั้นทํา
ไดโดย สวมเสื้อผาหนาๆ และลดความเร็วลมที่อยูรอบตัว
เสียงดัง
ระดับเสียงที่สูงกวา 80-90 dBA สามารถทําใหหูหนวกได ทั้งไมไดยินชั่วคราวหรือ
ถาวร นอกจากนี้ยังทําใหการสนทนาติดตอสื่อสารเปนไปดวยความลําบาก ทําใหเกิดปญหาและ
อันตรายได สวนวิธีการควบคุมเสียงมีสองแบบคือ ควบคุมเสียงที่แหลงกําเนิด เชน การยาย
เครื่องจักรที่เสียงดังไวตางหาก เปลี่ยนวัสดุรองรับเศษเหล็กจากโลหะใหเปนพลาสติก เปนตน และ
การควบคุมเสียงโดยใชอุปกรณปองกัน เชน ปลั๊ก และที่ครอบหู เปนตน
แสงสวาง
แสงสวางที่ไมเหมาะสมอาจกอใหเกิดความยากลําบาก หรืออุบัติเหตุในการทํางานได และ
ยังทําใหเกิดอันตรายได นอกจากนี้แสงสวางที่เหมาะสมทําใหเกิดความไมสบายระหวางและหลัง
การทํางานได เปนตนวา การปวดศีรษะในตอนเย็น และทําใหความเร็วในการมองเห็นลดลง ระดับ
ความสองสวางที่เปนที่ยอมรับกัน คือ
1. สําหรับการเดินทาง ประมาณ 20 ลักซ
2. สําหรับการเขียน หรืองานประกอบชิ้นสวน ประมาณ 50 ลักซ
3. งานรายละเอียด ประมาณ 100 ลักซ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 57
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ความสั่นสะเทือน
ความสั่นสะเทือนมี 2 ประเภท คือ ความสั่นสะเทือนทั่วรางกาย และความสั่นสะเทือน
เฉพาะที่มือ ความสั่นสะเทือนทั่วทั้งรางกายสวนใหญมักเกิดจากการขนสงทั้งหลาย นอกจากเกิด
ความไมสบายแลวยังเกิดการรบกวนการมองเห็นอีกดวย และยังสงผลกระทบตอระบบยอยอาหาร
และเปนอันตรายตอกระดูกสันหลัง การแกไขนั้นทําไดโดยการออกแบบฉนวนกั้นความ
สั่นสะเทือนสําหรับทานั่ง และการดีที่สุดคือใชทายืนแทนทานั่ง สําหรับการสั่นสะเทือนเฉพาะที่
มือนั้น เกิดจากการทํางานที่ตองใชเครื่องมือกล เชนเครื่องเจาะถนน เลื่อยไฟฟา เครื่องย้ําหมุด เปน
ตน สิ่งเหลานี้จะทําใหเกิดปญหาการไหลเวียนของเลือดที่บริเวณนิ้ว ที่เรียกวาโรคนิ้วซีด
หรือนิ้วตาย (raynaud’s disease) การแกไขจะขึ้นอยูกับการออกแบบการปองกันการ
สั่นสะเทือนบริเวณมือจับโดยการลดแรงกดที่มือ
หลักการดานสภาวะการทํางาน
สภาวะการทํางานในที่นี้หมายถึงสภาวะดานเวลา สภาวะดานสังคมและสภาพของขอมูล
ขาวสารที่เกี่ยวของกับบุคคลที่ทํางานในสถานประกอบการ
ระยะการทํางานตอวัน
ระยะการทํ า งานหรื อ ชั่ ว โมงการทํ า งานต อ วั น มี ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วข อ งกั บ การขาดงาน
เนื่องจากความเจ็บปวยและอุบัติเหตุมากทีเดียว การทํางานตอเนื่องกันหลายๆชั่วโมงและการ
ทํางานลวงเวลานั้นกอใหเกิดปญหาความเจ็บปวยและอุบัติเหตุ และทําใหผลผลิตต่ําลง
ในปจจุบันประเทศตางๆยึดหลักการการทํางานสัปดาหละ 5 วันหรือประมาณ 40
ชั่วโมง โดยแตละวันไดมีการแบงกิจกรรมการทํางาน การพักผอน เวลาหลับนอนเทาๆกัน
หลักปฏิบัตินี้ไมไดเกิดจากหลักทฤษฏีแตเกิดจากการปฏิบัติกันมาอยางกวางขวาง จากการศึกษา
พบวาการทํางานสัปดาหละ 60 ชั่วโมงขึ้นไปไมมีผลดีและคุมคาในเชิงคุณภาพและผลผลิตยัง
สงผลใหเกิดการลดลงของคุณภาพผลผลิตและเกิดความเหนื่อยลาของบุคคลได ซึ่งสงผลใหไม
สบายและเกิดอุบัติเหตุได ในการตรงกันขามการทํางาน part-time หรือสัปดาหละ 20
ชั่วโมง ผลผลิตในรูปของปริมาณตอหนึ่งหนวยเวลานั้นสูงกวาการทํางานประจํา

วันหยุดพักผอน
วันหยุดพักผอนมีความสําคัญโดยการผอนคลายความเครียด ซึ่งมักจะมีวันหยุดพักผอน
เพิ่มเติมจากวันหยุดประจําสัปดาห ซึ่งจะชวยใหบุคคลมีประสิทธิภาพในการทํางานที่ดีอยาง
สม่ําเสมอ
การหยุดพักผอนในชวงการทํางาน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 58
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับการทํางานทุกอาชีพ ครั้งนี้เพราะงานบางอยางนาเบื่อหนาย
และ ซ้ําซาก ลักษณะงานเหลานี้กอใหเกิดความเครียดขึ้น ปกติทั่วไปของคนจะไมสามารถทนอยู
ในสภาพการทํางานที่ตองทําอยูตลอดเวลาไดเกิน 4 ชั่วโมง จึงจําเปนตองมีการเปลี่ยนอิริยาบถใน
รูปของการหยุดพักในชวงการทํางาน
การทํางานเปนผลัด
การทํางานเปนผลัดหรือเปนกะนั้น เปนการใชเครื่องจักรใหคุมคาและมีการผลิตอยาง
ตอเนื่อง การทํางานกลางคืนนั้นเปนสิ่งไมพึงปรารถนา เพราะไมเหมาะสมกับรางกายและจิตใจ จาก
การศึกษา พบวาการทํางานเปนผลัดนี้เกี่ยวของกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุและการขาดงาน และ
พบวายังทําใหคนงานพึ่งพาสารกระตุนประสาทและสารเสพติดได
หลักการดานชีวกลศาสตร
หลักการดานชีวกลศาสตรไดศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะการเคลื่อนไหว การออกแรง ทาทีและ
จังหวะการทํางาน ความทนของรางกายตอการกระตุนความทนของรางกายตอความเครียดจาก
สภาพแวดลอมและลักษณะของเครื่องจักรเครื่องมือ ความสมดุลของแรงที่กระทําบนงานชิ้นใดชิ้น
หนึ่ง ความเร็วความเที่ยงตรงของความเคลื่อนไหวในการทํางาน
วัตถุประสงคของการออกแบบดานชีวกลศาสตรเพื่อตองการศึกษาสภาพหรือวิธีทํางาน
ของคนกับเครื่องจักร เพื่อเลือกหาวิธีหรือรูปแบบการทํางานอยางเหมาะสมทั้งปลอดภัยตอผูทํางาน
และทําใหมีประสิทธิภาพดีขึ้น ซึ่งจะนํามาซึ่งผลผลิตที่ดีขึ้นดวย
หลักการดานจิตวิทยาดานวิศวกรรมศาสตร
การจัดระบบควบคุมเครื่องจักรที่เหมาะสม
การจัดระบบควบคุมเครื่องจักรตองสัมพันธกับขนาดรูปราง ความสัมพันธกับงาน และการ
ตอบสนองของผูปฏิบัติงาน ในการจัดระบบควบคุมเครื่องจักรควรพิจารณาถึง ความเหมาะสมของ
ที่นั่ง ลักษณะของเครื่องวัด ขนาดและลักษณะของแผงปายสัญญาณ
การประยุกตหลักเออรโกโนมิกสในการออกแบบเพื่อการผลิต
การประยุกตหลักเออรโกโนมิกสเพื่อใชในงานอุตสาหกรรมนั้นมีจุดประสงคที่จะเพิ่ม
ผลผลิตในการทํางาน และตองการใหคนงานมีประสิทธิภาพดีมีความปลอดภัย ระบบการทํางาน
ระหวางคนกับเครื่องจักรนั้นถามีการวางแผนที่ดีก็จะทําใหคนงานมีความสะดวกสบาย คนงานก็
สามารถตั้งใจพิจารณาทํางานไดอยางละเอียดมีประสิทธิภาพ ความผิดพลาดก็จะนอยลง การทํางาน
กับเครื่องจักรนั้นเนนหลักการประหยัดพลังงานในการเคลื่อนไหวรางกาย เชน การจับตอง
เครื่องจักรตองมีความสะดวกรวดเร็ว มีความแนนอน การเคลื่อนไหวของแขนควรเปนไปอยาง
สม่ําเสมอ ควรใชมือในการทํางานมากกวาเทาหรือสวนอื่นในรางกาย วัสดุและเครื่องมือควรอยูใน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 59
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ตําแหนงที่สามารถเอื้อมถึงไดหรือไมตองออกแรงมากเกินไปในการหยิบจับ จะเห็นไดวาการ
ออกแบบดานเออรโกโนมิกสจะชวยใหทํางานไดสะดวกรวดเร็ว ปราศจากความเครียดในการ
ทํางาน นอกจากนั้นยังชวยใหผลผลิตในการทํางานเพิ่มขึ้นอีกดวย
การประยุกตหลักเออรโกโนมิกสในดานสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
การประยุ ก ต ห ลั ก เออร โ กโนมิ ก ส ใ นการตรวจความปลอดภั ย และสิ่ ง แวดล อ มที่ อ าจ
เกิดอันตรายตอคนในประเทศไทยภาคอชีวอนามัย คณะสาธารณะสุขศาสตร ไดใชแบบสํารวจ
เบื้องตนดานเออรโกโนมิกสกับโรงงานหลายประเภท เชนโรงงานประเภทสิ่งทอและโรงงาน
ประเภทหลอมโลหะ ขอมูลที่ไดจากการสํารวจเบื้องตนดานเออรโกโนมิกสสามารถใชเปนแนวทาง
ศึกษาวิจัยรวมทั้งหาวิธีปองกันอันตรายหรือแกไขปญหาเพื่อปองกันมิใหเกิดอุบัติเหตุและโรคที่เกิด
จากการทํางาน
วิธีการตรวจสอบดานเออรโกโนมิกสเบื้องตนเพื่อความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
นั้นเปนเทคนิคเฉพาะอยางหนึ่งสําหรับเจาหนาที่ความของปลอดภัยหรือเจาหนาที่อาชีวอนามัย
ประจํา โรงงานนั้น ผูที่ตรวจสอบหรือผูที่ใชหลักการนิ้จะตองไดรับการฝกและมีหลักวิชาการ
หรือความชํานาญงานมากพอที่จะใชในการตรวจ ตัวอยางขอมูลที่ตองการตรวจสอบเออรโกโน
มิกสเบื้องตนเพื่อความปลอดภัยในโรงงานสิ่งทอแหงหนึ่งไดแก การจัดทางออก การระบายอากาศ
การจัดเครื่องจักร การจัดเวลาพัก การจัดใหมีประตูหนีไฟ เปนตน
การตรวจสอบเออรโกโนมิกสเบื้องตน
รายละเอียดที่ตองการตรวจสอบเบื้องตนมีดังนี้
1. เนื้อที่ที่ตองการใชเพื่อทํางาน
1.1 ทางออก
1.2 ทางเดิน
1.3 เนื้อที่ในหองทํางาน
1.4 พื้นและชองเปด
1.5 บันไดขึ้น บันไดลง
1.6 ถนน และที่จอดรถ
1.7 การกําจัดขยะและของเสีย
2. ลักษณะการทํางาน
2.1 ทาทางการทํางาน
2.2 พื้นที่ทํางาน
2.3 เนื้อที่สําหรับขอศอก

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 60
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2.4 ที่นั่งและที่พักหลัง
2.5 ชองสําหรับหัวเขา
3. เครื่องบังคับ ปายสัญญาณตางๆ
3.1 เครื่องบังคับที่มือเอื้อมถึง
3.2 เครื่องใชบังคับ
3.3 เครื่องมือตาง
3.4 การมองปายสัญญาณ
3.5 การอานปายสัญญาณตางๆ ออก
3.6 การมองปายและสัญญาณรวมๆ กัน
4. สภาวะแวดลอมในการทํางาน
4.1 อุณหภูมิ
4.2 แสง
4.3 เสียง
4.4 ความสั่นสะเทือน
4.5 การเชื่อม การตัด และการใชกัมมันตภาพรังสี
4.6 ฝุน
4.7 กาซ และควัน
4.8 แท็งและที่จํากัดตางๆ
4.9 เครื่องปายกันอันตรายสวนบุคคล
4.10 การเคลื่อนยายวัตถุมีพิษ
5. ความหนักในการทํางาน
5.1 ความหนักของการใชกลามเนื้อในการทํางานอยูกับที่
5.2 ความหนักของการใชกลามเนื้อในการทํางานที่มีการเคลื่อนไหว

แบบฝกหัดบทที่ 6
1. ขอใดมิใชความหมายของคําวา เออรโกโนมิกส (Ergonomics)
‫א‬. วิทยาการที่วาดวยความสัมพันธระหวางคนกับสิ่งแวดลอมในการทํางาน
‫ב‬. วิทยาการที่วาดวยการออกแบบงานใหเหมาะสมกับคนที่ทํางานนั้น

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 61
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫ג‬. วิทยาการที่วาดวยการจัดสภาพสิ่งแวดลอมและสภาพการทํางานใหเหมาะสมกับ
บุคคล
‫ד‬. วิทยาการที่วาดวยการทํางานที่ไมทําลายสภาพแวดลอม
2. ขอใดมิใชองคประกอบของเออรโกโนมิกส
‫א‬. ดานกายวิภาคศาสตร (anatomy)
‫ב‬. ดานนิเวศวิทยา (ecology)
‫ג‬. ดานสรีรวิทยา (physiology)
‫ד‬. ดานจิตวิทยา (psychology)
3. การนําเขาเทคโนโลยีและเครื่องจักรจากยุโรปมาใชในประเทศไทยประสพปญหาอะไรในแง
เออรโกโนมิกส
‫א‬. เครื่องจักรไมทนตอสภาพอากาศประเทศไทย
‫ב‬. ช า งภายในประเทศไม ส ามารถซ อ มแซมได เ นื่ อ งจากความรู ค วามสามารถไม
เพียงพอ
‫ג‬. ขนาดไมเหมาะสมกับรางกายคนไทย ทําใหกลามเนื้อเมื่อยลาได
‫ד‬. ราคาคาบํารุงรักษาสูง
4. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับทาทางการทํางานของคนที่เหมาะสม
‫א‬. การทํ า งานบนพื้ น ที่ ไ ม มั่ น คงทํ าให ก ารออกแรงในการทํา งานเปน ไปได อย า ง
สะดวก
‫ב‬. การที่ใหรางกายพิงอยูกับบางสิ่งบางอยางในขณะออกแรงทําใหการทํางานไมมี
ประสิทธิภาพ
‫ג‬. งานในที่ ที่ มี ค วามร อ นสู ง มากจะต อ งช ว ยให มี ก ารขั บ เหงื่ อ ของร า งกายอย า ง
เหมาะสม
‫ד‬. ทาทางการทํางานที่ดีจะตองใหสายตาตองมองขึ้นขางบน ขางลาง หรือดานขางอยู
เสมอ

5. ขอใดมิใชหลักทั่วไปของทาทางสําหรับบุคคลที่ยืนทํางาน
‫א‬. ควรมีการเอนตัวไปขางหนาเมื่อมีการยกของหนักเพื่อรักษาสมดุลรางกาย
‫ב‬. ไมควรมีการหมุนลําตัวหรือเอียงไปขางๆ
‫ג‬. ไมควรเอื้อมมือสูงกวาระดับของไหล หรือต่ํากวาระดับมือหยิบฉวยไดในขณะยืน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 62
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫ד‬. ไมควรแหงนศีรษะหรือกมศีรษะมากเกินไป
6. การลดความเครียดที่เกิดจากความหนาวเย็นนั้นทําไดโดยวิธีใด
‫א‬. ลดกิจกรรมที่ทําลง
‫ב‬. ใหมีอากาศถายเทมากขึ้น
‫ג‬. ปรับปรุงทาการทํางานไมใหทอนแขนชิดลําตัว
‫ד‬. ลดความเร็วลมในที่ทํางาน
7. ระดับเสียงที่เปนอันตรายทําใหหูหนวกไดคือขอใด
‫א‬. 100 – 120 dBA ขึ้นไป
‫ב‬. 90-100 dBA ขึ้นไป
‫ג‬. 80-90 dBA ขึ้นไป
‫ד‬. 75-80 dBA ขึ้นไป
8. ระดับความสองสวางสําหรับการเขียนหรืองานประกอบชิ้นสวนควรใชแสงสวางประมาณเทาใด
‫א‬. 20 ลักซ
‫ב‬. 30 ลักซ
‫ג‬. 50 ลักซ
‫ד‬. 100 ลักซ
9. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับการทํางานเปนผลัดหรือเปนกะ
‫א‬. เปนการใชเครื่องจักรใหคุมคาและมีการผลิตอยางตอเนื่อง
‫ב‬. การทํางานเวลากลางคืนทําใหสภาพรางกายและจิตใจดี
‫ג‬. มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูง
‫ד‬. มีโอกาสที่คนงานจะติดสารเสพติดได
10. ขอใดมิใชขอมูลที่ตองการตรวจสอบเบื้องตนเพื่อความปลอดภัยในโรงงาน
‫א‬. การจดใหมีทางหนีไฟ
‫ב‬. การจัดทางเขา ทางออก
‫ג‬. การจัดการระบายอากาศ
‫ד‬. การจัดการปริมาณถังขยะ

