You are on page 1of 84

Sensor and Transducer

Introduction to Process Instrumentation


Instrumentation หมายถึง การออกแบบ (Engineering), การจัดหา (Procurement) ,
การติดตั้ง (Installation) รวมถึงการทดสอบและนําเขาใชงาน(Commissioning) เครื่องมือวัด
ทางอุตสาหกรรมรวมทัง้ ระบบควบคุม (Control System) ที่ใชสาํ หรับงานอุตสาหกรรมการ
ผลิตแบบเปนขบวนการ (Process Industry)

9 Sensor / Detector เปนอุปกรณตรวจวัดคาของ Process Variable ไดแก Pressure , Level


, Temperature , Vibration Sensor , Speed Sensor , etc.
9 Transmitter / Transducer / Switch = อุปกรณสงสัญญาณไฟฟา ซึ่งมีหนาที่ในการแปลง
Process Variable เปน Electrical Signal
9 Control equipment room = ประกอบดวยอุปกรณทางไฟฟาตาง ๆ เชน Controller,
Recorder เปนตน เพื่อใชในการประมวลผล
9 Final Element = Control Value, Air Cylinder, Actuator, etc.
1. รูปแบบของเครื่องมือวัด (Instrument Type) มี 2 รูปแบบ คือ
• Direct Mount หรือ Field Mount เปน Instrument ที่มีสวน sensor และสวนแสดงผล รวมอยูดวยกัน
และมี Casing อยางดี เพื่อปองกันความเสียหายจากสภาวะตาง ๆ อุปกรณเหลานี้ เชน Pressure
Gauge, Level Transmitter, Temp. Switch เปนตน
• Panel Mount/Control Room Mount เปน Instrument ที่ตองติดตั้งไวภายในหองที่มีการปรับสภาพ
อากาศ โดยมากจะเปนหองแอร Instrument เหลานี้ไดแก Recorder, Alarm, Controller เปนตน
Measurement Accuracy ความถูกตองของการวัดขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ดังนี้
a. Accuracy Class of Calibration Equipment อุปกรณที่ใชปรับแตงตองมีaccuracy ที่สงู กวา
instrument มากๆ
b. Amplitude of Measuring Value คาที่วัดไดยิ่งสูงยิ่งดี ( high amplitude ) เพราะทําใหงายตอการ
นําไปใชงาน รวมทั้งลดปญหาจากการรบกวนของ noise
c. Error From Sensor ที่เกิดจาก
- Ambient Conditions โดยเฉพาะอุณหภูมิที่มีผลตอการวัดเกือบทุกประเภท
- Aging อายุการใชงานยิ่งนานยิ่งทําใหเกิดคา error จากการวัดไดงาย
- Friction โดยมากมักเกิดกับอุปกรณที่มีชิ้นสวนเคลื่อนที่
- Interaction Loss เปนปญหาตอเนื่องมาจาก friction
- Readability โดยมากมักเกิดจากสวนแสดงผลและผูอานคา
- Time Lag เปนธรรมชาติของอุปกรณที่ไมสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงไดอยาง
ทันทีทันใด
- Transmission การสงถายสัญญาณทั้งแบบ pneumatic and electrical signal ยอมเกิด
error ขึ้นเสมอ สวนมากมาจากปญหาของ signal loss
- อื่น ๆ
Terminology in Measurement เปนศัพทที่เกี่ยวของกับงาน Instrument มากที่สุด เมื่อใดที่มีการ
กลาวถึงเรื่องการวัดจะตองมี 4 ขอนี้เขามาเกี่ยวของเสมอ
a. Accuracy
b. Repeatability
c. Linearity
d. Sensitivity
2. Control System
2.1 Open Loop Control
Sequence Control หมายถึง การควบคุมลําดับการทํางานตามขั้นตอนที่กําหนดไว เปน Open
Loop Control ที่ใชกันอยางกวางขวาง เชน วงจร Safety หรือ Interlock แบงเปน 2 แบบ คือ
- Time Sequence
- Logic Sequence
2.2 Feed Forward Control
เปนการควบคุมอีกแบบหนึ่งที่นําเอาคาของสัญญาณของ Disturbance เขามาเพื่อทําการปรับแตง
Manipulated Variable กอนที่ Controlled Variable จะเปลี่ยนแปลงไปมาก นิยมใชกับ process ที่
มีการเปลี่ยนแปลงของ load บอย ๆ เมื่อนําการควบคุมชนิดนี้เขามาใชรวมใน Feedback Loop จะทําให
Controlled Variable เกิดเปลี่ยนแปลงหรือมี Deviation นอยที่สุด
จากรูป
water temperature outlet = controlled variable
steam flow rate(inlet) = manipulated variable
water flow rate(inlet) = disturbance
การวัดอุณหภูมิ
Temperature Measurement