บทที่ 7
โรคจากการทํางานในโรงงาน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 63
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ความหมายของโรคจากการทํางาน
โรคจากการทํางาน หมายความถึงโรคและการบาดเจ็บจากการทํางาน โดยแบงตาม
สาเหตุหรือลักษณะการเกิดโรค เปน 2 ประเภทคือ
1. โรคจากอาชีพ (Occupational Diseases) หมายถึงโรคหรือความ
เจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับคนทํางานโดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทํางาน ซึ่งอาการ
เจ็บปวยเกิดขึ้นกับผูปฏิบัติงานในขณะทํางานหรือหลังจากทํางานเปนเวลานาน และโรคบางอยาง
อาจเกิดภายหลังหยุดการทํางานหรือลาออกจากงานนั้นๆแลว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของสิ่งคุกคาม
สุขภาพ ปริมาณสารที่ไดรับ และโอกาสหรือวิธีการที่ไดรับ ตัวอยางของโรคที่สําคัญ เชน
โรคพิษตะกั่ว โรคซิลิ- โคสิส (โรคปอดจากฝุนหิน) โรคพิษสารทําละลายตาง ๆ
(Organic solvent toxicity) เปนตน ซึ่งสามารถพิสูจนไดในเชิงสาเหตุและ
ผลกระทบ(Cause-effect หรือ dose-response relationship)
กรณีตัวอยางคนงานชายรายหนึ่ง อายุ 20 ป ทํางานในโรงงานผลิตแบตเตอรี่รถยนต
ซึ่งมีสารตะกั่วเปนสารองคประกอบที่สําคัญในการผลิตแผนธาตุแบตเตอรี่ โดยมีความบริสุทธิ์ของ
ตะกั่วรอยละ 99.99 ทํางานมานาน 8 เดือน มาโรงพยาบาลดวยอาการปวดทองอยาง
รุนแรง (colicky pain) แพทยทําการตรวจรางกาย ตรวจความสมบูรณของเลือด
(Complete Blood Count; CBC) ตรวจหาระดับตะกั่วในเลือด ตรวจปสสาวะ
ทําการเอกซเรย และการตรวจอื่น ๆ ที่จําเปน พบวาผูปวยมีระดับตะกั่วในเลือด 71 µg%
(ไมโครกรัมตอเลือด 100 มิลลิลิตร) เมื่อวินิจฉัยแยกโรคแลวจึงวินิจฉัยวาผูปวยเปนโรคพิษ
ตะกั่ว ตองรักษาโดยการใชยาจําพวก dimercaprol (BAL) และยา CaNa2
EDTA เพื่อเรงการขับตะกั่วออกจากรางกาย กรณีโรคพิษตะกั่วในรายนี้ถือเปนโรคจากอาชีพ
เนื่องจากตะกั่วไมใชสารองคประกอบของรางกาย และพิสูจนไดวาผูปวยมีประวัติทํางานเกี่ยวกับ
การไดรับสารตะกั่ว ทําใหโรคพิษสารตะกั่ว ซึ่งโดยทั่วไปไมนาจะมีโอกาสเกิกโรคพิษตะกั่วหาก
ไมไดทํางงานเกี่ยวของกับสารตะกั่ว จึงเปนกรณีของความสัมพันธของสาเหตุและผงกระทบ
โดยตรง
2. โรคเนื่องจากงาน (Work-related diseases) หมายถึงโรคหรือความ
เจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับคนทํางาน โดยมีสาเหตุจากปจจัยหลายอยางประกอบกันและการทํางานเปน
ปจจัยหนึ่งของการเกิดโรค ทั้งนี้ปจจัยตาง ๆ ที่มีสวนทําใหเกิดโรค อาจไดแก พันธุกรรม
พฤติกรรมสุขภาพของคนทํางาน ทาทางการทํางาน ลักษณะหรือระบบงานที่ไมเหมาะสม
ตัวอยางเชน โรคปวดหลังจากการทํางาน โรคความดันโลหิตสูง เปนตน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 64
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

กรณีตัวอยางของโรคเนื่องจากงานที่เปนปญหาสําคัญในประเทศไทย คือโรคปวดหลัง
เนื่องจากหลังเปนสวนหนึ่งของรางกาย ในชีวิตประจําวันในทุกอริยาบถ ทั้งการเดิน ยืน นอน
นั่ง และการเปลี่ยนทาทางใดก็ตามยอมมีผลกระทบตอหลังทั้งสิ้น คนสวนใหญจึงมีปญหาโรค
ปวดหลังมากบางนอยบาง ซึ่งเมื่อมีการปรับเปลี่ยนทาทางใหเหมาะสมหรือมีการพักผอนที่ถูกตอง
ก็อาจหายปวดหลังไดเอง ในรายที่มีปญหาโรคปวดหลังเรื้อรังอาจมีปญหาพื้นฐานมาตั้งแตเกิดเชน
โรคหลังคด (Scoliosis) เปนตน หรืออาจเคยไดรับอุบัติเหตุแลวทําใหอาการคอยๆ เปนมาก
ขึ้น ในรายที่ตองทํางานหักโหมหรือยกของหนักมากหรือทํางานในภาวะที่รีบเรงยาวนาน มี
ความเครียดสูง หรือมีทาทางการทํางานที่ไมถูกตองทําใหเกิดอาการปวดหลังไดบอยหรือปวดหลัง
มากขึ้น ก็อาจถือเปนโรคปวดหลังจากการทํางาน
โดยสรุป การเกิดโรคจากการทํางาน ถามีปจจัยจากภายนอกมาทําใหเกิดโรค ก็ถือเปน
โรคจากอาชีพ เชน โรคพิษตะกั่ว (ตะกั่วไมใชสารองคประกอบของรางกาย) โรคซิลิโคสิส
(ฝุนหินเปนสารแปลกปลอมในปอด) เปนตน แตถามีสาเหตุจากปจจัยสวนตัวรวมกับสภาพและ
สิ่งแวดลอมการทํางานทําใหอาการของโรคมากขึ้น หรือเกิดความผิดปกติชัดเจนยิ่งขึ้น ก็ถือเปน
กลุมโรคเนื่องจากงาน เชน โรคปวดหลัง ซึ่งคนที่มีอริยาบถไมถูกตองมีแนวโนมปวดหลังได
งาย เมื่อตองมาทํางานรีบเรงหรือยกยายของหนัก ๆ ก็ยิ่งทําใหปวดหลังงายขึ้นหรือทําใหอาการ
ปวดหลังกําเริบมากขึ้น เปนตน
โดยทั่ ว ไปโรคจากอาชี พและโรคเนื่ องจากงานวาโรคจากการทํา งานหรือโรคจากการ
ประกอบอาชีพ ซึ่งกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมไดอาศัยอํานาจแหงพระราชบัญญัติเงิน
ทดแทน พ.ศ. 2537 ออกประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เมื่อวันที่ 2
กุมภาพันธ พ.ศ. 2538 ประกาศกําหนดชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน
หรือเนื่องจากการทํางานไว ดังตอไปนี้
1. โรคจากสารตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว
2. โรคจากสารแมงกานีสหรือสารประกอบแมงกานีส
3. โรคจากสารหนูหรือสารประกอบของสารหนู
4. โรคจากสารเบอริลเลียมหรือสารประกอบเบอริลเลียม
5. โรคจากสารปรอทหรือสารประกอบของสารปรอท
6. โรคจากโครเมียมหรือสารประกอบของโครเมียม
7. โรคจากนิกเกิลหรือสารประกอบของนิกเกิล
8. โรคจากสังกะสีหรือสารประกอบของสังกะสี
9. โรคจากแคดเมียมหรือสารประกอบของแคดเมียม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 65
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

10.โรคจากฟอสฟอรัสหรือสารประกอบของฟอสฟอรัส
11.โรคจากคารบอนไดซัลไฟด
12.โรคจากไฮโดรเจนซัลไฟด
13.โรคจากซัลเฟอรไดออกไซดหรือกรดซัลฟูริค
14.โรคจากในโตรเจนออกไซดหรือกรดไนตริก
15.โรคจากแอมโมเนีย
16.โรคจาคลอรีนหรือสารประกอบคลอรีน
17.โรคจากคารบอนมอนอกไซด
18.โรคจากเบนซินหรือสารประกอบเบนซิน
19.โรคจากฮาโลเจนซึ่งเปนอนุพันธของไฮโดรเจนกลุมน้ํามัน
20.โรคจากสารกําจัดศัตรูพืช
21.โรคจากสารเคมีอื่นหรือสารประกอบของสารเคมีอื่น
22.โรคจากเสียง
23.โรคจากความรอน
24.โรคจากความเย็น
25.โรคจากความสั่นสะเทือน
26.โรคจากความกดดันอากาศ
27. โรคจากรังสีไมแตกตัว
28.โรคจากรังสีแตกตัว
29.โรคจากแสงหรือคลื่นแมเหล็ก-ไฟฟาอื่น ๆ
30 โรคจากฝุน
31.โรคติดเชื้อจากการทํางาน
32.โรคอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทํางาน
จะเห็นวา ประกาศดังกลาวครอบคลุมปจจัยหรือสิ่งคุกคามสุขภาพตางๆที่อาจทําใหเกิด
โรคจากการทํางานไวอยางกวางขวาง จึงจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับลักษณะและอาการของโรคแต
ละชนิด และตองมีกระบวนการในการตรวจและวินิจฉัยวาคนทํางานเกิดโรคจากการทํางาน
หรือไม อะไรคือสาเหตุของการเกิดโรค โดยควรเนนการพัฒนาศักยภาพใหสามารถวินิจฉัยโรคได
แตเนิ่นๆ เพื่อจะไดรักษาไดทันกอนที่จะเกิดอาการมาก จนไมสามารถรักษาได รวมทั้งควรให
ความสําคัญกับการปองกันโรค และสงเสริมสุขภาพและการสรางเสริมสมรรถภาพคนทํางานดวย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 66
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ปจจัยที่ทําใหเกิดโรคจากการทํางาน
ปจจัยที่ทําใหเกิดโรคจากการทํางาน แบงเปน 3 ประเภท คือ
1. คนทํางานหรือผูประกอบอาชีพ
2. สภาพการทํางานและสิ่งแวดลอมในการทํางาน
3. สิ่งแวดลอมทั่วไป
1. คนทํางานหรือผูประกอบอาชีพ (Worker)
คนทํางานแตละคนมีโอกาสเกิดโรคไดมากหรือนอยแตกตางกันตามคุณสมบัติที่สําคัญ
คือ
1.1 คุณสมบัติพ้ืนฐาน เชน เพศ อายุ ความสูง ความอวน พันธุกรรม โรค
ประจําตัว ประสบการณทํางาน เปนตน คนที่เปนโรคหืดหอบมีโอกาสเปนโรครุนแรงขึ้นใน
สิ่งแวดลอมที่มีฝุนมาก คนอวนอาจเกิดโรคไดงายในสิ่งแวดลอมที่มีสารเคมีจําพวกที่ละลายไดดี
ในไขมัน เปนตน
1.2 พฤติกรรมทางสุขภาพของคนทํางาน คนที่เมาขณะขับรถยอมเกิดอุบัติเหตุไดงาย
คนที่ไมสวมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในบริเวณที่กําหนดใหใสอุปกรณปองกันฯ ยอมมี
โอกาสเกิดโรคหรือการบาดเจ็บงายกวา เปนตน
2. สภาพการทํางานและสิ่งแวดลอมในการทํางาน
2.1 สภาพการทํางาน (Working conditions) มีความหมายครอบคลุม
ระบบงาน กระบวนการทํางาน ระยะเวลาการทํางาน ลักษณะการทํางาน ทาทางการทํางาน
ปริมาณงาน การควบคุมกํากับงาน ตลอดจนสวัสดิการพื้นฐานตางๆ ในการทํางาน เชน การ
จัดระบบใหคนงานทํางาน ตอเนื่อง 4 ชั่วโมงโดยไมมีชวงพัก เปรียบเทียบกับการ
อนุญาตใหพนักงานมีชวงพัก 15 นาที หลังจากทํางานไป 2 ชั่วโมง พบวาพนักงาน
มีประสิทธิภาพในการทํางานดีขึ้นเมื่อมีชวงพัก ชวยลดความเครียดและความออนเพลียจากการ
ทํางานดวย
2.2 สิ่งแวดลอมในการทํางาน (Working environments) แบงเปน 4
กลุมคือ
2.2.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ (Physical factors) เชน
เครื่องจักรกล ความรอน ความเย็น แสง เสียง อุณหภูมิ ความชื้น ความสั่นสะเทือน
ความกดอากาศ ขนาดของที่ทํางาน และรังสีตางๆ เปนตน คนที่ทํางานในที่ที่มีเสียงดังจะมี
โอกาสเกิดหูตึงจากเสียงดัง และมีปญหาการสื่อสารทําใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 67
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

คนทํางานในที่รอน เหงื่อออกมากจะมีการ สูญเสียน้ําและเกลือแรจากรางกาย ทําให


ออนเพลีย และอาจรุนแรงถึงขั้นช็อกและเสียชีวิตได
2.2.2 สิ่งแวดลอมทางเคมี (Chemical factors) สารเคมีใน
สิ่งแวดลอมการทํางาน รวมถึงอากาศที่จําเปนในการหายใจ ซึ่งถาปริมาณออกซิเจนลดลงมาก
ผิดปกติ หรือมีกาซอันตรายอื่นๆปนเปอนมาก ก็อาจเปนอันตรายถึงตายได
2.2.3 สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ (Biological factors) หมายถึงเชื้อโรค
สัตว แมลง ตาง ๆ ซึ่งแมลงบางชนิดก็เปนพาหะนําโรคมาสูคน เชน ยุงลายนําโรค
ไขเลือดออก คนงานใน โรงงานชําแหละโค กระบือ อาจเกิดโรคแอนแทรกซ
(Anthrax) จากโค กระบือที่เปนโรค พยาบาลที่ดูแลผูปวยวัณโรคก็มีโอกาสเปนวัณโรค
เปนตน
2.2.4 สิ่งแวดลอมทางจิตวิทยาสังคม (Phychosocial factors) ความ
หมายถึง สัมพันธภาพระหวาง ผูรวมงาน นายจางกับลูกจาง ผูใหบริการกับ
ผูรับบริการ ตลอดจน ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม เปนตน การมีสัม
พันธภาพที่ดีตอกันยอมเสริมสรางขวัญกําลังใจและความรูสึกมั่นคงปลอดภัยในการทํางาน ทําให
การทํางานมีประสิทธิภาพดวย
3. สิ่งแวดลอมทั่วไป
สิ่งแวดลอมทั่วไป หมายถึงสิ่งแวดลอมนอกสถานประกอบการ บานเรือนหรือชุมชน
โดยรอบ ซึ่งสภาพทางภูมิศาสตรหรือที่ตั้งของสถานประกอบการที่เสี่ยงภัยตอการเดินทาง
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล ก็เปนปจจัยที่กระทบตอสุขภาพคนทํางานและคุณภาพของงาน เชน
สถานประกอบการแหงหนึ่งตั้งอยูในซอยเปลี่ยว หาไกลชุมชน คนงานหญิงที่เดินทางไปทํางาน
กะดึกเกิดปญหาการถูกจี้ปลน จนกลายเปนปญหาของการทํางาน เปนตน ในบางกรณี อาจ
ครอบคลุมถึงปญหาสิ่งแวดลอมของคนทํางานเอง เชน กรณีที่มีปญหาในครอบครัว มีการนอน
หลับพักผอนไมเพียงพอ เกิดความออนลา หรือขาดสมาธิขณะทํางาน ทําใหเกิดอุบัติเหตุจากการ
ทํางานไดงาย เปนตน
โรคจากการทํางานจากปจจัยทางกายภาพ
ปจจัยทางกายภาพในสิ่งแวดลอมการทํางาน ไดแก ความรอน ความเย็น ความชื้น
ความสั่นสะเทือน แสง เสียง รังสี ความกดอากาศ ขนาดที่ทํางาน รวมทั้งเครื่องมือเครื่องจักร
ตาง ๆ
การเกิดโรคจากปจจัยทางกายภาพขึ้นกับชนิด ปริมาณ วิธีการสัมผัสหรือไดรับ และ
ระยะเวลาของการสัมผัสกับปจจัยนั้น ๆ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 68
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

โรคจากปจจัยทางกายภาพที่สําคัญ คือ
1. โรคหูตึงจากเสียง ( Noise induced hearing loss หรือ Noise
induced deafness หรือ occupational hearing loss ) ผูที่ทํางานในที่ที่
มีเสียงดัง มักเสี่ยงตอการเกิดหูตึงหูหนวกจากการทํางาน ซึ่งไดแก ลูกจางในโรงงานอุสาหกรรม
ตาง ๆ โดยเฉพาะ โรงงานผลิตแกว โรงเลื่อย โรงงานสิ่งทอ โรงงานผลิตกระปอง เปนตน
นอกจากนี้ผูที่มีรายงานการเกิดหูตึงจากเสียงดังในอัตราสูง ไดแก ตํารวจจราจร นายทายเรือ
หางยาว นักจัดรายการดนตรี คนขับรถตุกตุก ฯลฯ
องคประกอบที่ทําใหหูตึงหรือประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง ไดแก
1. ความเขมของเสียง ( intensity ) มีหนวยเปน เดซิเบล (dB) เสียงที่
มีความเขมสูงหรือเสียงที่ดังมาก จะทําลายประสาทหูไดมาก
2. ความถี่ของเสียง (frequency) มีหนวยเปน เฮิรซต (Hz) เสียงที่มี
ความถี่สูงหรือเสียงแหลมจะทําลายประสามหูไดมากกวาเสียงที่มีความถี่ต่ํา
3. ระยะเวลาที่ไดยินเสียง (duration) การที่เสียงทําลายประสาทหูไดมาก
หรือนอย ขึ้นอยูกับพลังงานเสียงทั้งหมดที่เขาสูหูชั้นใน ถาสัมผัสเสียงเปนเวลานาน ประสาทหู
จะยิ่ง เสื่อมมาก
4. ลักษณะของเสียง (nature of sound) เสียงที่ดังติดตอ
(continuous noise) จะทําลายประสาทหูนอยกวาเสียงที่กระแทกไมเปนจังหวะ
(impulsive noise)
5. ความไวตอการเสื่อมของหู (individual susceptibility) เปน
ลักษณะเฉพาะของ แตละคนบางคนเสื่อมงาย บางคนเสื่อมยาก ผูปวยโรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง มักจะเกิดประสาทหูเสื่อมจากเสียงดังไดงาย
หูตึงจากเสียงดัง อาจเกิดเปนขั้นตอนดังนี้
1.1 หูตึงชั่วคราว (Temporary Threshold Shift; TTS)
เปนอาการหูตึงชั่วคราวในชวงของ auditory fatique เมื่อหยุดสัมผัสเสียงก็จะกลับเปน
ปกติ
1.2 หูตึงถาวร (Permanent Threshold Shift; PTS) เกิด
ในผูที่สัมผัสเสียงดังเปนเวลานาน จนเกิดความเสื่อมของเซลลขน (hair cell) อาจเริ่มตรวจ
พบความผิดปกติของการไดยินเสียงความถี่สูง แตยังรับฟงคําพูด (ความถี่ 500 – 2000
เฮิรซต) ไดเปนปกติ แลวจึงมีอาการหูตึงมากขึ้นโดยลําดับ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 69
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. โรคจากความรอน (Heat stress) ในสภาวะปกติ รางกายมีความรอนจาก


กระบวนการ เผาผลาญในเซลลและการไดรับความรอนจากแหลงภายนอก และควบคุม
อุณหภูมิของรางกายดวยกระบวนการถายเทความรอน กระบวนการถายเทความรอนของรางกาย
ประกอบดวย การแผรังสีความรอน (radiation) การพาความรอน (convection) การ
นําความรอน (conduction) การระเหยของน้ํา (evaporation) การเกิดโรคจาก
ความรอน มีอาการตั้งแตเล็กนอยจนรุนแรงถึงเสียชีวิตได
3. โรคจากความสั่นสะเทือน เปนโรคที่เกิดในผูที่ตองทํางานกับเครื่องมือเครื่องจักรหรือ
ลักษณะงานที่มีการสั่นสะเทือนของมือ แขน รางกาย เชน ผูที่ใชเครื่องมือขุดเจาะที่มีการสั้น
สะเทือน เกิดโรคนิ้วขาดหรือซีด (White finger phenomenon) ในคนขับ
รถบรรทุก อาจเกิดอาการกระดูกสันหลังอักเสบเรื้อรัง เปนตน
4. โรคที่เกิดจากการเปลี่ยนความกดอากาศ อาจเกิดความผิดปกติจากการเพิ่มขึ้นของ
ความกดอากาศในผูที่ดําน้ําหรือลงสูอุโมงคใตดิน เชน การทําเหมืองแร การขุดอุโมงครถไฟใต
ดิน เปนตน หรือความผิดปกติเนื่องจากความกดอากาศลดลงเมื่อขึ้นสูที่สูง เชน นักบิน ฯลฯ
5. โรคปวดหลัง เปนโรคที่มีสาเหตุจากปจจัยทางกายภาพ รวมกับทาทางการทํางานที่
ไม ถูกตองหรือบางทีก็ถือวาเปนปญหาทางการเออรโกโนมิกส (Ergonomics) คือ
ความไมสมดุลหรือไมสอดคลองระหวางคนกับงานซึ่งมีปจจัยที่สําคัญจากปญหาทางกายภาพ แตมี
ปจจัยเสริมอื่น ๆ
6. โรคจากปจจัยทางกายภาพอื่น ๆ เชน
- ฝุนที่ทําใหเกิดอาการระคายเคือง เกิดโรคตาตอลม ตอเนื้อ
- รังสีเอ็กซ (X-ray ที่อาจกอใหเกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว
- แสงจาที่ทําใหปวดตา
- แสงอุลตราไวโอเลตหรือแสงเหนือมวงอาจทําใหเปลือกตา เยื่อบุตา และกระจกตา
อักเสบได
- ความชื้นต่ํา ทําใหผิวแหง เกิดอาการระคายเคือง
- ความเย็นจัด ทําใหผิวหนังอักเสบ เกิด Chilblain เนื่องจากหลอดเลือด
แดงอักเสบ ทําใหผิวหนังมีอาการ บวม แดง เขียวคล้ํา จนเปนกอนนูนแดงคล้ํา และอาจ
เปนตุมน้ําเลือด เมื่อเปนเรื้อรังจะแตกเปนแผล สําหรับพวกที่กระทบความเย็นจัด จะทําให
เนื้อเยื่อสวนที่กระทบถูกความเย็นเกิดการแข็งตัว เม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดจับกลุมกัน เกิดการ
อุดตันของหลอดเลือด ทําใหเปนที่เรียกวา frostbite หรือโรคหิมะกัด และถาเปนมาก
ก็อาจเกิด raynaud’s phenomenon ได

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 70
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

โรคจากการทํางานจากปจจัยทางเคมี
สารเคมีในสิ่งแวดลอมการทํางานมีทั้งสิ่งที่รางกายตองการและไมตองการ สิ่งที่จําเปนคือ
อากาศที่หายใจ ซึ่งควรเปนอากาศที่บริสุทธิ์ ไมมีสารพิษเจือปน มีปริมาณออกซิเจนอยูระหวาง
รอยละ 19-22.5 ถาขาดออกซิเจนอาจมีผลตอรางกาย ทําใหเกิดภาวะ hypoxia มี
อาการมึนงง ออนเพลีย อาจเปนลม จนถึงเสียชีวิตได และในกรณีที่มีปริมาณออกซิเจนมากเกิน
โดยเฉพาะการหายใจดวยออกซิเจนบริสุทธิ์ติดตอกันนานเกิน 30 นาที จะทําใหเกิดพิษจาก
ออกซิเจนได (Oxygen toxicity) นอกจากนี้ รางกายตองการน้ําและอาหารที่เพียงพอ
รวมทั้งการกินอาหารใหเพียงพอและไดสัดสวนตามความตองการของรางกาย
สําหรับสารเคมีที่มีผลเสียตอรางกาย อาจมีผลตอรางกายดังนี้
1. การเกิดอาการระคายเคืองตาง ๆ เชน กาซบางชนิดในบรรยากาศการทํางาน ทํา
ใหเกิดอาการแสบตา แสบปากและจมูก บางชนิดอาจเกิดการระคายเคืองที่ผิวหนัง มีอาการปวด
แสบ ปวดรอน หรือเปนผื่นคันได
2. การมีฤทธิ์กัดกรอน มักพบในสารเคมีที่มีความเปนดางหรือกรดเขมขน
3. การเกิดปฏิกิริยาภูมิไวเกิน หรือโรคภูมิแพตาง ๆ สารเคมีหลายชนิดเมื่อสัมผัส
อาจทําใหเกิดโรคภูมิแพ ซึ่งแสดงออกในรูปการเกิดอาการคันตามผิวหนังหรือเปนมากจนเกินเปน
ลมพิษ (urticaria) สารเคมีหลายชนิดทําใหเกิดผื่นแพสัมผัส (allergic contact
dermatitis) บางชนิดอาจทําใหเกิดโรคหืดจากการทํางาน (Occupational
Asthma) ในสิ่งแวดลอมที่มีสารนั้น ๆ ปนเปอนเปนเวลานาน เชน ในงานหลอมอลูมินัม
การไดรับสาร isocyanate, formaldehyde แปงทําขนมตาง ๆ เปนตน ซึ่งมักจะเกิด
อาการหอบหืดภายหลังสัมผัสสารดังกลาวเกินกวา 1 เดือน
4. การเกิดพิษตออวัยวะตาง ๆ อาจเกิดพิษเฉียบพลันหรือพิษเรื้อรัง ซึ่งจะมีอาการหรือ
การเกิดโรครุนแรงมากหรือนอยขึ้นกับองคประกอบ ดังตอไปนี้
4.1 คุณสมบัติของสารเคมีแตละชนิด บางชนิดแมเพียงปริมาณเล็กนอยอาจเกิดพิษ
รุนแรง แตบางชนิดอาจมีความเปนพิษตอรางกายนอย
4.2 ลักษณะทางกายภาพของสารนั้น ๆ สารบางอยางอาจไมเปนอันตรายใน
สภาพหนึ่งแตเปนอันตรายมากในอีกสภาพหนึ่ง เชน แอสเบสตอส ในสภาพเปนฝุนฟุงกระจาย
ถาหายใจเอาเสนใยแอสเบสตอสแมเพียงเสนใยเดียวเขาสูปอด ก็อาจเกิดโรคแอสเบสโตสิสจาก
การเกิดพังผืดในเนื้อปอดได แตระยะฟกตัวของโรคมักนานเกิน 20 ป ซึ่งมักตรวจพบภายหลัง
จากที่ ผูปวยคนนั้นยายงานหรือเกษียณจากการทํางานแลว แตแอสเบสตอสในสภาพที่ผาน
กระบวนการหลอมบดอัดจนเปนแผนกระเบื้องมุงหลังคา จะมีความคงตัว ไมเปนอันตราย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 71
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ยกเวนวามีการไปเลื่อยหรือตัดหรือกระแทกใหมีการแตกหรือบิ่น ก็ทําใหแอสเบสตอสฟุงกระจาย
เกิดเปนอันตรายได จึงเปนปญหาสําคัญในคนงานกอสราง
4.3 วิธีการไดรับสารเคมี สารเคมีอาจอยูในรูปของแข็ง ของเหลว หรือกาซ
โอกาสที่จะไดรับสารเคมีจากการทํางานจึงมักเกิดจากการสัมผัสโดยตรงในขณะทํางาน ซึ่งบาง
ชนิดในรูปของเหลวหรคือกาซอาจซึมผานผิวหนัง เชน สารเคมีในกลุมสารทําละลาย
(Organic solvents) สารเคมีจํานวนมากเขาสูรางกายโดยการหายใจ (inhalation)
เชน ฝุนหิน (silica dust) ขนาดเสนผาศูนยกลางนอยกวา 10 ไมครอน
(ไมโครเมตร) สามารถเขาสูทางระบบหายใจได ถาขนาดเล็กกวา 5 ไมครอน สามารถเขาไป
ในถุงลมและทําใหเกิดพังผืดในเนื้อปอด จนทําใหเกิดมะเร็งปอดได ซึ่งสารบางอยางเมื่อหายใจ
เขาไปในทางเดินหายใจจะมีเยื่อเมือกขับเมือกออกมาจับและ cilia หรือเซลลขนจะชวยพัดโบก
สารนั้นขึ้นมาจากหลอดลมจนถึงสวนตนของทางเดินอาหารแลวกลืนเขาสูทางเดินอาหาร เกิดการ
ดูดซึมผานระบบทางเดินอาหาร หรือในกรณีคนทํางานที่ขาด สุขอนามัยสวนบุคคลที่ดี
ไมมีการลางมือใหสะอาดกอนกินขาว หรือชอบสูบบุหรี่ขณะทํางาน ก็อาจไดรับสารเคมีผานเขาสู
รางกายโดยการกินอาหารที่ปนเปอนสารพิษดวย
4.4 ระยะเวลาที่ไดรับ การสัมผัสหรือไดรับสารเคมีจากการทํางานติดตอกัน
เปนเวลานาน ยอมมีโอกาสเกิดโรคมากกวาและรุนแรงกวา
4.5 ปริมาณที่ไดรับ สารเคมีบางชนิดแมจะมีพิษนอยแตถาไดรับในปริมาณมาก
ๆ ก็อาจเกิดโรคได
4.6 จํานวนชนิดและประเภทของสารเคมีที่ไดรับในชวงเดียวกัน สารเคมีแตละ
ชนิดมีคุณสมบัติแตกตางกัน เมื่ออยูในที่เดียวกันก็อาจเกิดปฏิกิริยาเพิ่มฤทธิ์ หรือบวกฤทธิ์กัน
(additive reaction) ทําลายหรือลดความเปนพิษลง (antagonistic reaction)
หรือเสริมฤทธิ์ใหมีความรุนแรงหรือความเปนพิษเพิ่มขึ้นหลายเทา (synergistic
reaction)
5. การเกิดมะเร็งจากสารเคมี มีรายงานเกี่ยวกับการเกิดมะเร็งเนื่องจากสารเคมีในการ
ทํางานตาง ๆ เชน
5.1 มะเร็งผิวหนัง จากการไดรับสารหนู เขมา น้ํามันดิน สาร PCB เปน
ตน
5.2 มะเร็งปอด จาการไดรับ ฝุนหิน เสนใยแอสเบสตอส โครเมียม นิกเกิล
แคดเมียม poly- cyclic aromatic hydrocarbon (PAH) เปนตน

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 72
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

5.3 มะเร็งกระเพาะปสสาวะ จาก β -Naphthalamine ในสียอมผา


polycyclic aromatic hydrocarbon ในอุตสาหกรรมผลิตอลูมินัม เหล็ก และ
การเผาถาน เปนตน
5.4 มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) จากเบนซีน (Benzene) เอธิ
ลีนออกไซด (Ethylene oxide) magenta เปนตน
5.5 มะเร็งตับ จากสารไวนิลคลอไรด (Vinyl Chloride)
5.6 มะเร็งของอวัยวะอื่นๆ เชน มะเร็งอัณฑะ มะเร็งในโพรงจมูก มะเร็งใน
ไซนัส เปนตน
ปญหาโรคจากการทํางานเนื่องจากสารเคมีที่สําคัญในประเทศไทย ไดแก
1. กลุมโรคปอดนิวโมโคนิโอสิส (Pneumoconiosis) เปนโรคที่เกิดจากการ
หายใจเอาฝุน ตาง ๆ เขาไปในปอด แลวทําใหเกิดอาการปอดอักเสบหรือเกิดพังผืดในเนื้อ
ปอดตามมา ฝุนขนาดเล็กที่มีเสนผาศูนยกลางนอยกวา 10 ไมครอนจะสามารถเขาสูหลอดลม
สวนฝุนขนาดเล็กกวา 5 ไมครอนจะเขาไปในถุงลม ทําใหเกิดโรคปอดชนิดตาง ๆ ไดเชน
- ฝุนเหล็กหรือฝุนซิลิกา (silica dust) ทําใหเกิดโรคซิลิโคสิส
(Silicosis) หรือโรคปอดฝุนหิน
- ฝุนเหล็ก (iron dust) ทําใหเกิดโรคซิดเดอโรสีส (Siderosis)
- เสนใยแอสเบสตอส (acbestos fiber) ทําใหเกิดโรคแอสเบสโตสีส
(Asbestosis)
2. กลุมโรคจากสารตัวทําละลายตางๆ เชน โทลูอีน (Toluene) ไวนิลคลอไรดโม
โนเมอร (Vinyl chloride monomer; VCM สไตรีน (styrene) เปนตน
3. กลุมโรคผิวหนังตาง ๆ
โรคจากการทํางานจากปจจัยทางชีวภาพ
ปจจัยทางชีวภาพ หมายถึง พืช สัตว แมลงนําโรค และเชื้อโรคชนิดตาง ๆ ไดแก
แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และพาราไซด
กลุมอาชีพที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคติดเชื้อ คือผูที่ทํางานในวงการแพทยเนื่องจาก
ตองเกี่ยวของกับผูปวยโรคติดเชื้อตาง ๆ จึงอาจไดรับเชื้อโดย
1. การสัมผัสทางผิวหนัง ซึ่งมีโอกาสสูงจากถูกทิ่มหรือตําโดยเข็มฉีดยา (needle
stick injury) หรือถูกบาดจากมีดผาตัด ทําใหเสี่ยงตอการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
(Hepatitis B Virus, HBV infection) ไวรัสตับอักเสบซี (HCV) และโรค

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 73
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ภูมิคุมกันบกพรองหรือโรคเอดส (Acquired Immune Deficiency Syndrome’


AIDS) จากเชื้อ Human Immunodeficiency Virus (HIV) เปนตน
2. ทางการหายใจ เชน การติดเชื้อไขหวัด หัดเยอรมัน (Rubella) วัณโรคปอด เปน
ตน
3. ทางการกิน ในกรณีที่สุขอนามัยสวนบุคคลไมดี ก็อาจไดรับเชื้อโดยการกิน ซึ่งเคยมี
รายงานการเกิดโรคในคนงานโรงซักฟอกของโรงพยาบาลแหงหนึ่งที่รวบรวมผาเปอนอุจจาระของ
ผูปวยโรคอุจจาระรวงไปซัก แลวลางมือใหสะอาด หยิบอาหารเขาปาก เกิดโรคอุจจาระรวงในกลุม
รวม 3 คน
นอกจากนี้ ในกลุมคนที่ทํางานเกษตรกรรม เชน ทํานา ทําสวน ทําไร ปาไม ประมง
เลี้ยงสัตว ก็เปนกลุมที่มีโอกาสเกิดโรคจากสัตวและแมลงนําโรค รวมทั้งเชื้อโรคตาง ๆ เชน
1. โรคปอดชาวนาที่เกิดจากเชื้อ Faenia rectivirgula ในฝุนฟางขาว ทําใหเกิด
อาการไข ไอ หอบเหนื่อย จากลักษณะการเกิดโรคปอดอักเสบภูมิ ไวเกิน
(Hypersensitivity pneumontis) ซึ่งเมื่อหยุดสัมผัสสารกอโรค อาการจะดีขึ้นจน
กลับเปนปกติ แตถายังไดรับสารนั้นตอเนื่องก็จะมีอาการปอดอักเสบรุนแรงจนเกิดพังผืดในเนื้อ
ปอดได
2. โรคปอดชานออย (Bagassosis) จากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราที่ปนเปอนในฝุน
ชานออย (Moldy sugar can fiber) ทําใหเกิดโรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน
3. โรคมาลาเรีย จากเชื้อในกลุม Plasmodium falciparum (PF) และ
Plasmodium species อื่น ๆ โดยมียุงเปนพาหนะนําโรค พบมากในกลุมคนงานไรออย
แถบจังหวัดกาญจนบุรี
4. งูกัด มีรายงานวาผูเสียชีวิตเนื่องจากงูกัด ประมาณปละ 30,000 รายในทวีปเอเซีย
ประมาณแหงละ 10,000 รายในทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต
5. โรคแอนแทรกซหรือโรคกาลี จากเชื้อ Bacillus antracis ซึ่งเปนเชื้อแบคทีเรีย
ชนิดแทง พบในพวกที่มีอาชีพชําแหละเนื้อวัว เนื้อควาย รวมทั้งในอุตสาหกรรมฟอกหนังและ
อุตสาหกรรมเกี่ยวของกับขนแกะ กรณีสัมผัสถูกหนังหรือเนื้อของสัตวที่เปนโรค จะเกิดเปนแผล
บริเวณที่สัมผัส มีลักษณะเปนตุมแดงคัน แลวกลายเปนตุมใส และบุมตรงกลางดูคลายรอยบุหรี่จี้
เรียกวา Cutaneous Anthrax กรณีที่เชื้ออยูในที่แหงแลงจะสรางสปอร ทําใหทนแลงและ
ทนความรอนไดสูง ถาหายใจเอาสปอรเขาไปในปอด สปอรจะกลับเจริญและกอใหเกิดโรคปอด
บวม (Inhalation Anthrax) ซึ่ง รุนแรงถึงเสียชีวิตได ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีรายงาน
การเกิดโรคแอนแทรกซในเจาหนาที่ไปรษณียหลายแหง เนื่องจากผูกอการรายสงสปอรของเชื้อ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 74
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

แอนแทรกซทางจดหมาย ซึ่งหากวินิจ ฉั ยไดเร็ว ก็สามารถรักษาด ว ยยาปฏิชีว นะจํา พวก


Doxycycline ขนาด 100 มิลลิกรัม 1 เม็ด เชาเย็น ติดตอกันนาน 7-10 วัน ใน
กรณีติดเชื้อที่ผิวหนัง และนาน 60 วันในกรณีไดรับเชื้อโดยการหายใจ
6. โรคพิษสุนัขบา มีรายงานการเกิดในผูที่ทํางานปศุสัตวที่เลี้ยงลูกดวยนม เชน สุนัข
แมว วัว ควาย เปนตน เชื้อ Rabies เปนเชื้อไวรัสที่ยังไมมียารักษา เมื่อถูกสัตวกัดหรือขวน จะ
มีระยะฟกตัวประมาณ 2-8 สัปดาหกอนเกิดโรค โดยจะเริ่มมีอาการดื่มน้ําไมได เมื่อดื่มน้ําจะมี
อาการหดเกร็งของหลอดอาหาร เวลาถูกลมพัดก็จะมีอาการสะดุง ถามีอาการโรคเกิดขึ้นแลวตอง
ตายทุกราย แตสามารถปองกันไดโดยการฉีดยาปองกันการเกิดโรคตั้งแตถูกสัตวกัดหรือขวนในวัน
แรก แลวฉีดยาตอตามที่หมอนัดอยางเครงครัดจนครบ 5 เข็ม
7. โรคเลปโตสไปโรลิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู เปนอีกโรคหนึ่งที่มี
รายงานการระบาดมากในประเทศไทยในชวงหลายปมานี้ เกิดจากเชื้อ Leptospira ซึ่งเปนเชื้อ
spirochete ชนิดหนึ่งที่มีหนูเปนพาหะนําโรค โดยปนเปอนมากับน้ําที่หนูไปฉี่ไว เชื้อจะวาย
ไปไชเขาเทาของผูที่ไปแชน้ํา เมื่อเขาสูรางกายจะมีระยะฟกตัวประมาณ 10 วัน แลวเริ่มมีอาการ
ไข ออนเพลีย ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ตามมาดวยอาการตัวเหลืองตาเหลือง เมื่อเปนมากจะเกิดอาการ
ตับวายจนเสียชีวิตได
8. โรคบาดทะยัก เปนอีกโรคหนึ่งที่พบไดบอยในคนทํางานที่เกิดแผลสกปรก เชื้อ
Clostridium tetani จะเขาสูแผล มีระยะฟกตัวประมาณ 2 วัน ถึงหลายเดือน แลวจึงมี
อาการเกร็งกระตุก และอาจรุนแรงถึงตายได ปองกันโดยการฉีดวัคซีนปองกันบาดทะยักใหครบ
ตามกําหนด
ในกลุมอาชีพอื่น ๆ ก็อาจมีโอกาสของการเกิดโรคติดเชือ้ ได เชน ชางเสริมสวย เจาหนาที่
ชันสูงจน คนงานกอสราง หญิงบริการ ฯลฯ และยังอาจมีการเกิดโรคจากการติดเชือ้ ชนิดอื่น ๆ อีก
ตามแตโอกาสของการรับเชื้อในแตละกลุม อาชีพ