1. บทนํา
อุณหภูมินับเปนพารามิเตอรพื้นฐานตัวหนึ่งที่ตองทําการวัดคา เพื่อนําไปใชประโยชนในprocess
control system ใหเปนไปตามตองการ
คําวา “อุณหภูมิ” (Temperature) และความรอน (Heat) มีความหมายใกลเคียงกันมาก แตอุณหภูมิ
จะหมายถึงระดับของความรอน (Degree of Heat) พูดงายๆคือ อุณหภูมิเปนตัวแทนของความรอนนั่นเอง สวน
ความรอนหมายถึง ปริมาณพลังงานความรอน (Quantity of Heat Energy)
1.1 Temperature Scale
มีหลาย Scale แตที่นิยมใชกันในงานอุตสาหกรรมมากที่สุดคือ เซลเซียส (พบมากที่สุด), ฟาเรนไฮต
(พบรองลงมา), เคลวิน (พบนอยมาก)
ความสัมพันธของ Scale ตาง ๆ เปนดังนี้
9 ความสัมพันธระหวาง Celsius and Fahrenheit
C = F – 32
5 9
9 ความสัมพันธระหวาง Celsius and Kelvin
K = C + 273.15
9 ความสัมพันธระหวาง Rankine and Fahrenheit
R = F + 459.69
9 ความสัมพันธระหวาง Reaumur กับ Fahrenheit
R′ = F – 32
80 180
การเขียนสัญลักษณที่ถูกตองเปนดังนี้
o
C , oF , oR , oR′ , K ( ไมตองมี o )
1.2 Zero Absolute Temperature
คือ อุณหภูมิ 0K หรือ –273.15 oC เปนจุด Ideal Point คือ ณ จุดนี้ จะไมมีพลังงานความรอนเหลืออยู
เลย และ electron จะหยุดโคจรรอบนิวเคลียสของสารนั้น ๆ ซึ่งในทางปฏิบัติไมสามารถกระทําได หรือ
ปรากฏการณนี้ไมมีในโลกแหงความเปนจริงนั่นเอง
1.3 Reference point Fundamental
โดยทั่วไปจะใชจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน้ํา โดยอุณหภูมิที่อยูในชวงนี้เรียกวา Fundamental
Interval คือ 0 – 100 oC นั่นเอง
1.4 International Practice Temperature Scale (IPTS)
IPTS ไดถูกกําหนดขึ้นเมื่อป ค.ศ.1927 และไดทําการ Revise เรื่อยมาจนกระทั่งครั้งลาสุดเมื่อป 1990
เพื่อใหทันสมัยขึ้นตามเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาตามลําดับ
IPTS เปนคา Fixed Point Temperature ที่กําหนดมา เพื่อใชเปนตัวเลขอางอิง สําหรับการปรับแตง
(Calibrate) เครื่องมือวัดอุณหภูมิ (Temperature Instrument) ซึ่งมีทั้งหมด 17 คา Fixed Point ดังตาราง
Fixed Points on the IPTS (1990 Definitions)
Fixed Point No. Substance State Temperature oC
1 He (Helium) Vapor -270.15 to – 268.15
a b
2 e-H2 (Hydrogen) Triple Point -259.3467
3 e-H2 (Hydrogen) Vapor -256.16
4 e-H2 (Hydrogen) Vapor -252.85
5 Ne (Neon) Triple Point -248.5939
6 O2 (Oxygen) Triple Point -218.7916
7 Ar (Argon) Triple Point -189.3442
8 Hg (Mercury) Triple Point -38.8344
9 H2O (Water) Triple Point 0.01
10 Ga (Gallium) Melting 27.7646
11 In (Indium) Freezing 156.5985
12 Sn (Tin) Freezing 231.928
13 Zn (Zinc) Freezing 419.527
14 Al (Aluminium) Freezing 660.323
15 Ag (Silver) Freezing 961.78