แบบฝกหัดบทที่ 7
1. โรคซิลิโคสิส เปนโรคที่เกิดจากสารใด
‫א‬. ตะกั่ว
‫ב‬. แคดเมียม
‫ג‬. ปรอท
‫ד‬. ฝุนหิน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 75
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. อาการของโรคที่เกิดจากอาชีพจะแสดงอาการเมื่อใดนัน้ ขึ้นอยูกับสิง่ ใด
‫א‬. ประเภทของสิง่ คุกคาม
‫ב‬. ปริมาณสารที่ไดรับ
‫ג‬. โอกาสหรือวิธีการที่ไดรับ
‫ד‬. ถูกทั้ง 3 ขอ
3. ปจจัยที่ทําใหเกิดโรคจากการทํางาน คือขอใด
‫א‬. คนทํางานหรือผูประกอบอาชีพ
‫ב‬. สภาพการทํางานและสิ่งแวดลอมในการทํางาน
‫ג‬. สิ่งแวดลอมทัว่ ไป
‫ד‬. ถูกทุกขอ
4. ขอใดไมใชสภาพการทํางาน
‫א‬. ทาทางการทํางาน
‫ב‬. ลักษณะการทํางาน
‫ג‬. ขนาดของที่ทํางาน
‫ד‬. ระยะเวลาการทํางาน
5. นายจางกับลูกจาง จัดเปนสิง่ แวดลอมในการทํางานกลุมใด
‫א‬. สิ่งแวดลอมทางจิตวิทยาสังคม
‫ב‬. สิ่งแวดลอมทางกายภาพ
‫ג‬. สิ่งแวดลอมทางเคมี
‫ד‬. สิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

6. ขอใดไมใชผูทมี่ ีรายงานการเกิดหูตึงจากเสียงดังในอัตราสูง
‫א‬. ตํารวจจราจร
‫ב‬. พยาบาล
‫ג‬. นายทายเรือหางยาว
‫ד‬. คนขับรถตุกตุก
7. ขอใดคือกระบวนการถายเทความรอนของรางกาย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 76
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫א‬. การแผรังสีความรอน
‫ב‬. การพาความรอน
‫ג‬. การระเหยของน้ํา และ การนําความรอน
‫ד‬. ถูกทั้ง 3 ขอ
8. คนขับรถบรรทุกที่เกิดอาการกระดูกสันหลังอักเสบเรื้อรัง เกิดจากสาเหตุใด
‫א‬. ความสั่นสะเทือน
‫ב‬. ความรอน
‫ג‬. เสียงดัง
‫ד‬. ปวดหลัง
9. โรค raynaud’s phenomenon เกิดจากปจจัยใด
‫א‬. ความรอน
‫ב‬. ความเย็น
‫ג‬. ความชื้น
‫ד‬. รังสีเอ็กซ
10. กลุมอาชีพที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคติดเชื้อ ไดรับเชื้อโดยทางใด
‫א‬. การสัมผัสทางผิวหนัง
‫ב‬. ทางการหายใจ
‫ג‬. ทางการกิน
‫ד‬. ถูกทุกขอ

บทที่ 8
อัคคีภัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 77
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ความหมายของคําวาไฟ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคําวาไฟวา
“ไฟ เปนผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งกอใหเกิดความรอน แสงสวาง และเปลว คือ กลุมกาซที่กําลัง
ลุกไหม สิ่งตางๆ ได”
ไฟเกิดจากการสันดาปหรือการเผาไหม ซึ่งเปนผลจากการทําปฏิกริยาของสารที่เปน
เชื้อเพลิงกับสารชวยใหเกิดการจุดติดซึ่งก็คือออกซิเจนที่อาจอยูในรูปอิสระหรือออกซิเจนจาก
สารประกอบแลว ทําปฏิกิริยาอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความรอนขึ้นมาอยางมากมาย มีแสงสวาง
และมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของเชื้อเพลิงตางไปจากเดิม ตัวอยางเชน การเผาไหมของแผนไม
เปน การทําปฏิกิริยาของเชื้อเพลิงคือไมกับออกซิเจนในอากาศ ทําใหเกิดเปลวไฟ ความ
รอน แสงสวาง และแผนไมก็จะแปรสภาพกลายเปนเถาถาน
องคประกอบการเกิดไฟ
ไฟเกิดขึ้นไดตองมีองคประกอบครบทั้ง 3 อยาง ที่เรียกวา สามเหลี่ยมของไฟ อัน
ไดแก ความรอน (Heat) เชื้อเพลิง (Fuel) และออกซิเจน (Oxygen) มารวมกัน
อยางพอเหมาะ และเมื่อเริ่มมีการสันดาปหรือการเผาไหมเกิดขึ้นแลว การลุกติดของไฟอยาง
ตอเนื่องหรือที่เรียกวา “การเกิดเพลิงไหม” นั้น จะตองมีองคประกอบที่ 4 คือ ปฏิกริยา
ลูกโซของการเผาไหม (Chemical Chain Reaction)
เชื้อเพลิง
สถานะของเชื้อเพลิง สารที่เปนเชื้อเพลิงที่พบในงานอุตสาหกรรมตาง ๆ อาจอยูใน
สถานะดังนี้
1. ของแข็ง ไดแก ไม กระดาษ พลาสติก ผลิตภัณฑยาง เสื้อผาและเสนใย
ตลอดจนฝุนละอองและเศษผงตาง ๆ
2. ของเหลว ไดแก น้ํามันเตา น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น สีน้ํามัน สีพน และ
สารทําละลายตาง ๆ เชน ทินเนอร แอลกอฮอล โทลูอีน เปนตน
3. กาซ เชน กาซเอททิลลีน และกาซโพรไพรีนที่เปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตเม็ด
พลาสติกตาง ๆ รวมทั้งสารเชื้อเพลิงที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี
คุณสมบัติของเชื้อเพลิง
1. จุดวาบไฟ (Flash Point)
2. อุณหภูมิติดไฟ (Ignition Temperature)
3. อุณหภูมิติดไฟไดเอง (Auto- Ignition Temperature)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 78
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. เปอรเซ็นตสวนผสมของเชื้อเพลิงในอากาศ (Pereentage Mixture) คือ


ปริมาณไอของสารเชื้อเพลิงที่แขวนลอยหรือผสมอยูในอากาศ
5. ความสามารถในการละลายน้ําได (Water Solubility)
6. ความถวงจําเพาะ (Specific Gravity)
7. ความหนาแนนไอ (Vapor Density)
ความรอน
ความรอนเปนองคประกอบที่สองของการติดไฟ เพราะเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหเชื้อเพลิงมี
อุณหภูมิถึงจุดวาบไฟ (ถาจุดวาบไฟสูงกวาอุณหภูมิบรรยากาศ)และเพื่อใชในการจุดไอที่ไวไฟให
ติดไฟ
ออกซิเจน
เปนกาซที่ชวยใหติดไฟ
ปฏิกริยาลูกโซของการเผาไหม
เปนปฏิกริยาทางเคมีที่จะทําใหไฟลุกลามอยางตอเนื่อง ซึ่งจะดําเนินตอหรือจะหยุดชะงัก
ขาดชวงได ถาสัดสวนของไอเชื้อเพลิงกับออกซิเจนแปรเปลี่ยนไป
การลุกไหมจะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจนกระทั่ง
1. เชื้อเพลิงหมดไป
2. สัดสวนของออกซิเจนกับไอเชื้อเพลิงไมเหมาะสม
3. อุณหภูมิการลุกไหมลดลง ทําใหอุณหภูมิของเชื้อเพลิงลดต่ําลงไมสามารถติดไฟได
4. ปฏิกริยาลูกโซถูกตัดตอนลง ทําใหการหนุนเนื่องหยุดชะงัก การลุกไหมก็จะสิ้นสุด
ลง
ดังนั้น ในการดับเพลิงตองทําการปดกั้นหรือยับยั้งองคประกอบของการเกิดไฟสวนใดสวน
หนึ่งหรือหลายสวนออกจากกระบวนการเผาไหมดังกลาว
ประเภทของไฟ
การจัดประเภทของไฟนั้น จัดตามชนิดของเชื้อเพลิงและการกําหนดสารดับเพลิงของไฟ
แตละชนิด ซึ่งสมาคมปองกันอัคคีภัยแหงชาติของสหรัฐอเมริกา (National Fire
Protection Association; N.F.P.A.)ไดแบงไฟออกเปน 4 ประเภท คือ
1. ไฟประเภท A (Class A) หมายถึง ไฟที่เกิดจากวัสดุติดไฟโดยทั่วไป เชน
ไม ผา กระดาษ ยางและพลาสติก เปนตน สัญลักษณของไฟประเภทนี้ เปนรูปสามเหลี่ยม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 79
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ดานเทา ภายในมีอักษร “A” และมีสีของพื้นที่สามเหลี่ยมเปนสีเขียว การดับไฟประเภท


A นิยมดับดวยวิธีการลดความรอน โดยการใชน้ํา
2. ไฟประเภท B (Class B) หมายถึง ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของเหลวและ
กาซ เชน น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันพืช สารทําละลาย แอลกอฮอล จาระบี โพรเพน
น้ํามันผสมสี น้ํามัน ชักเงา น้ํามันดิน กาซหุงตมและกาซติดไฟตาง ๆ เปนตน
สัญลักษณของไฟประเภทนี้ เปนรูป สี่เหลี่ยมดานเทา ภายในมีอักษร “B” และมีสีของ
พื้นที่สี่เหลี่ยมเปนสีแดง การดับไฟประเภท B นิยมดับดวยวิธีการกันหรือแยกออกซิเจน เชน
การใชโฟมคลุมเชื้อเพลิง และอีกวิธีหนึ่งคือ การแยกเชื้อเพลิง เชน การปดวาลว เปน
ตน
3. ไฟประเภท C (Class C) หมายถึง ไฟที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา ซึ่งยังมิไดมี
การตัดกระแสไฟฟาออก ไฟประเภทนี้จึงมีกระแสไฟฟาอยูดวยเปนตน สัญลักษณของไฟ
ประเภทนี้ เปนรูปวงกลม ภายในมีอักษร “C” และมีสีของพื้นที่วงกลมเปนสีฟา ไฟที่เกิดกับ
อุปกรณไฟฟานั้น หากทําการตัดกระแสไฟฟาแลว ไฟที่เกิดขึ้นก็คือไฟประเภท A B และ
D นั่นเอง การดับไฟประเภทนี้จึงนิยมใชถังดับเพลิงอเนกประสงค (Multi Purpose)
ซึ่งเปนผงเคมีแหงหรือใชคารบอนไดออกไซดก็ได
4. ไฟประเภท D (Class D) หมายถึง ไฟที่เกิดจากโลหะที่ลุกไหมได วัตถุ
ระเบิด และสารที่ทําปฏิกริยากับน้ําได ซึ่งโลหะเหลานี้จะมีลักษณะเปนผง เชน แมกเนเซียม
เซอรโคเนียม โซเดียม โปแตสเซียม และ แอมโมเนียมไนเตรท เปนตน สัญลักษณของไฟ
ประเภทนี้ เปนรูปดาว ภายในมีอักษร “D” และมีสีของพื้นที่ดาวเปนสีเหลือง การดับไฟ
ประเภท D นิยมดับดวยการกลบดวยทรายแหงหรือขี้เถาแหง แตถาหากใชทรายหรือขี้เถาที่มี
ความชื้น จะทําใหเกิดการ ลุกไหมที่รุนแรงมากขึ้น สารดับเพลิงทั่วไปจะใชไมไดผลในการ
ดับเพลิง อยางไรก็ตามไดมีการพยายามคนควาเพื่อหาสารดับเพลิงที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาใช
งาน เชน ผงเคมีแหงชนิด Purple - K และ Super – K เปนตน
สาเหตุและผลกระทบจากอัคคีภัย
สาเหตุของอัคคีภัย
สาเหตุของการเกิดไฟที่สงผลใหมีการลุกลามจนกลายเปนอัคคีภัยในสถานประกอบการ
และอาจสรางความเสียตอสิ่งแวดลอมหรือชุมชนใกลเคียงดวยนั้น อาจเกิดขึ้นไดใน 2 ลักษณะ
ใหญคือ เกิดขึ้นโดยความตั้งใจ และเกิดขึ้นจากความผิดพลาด บกพรอง ขาดความระวัง หรือ
ไมไดตั้งใจ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 80
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ผลกระทบจากอัคคีภัย
เมื่อเกิดเพลิงไหมขึ้นในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการ ยอมเกิดผลกระทบ
ตามมามากมาย โดยอาจทําใหบุคคลอื่นที่อยูในเหตุการณไดรับอันตราย บาดเจ็บและเสียชีวิต
นอกจากนี้ยังกอใหเกิดความสูญเสียตอธุรกิจของสถานประกอบการและเศรษฐกิจของประเทศดวย
ดังนี้
1. ผลกระทบตอความปลอดภัยของชีวิต (Life Safety)
2. ผลกระทบตอความปลอดภัยของทรัพยสิน (Property Safety)
3. ผลกระทบตอความปลอดภัยของธุรกิจ (Business Safety)
4. ผลกระทบตอความปลอดภัยของสิ่งแวดลอม (Environmental Safety)
หลักการและแนวทางทางปองกันอัคคีภัย
หลักการปองกันอัคคีภัย
ต อ งป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด การรวมตั ว ขององค ป ระกอบของการเกิ ด ไฟหรื อ ทํ า การแยก
องคประกอบเหลานั้นออกจากกัน เพื่อมิใหเกิดการลุกไหมและติดตอลุกลาม โดยปฏิบัติตาม
หลักการดังนี้
1. การจัดเก็บเชื้อเพลิง หรือวัสดุที่อาจทําใหเกิดอัคคีภัยไดงาย โดยแยกใหหางจาก
แหลง ความรอนหรือประกายไฟที่อาจทําใหเกิดการจุดติดได
2. การแยกหรือปองกันแหลงความรอนที่เปนเหตุใหเกิดการคุไหม ความรอนหรือ
ประกายไฟที่เกิดขึ้นนี้อาจมาจากกระบวรการผลิต จากการไมเขมงวดในการใชไฟและความรอน
รวม ทั้งการไมปฏิบัติตามกฏระเบียบดานความปลอดภัย ซึ่งเปนเหตุใหเกิดเพลิงไหมได
3. การกําจัดอากาศเพื่อปองกันการเผาไหม อากาศที่มีออกซิเจนไมต่ํากวารอยละ 15
ชวยใหเกิดการสันดาป จึงเปนการยากที่จะควบคุมใหอยูในเกณฑที่ปลอดภัย เพราะคนเราก็
ตองการออกซิเจนในการหายใจในปริมาณไมต่ํากวานี้เชนกัน
แนวทางในการปองกันอัคคีภัย
1. การดูแลความเปนระเบียบเรียบรอย เปนพื้นฐานขั้นตนของการปองกันอัคคีภัย ซึ่ง
ทําไดโดยการจัดสถานที่ใหสะอาดทั้งภายในและบริเวณรอบโรงงาน มีการจัดเก็บที่ดีและเปน
ระเบียบ แยกหมวดหมูวัตถุดิบ เครื่องมือ เครื่องใช และสินคาใหเปนสัดสวน ไมปลอยใหมี
การกองตุนวัสดุไวในบริเวณการผลิต โดยเฉพาะวัสดุที่เปนเชื้อเพลิงติดไฟไดงายจะตองแยกเก็บให
หางจากแหลงความรอนหรือประกายไฟ มีการกําจัดเศษวัสดุและทิ้งขยะทุก ๆ วันอยางสม่ําเสมอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 81
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ในสวนสารเคมีที่ใชในโรงงานนั้น จะตองมีการจัดเก็บอยางปลอดภัย โดยเฉพาะสารเคมี


ที่มีคุณสมบัติเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมหรือการระเบิด โดยทั่วไปจะตองยึดหลักในการจัดเก็บดังนี้
1. ควรจัดเก็บสารเคมีไวในที่เย็น ในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี หางจากแหลงจุด
ติดไฟ ไมมีแหลงการแผรังสีความรอนอยู และมีปายหามสูบบุหรี่บริเวณนั้น
2. บริเวณที่จัดเก็บสารเคมี ควรแยกจากอาคารผลิตและที่พักอาศัย
3. แยกเก็บสารที่เขากันไมได
4. วงจรไฟฟาในหองเก็บสารเคมีควรเปนชนิดปองกันการระเบิดได
5. มีการจัดเตรียมระบบการปองกันอัคคีภัยแบบอัตโนมัติ
6. หลีกเลี่ยงการทําใหติดไฟโดยไฟฟาสถิตย
7. ไมควรจัดเก็บสารเคมีปริมาณมากจนเกินไป ควรจัดเก็บเทาที่จําเปนตองใชเทานั้น
การควบคุมแหลงกําเนิดของไฟ มีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
1. การบํารุงรักษาระบบไฟฟา เครื่องจักร และอุปกรณใหอยูในสภาพที่ดีตลอดเวลา มี
การนําเอาเทคนิคการบํารุงรักษาประเภทตาง ๆ มาใชใหเหมาะสมกับสภาพโรงงาน
2. การออกกฏขอบังคับตาง ๆ ในการปฏิบัติงานที่อาจกอใหเกิดความรอนหรือประกาย
ไฟ
การปองกันการติดตอลุกลามของไฟ มีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
1. การเลือกที่ตั้งและการวางผังโรงงาน ควรเลือกตั้งโรงงานในที่หางไกลกับชุมชนและ
คํานึงถึงการจัดการในกรณีฉุกเฉิน
2. การออกแบบอาคาร เปนจุดเริ่มตนที่จะทําใหอาคารของสถานประกอบการมีความ
ปลอดภัย เพราะหากเริ่มออกแบบดวยวิธีการที่ถูกตองแลว อาคารก็จะปลอดภัยดวยตัวของมันเอง
3. การเลือกใชวัสดุที่เหมาะสมเปนสวนประกอบของอาคาร ตองมีอัตราการลามไฟได
มาตราฐานซึ่งจะชวยชะลอการลุกลามของไฟได
4. การกําจัดวัสดุที่เปนเชื้อเพลิงและสิ่งที่ติดไฟไดในสถานประกอบการ เพื่อปองกัน
การจุดติดและการลุกลามของไฟ หากมีสารสารที่เปนเชื้อเพลิงจํานวนมากก็จะทําใหไฟลุกลามได
งายและรุนแรงมากยิ่งขึ้น
5. การจัดระบบการปองกันอัคคีภัยแบบอัตโนมัติ
การเตรียมการระงับอัคคีภัย มีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
1. การเตรียมการเกี่ยวกับระบบดับเพลิง เลือกประเภทของระบบดับเพลิงใหมีความ
เหมาะสมกับประเภทของไฟและพื้นที่ปองกัน มีการตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบและอุปกรณ
ดับเพลิง อยางสม่ําเสมอตามกําหนดเวลา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 82
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. การเตรียมการเกี่ยวกับบุคลากรตามแผนฉุกเฉิน ผูบริหารตองจูงใจใหพนักงานใน
โรงงานใหเขามามีสวนรวมในการฝกซอมและกําหนดแผนการรวมกับเจาหนาที่ดับเพลิง พรอม
กันนี้ในมาตราการดังกลาวควรจะไดมีการกําหนดและระบุภาระหนาที่ของเจาหนาที่แตละคนให
ชัดเจน
3. การสรางจิตสํานึกและการฝกอบรมบุคลากร การจัดกิจกรรมเพื่อสรางจิตสํานึก
ทางดานความปลอดภัยแกผูปฏิบัติงาน การจัดใหมีการฝกอบรมเปนแนวทางที่ใชปองกันอัคคีภัยได
เปนอยางดี
หลักและแนวทางระงับอัคคีภัย
หลักการระงับอัคคีภัย
อัคคีภัยที่เกิดขึ้นในแตละครั้ง ยอมมีลักษณะแตกตางตามคุณสมบัติทางกายภาพและทาง
เคมีของเชื้อเพลิงในสถานที่นั้น ทั้งนี้ยังขึ้นอยูกับลักษณะโครงสรางของอาคาร การสงผานความ
รอนที่จะทําใกลหเกิดการติดตอลุกลามและทิศทางลมก็จะชวยใหเกิดการกระจายตัวของไฟดวย
อยางไรก็ตาม ดังไดกลาวมาแลววาการเกิดไฟจะตองเกิดจากองคประกอบหลัก 3 องคประกอบ
คือ ความรอน (Heat) เชื้อเพลิง (Fuel) และออกซิเจน (Oxygen) โดยเกิดการลุก
ไหมเปนปฏิกริยา ลูกโซ (Chain reaction) ทําใหการเผาไหมนั้นดําเนินตอไปจนอาจ
ลุกลามเปนเพลิงขนาดใหญ หลักในการระงับอัคคีภัยจึงตองพิจารณาแยกองคประกอบของการ
เกิดไฟ โดยการลดความรอน การขจัดเชื้อเพลิง การกั้นออกซิเจน และตัดปฏิกริยาลูกโซ
แนวทางในการระงับอัคคีภัย
การระงับอัคคีภัยใหสอดคลองกับธรรมชาติของไฟ มีแนวทางดังตอไปนี้
1. การลดความรอน (Heat Reduction) อาจทําไดโดย
1.1 การทําใหเย็นลงโดยการใชน้ําถายเทความรอนออกจากสารที่กําลังลุก
ไหม ในการ ดับเพลิงสวนใหญจึงมักใชน้ําในการฉีดพน เพราะน้ําหาไดงายและมีคุณสมบัติ
ที่ดีในการดับไฟ ดังนี้
• น้ําสามารถถายเทความรอนจากสารที่ถูกเพลิงไหมไดดี ทําใหไฟเย็นตัวลงจน
เชื้อเพลิงมีอุณหภูมิไมถึงจุดติดไฟได
• ฝอยน้ําหรือหมอกน้ํา อาจทําใหเกิดภาวะการคลุมดับได นอกจากนี้ภายหลังจาก
ไดรับความรอน น้ําเดือดจะกลายเปนไอ โมเลกุลของน้ําจะขยายตัว ชวยปดกั้นออกซิเจนใน
อากาศไมใหเขามาทําปฏิกริยากับเชื้อเพลิงได
• น้ําชวยเจือขางเชื้อเพลิงที่สามารถละลายน้ําได เชน แอลกอฮอล อีเทอร อะซี
โตน ให เจือจางลงจนหมดสภาพการเปนเชื้อเพลิงได
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 83
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

อยางไรก็ตาม การใชน้ําดับเพลิงมีขอควรระวังคือ การไหลนองของน้ําอาจสรางความ


เสียหายแกวัสดุ สิ่งของที่น้ําไหลผานหากไมสามารถระบายน้ําไดทัน น้ําที่ขังอยูชั้นบนของอาคาร
ในปริมาณมากอาจทําใหอาคารทรุดตัวลงมา เปนอันตรายตอผูที่อยูชั้นลางหรืออยูบริเวณใกลเคียง
1.2 การทําใหเย็นตัวลงโดยการใชสารทําปฏิกิริยาดูดกลืนความรอน
2. การขจัดเชื้อเพลิง (Fuel Removal) การดับเพลิงโดยการขจัดเชื้อเพลิง
เปนวิธีการหนึ่งที่จะทําใหการลุกไหมดับลงไปไดเองซึ่ง มีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
2.1 การตัดการหนุนเนื่องของเชื้อเพลิง
2.2 การเคลื่อนยายเชื้อเพลิงที่ติดไฟออกจากกองเพลิง
3. การกั้นออกซิเจน (Oxygen Deprivation) มีแนวทางในการ
ดําเนินการดังนี้
3.1 การลดปริมาณออกซิเจน เปนการทําใหอับอากาศหรือใหคาของอัตราสวนผสม
ของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนในอากาศเกินขีดจํากัดที่จะติดไฟได
3.2 การเติมออกซิเจนใหมีปริมาณมากขึ้น เปนการทําใหคาของอัตราสวนผสม
ระหวางไอของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนในอากาศต่ํากวาขีดจํากัดที่จะลุกติดไฟได
4. การตัดปฏิกริยาลูกโซ (Breaking of Combustion Chain)
การตัดปฏิกริยาลูกโซอาจถือไดวาเปนวิธีการดับเพลิงที่นิยมใชทั่วไปรองจากวิธีการลดความรอน
การขจัดปฏิกิริยานี้ ออกไปจากการเผาไหม ทําไดโดยการใชสารดับเพลิง
ระบบและอุปกรณที่เกี่ยวของในการระงับอัคคีภัย
แนวคิด
1. ในการระงับอัคคีภัยอยางมีประสิทธิภาพ จะตองควบคุมสถานะการณใหไดโดยเร็ว
ที่สุดกอนที่ไฟจะลุกลามเปนเพลิงขนาดใหญ จึงจําเปนตองมีระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
เพื่อเตือนภัยใหผูที่อยูในสถานประกอบการไดทราบเหตุตั้งแตระยะเวลาเริ่มแรกของการเกิดเพลิง
ไหม เพื่อจะไดดับเพลิงไดทันและอพยพผูที่อยูในอาคารออกจากสถานที่เกิดเหตุไดอยางปลอดภัย
ซึ่งควรมีการเตรียมความพรอมในการจัดเสนทางหนีไฟ ปายบอกทิศทางการหนีไฟดวย
2. ระบบและอุปกรณที่ใชในการระงับอัคคีภัย ควรเลือกใชใหเหมาะสมกับชนิดของ
เชื้อเพลิงมีความพอเพียงเหมาะสมกับขนาดและอันตรายของไฟที่จะเกิดขึ้นในสถานประกอบการ
นั้น ๆ ระบบและอุปกรณดับเพลิง อาจแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือการใชเครื่องดับเพลิงแบบ
มือถือสําหรับดับเพลิงรัยัตนและการใชระบบดับเพลิง พรอมอุปกรณในการดับเพลิง ซึ่งมีทั้ง
ระบบ ดับเพลิงแบบใชน้ําและแบบไมใชน้ํา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 84
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3. การตรวจสอบระบบปองกันและระงับอัคคีภัยใหอยูในสภาพที่ดีและมีความพรอมอยู
เสมอ จะชวยใหมั่นใจไดวาเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมระบบจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
สามารถทํ า การตรวจสอบสภาพภายนอกของระบบได ด ยใช ส ายตาและตรวจสอบด ว ยการใช
เครื่องมือในการตรวจวัด รวมทั้งการทดสอบการทํางานของระบบ นอกจากนี้ควรจัดใหมีการ
บํารุงรักษาระบบอยางถูกวิธีและสม่ําเสมอดวย
ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมและการอพยพคน
ระบบแจงเหตุเพลิงไหม เปนระบบที่ใชในการตรวจจับควัน ความรอน หรือเปลวไฟ
ภายในพื้นที่ปองกันและใหสัญญาณเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหมเกิดขึ้น โดยทั่วไปแลวระบบสัญญาณ
แจงเหตุเพลิงไหมมีสวนประกอบสําคัญ 5 สวน ซึ่งทํางานเชื่อมโยงกันดังแสดงในภาพที่ 8.1
ไดแก

1. แหลงจายไฟฟา

3. อุปกรณเริ่ม 2. แผงควบคุม 4. อุปกรณแจง

5. อุปกรณ

ภาพที่ 8.1 สวนประกอบของระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม


ทางหนีไฟและปายแสดงทางหนีไฟ
ทางหนีไฟ หมายถึง ทางออกและแนวทางออกจากอาคารเมื่อเกิดอัคคีภัย โดยกําหนด
ขนาดและจํานวนจากขนาดพื้นที่ของพื้น ความสูง และลักษณะการใชอาคาร ทางหนีไฟตองมี
สภาพเปนทางออกที่ยอมรับใหใชไดและเปนเสนทางที่ตอเนื่องกัน เพื่อออกจากภายในอาคารหรือ
โครงสรางไปสูที่เปดโลงภายนอกอาคารที่ระดับพื้นดิน
ปายแสดงทางหนีไฟ ทางหนีไฟตองมีปายแสดงใหเห็นชัดเจน ปายดังกลาวควรมองเห็น
ไดอยางเดนชัด โดยไมใชสีหรือมีลักษณะที่กลมกลืนไปกับการตกแตงอาคารหรือปายอื่นๆ ที่ติด
ไวใกลเคียงกันและไมควรจะมีปายหรือวัสดุอื่นใดที่มีการสองสวางจึงทําใหความสนใจออกไปจาก
ปายบอกทางหนีไฟ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 85
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

เครื่องดับเพลิงแบบมือถือและระบบดับเพลิง
การดับเพลิงนั้น มีแนวทางนการดําเนินการใน 2 ลักษณะคือ
1. การดับเพลิงโดยใชเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ซึ่งเปนการดับเพลิงในระยะตน
2. การดับเพลิงโดยใชระบบดับเพลิง ซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ระบบ
ดับเพลิงแบบใชน้ํา (Water Base) และแบบไมใชน้ํา (Non- Water Base)
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher)
เปนอุปกรณที่ใชสําหรับดับเพลิงที่เกิดขึ้นในระยะตน ซึ่งเพลิงไหมนั้นยังไมมีความ
รุนแรง มากนัก เครื่องดับเพลิงชนิดนี้ประเภทนี้จึงมีขนาดเล็ก สามารถหยิบยกเคลื่อนที่ไป
ไดอยางรวดเร็ว
1. ชนิดของเครื่องดับเพลิง โดยทั่วไปมี 7 ชนิด

ชนิดของเครื่องดับเพลิง ประเภทของไฟ
A B C D
1. น้ํา √
2. กาซคารบอนไดออกไซด (CO2 ) √ √
3. โฟม (Foam) √ √
4. ผงเคมีแหง (กรดเกลือ-โซดา) √
5. ผงเคมีแหง (โปแตสเซียมไบคารบอเนตหรือโปแตสเซียมคลอไรด) √ √
6. ผงเคมีแหงอเนกประสงค (Multipurpose-ABC) √ √ √
7. สารดับเพลิงชนิดพิเศษ √

ตารางที่ 8.1 แสดงชนิดของเครื่องดับเพลิงและความสามารถในการดับไฟแตละประเภท


ระบบดับเพลิง
ระบบดับเพลิง แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือระบบดับเพลิงแบบใชน้ําและระบบ
ดับเพลิงแบบไมใชน้ํา
1. ระบบดับเพลิงแบบใชน้ํา
ระบบดับเพลิงแบบใชน้ําที่ใชกันในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการทั่วไปมี
ดวยกันหลายระบบ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 86
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

1.1 ระบบทอยืน (Standpipe system) คือการติดตั้งระบบทอสงน้ํา


วาลว หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง และอุปกรณฉีดน้ําดับเพลิง ประกอบกัน อุปกรณทั้งหมดจะถูก
ติดตั้งภายในอาคารหรือสถานประกอบการ
1.2 ระบบหัวกระจายน้ําอัตโนมัติ (Auto Sprinkler System) ระบบ
หัวกระจายน้ําอัตโนมัติ เปนระบบดับเพลิงที่ประกอบดวยระบบสงน้ํา โครงขายระบบทอน้ํา
ดับเพลิง วาลว ควบคุม หัวกระจายน้ําดับเพลิงและอุปกรณที่เกี่ยวของ ซึ่งเทื่อเกิดเพลิงไหม
ระบบนี้จะมี ความพรอมในการดับเพลิงไดทันทีอยางอัตโนมัติ
1.3 ระบบโฟมดับเพลิง (Foam Fire Extinguishing System)
โฟมดับเพลิงสามารถใชดับเพลิงกับไฟประเภท A และไฟประเภท B แตไมสามารถใชโฟม
ดับเพลิงกับไฟประเภท C และไฟประเภท D และไฟที่เกิดภายในถังบรรจุความดัน
(Pressure Tank)
2. ระบบดับเพลิงแบบไมใชน้ํา เชน ระบบกาซคารบอนไดออกไซดดับเพลิง สารสะอาด
ดับเพลิง และผงเคมีแหงดับเพลิง ซึ่งในที่นี้จะกลาวเฉพาะ 2 ระบบแรก ดังนี้
2.1 ระบบกาซคารบอนไดออกไซดดับเพลิง (Carbon Dioxide Fire
Extinguishing System) กาซคารบอนไดออกไซดเปนกาซที่มีน้ําหนักมากกวาอากาศ
ถึง 1.5 เทา และมีคุณสมบัติที่สําคัญก็คือ ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมนําไฟฟา ดังนั้น จึงเปน
กาซที่เหมาะสมสําหรับใชใน การดับเพลิง
2.2 สารสะอาดดับเพลิง (Clean Agent Fire Extinguishing
System ) ฮาลอน 1301 (Halon 1301) จัดเปนสารที่ไมมีพิษตอมนุษยและมี
คุณสมบัติในการดับเพลิงโดยสารฮาลอนจะไมทําใหอุปกรณและทรัพยสินไดรับความเสียหาย
เมื่อมีการเลิกใชสารฮาลอน 1301 จึงจําเปนตองหารสารดับเพลิงอื่นเพื่อใชงาน
แทนสารเดิม โดยไดมีการผลิตสารสะอาดดับเพลิง (Clean Agent Fire
Extinguishing System ) เปนสารใหม สําหรับใชในระบบดับเพลิงอัตโนมัติ สาร
กลุมนี้มีคุณสมบัติคือ ไมเปนตัวนําไฟฟา ไมทิ้งสารตกคางหลังการดับเพลิง และไมทําลายชั้น
บรรยากาศโลกดวยสารสะอาดดับเพลิง แบงออกเปน 2 กลุม คือ
1. กลุมฮาโลคารบอน (Halocarbon Clean Agent) เปนสาร
สะอาดดับเพลิงที่มี องคประกอบหลักอยางนอยหนึ่งสารหรือมากกวาของสารเหลานี้ คือ
ฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน หรือไอโอดีน ในการดับเพลิง สารกลุมนี้จะทําหนาที่หยุดปฏิกริยา
ลูกโซของการเกิดเพลิงไหม

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 87
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

2. กลุมกาซเฉื่อย (Inert Gas Clean Agent) เปนสารสะอาด


ดับเพลิงที่มี องคประกอบหลักอยางนอยหนึ่งสารหรือมากกวาของสารเหลานี้ คือ
ฮีเลียม นีออน อารกอน ไนโตรเจน โดยสามารถใชกาซคารบอนไดออกไซดเปนกาซผสม
เพื่อเปนสารองคประกอบรองได

แบบฝกหัดบทที่ 8

1. สามเหลี่ยมของไฟ หมายถึงขอใด
‫א‬. ความรอน เชือ้ เพลิง ลม
‫ב‬. ความรอน เชือ้ เพลิง คารบอน
‫ג‬. ความรอน เชือ้ เพลิง ออกซิเจน
‫ד‬. ความรอน ออกซิเจน คารบอน
2. ขอใดตอไปนี้ที่ทาํ ใหเกิดเพลิงไหม
‫א‬. ความรอน เชือ้ เพลิง คารบอน
‫ב‬. ความรอน เชือ้ เพลิง ออกซิเจน
‫ג‬. ความรอน เชือ้ เพลิง ปฏิกริยาลูกโซของการเผาไหม
‫ד‬. ความรอน เชือ้ เพลิง ออกซิเจน ปฏิกริยาลูกโซของการเผาไหม
3. กาซชนิดใดชวยใหไฟติด
‫א‬. คารบอน
‫ב‬. ออกซิเจน
‫ג‬. ไนโตรเจน
‫ד‬. ฟอสฟอรัส
4. การลุกไหมที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องจะหยุดลงไดเนื่องจากสาเหตุใด
‫א‬. เชื้อเพลิงหมดไป
‫ב‬. สัดสวนของออกซิเจนกับไอเชื้อเพลิงไมเหมาะสม
‫ג‬. อุณหภูมิการลุกไหมลดลง ทําใหอุณหภูมขิ องเชื้อเพลิงต่ําลงไมสามารถติดไฟได
‫ד‬. ถูกทั้ง 3 ขอ
5. ตามความหมายของสมาคมปองกันอัคคีภยั แหงชาติของสหรัฐอเมริกา ไฟประเภท B
หมายถึง
‫א‬. ไฟที่เกิดจากวัสดุติดไฟโดยทั่วไป

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 88
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫ב‬. ไฟที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา ซึ่งยังมิไดมีการตัดกระแสไฟฟาออก


‫ג‬. ไฟที่เกิดจากเชือ้ เพลิงที่เปนของเหลวและกาซ
‫ד‬. ไฟที่เกิดจากโลหะที่ลุกไหมได วัตถุระเบิด และสารที่ทําปฏิกริยากับน้ําได

6. การดับไฟประเภท D นิยมดับดวยสิ่งใดตอไปนี้
‫א‬. น้ํา
‫ב‬. ถังดับเพลิง
‫ג‬. กลบดวยทรายแหงหรือขี้เถาแหง
‫ד‬. กลบดวยทรายแหงหรือขี้เถาชื้น
7. เมื่อเกิดอัคคีภัย กอใหเกิดผลกระทบดานใดบาง
‫א‬. ผลกระทบตอความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสิน
‫ב‬. ผลกระทบตอความปลอดภัยของธุรกิจ
‫ג‬. ผลกระทบตอความปลอดภัยของสิ่งแวดลอม
‫ד‬. เกิดผลกระทบทั้ง 3 ขอ
8. หลักในการปองกันอัคคีภยั ขอใดควบคุมยากที่สุด
‫א‬. การจัดเก็บเชื้อเพลิงโดยแยกใหหางจากแหลงความรอนหรือประกายไฟ
‫ב‬. การแยกหรือปองกันแหลงความรอนที่เปนเหตุใหเกิดการคุไหมจากการผลิต
‫ג‬. การกําจัดอากาศเพื่อปองกันการเผาไหม
‫ד‬. ขอ ก และ ข
9. ขอใดไมใชหลักในการจัดเก็บสารเคมีในโรงงานอยางปลอดภัย
‫א‬. บริเวณทีจ่ ัดเก็บสารเคมี ควรแยกจากอาคารผลิตและที่พักอาศัย
‫ב‬. เก็บสารเคมีทุกชนิดไวรวมกัน
‫ג‬. ควรจัดเก็บสารเคมีไวในที่เย็น ในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี
‫ד‬. วงจรไฟฟาในหองเก็บสารเคมีควรเปนชนิดปองกันการระเบิดได
10. ขอใดจัดเปนแนวทางในการระงับอัคคีภัย
‫א‬. การลดความรอน และ การขจัดเชื้อเพลิง
‫ב‬. การกั้นออกซิเจน
‫ג‬. การตัดปฏิกริยาลูกโซ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 89
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫ד‬. ถูกทุกขอ

บทที่ 9
เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล

งานอุ ต สาหกรรมในประเทศไทยมีเ พิ่ ม มากขึ้น คนหั น มาทํ า งานอุ ต สาหกรรมมากขึ้ น