16 Au (Gold) Freezing 1064.18
17 Cu (Copper) Freezing 1084.62
a
e-H2: Hyhdrogen at the Equilibrium Concentration of Orhomolecular and Paramolecular Forms.
b
Triple Point: Temperaure at which he Solid, Liquid, and Vapor Phases are in Equilibrium.
ในการวัดอุณหภูมิมักอาศัยตัวแปรสัญญาณเชิงกลหรือ เชิงไฟฟาแบบตางเปลี่ยนคาอุณหภูมิเปนคา
แปรมูลฐาน อันไดแก การเปลี่ยนแปลงตําแหนง, ความดัน (หรือแรงหรือแรงปด) แรงดันไฟฟา (หรือ
กระแสไฟฟา), impedance แลวสงเขาเครื่องวัดทําการเปลี่ยนคาแปรมูลฐานดังกลาวเปน การเปลี่ยนแปลง
ตําแหนงขั้นสุดทาย เพื่อ indicator หรือ record หรือไปขับกลไกในเครื่องควบคุมตอไป
การเลือกใชเครื่องวัดอุณหภูมิแบบใดนั้น จะตองพิจารณาถึงความเหมาะสมกับงาน เนื้อที่วางและ
สภาพแวดลอมของจุดวัด ชวงอุณหภูมิที่ตองการวัด ความจําเปนของการวัดจากที่ไกล ความละเอียดแมนยําและ
ความวางใจได (Reliability) ของคาวัด ความทนทาน และความสะดวกในการใชและบํารุงรักษาตลอดจนราคา
เชิงเศรษฐกิจ เปนตน
ในวงการอุตสาหกรรมในปจจุบัน การวัดอุณหภูมิเชิงไฟฟา โดยใชthermocouple และความตานทาน
ไฟฟา เปนแบบที่ใชมากที่สุดคือมากวาครึ่งหนึ่งของการวัดอุณหภูมิทั้งหมด ทั้งนี้เปนเพราะตัววัดทั้งสองมีชวงวัด
อุณหภูมิที่เหมาะสม, มีความละเอียดแมนยําสูง, สามารถวัดจากที่ไกลได และสัญญาณที่สงออกเปน
สัญญาณไฟฟา ซึ่งสะดวกในการใชรวมกับเครื่องวัด เครื่องบันทึก หรือเครื่องควบคุมแบบไฟฟาได
สวนการวัดอุณหภูมิเชิงกล โดยใชตัววัดแบบกระเปาะบรรจุของเหลวนั้น ยังคงนิยมใชกันอยูมาก เพราะ
ตัววัดแบบนี้ไมตองอาศัยพลังขับดันอื่นมาชวย, แข็งแรงทนทาน, สะดวกในการใชและบํารุงรักษา
2. วิธีการวัดอุณหภูมิ (Method of Temperature Measurement) มี 2 แบบ คือ แบบสัมผัส (Contact
Meas.) และแบบไมสัมผัส (Non-Contact Meas.) ซึ่งมีวิธีการวัดได 4 ชนิด คือ
¾ Expansion Thermo Instrument เปนแบบ Contact Measurement
¾ Filled System Instrument เปนแบบ Contact Measurement
¾ Electrical Temperature Instrument เปนแบบ Contact Measurement
¾ Radiation Temperature Instrument (Pyrometer) เปนแบบ Non-Contact Measurement
¾ Other Type
2.1 Expansion Thero Instrument มี 3 สถานะ คือ
- Solid Expansion ไดแก Bimetallic Temperature Instrument
- Liquid Expansion ไดแก Liquid in Gas Temperature Instrument
- Liquid in Metal Temperature Instrument
- Gas Expansion ไดแก Gas Thermometer
ซึ่งจะกลาวถึงในรายละเอียดดังตอไปนี้
โครงสรางของ Thermometer ประกอบดวย
1. Meauring หรือ Bulb คือ กระเปาะสวนที่บรรจุของเหลวมีผนังบาง เพื่อใหความรอนถายเทไปยัง
ของเหลวในกระเปาะไดดี เปนสวนที่ใชวัดอุณหภูมิ
2. Stem คือ กานแทงยาวภายในเปนทอเล็ก ๆ (Capillary) ใหของเหลวขยายตัววิ่งเขาไป เมื่อไดรับ
อุณหภูมิ
3. Scale คือ ขีดแสดงวาอุณหภูมิที่ติดอยูบน Stem บอกคาอุณหภูมิโดยดูจากระดับของเหลวใน
Capillary
4. contraction Chamber เปนสวนขยายกวางใน Capillary มีไวปองกันไมใหของเหลวหดตัวเขาไปใน
กระเปาะ เมื่อวัดอุณหภูมิต่ําเกินไป (บางตัวไมมี)
5. Expansion Chamber เปนสวนขยายกวางของ Capillary ดานบนสุดของเทอรโมมิเตอร มีไวเพื่อ
ระบายความดันไอของกาซที่อยูดานบนของของเหลว เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเทอรโมมิเตอรเสียหาย เมื่อวัด
อุณหภูมิสูง ๆ
6. Immersion Ring มีเฉพาะเทอรโมมิเตอรแบบ Partial Immersion Thermometer เปนขีดบอกเพื่อให
จุมเทอรโมมิเตอร จนผิวของของเหลวอยูที่ขีดนี้ เพื่อวัดอุณหภูมิของของเหลว
2.1.1 Solid Expansion (Bimetallic Thermo Instrument)
ใชหลักการขยายตัวของวัสดุ เมื่อไดรับความรอนหรืออุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปมีความสัมพันธดังนี้
ΔL = k LoΔT
ΔL = ความยาวที่เปลี่ยนแปลง
Lo = ความยาวเริ่มตน
ΔT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง
k = สัมประสิทธิ์ของการขยายตัว เนื่องจากอุณหภูมิของวัตถุ
หลักการขางตน จึงไดมีการนําแถบโลหะ 2 ชนิด ทีมีคา k ตางกันมาประกบเขาดวยกัน เมื่อไดรับความรอน การ
ขยายตัวที่แตกตางกัน ทําใหแถบโลหะเกิดการโคงงอขึ้นดังรูป
ที่มา Instrumentation for engineering measurement(second edition)
JAMES W. DALLY,WILLIAM F.RILEY,KENNETH G. McCONNELL
1993 , ISBN 0471-551-929
โดยที่ระยะการโคงงอขึ้นอยูกับ
1. ความแตกตางของคา k ยิ่งตางกันมาก การโคงงอจะมากขึ้นดวย
2. คา Lo หรือความยาวของแถบโลหะยิ่งยาวมาก การโคงงอก็มาก
3. ΔT หรือระดับอุณหภูมิ
4. ความหนาของแถบโลหะ
คาความไวในการวัด (Sensitivity) ขึ้นอยูกับคา k, Lo และความหนาของแถบโลหะ แถบโลหะที่นิยมใช
สวนมากจะเปน Invar (36% Ni + 64% Fe) ซึ่งมีคาและ Brass หรือโลหะผสมระหวาง Fe + Cr + Mn + Ni
ซึ่งมีคา k สูง
ไดมีการนําเทคนิคของการเพิ่มระยะการเคลื่อนที่ เชนเดียวกับการวัดความดันแบบ Bourdon Tube มา
ประยุกตใชกับการวัดอุณหภูมิ โดยมีรูปแบบที่คลาย ๆ กัน เชน
- แบบ Helix
- แบบ Spiral
เพื่อใหสามารถอานคาที่สวนแสดงผลไดงายขึ้น และเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนขึ้น
ยานการใชงาน (Measuring Range) โดยทั่วไปอยูในชวง –75 ถึง 540oC
การใชงาน
ใชเปน Temperature Gauge นิยมใชงานโดยทั่วไป
ใชเปน Temperature Switch ซึ่งนิยมใชงานมากชนิดหนึ่ง
ขอดี
1. ราคาคอนขางถูก
2. แข็งแรง ทนทาน
3. ใชวัดอุณหภูมิใน Range ที่กวาง
4. ติดตั้งงาย บํารุงรักษางาย คาใชจางต่ํา
5. ใหคา Accuracy เปนที่นาพอใจ เมื่อเทียบกับราคา
ขอดอย
1. ติดตั้งไดเฉพาะ Field Mounting เทานั้น