โอกาสที่จะเสี่ยงตออันตรายเพิ่มมากขึ้นตามมา เชน ตนที่ตองทํางานกับความรอน แสง เสียง
สารเคมีที่เปนพิษ และอื่นๆ อีกมาก ในการที่จะแกไข และปองกันอันตรายไมใหเกิดแกคนงานมี
หลายวิธี แตในงานบางอยางก็แกไขปองกันยาก หรือจะแกไขก็ตองใชทุนทรัพยสูงมาก ไมคุมกับ
การลงทุน วิธีสุดทายที่ใชในการปองกันอันตรายที่เกิดจากสภาพแวดลอม ก็คือ เครื่องปองกัน
อันตรายสวนบุคคล (Personal Protective Equipment)
เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่นํามาสวมใสลงบนอวัยวะ
สวนหนึ่งสวนใดของรางกาย หรือหลายๆ สวนรวมกัน โดยมีจุดประสงคเพื่อปองกันอวัยวะสวน
นั้นของรางกาย ไมใหประสบอันตรายจากสิ่งหนึ่งสิ่งใด คือ ปองกันอันตรายจากสิ่งแวดลอมใน
การทํางาน
เครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล แบงไดดังนี้คือ
1. เครื่องปองกันศรีษะ (Head Protection)
2. เครื่องปองกันผม (Hair Protection)
3. เครื่องปองกันหนาและตา (Face and Eye Protection)
4. เครื่องปองกันหู (Ear Protection)
5. เครื่องปองกันเทา (Foot Protection)
6. เครื่องปองกันลําตัวและขา (Body and Leg Protection)
7. เครื่ อ งป อ งกั น อั น ตรายจากการหายใจเอาสิ่ ง เป น พิ ษ เข า ไป(Respiratory
Protective Equipments)
8. เครื่องปองกันผิวหนัง (Barrier Cream)
9. เข็มขัดนิรภัย (Safety Belts)
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 90
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

10. เครื่องปองกันพิเศษเฉพาะงาน (Special Work Clothing)


หลักเกณฑในการเลือกเครื่องปองกันอันตรายโดยทั่ว ๆ ไป มีดังนี้
1. จะตองเลือกที่สามารถปองกันอันตรายจากการทํางานเฉพาะอยางไป
2. เครื่องปองกันนั้นจะตองสวมใสสบาย มีน้ําหนักเบา
3. จะตองมีประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายสูง
4. มีราคายอมเยาว หาซื้อใชไดงาย
5. ใชงาย ไมตองมีวิธีการสลับซับซอนมาก เพราะคนที่จะใชอาจจะมีการศึกษาไมดีพอ
ทําใหไมเขาใจวิธีใช
6. ควรจะมีลักษณะที่เห็นไดชัดเจน มีสีสะอาดตา
7. เก็บรักษาไดงาย เสียหายก็แกไขไดงาย และทนตอการใชที่สมบุกสมบัน
8. เมื่อชํารุดเสียหาย ตองหาอาหลั่ยไดงาย

หลักเกณฑในการใชเครื่องปองกันอันตราย
1. ตองทราบความตองการในการใชที่แนนอนเสียกอน
2. ตองมีการชักจูงใจใหคนใชและผูสงเสริมใหใช ใหเห็นคุณคาและประโยชนของการใช
3. การเลือกชนิดของเครื่องปองกันใหถูกตองกับชนิดงาน เพื่อไมใหเกะกะจนคนทํางาน
ไมได
4. ตองมีการแนะนําวิธีใช, วิธีเก็บรักษา และวิธีบํารุงรักษาที่ถูกตอง
5. จะตองมีระเบียบขอบังคับในการใชเครื่องปองกันอันตราย เพื่อใหไดผลสมบูรณ

หนาที่ของเครื่องปองกัน สารหรือสภาวะที่เปนพิษ ชนิดของเครื่องปองกัน


1. อันตรายที่เกิดจากการขูด ของหนัก, หยาบ , คม หรือ หมวกแข็ง, รองเทามีเหล็กกลา, แวนตา
ขวน กระแทก หรือกัดผิวหนัง เครื่องจักรที่กําลังเคลื่อนไหว มีเลนสพิเศษ , ถุงมือหนัง,
ผาผูกเอว, เบาะมือ , ปลอกแขน
2. อันตรายจากสารเคมี, ของกัด , ระคายเคือง , ของรอน, ถุงมือยาง หรือแอสเบสตอส
ไฟฟา, การไหม , ความเย็นที่ ของเย็น เชน กรด , ดาง , โลหะ เสื้อคลุม , ผาผูกเอว , ปลอกขา ,
สัมผัสกับผิวหนัง หลอมเหลว , ไฟฟา รองเทาบูต , รองเทาที่ไมเปนสื่อไฟฟา,
แวนตาปองกันตา , โลหกันหนา
3. อันตรายจากการดูดซึม สารกัมมันตรังสี , เสียง , แสง , เครื่องปกปดรางกายทําพิเศษ, แวน
ผานผิวหนัง ความรอนจากการแผรังสี , สําหรับเชื่อมโลหะ , หนากาก , แวน
พลังงานความถี่ของคลื่นวิทยุ กันแดด , โลหกันตา , เครื่องปองกันหู
อุณหภูมิรอนหรือเย็น , เสื้อปองกันอันตราย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 91
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. อันตรายจากการหายใจ สารมีพิษ , สารระคายเคือง , กาซพิษ , เครื่องปดจมูก และเครื่องชวยหายใจ


และ การกินสารมีพิษ ฝุนละออง , ไอระเหย , ควันและสาร ทุกชนิด
รังสี
5. อันตรายจากแรงหรือความ ความดันอากาศต่ํา,ความดันใตน้ํา, เครื่องประดาน้ํา, ถุงเทาชนิดยืดหยุนได
กดดันจากสิ่งแวดลอม ความเครียด , สุญญากาศ , ผาพันยืดไดในตัวเชือก และเข็มขัด
ชวยความปลอดภัย , ตาขายคลุมผม

เครื่องปองกันหู
จากการตรวจพบทางแพทยวา ถาหากหูคนเราไดสัมผัสกับเสียงที่ดังเกินกวา 90 เดซิเบล
จะทําใหเกิดอันตรายตอการไดยิน ฉะนั้น เสียงที่ดังเกินกวา 85 – 90 เดซิเบล ตามกฎหมาย
จะตองใหลดระดับความดังลงมาจนอยูในชวงนั้น วิธีที่จะลดความดังของเสียงลงมาไดนั้นวิธีหนึ่ง
ที่นิยมกันก็คือ การใชเครื่องปองกันหู
จุดมุงหมายสําคัญในการใชเครื่องปองกันหู ก็คือ การลดความเขมของเสียงที่จะมา
กระทบตอกระดูกหูและแกวหู ซึ่งเปนการปองกันหรือลดอันตรายที่จะมีตอการไดยินของหู และ
ปองกันเศษโลหะปลิวเขาหู,โลหะหลอมเหลวกระเด็นใสหู
ในการเลือกใชเครื่องปองกันหูแบบใดแบบหนึ่ง เราจําเปนตองรูถึงปริมาณความเขมของ
เสียงที่เราตองการจะใหลดลงเทไร ถึงจะอยูในระดับที่ปลอดภัย
เครื่องปองกันหูแบงออกไดดังนี้
1. เครื่องอุดหู ( Ear plug )
ใชอุดรูหูทั้งสองขาง โดยสอดใสเขาไปในชองหู (Ear canal) มีการออกแบบ
เปนรูปตางๆ กัน ถา Ear plug มีขนาดพอเหมาะกับรูหู จะไดผลในการปองกันเสียงมาก
วัสดุที่ใชทํานั้น มีหลายชนิด เชน พลาสติกออน , ยาง , ขี้ผึ้ง , สําลี ฯลฯ ชนิดที่ทําจากยาง
และพลาสติกนิยมใชมากที่สุด
เครื่องอุดหูแตละชนิดจะลดความดังของเสียงไดไมเทากัน ตัวอยางเชน
- cotton wool (สําลีธรรมดา) 8 dB
- Waxed cotton wool or glass-fiber wool (ใยแกว)
20 dB
- individually moulded acrylic 18
dB
- individually moulded silicon rubber 15
– 30 dB

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 92
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

- mass produced rubber plug (ยางออน – ยางแข็ง) 8–


25 dB
2. Semi – insert plug
เวลาใชไมตองเสียบใหลึกเขาไปในหู เพราะเปนชนิดที่ทําพิเศษสําหรับหูแตละคน มี
ขนาด พอเหมาะ สวมใสงาย ชนิดนี้ไมกําหนดไววาจะตองใชในสภาพที่มีเสียงในระดับ
ความดังสูงๆ (High level) ไดหรือไม แตถาสวมใสไมแนน ก็อาจทําใหประสิทธิภาพของ
อุปกรณนี้ลดลงได Semi – insert silicon rubber ลดเสียงไดประมาณ 14 dB

3. เครื่องครอบใบหู (Ear - muff)


เครื่องปองกันเสียงชนิดครอบใบหูทั้งหมด มีลักษณะคลายถวย ใชปกปดใบหูทั้งสอง
ขางและติดตอกับเสนเหล็กกลาที่หุมดวย plastic เปนตัวเชื่อม Ear – muff สกัดกั้นการ
เดินทางของเสียง โดยชวยลดพลังงานของเสียง ซึ่งมีวัสดุปองกันเสียง (Acoustic) เปนตัว
รองอยูภายในที่ครอบใบหู วัสดุที่ใชนั้นอาจจะเปนของเหลว , โฟม , พลาสติก หรือยาง เปน
ตัวดูดซึม (Absorb) เสียงเอาไวไมใหผานไปถึงหู
Ear – muff แตละชนิดจะลดความดังไดแตกตางกันไป เชน
- ชนิด Heavy ลดความดังของเสียงไดประมาณ 40 เดซิเบล
- ชนิด Medium ลดความดังของเสียงไดประมาณ 35 เดซิเบล
- ชนิด Bight ลดความดังของเสียงไดประมาณ 30 เดซิเบล
4. Helmet
มีรูปรางคลายหมวกกันการกระแทก แบบนี้มักใชประกอบกับ muffs ออกแบบ
สําหรับ ปกปดสวนที่เปนกระดูก (bone portion) ของศรีษะ เพื่อปองกันหูสวน
นอกดวย Helmets ทําจากวัสดุจําพวก firm material หรือ soft cloth

ขอควรคํานึง
1. ไมวาเครื่องปองกันหูจะเปนแบบใดก็ตาม เมื่อใสแลวจะตองลดเสียงที่อยูในที่ทํางาน
นั้น ใหต่ําลงกวามาตรฐาน คือ จะใชชนิดตางกันในแตละความถี่
2. ตองมีความสบายในขณะสวมใส

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 93
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

3. วัสดุที่ใชตองไมทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของผูใช เชน ทําใหเกิดการแพ ระคาย


เคือง ทําใหหูอักเสบ
4. ตองมีความทนทานหรือไมเสื่อมคุณภาพไดงาย หรือทราบอายุการใชงานเพื่อ
เปลี่ยนใหม
1. Ear plug ตองทําดวยวัสดุออนนุมพอสมควร ยืดหยุนดี พวกวัสดุแข็งไมควร
ใช
2. Ear muff ตองใชแบบและขนาดที่ครอบหูมิด ยืดไดและแนบกับใบหนา
3. การใชเครื่องปองกันหู ตองมีการฝกการใช และเลือกชนิดที่จะใชโดยผูชํานาญ
4. ทําความสะอาด โดยน้ําและสบูออนๆ มิฉะนั้นจะทําใหเสีย และควรเปนของใช
สวนตัว ไมปะปนกัน

เครื่องปองกันใบหนาและตา (Face &Eye Protection)


เครื่องปองกันใบหนาเปนวิธีสุดทายที่จะเลือกมาใช หลังจากที่ปองกันแบบอื่นไมไดผล
- Goggles, Eye cup ประกอบดวย eye cup 2 อัน พรอมดวยเลนส และ
กรอบเลนส ซึ่ง ติดกันดวยตัวเชื่อม
- Eye cup ทําดวยพลาสติก หรือวัสดุอยางอื่นๆที่สามารถทนตอความรอน การติด
เชื้อปองกันน้ําซึม นอกจากนี้ eye cup จะตองมีเบาะรองทําหนาที่รองรับเลนส และชวย
ปองกันการแตกของเลนส
Eye cup แบงออกเปน 2 ชนิด คือ
1. Cup-type Goggles ใชกับผูที่มีสายตาปกติ
2. Cover – cup type Goggles ใชกับผูที่สายตาไมปกติอยูแลว
ทั้ง Cup-type และ Cover-cup type Goggles อาจแบงยอยออกเปน
1. Chipper’s model ใชปองกันวัตถุกระเด็นปลิวมาถูก
2. Dust and Splash model ใชปองกันฝุนละเอียดหรือการกระเด็นของ
ของเหลวและการกระแทก
3. Welder’s and Cutter’s model ใชปองกันแสงจา รังสีที่อาจเปน
อันตรายและการกระแทก
- แวนตา (Spectacles)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 94
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ประกอบดวยเลนส 2 อันในกรอบ 1 อัน ซึ่งยึดเลนสดวยเสนรอบวงภายในของกรอบทั้ง


2 อัน จะติดกันดวยดั้งแวน และมีกานแวนชวยในการสวนใส แวนตาสามารถปองกันสิ่งที่ปลิวใน
อากาศ แสงจา และรังสีได เลนส (Lens) ที่ใชอาจทําไดจากทั้งแกวและพลาสติก
ขอที่ควรคํานึงเกี่ยวกับเครื่องปองกันตา คือ
1. ควรเปนชนิดที่มีกรอบที่แข็งแรง และกระชับเวลาสวมใส
2. ตองสามารถทําความสะอาดไดงาย
3. ควรเปนแบบที่สามารถจะซอมแซมไดงาย
4. ตองมีขนาดใหญพอที่จะปองกันตามทั้งหมดได
5. ไมติดเชื้อไดงาย, ไมติดไฟงาย
6. ราคาถูก

เครื่องปองกันใบหนา (Face Protection)


Helmets and Hand Shields
หนาที่ใชปองกันตา หนา หู และคอ จากพลังงานการแผรังสีที่มีความเขมสูงและการ
กระเด็นของโลหะหลอมเหลว งานที่เสี่ยงตออันตรายมาก ซึ่งตองใช helmets หรือ hand
shield คือ งานเชื่อมโลหะดวยไฟฟา (arc welding) การตัดโลหะโดยใชกาซและ
scarring
แผนกรองแสง (Filter plate)
ขนาดควรจะสวมไดพอดีกับกรอบนั้น มีสัดสวนดังนี้
- ความหนา 0.080 นิ้ว – 0.150 นิ้ว
- ความกวาง 2 + 0.03 นิ้ว
- ความยาว 4.25 + 0.03 นิ้ว
คุณสมบัติในการมอง
- ผิวของแผนกรอง (Surfaces) ทั้ง 2 ดาน ตองขัดใหเรียบและเงา, ไมมีรอย,
เปนคลื่น, หรือรอยตําหนิ ซึ่งจะทําใหคุณสมบัติของการมองเห็นลดลง
- ผิวของแผนกรอง (Surface) ควรจะเรียบและขนาดกัน
ชนิดใชมือถือ (Hand Shields)
ใชวัสดุแบบเดียวกัน helmet แตมีที่ถืออยูขางลางซึ่งตองไมเปนสื่อไฟฟา และทนไฟ,
จับถนัดดวยมือขางเดียว

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 95
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

Hand shields ที่ใชสําหรับผูไมใชชางเชื่อม ควรมี filter หรือ cover plate ที่เหมาะสม


สําหรับการใชนั้น
Non-Rigid Helmets ทําดวยวัสดุที่ไมแข็ง ใชในที่ซึ่งจํากัด หรือพับไดเพื่อความสะดวกใน
การถือ หรือการเก็บ helmet นี้ตองมีรูปรางแบบเดียวกับแบบแข็ง เวนแตเมื่อสวมใสเพื่อปกปดหนา
แวนตาปองกันสารเคมี (Acid hoods and chemical goggles)
การปองกันตัวและหนาจากการกระเด็นของกรด, ดาง หรือของเหลวที่เปนอันตรายอื่นๆ
หรือสารเคมีที่มาในรูปตาง ๆ กัน ขึ้นอยูกับความรายแรงนั้น การปองกันที่ดีคือ ใชที่ดูด
(hood) ซึ่งทําดวยวัสดุที่ทนตอสารเคมี และมีแผนพลาสติก เมื่อใส hood จะรอน ซึ่ง
สามารถเพิ่มอากาศไดโดยใช air line เพื่อความสบายของผูสวมใส ควรมีที่พักที่เอว
ชุดพิเศษ (Special Clothing)
ในโรงงานอุตสาหกรรมปจจุบันนี้ สิง่ แวดลอมภายในโรงงาน ตองสัมผัสตอไฟ ความรอน
โลหะละลาย สารเคมี อุณหภูมิที่รอนและเย็น รางกายถูกกระแทก ถูกตัดโดยเครื่องมือตางๆ และ
ยังสภาพที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายอีกมากมาย จึงตองมีชุดปองกันพิเศษสําหรับงานนั้น ๆ
เสื้อหนัง (Leather Clothing)
ปองกันรางกายของคนเราไมใหถูกความรอน และการแผความรอนที่เกิดจากโลหะถูกเผา
ปองกันแรงกระแทก และการรับรังสีอินฟราเรด และอุลตราไวโอเลตอีกดวย
เสื้ออลูมิเนียม (Aluminized Clothing)
เมื่อคนตองทํางานเกี่ยวกับความรอนที่มีอุณหภูมิประมาณ 2,000 องศาฟาเรนไฮด ที่มี
การหลอมโลหะ Aluminized Clothing มันจะสะทอน (reflect) ความรอนที่แผน
รังสีออกมาก ชุดนี้ประกอบดวย กางเกง เสื้อคลุม ถุงมือ รองเทาหุมขอ และที่ครอบศรีษะ
เครื่องปองกันการถูกกระแทกและตัด (Protection against impact and cuts)
มันมีความจําเปนตองปองกันรางกายจากการถูกตัด ถลอก และเปนแผลเนื่องจากการ
ทํางานหนัก วัตถุที่แหลมคมหรือขรุขระ ในงานที่ใชทําดวยมือ เครื่องปองกันพิเศษนี้ พยายาม
ปองกันทุกสวนของรางกาย เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน
ถุงมือ (Gloves)
สารที่มาทําถุงมือ ขึ้นอยูกับถุงมือนั้น ใชกับงานอะไร สําหรับงานเบา ใชถุงมือที่ใสสบาย
และราคาถูก สําหรับงานที่เกี่ยวกับวัตถุมีคม ใชหนังสัตวทํา หรือทําดวยตะขายโลหะ จะปองกัน
คมมีดไดดี
เครื่องปองกันมือและแขน (Hand leathers and arm protection)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 96
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ปญหาเรื่องการปองกันความรอนหรือวัตถุมีคม ในบางครั้งเครื่องปองกันมือทีย่ าวเต็มแขน


ดูเหมือนจะสะดวกกวา และไดผลดีกวาถุงมือ โดยมาก hand leathers หรือ pads จะใชยกของที่มี
น้ําหนักมาก จะไมใชกับงานที่เครื่องจักรเคลื่อนที่ได
Impervious Clothing
การปองกันฝุน (dust), ไอน้ํา (vapor), ความชื้น (moisture), ของเหลวที่กัดกรอน (corrosive
liquids) เปนชุดที่มีแบบตางๆ มากมาย ชุดนี้จะปดปองรางกายจากหัวถึงขาแลวมีการเติมอากาศเขา
ไปด ว ย สารที่ ม าทํ า โดยธรรมดาใช ย างธรรมชาติ หรื อ ยางสั ง เคราะห neoprene, vinyl,
polypropylene และ polyethylene films
ชุดผูหญิง (Women’s clothing and protection)
ชุดของผูหญิงโดยทั่วไป คลายกับของผูชาย แตออกแบบใหเหมาะสมตามสภาพการทํางาน
ของเขา ผูหญิงที่ทํางานเสี่ยงตอภาวะอันตราย ควรสวมหมวกเพื่อคลุมผมไวใหหมด เชน ใน
โรงงานที่มีการเคลื่อนที่ของเครื่องจักร หรือในที่ที่มีเปลวไฟ
รองเทา ในโรงงานสวนมาก ใหผูหญิงสวมรองเทาสนต่ํา
เครื่องประดับตางๆของผูหญิง เชน แหวน ตุมหู สายสรอย ฯลฯ ในโรงงานหามใช
อยางเด็ดขาด
เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt)
เข็มขัดนิรภัยที่ใชงานอุตสาหกรรมหรือใชในการทําความสะอาดหนาตาง แบงเปน 2
ชนิด คือ
1. ชนิดธรรมดา (Normal type) ชนิดนี้จะใชสําหรับน้ําหนักของตัวคนใชในขณะ
ทํางาน ทําใหเราสามารถทํางานไดโดยสะดวก อาจจะขึ้นไปทํางานในที่สูง หรือทํางานในที่ต่ํา
2. ชนิดที่ใชยามฉุกเฉิน (Emergency Type) ใชปองกันไมใหคนทํางานตกลง
มาในเมื่อเกิด อุบัติเหตุขึ้นระหวางการทํางาน
เครื่องปองกันเทา (Protective footwear)
ใชเพื่อปองกันการตกลงมาทับเทา โลหะหลอมเหลวกระเด็น ความรอน สิ่งที่กัดกรอน
รองเทานิรภัย (Safety shoe)
อาจจะเปนรองเทาธรรมดา ใสเครื่องปองกัน (guard) ครอบลงไปหนารองเทา ควรจะ
รับ น้ําหนักได 2,500 ปอนด และแรงกระแทก 50 ปอนด ระยะทาง 1 ฟุต
เครื่องปองกันศรีษะ (Head Protection)
หมวกนิรภัย (Safety Hat)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 97
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

เปนเครื่องสวมใสศรีษะ มีลักษณะแข็งแกรง ทําดวยวัสดุที่แตกตางกันไป ออกแบบเพื่อ


ปองกันศรีษะของคนงาน ซึ่งไมเพียงแตจากการกระแทก แตรวมทั้งวัตถุที่ปลิวหรือกระเด็นมาโดน
, และไฟฟา ช็อค หรือสิ่งใดทั้ง 3 อยางรวมกัน
หมวกนิรภัย แบงเปน 2 ชนิด
- ชนิดมีปกขอบแข็ง (Full Brimmed)
- ชนิดไมมปี กทรงลู (Brimless with peak)
Bump Cap
เปนเครื่องปองกันอันตรายที่ใชสวมศรีษะชนิดหนึ่ง มีลักษณะ คือ เปลือกหมวกบาง
น้ําหนักเบา ถูกคิดขึ้นครั้งแรกสําหรับคนที่ทํางานกับอากาศยาน หรือคนที่ทํางานในสวนที่ติดลําตัว
ของเครื่องบิน โรงงานบางแหงไมยอมรับเอาหมวกชนิดนี้ไปใช

Women’s caps
สิ่งสําคัญประการหนึ่งของผูหญิงที่ทํางานกับเครื่องจักร คือ ปองกันไมใหผมไปสัมผัสกับ
เครื่องจักรที่เคลื่อนไหว นอกจากอันตรายของการสัมผัสโดยตรงของผมกับเครื่องจักร ซึ่งจะเกิดขึ้น
เมื่อไปอยูใกล อาจจะเกิดอันตรายไดโดยการที่ผมถูกดูดเขาไปที่สายพาน

หลักการเลือกเครื่องปองกันอันตรายจากการหายใจ

อันตรายจากการหายใจ

ขาดออกซิเยน สารเปนพิษ

แบบมีทออากาศ แบบทอ กาซ กาซ-ของแข็ง


ของแข็ง
ติดกับเครื่อง อัดอากาศ

อันตรายถึง ไมอันตราย
ชีวิตทันที ถึงแกชีวิตทันที

แบบมีทออากาศ แบบทอ แบบหนา


ติดกับเครื่อง อัดอากาศ กากกันกาซ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 98
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

แบบมีทอตอ แบบมีทอดูด ชนิดฟอก


สูภายนอก อากาศเขา ดวยสารเคมี
เวลาหายใจ ในกระปอง

อันตรายถึงแกชีวิต ไมอันตรายถึงแก
ชีวิตทันที

แบบมีทออากาศ แบบทอ แบบหนากาก แบบตอทอ


แบบมีทอดูด
ติดกับเครื่อง อัดอากาศ กันกาซพรอม สูภายนอก
อากาศเขา
แ ผ น ก ร อ ง พิ เ ศ ษ
เวลาหายใจ

เครื่องปองกันอันตรายที่เกิดจากการหายใจ

ชนิดผานอากาศดี ชนิดฟอกอากาศ
เขาไปแทนที่ ใหบริสุทธิ์กอน
(Atmospheric-Supplying) ใชในที่ที่ขาดออกซิเยนไมได
(Air Purifying)

อัดอากาศ มีเครื่องใหอากาศ ชนิดหนากาก ชนิดฟอกดวย ชนิ ด


กรอง
เขาเครื่อง ตัดกับเครื่อง ตอกับทอกาซ สารเคมีใน
อากาศ
ใชดูดสารมีพิษ กระปอง ใช
ดูดฝุน ควัน
(Canister ใชดูดกาซหรือ
หมอก
Gas Mask ไอระเหย
(Mechanical

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 99
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

มีอากาศ มีอากาศ (Chemical-


Filter
เฉพาะเวลา หมุนเวียน Cartridge
Respirator)
ที่ตองการ ตลอด Respirator)
อัด O2 เขาไป

อัด O2 เขาไป มี O2 หมุนเวียนตลอด

มีทออัด ทอดูดอากาศ มีทออากาศ มี Hood สวมกัน


ความดัน เขาไปเอง ตอสูภายนอก กาซหรือฝุนที่กัด
เวลาหายใจ

แบบฝกหัดบทที่ 9
1. ขอใดไมใชหลักเกณฑในการเลือกเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล
ก. จะตองเลือกที่สามารถปองกันอันตรายจากการทํางานเฉพาะอยางไป
‫ב‬. เครื่องปองกันนั้นจะตองสวมใสสบาย มีน้ําหนักเบา
‫ג‬. มีราคาแพง หาซื้อใชไดยาก
‫ד‬. จะตองมีประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายสูง

2. ขอใดคือเครื่องปองกันอันตรายจากการดูดซึมผานผิวหนัง
‫א‬. หนากาก แวนกันแดด โลหกันตา
‫ב‬. ปลอกขา รองเทาบูต รองเทาที่ไมเปนสือ่ ไฟฟา
‫ג‬. เครื่องปดจมูก เครื่องชวยหายใจ
‫ד‬. แวนตามีเลนสพิเศษ ถุงมือหนัง
3. individually moulded silicon rubber สามารถลดความดังของเสียงได
เทาไหร
‫א‬. 5-10 dB
‫ב‬. 10-15 dB
‫ג‬. 15-30 dB
‫ד‬. 30-50 dB

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 100
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. Welder’s and Cutter’s model เหมาะสําหรับใชปองกันสิ่งใด


‫א‬. ฝุนละเอียด
‫ב‬. รังสี
‫ג‬. วัตถุ
‫ד‬. ของเหลว
5. ขอควรระวังในการเลือกเครือ่ งปองกันตาคือขอใด
‫א‬. ควรเปนชนิดที่มีกรอบที่แข็งแรง และกระชับเวลาสวมใส
‫ב‬. ตองสามารถทําความสะอาดไดงาย
‫ג‬. ควรเปนแบบที่สามารถจะซอมแซมไดงาย
‫ד‬. ถูกทั้ง 3 ขอ
6. เสื้ออลูมิเนียม เปนเครื่องปองกันชนิดพิเศษที่เหมาะสําหรับคนที่ทํางานประเภทใด
‫א‬. งานที่เกีย่ วกับความรอนที่มอี ุณหภูมิประมาณ 2,000 องศาฟาเรนไฮด
‫ב‬. งานที่เกีย่ วกับวัตถุมีคม
‫ג‬. งานที่เครื่องจักรเคลื่อนที่ได
‫ד‬. งานทําความสะอาดอาคารสูง
7. Bump Cap ถูกคิดขึ้นครั้งแรกเพื่อบุคคลที่ทํางานในสถานที่ใด
‫א‬. คนที่ทํางานในโรงงาน
‫ב‬. คนที่ทํางานกับอากาศยาน
‫ג‬. คนที่ทํางานในโรงพยาบาล
‫ד‬. คนที่ทํางานในโรงทอผา
8. ขอใดไมใชเครื่องปองกันอันตรายจากแกสพิษที่เปนอันตรายถึงชีวิตทันทีได
‫א‬. แบบมีทออากาศติดกับเครื่อง
‫ב‬. แบบทออัดอากาศ
‫ג‬. แบบหนากากกันแกส
‫ד‬. แบบมีทอตอสูภายนอก
9. ขอใดตอไปนี้คือคุณสมบัติของ Impervious Clothing
‫א‬. ปดปองรางกายเฉพาะสวนหัว
‫ב‬. ปดปองรางกายจากหัวถึงขา
‫ג‬. ปดปองรางกายจากลําตัวถึงขาแลวมีการเติมอากาศเขาไปดวย
‫ד‬. ปดปองรางกายจากหัวถึงขาแลวมีการเติมอากาศเขาไปดวย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 101
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

10. เสื้อหนัง มีคุณสมบัติในการปองกันรางกายไดอยางไร


‫א‬. ปองกันความรอน และการแผความรอนที่เกิดจากโลหะถูกเผา
‫ב‬. ปองกันแรงกระแทก
‫ג‬. ปองกันรังสีอินฟราเรด และอุลตราไวโอเลต
‫ד‬. ถูกทุกขอ

บทที่ 10
การกําจัดของเสียจากโรงงาน

การกําจัดของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ผลการพัฒนาดานชุมชนที่อยูอาศัย กิจการพาณิชย การเกษตร การบริการและ
การอุตสาหกรรม ยอมสงผลกระทบใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมเปนพิษ ทั้งทางดานน้ําเสีย
อากาศเสีย เสียงดัง สิ่งปฏิกูล สารเคมีมีพิษ สารกัมมันตรังสีตาง ๆ อันจะกอใหเกิดอันตราย
ตอมนุษย สัตว ดานระบบหายใจ ผิวหนัง ระบบประสาท แหลงน้ําเสียหาย และกอใหเกิด
ความเดือดรอนรําคาญตาง ๆ จึงจําเปนอยางยิ่งที่หนวยงานตาง ๆ และประชาชนตองรวมใจ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 102
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ดําเนินการอยางจริงจังในการวางมาตราการปองกันแกไขและดําเนินการกําจัดของเสียที่เกิดขึ้น ซึ่ง
กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง ในดานการควบคุมดูแลและแกไขปญหา
มลพิษที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
“โรงงาน” หมายความถึง อาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแต
5 แรงมา หรือกําลังเทียบเทาตั้งแต 5 แรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแต 7 คนขึน้ ไป โดย
ใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม เพื่อใชผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง
แปรสภาพ หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2535) 104 ประเภท การดําเนินการของโรงงานอุตสาหกรรมแบงไดเปน
2 ประเภท คือ ประเภทที่ใหบริการ เชน การซอม การซอมบํารุง ปรับปรุง ไดแก
โรงงานซอมบํารุงรถยนตและประเภทที่ทําการผลิตผลิตภัณฑเพื่อนําออกขาย ซึ่งโรงงานเหลานี้
อาจกอใหเกิดทั้งปญหาน้ําเสีย อากาศเสีย และปญหาดานสุขภาพอนามัยได
ปญหาอากาศเสีย (Air Pollution) อากาศเสียสวนมากจะเกิดจากโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มีกรรมวิธีการผลิตที่กอใหเกิดเขมา ฝุน กาซพิษ และไอสารเปนพิษตาง ๆ เชน
โรงงานผลิตภัณฑเคมี โรงงานผลิตยาฆาแมลง โรงงานปูนซีเมนต นอกจากนี้ยังมีโรงงานบาง
ประเภทที่มีปญหาเรื่องกลิ่นอีกดวย เชน โรงงานปลาปน โรงงานโมบดกระดูกสัตว อากาศเปน
พิษจะเปนอันตรายตอ สุขภาพ เคืองตา เจ็บคอ เปนตน การตรวจวัดอากาศเสียจะตองใช
เครื่องมือวัดหรืออุปกรณในการทดสอบวาปริมาณสารนั้น ๆ จะออกมาหรือปนอยูในบรรยากาศ
เกินมาตราฐานคุณภาพอากาศหรือไมเพียงใด ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดใชมาตราฐาน
คุณภาพในการควบคุมอากาศเสียของ โรงงาน และโรงงานตองสรางระบบควบคุมกําจัด
มลพิษทางอากาศ โดยแบงไดเปน 2 อยาง คือ การกําจัดฝุนโดยใชระบบดักฝุนละออง เชน
Electrostatic Precipitator ระบบผากรอง และระบบดักฉีด และการกําจัดกาซเสีย
ไดแก ระบบดักฉีด ระบบเผาไหมและระบบดูดซับ
ปญหาน้ําเสีย (Water Pollution) น้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญ
เปนน้ํา ออกจากกรรมวิธีการผลิต เชน โรงงานน้ําตาล โรงงานทําเยื่อกระดาษและ
กระดาษ โรงงานฟอกยอมผา โรงงานแปงมันสําปะหลัง โรงงานอุตสาหกรรมเคมี เปนตน
เมื่อน้ําทิ้งเหลานี้ถูกทิ้งลงในแมน้ํา ลําคลอง หากมีคาความสกปรกสูง และมีปริมาณมากจนแหลง
น้ําไมสามารถจะรับคาสกปรกไดก็จะเกิดภาวะเนาเสีย เพื่อเปนการปองกันมิใหเกิดปญหาภาวะน้ํา
เนาเสีย เพื่อเปน การปองกันมิใหเกิดภาวะน้ําเนาเสีย กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงไดอาศัย
ประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2525) เรื่องมาตราฐานคุณภาพ
น้ําทิ้งใชควบคุมการปลอยน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้น โรงงานที่มีน้ําทิ้งจาก

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 103
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ขบวนการผลิตจะตองทําการสรางระบบบําบัดน้ําทิ้งที่เกิดขึ้นเพื่อลดปริมาณสิ่งเจือปนตางๆ โดย
การทําลายหรือแยกเอาออกเพื่อใหน้ําทิ้งมีสภาพกลับเปนเหมือนธรรมชาติมากที่สุด ซึ่งขบวนการ
กําจัดแบงออกไดเปน 4 ประเภท คือ
1. ขบวนการทางฟสิกส เชน การตกตะกอน การกรอง การกวาด
2. ขบวนการทางเคมี เชน การเติมสารสมเพื่อชวยใหการตกตะกอน หรือเติมดางเพื่อ
ไปลดปริมาณกรดในน้ําทิ้ง เปนตน
3. ขบวนการทางฟสิกสเคมี ใชปฏิกริยาทางฟสิกสเคมี เชน การดูดซับ
4. ขบวนการทางชีววิทยา ใชปฏิกริยาทางชีวเคมีของจุลินทรียในการทําลายหรือแยก
สิ่งเจือปนออกจากน้ําทิ้ง
ปญหาสิ่งปฏิกูล กรรมวิธีการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดจะมีของเสียออกมาอยู
ในรูปของของแข็งและลักษณะของน้ําเสียที่มีสารโลหะเจือปน เชน โรงงานสกัดน้ํามันรําก็จะมี
กากรําเปนของเสียเหลืออยู โรงงานชุบโลหะตางๆ ก็จะมีน้ําเสียที่มีสารโลหะเจือปนออกมา เชน
ทองแดง โครเมี่ยม นิเกิล ปรอท เปนตน การกําจัดของเสียที่เปนของแข็งสวนใหญมักใชวิธี
เผาหรือฝง หรือทางโรงงานสงใหกับรถขยะ หรือบางแหงอาจทิ้งลงในแมน้ําคูคลองตาง ๆ ซึ่ง
เปนสาเหตุอันหนึ่งที่เพิ่มความสกปรกใหแกแมน้ําลําคลองของเสียบางอยางก็อาจจะเปนพิษเปนภัย
ตอคนหรือสัตว ในดานพวกสารโลหะตางๆ เมื่อปลอยลงในแมน้ํา คูคลอง ก็จะมีการสะสมตัว
เพิ่มขึ้นจนมีปริมาณมากเกินควร สารโลหะบางชนิด เชน ปรอทก็จะมีผลกระทบทางดาน
นิเวศนวิทยา อีกดวย มาตราการปองกันกากของเสียที่มสารพิษกระจายสูสภาวะแวดลอมที่ทั่วโลก
เลือกทํากันอยูก็คือ จัดการเก็บรวบรวมสารพิษจากแหลงกําเนิดมาทําลายพิษ อาจดวยการใชน้ํายา
เคมี เผาทิ้ง หรือผสมซีเมนต กอนที่จะนําไปฝงดินใหเปนที่เปนทาง ณ จุดฝงที่เหมาะสมและ
ถูกตองตามหลักวิชาการ ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดทําการวางโครงการจัดตั้งศูนยบริการ
กําจัด/ทําลายฤทธิ์ที่เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ และสถานที่ฝงกากขั้นสุดทายที่จังหวัดราชบุรี
นอกจากนี้ จะดําเนินการจัดตั้งศูนยบริการกําจัดกากอุตสาหกรรมในจังหวัดอื่นๆ ตาม
ความเหมาะสม เชน จังหวัดสระบุรี ระยอง เปนตน

การบําบัดและการกําจัดของเสียจากอุตสาหกรรม

การจัดการของเสียทางดานอุตสาหกรรม
การบําบัดและการกําจัดของเสียทางดานอุตสาหกรรมตองถูกพิจารณาวาเปนสวนเนื้อหาใน
การจัดการของเสียรวม ในขณะนี้จะมีแรงกดดันทางการคาอยางรุนแรงตอบริษัทตางๆ เพื่อใหลด
ปริมาณของเสียที่จะกําจัดออกมา เนื่องจากคาใชจายในการกําจัดของเสียเพิ่มขึ้น ในหลาย ๆ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 104
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

กรณีจะตองจายในการกําจัดสารที่เปนของเสียมากกวาที่จะซื้อมาในตอนเริ่มตน การจัดการลดของ
เสียและการนํากลับเอามาใชใหมจึงมีความสําคัญเพิ่มขึ้น ถาหากการบําบัดของเสียสามารถทําไดใน
แหลงเดียวกัน ก็จะเปนขั้นตอนการลดของเสียไดในกระบวนการทั้งหมด
ของเสียจากอุตสาหกรรมอาจประกอบดวยสารประกอบตาง ๆ ที่เปนอันตรายมากกวาของ
เสียจากอาคารบานเรือน สิ่งหนึ่งที่สําคัญมากที่บริษัทจะตองคํานึงถึงคือการแยกเอาองคประกอบ
ของเสียที่เปนอันตรายออกจากของเสียที่ไมเปนอันตราย เพื่อที่ลดปริมาณของเสียที่จะตองถูกแยก
วาเปนอันตราย วาจะมีคาใชจายในการนําไปบําบัดและกําจัดที่แพงกวา การคัดแยกของเสียจะ
งายกวาและถูกกวาที่จะกําจัดของเสียในรูปของของผสมมาก ของเสียที่ไมไดผานการคัดแยก
อาจจะกอใหเกิดปญหาในการกําจัดอยางรุนแรง เนื่องจากมีการเกี่ยวของเกี่ยวกับของเสียใน
ปริมาณที่มาก

การบําบัดน้ําเสียจากอุตสาหกรรม
แนวทางโดยทั่วไป
หากเปนไปได น้ําเสียจากอุตสาหกรรมจากผสมกับน้ําโสโครกจากอาคารบานเรือน
แลวทําการบําบัดไปครั้งเดียวพรอม ๆ กันและองคประกอบของเสียที่แตกตางกันทั้งสองแหลงจะ
เจือจางซึ่งกันและกันในระดับหนึ่ง ขอเสียของวิธีการนี้คือ โคลนจากน้ําเสียจะแปดเปอนดวย
องคประกอบในน้ําเสียจากอุตสาหกรรม เชน โลหะหนัก ดังนั้นจึงไมสามารถนําไปใชเปนปุย
ได มีสถานการณตางๆ มากมายที่ในทางปฏิบัติไมสามารถผสมของเสียจากอุตสาหกรรมและจาก
อาคารบานเรือนได เชน
1. ในพื้นที่เขตชนบทไมมีระบบน้ําโสโครกที่สะดวกมาใช
2. ในที่ที่ตองใชคาใชจายแพงในการนําเอาองคประกอบในของเสียจากอุตสาหกรรม
กลับคืนหรือนําไปใชใหม
3. ในกรณีที่น้ําทิ้งจากอาคารบานเรือนจะนําไปใชในการชลประทานโดยตรง
4. ในกรณีที่ของเสียจากอุตสาหกรรมมีการปนเปอนสูงมากและผิดกฎหมายที่จะปลอยลง
สูน้ําทิ้ง
ในกรณีเหลานี้จึงมีความจําเปนตองมีการบําบัดของเสียในแหลงอุตสาหกรรมกอน ในกรณี
ใดๆ ขั้นตอนที่ควรจะทําเพื่อใหแนใจวาปริมาณความเปนพิษของของเสียไดถูกลดลง ตัวอยางเชน
1. โดยการเติมเขาไปหรือกรองสารละลายมากกวาที่จะกําจัดออกไป
2. โดยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในการใชสารที่มีความเปนพิษนอยลง
3. โดยการทําความสะอาดและทําใหแหงกอนที่จะลางของแข็งลงสูทอระบายน้ํา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 105
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

4. โดยการระเหยตัวทําละลายอินทรียเพื่อผลิตผลิตภัณฑที่เผาไหมได
5. โดยการใหเอาของเสียที่เปนพิษไหลแยกจากของเสียที่ไมนาเปนพิษ
กระบวนการที่ใชในการบําบัดของเสียจากอุตสาหกรรมอาจแยกออกไดเปนทางกายภาพเคมีหรือ
ชีวภาพ

วิธีทางกายภาพ
1. การรอนเพื่อกําจัดของแข็งที่มีขนาดใหญ เชนโรงงานบรรจุผักกระปอง โรงงานทํา
กระดาษ เปนตน
2. การใชแรงเหวี่ยงเพื่อเพิ่มความเขมขนของของแข็ง เชน การกําจัดน้ําออกจากโคลน
ใน อุตสาหกรรมเคมี
3. การกรองเพื่อเอาอนุภาคที่เปนของแข็งเล็กๆ ออกไป เชน ขั้นตอนสุดทายในการทํา
ความสะอาดน้ําเสียจากโรงงานผลิตสารเคมีและโลหะ
4. การตกตะกอนเพื่อเอาโลหะหนักออกไป เชน การแยกของแข็งอนินทรียสารใน
การสกัดแร ถานหิน และการผลิตดินเหนียว
5. การลอยตัวเพื่อแยกเอาของแข็งที่เบาออกไป เชน การแยกไขและน้ํามันออกจาก
อุตสาหกรรมเคมีและอาหาร
6. การทําใหแข็งตัวเพื่อเพิ่มความเขมขนของของเหลวและโคลน เชน การเอาโลหะ
กลับคืน
7. การสกัดดวยตัวละลายเพื่อเอาสารที่มีคากลับคืน เชน ในอุตสาหกรรม coat
carbonising และ plastics
8. การแลกเปลี่ยนไอออนสําหรับการแยกและทําใหเขมขน เชน ในกระบวนการทํา
โลหะ
9. การ Reverse Osmosis สําหรับการแยกของแข็งที่ละลายได เชน การเอา
เกลือ ออกจากกระบวนการและน้ําลาง
10. การดูดซับเพื่อการทําใหเขมขนและกําจัดเอาสิ่งเจือปนออกไป เชน ใน
อุตสาหกรรม ยาฆาแมลง การเอาของเสียออก
ถานกัมมันตเปนตัวดูดซับที่สําคัญมากในการขจัดสารอินทรียที่ละลายได คารบอนจะถูก
นํากลับมาใชใหมอีก การเผาที่ 950๐ C ในบรรยากาศที่มีไอน้ํา ซึ่งจะเปนการออกซิไดส
สารอินทรียที่ถูกดูดซับ ตัวดูดซับอื่น ๆ ที่ถูกนํามาใชรวมกับพอลิเมอร เชน Amberlite

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 106
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

XAD-4 (polystyrene-divinyl benzene copolymer) ซึ่งจะเอาสารอินทรีย


ที่แตกตัวไมไดทั้งหมดออกและนํากลับมาใชใหมอีกโดยการลางดวยตัวทําละลาย

วิธีทางเคมี
1. โลหะต า งๆอาจตกตะกอนในรู ป ไฮดรอกไซด ที่ ไ ม ล ะลายโดยการเติ ม แคลเซี ย ม
ไฮดรอกไซด (lime) ลงไป เฟอรรัสซัลเฟตอาจจะถูกเติมลงไปชวยในกระบวนการนี้โดย
การตกตะกอนรวม ไมใชโลหะทุกชนิดจะตกตะกอนอยางสมบูรณโดย lime แตกระบวนการร
นี้สามารถชวยไดโดยการเติมซัลไฟดไอออน โซเดียมคารบอเนตอาจจะมีประสิทธิภาพมากกวา
lime สําหรับโลหะ เชน Fe หรือ Mn ซึ่งเกิดเปนสารประกอบคารบอเนตที่ไมละลาย
2. การปรับ pH ของน้ําโดยใชปูนขาว โซเดียมไฮดรอกไซดหรือ
คารบอนไดออกไซด
3. คลอรีนอาจถูกใชในการทําลายสารเชิงซอนของโลหะกับลิแกนดอินทรีย
4. เทคนิค Electrodeposition อาจถูกใชในการเอาโลหะออกไป เชน ใน
อุตสาหกรรม การทําเหลาวิสกี้จะผลิตน้ําเสียที่มีทองแดง ซึ่งทองแดงจะถูกเติมเขาไปเพื่อกระตุน
การกลั่นแบบดั้งเดิมในภาชนะที่ทําดวยทองแดงและทําใหของเสียมีความเปนพิษมากกวาแตกอน
เครื่องมือไดถูกพัฒนามาโดยใชการจับทองแดงที่ขั้วไฟฟาคารบอน วิธีนี้ไมเพียงแตทองแดงจะถูก
ขจัดออกไปจากของเสียแตยังสามารถนํากลับคืนมาใชใหมไดอีก
5. การออกซิเดชั่นโดยใชโอโซน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด คลอรีน หรือเปอรมังกา
เนต หรือเคมีไฟฟา สามารถนํามาใชในการเอาสารอินทรียที่ละลายออกได

วิธีทางชีวภาพ
ของเสียที่เปนพิษประกอบดวยสารอินทรียอาจถูกบําบัดทางชีวภาพ ในวิธีการที่คลายคลึง
กับการบําบัดน้ําโสโครก อยางไรก็ดี เทคนิค เชน trickling filtration จะทํางาน
ไมไดดีกับ ของเสียที่เปนพิษ เนื่องจากสารพิษอาจจะยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพ
กระบวนการทางชีวภาพที่ไดรับความนิยมมากที่สุดไดแก ระบบการกรองดวยอัตราเร็วสูงโดย
ตัวกลางที่เปนพลาสติก กับรอยการหมุนที่สูงและกับวิธี Activated sludge method
โคลนที่เกิดจากการบําบัดทางชีวภาพของเสียที่เปนพิษจะมีปริมาณโลหะและสารอินทรียที่
ถูกดูดซับคลอรีนสูงมาก ปญหาเดิมก็จะเกิดขึ้นเมื่อผสมของแข็งจากแหลงชุมชนและอุตสาหกรรม
เขาดวยกัน โคลนที่เปนพิษนี้จะไมเหมาะสมในการทําเปนปุย และตองไดรับการบําบัดตอไปหรือ
กําจัดอยางปลอดภัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 107
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

แบคทีเรียแบบไมใชออกซิเจนอาจถูกใชในการยอยสลายอาศัยประกอบอืนทรียในโคลนที่
เปนพิษ แลวจึงทําใหเขมขนขึ้น (เชน ลดปริมาณน้ําลง) ซึ่งจะใหของแข็งที่ชื้น ปกติจะทิ้งให
แหงบนกองกรวด จากนั้นอาจจะเอาไปฝงกลบหรือฝงไวในมหาสมุทรหรือทําการเผา ในแตละ
วิธีนี้ก็จะมีขอเสียตอสิ่งแวดลอม ดังที่ไดกลาวมาแลวในของเสียจากอาคารบานเรือน
วิธีการที่มีอยูสําหรับลดพิษของของเสียที่เปนพิษจากอุตสาหกรรมเฉพาะ เชน โลหะ
อาจจะถูกเอาออกโดยการสลายตัวดวยกรด และการสลายตัวดวยไฟฟา สารกัมมันตรังสีอาจถูก
เอาออกโดยการสกัดดวยกรดและตกตะกอน

การกําจัดของเสียที่เปนอันตราย
บางตัวอยางขององคประกอบของเสียที่เปนอันตราย สารประกอบหลายๆตัวในสารเหลานี้
อาจจะถูกจําแนกวาเปนมลพิษในอากาศ น้ําและดิน ในบทเรียนกอนหนานี้มีความสําคัญอยางยิ่ง
ในการจัดการและกําจัดของเสียที่เปนอันตรายเหลานี้ดวยการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่สุด

การเผาของเสียที่เปนอันตราย
เตาเผาเหลานี้ใชเฉพาะเจาะจงกับของเสียทางเคมีจากอุตสาหกรรม ( อุตสาหกรรมเคมี
อุตสาหกรรมปโตรเลียม โลหะ ผูผลิตเครื่องมือทางไฟฟาและอื่น ๆ ) จะเห็นไดอยางชัดเจนวา
ของเสียจากผูผลิตเหลานี้จะแตกตางจากของเสียจากอาคารบานเรือน ในขณะที่ของเสียจากอาคาร
บานเรือนจะมีสารเคมีที่เปนพิษปนเปอนอยูนอยมากหรือไมมีเลย ของเสียจากอุตสาหกรรมเหลานี้
อาจจะมีระดับสารที่เปนอันตรายอยูสูงมาก ( ซึ่งอาจจะติดไฟ เปนพิษ เปนอันตราย กัดกรอน
ระเบิดหรือออกซิไดส ) ซึ่งอาจจะอยูในรูปของเหลว ของแข็ง หรือกาซ
ในการใชเตาเผากับของเสียที่เปนพิษนี้เปนที่นิยมมากในบางประเทศ โดยมากจะรับ
จัดการโดยบริษัทเฉพาะ ( เชน ในประเทศอังกฤษ บริษัทประเภทนี้เรียกวา ReChem ซึ่ง
เปนเพียงบริษัทเดียวที่ไดรับอนุญาตทางกฎหมายในการใชเตาเผานี้ ) เทคโนโลยีที่ถูกนํามาใชจะ
คลายคลึงกับที่ใชในเตาเผาของเสียจากอาคารบานเรือน เกี่ยวของกับการเตรียมของเสีย ( ของเสีย
ถูกเตรียมเพื่อการเผา เชน โดยการผสมกับองคประกอบที่ติดไฟได หรือทําใหมีขนาดเล็กลง
เชนของเสียที่เปนของแข็ง ) การเผาไหม ( ใชเงื่อนไขเดียวกับการเผาไหมที่มีประสิทธิภาพดังที่
ไดอธิบายใน MSWI ) และอากาศที่เปนพิษจะถูกขจัดออก มาตราฐานของเตาเผาของเสียที่
เป น อั น ตรายจะอาศั ย หลั ก การของการทํ า ลายขององค ป ระกอบอิ น ทรี ย ที่ เ ป น อั น ตราย
“Principal Organic Harzadous Constituents (POHC) ใน USA
EPA กําหนดวาตองการ 99.99 % ของ POHC ตองถูกทําลาย และ99.9990 %
ของ dioxin ตองถูกทําลาย”
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 108
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

ปญหาเกี่ยวกับการใชเตาเผากับสารเคมีที่เปนอันตรายก็คือเนื่องจากปริมาณสารที่เป น
อันตรายเริ่มตนมีมีคาสูงมาก ถึงแมจะไดรับมาตราฐานดังกลาว ผลที่ออกมาในสารพิษที่ถูกปลอย
จากการเผาไปสูแหลงทองถิ่น และเกิดการสะสมไปตามกาลเวลา ไมเพียงแคนั้นการรวมตัวของ
สารที่เปนอันตรายในกระบวนการเผาคือปญหา โดยเฉพาะเมื่อเผา PCBs dioxins จะเกิด
การรวมตัวโดยปฏิกริยาออกซิเดชัน

แบบฝกหัดบทที่ 10
1. การกวาด เปนการบําบัด/กําจัดโดยอาศัยหลักการทางดานใด
‫א‬. ทางเคมี
‫ב‬. ทางชีววิทยา
‫ג‬. ทางฟสิกส
‫ד‬. ทางฟสิกสเคมี
2. การกําจัดของเสียที่เปนของแข็งสวนใหญมักใชวิธีใด
‫א‬. เผา
‫ב‬. ฝง
‫ג‬. ใหกับรถขยะ
‫ד‬. ใชไดทั้ง 3 ขอ
3. หลักหารจัดการในเก็บรวบรวมสารพิษจากแหลงกําเนิดมาทําลายพิษนั้นสามารถกระทําไดตาม
ขอใดจึงจะปลอดภัย กอนที่จะนําไปฝงดิน
‫א‬. ผสมซีเมนต
‫ב‬. เผาทิ้ง
‫ג‬. ใชสารเคมีทําลายพิษกอน
‫ד‬. ใชไดทั้ง 3 ขอ
4. ขอใดไมใชสาเหตุที่ไมสามารถผสมของเสียจากอุตสาหกรรมและจากอาคารบานเรือนรวมกัน
กอนการบําบัดได
‫א‬. ในพื้นที่เขตชนบทที่มีระบบน้ําโสโครกที่เหมาะสม
‫ב‬. ในที่ที่ตองใชคาใชจายแพงในการนําเอาองคประกอบในของเสียจากอุตสาหกรรม
กลับคืนหรือนําไปใชใหม
‫ג‬. ในกรณีที่น้ําทิ้งจากอาคารบานเรือนจะนําไปใชในการชลประทานโดยตรง

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 109
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

‫ד‬. ในกรณีที่ของเสียจากอุตสาหกรรมมีการปนเปอนสูงมากและผิดกฎหมายที่จะ
ปลอยลงสูน้ําทิ้ง
5. ถามีความจําเปนที่ตองรวบรวมน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและจากบานเรือนมาบําบัด
รวมกัน สามารถปฏิบัติไดตามขอใด
‫א‬. โดยการเติมเขาไปหรือกรองสารละลายมากกวาทีจ่ ะกําจัดออกไป
‫ב‬. โดยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในการใชสารที่มีความเปนพิษนอยลง
‫ג‬. โดยการทําความสะอาดและทําใหแหงกอนที่จะลางของแข็งลงสูทอระบายน้ํา
‫ד‬. สามารถทําไดทั้ง 3 ขอ
6. หลักการในการกําจัดน้ําออกจากโคลนของอุตสาหกรรมเคมี สามารถกระทําไดตามขอใด
‫א‬. การรอนเพื่อกําจัดของแข็งทีม่ ีขนาดใหญ
‫ב‬. การใชแรงเหวีย่ งเพื่อเพิ่มความเขมขนของของแข็ง
‫ג‬. การกรองเพื่อเอาอนุภาคที่เปนของแข็งเล็กๆ ออกไป
‫ד‬. การลอยตัวเพือ่ แยกเอาของแข็งที่เบาออกไป
7 เราสามารถใชสารเคมีในขอใดปรับคาพีเอชของน้ําได
‫א‬. ปูนขาว
‫ב‬. โซเดียมไฮดรอกไซด
‫ג‬. คารบอนไดออกไซด
‫ד‬. ใชไดทั้ง 3 ขอ
8. สารเคมีในขอไดชวยในการตกตะกอน Fe และ Mn ไดดี
‫א‬. ปูนขาว
‫ב‬. โซเดียมคารบอเนต
‫ג‬. คลอรีน
‫ד‬. โซเดียมไฮดรอกไซด

9. ขอใดตอไปนีค้ ือหลักในการเตรียมของเสียอันตรายกอนนําไปเผาในเตาเผาอุณหภูมิสูง
‫א‬. ผสมกับองคประกอบที่ติดไฟได
‫ב‬. ทําใหมีขนาดเล็กลง
‫ג‬. แยกของเสียทีไ่ มอันตรายออกกอน
‫ד‬. ถูกทั้ง 3 ขอ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 110
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

10. ขอใดไมใชความหมายของโรงงาน ตามความหมายในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.


2535
‫א‬. ใชคนงานตั้งแต 7 คนขึ้นไป
‫ב‬. ใชคนงานตั้งแต 50 คนขึ้นไป
‫ג‬. อาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแต 5 แรงมาขึ้นไป
‫ד‬. ใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม เพื่อใชผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง
ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ หรือทําลายสิ่งใด ๆ

เฉลย
บทที่ 1 1.ง 2.ข 3.ก 4.ค 5.ง 6.ค 7.ก 8.ข 9.ข
10.ค

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 111
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส
รายวิชา วท 351 สาขาวิชา วิทยาศาสตรทั่วไป คณะ วิทยาศาสตร

บทที่ 2 1.ข 2.ก 3.ง 4.ข 5.ค 6.ค 7.ข 8.ก 9.ข
10.ง
บทที่ 3 1.ง 2.ก 3.ก 4.ง 5.ค 6.ง 7.ค 8.ก 9.ง
10.ค
บทที่ 4 1.ข 2.ง 3.ง 4.ก 5.ก 6.ง 7.ข 8.ค 9.ข
10.ง
บทที่ 5 1.ก 2.ก 3.ข 4.ข 5.ค 6.ง 7.ข 8.ง 9.ข
10.ค
บทที่ 6 1.ง 2.ข 3.ค 4.ข 5.ค 6.ง 7.ค 8.ค 9.ข
10.ง
บทที่ 7 1.ง 2.ง 3.ง 4.ค 5.ก 6.ข 7.ง 8.ก 9.ข
10.ง
บทที่ 8 1.ก 2.ง 3.ข 4.ง 5.ค 6.ค 7.ง 8.ค 9.ข
10.ง
บทที่ 9 1.ค 2.ก 3.ค 4.ข 5.ง 6.ก 7.ข 8.ง 9.ง
10.ง
บทที่ 10 1.ค 2.ง 3.ง 4.ก 5.ง 6.ข 7.ง 8.ข 9.ง 10.ข

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 112
โครงการสงเสริมการผลิตเอกสารชุดการเรียนที่เปนการสรุปเนื้อหาในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส

You might also like