2. การขนสงและการติดตั้งตองกระทําอยางระมัดระวัง ในเรื่องของการกระแทก เพราะอาจทําใหเกิด
Error ในการวัดได
3. ไมนิยมใชเปนอุปกรณวัดคาแบบอางอิง เนื่องจากมีคา Accuracy คอนขางต่ํา หรือมีความนาเชื่อถือต่ํา
นั่นเอง
2.1.2 Liquid in Glass Thermo Instrument
หรือที่รูจักกันโดยทั่วไปคือ Thermometor แบบแทงแกวนั่นเอง เปนเครื่องมือวัดอุณหภูมิที่นิยมใชกัน
อยางแพรหลาย เชน ในโรงงานอุตสาหกรรมในหองทดลอง ในโรงพยาบาล เปนตน
ยานการวัดขึ้นอยูกับของเหลวที่เติมลงไปใน Bulb แตโดยทั่วไปจะมี Measuring Rang อยูในชวง –120
ถึง 320oC ขึ้นอยูกับของเหลวที่ใชเติมและเทคนิคการออกแบบ เชน หากใชปรอทจะมีขอจํากัดในเรื่องของ
Freezing Point ที่ –39oC ดังนั้นจึงตองการใช Alcohol แทน เปนตน หรือในกรณีของการวัดที่อุณหภูมิสูง ๆ หาก
ใชปรอทที่มีโอกาสเกิดการระเหยได จึงตองใชการอัดดวยกาซไนโตรเจนที่ความดันประมาณ 30-300 psig ขึ้นอยู
กับอุณหภูมิที่ตองการวัด
อยางไรก็ตามหากอุณหภูมิเกิน 600oC จะไมนิยมใช Thermometer ชนิดนี้ เพราะความรอนจะทําให
กระเปาะแกวเสียหายหรือถายังไมเสียหายก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณในสวนที่เปน Capillary Tube ทําให
การวัด Error ขึ้นได
ขอดี
1. ราคาถูก
2. โครงสรางแบบงาย
ขอดอย
1. แตกหักงาย
2. อานคาไดยาก จึงไมนิยมใชงานอุตสาหกรรม
3. ที่อุณหภูมิสูง ๆ ทําให Volume ของ Capillary เปลี่ยนแปลงเกิด Error ได
4. ไมสามารถใชงานแบบที่มีการขึ้นลง (Fluctuating Temperature) ของอุณหภูมิ
5. ใชเปน Indicator ไดเทานั้น
2.1.3 Liquid in Metal Thermo Instrument
เปน Thermometer ที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อแกไขขอดอยของ Liquid in Glass Thermometer โดยการใช
กระเปาะโลหะ (Steel Bulb) แทนแกว จึงจําเปนตองนําหลักการทํางานของ Bourdon มาประยุกตใชงานรวม
ดวย เพื่อใหสามารถมองเห็นสภาพการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบน Scale ได เนื่องจากวา Steel Bulb ไม
สามารถผานใหเห็นปรอทหรือ Working Fluid ภายในได
โดยปกติจะใชปรอทบรรจุอยูภายใน Bulb แตเนื่องจากมีขอจํากัดเรื่องการวัดที่อุณหภูมิต่ํา ๆ จึงไดมี
การใช Fluid อื่น ๆ อีกเพื่อแกไขจุดดอยดังกลาว

Liquid Temperature Range (oC)


Mercury -39 to 650
Xylene -40 to 400
Alcohol -46 to 150
Ether 20 to 90
Other Organic Liquid -87 to 260
Napthalene -15 to 260
Ethybenzene -85 to 175
Ethyl Alcohol -130 to –50
Kerosene -50 to 130

2.1.4 Gas Thermometer


อาศัยกฎของชารล (Charles’s Law) คือ ความดันของกาซจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ ในปริมาณที่
จํากัด
P1 V1 = P2 V2
T1 T2
ในกรณีนี้ V1 = V2 เนื่องจาก Volume ที่บรรจุกาซคือ Bulb ซึ่งมีคาคงที่จะได
P1 = P2
T1 = T2
โครงสรางของ Gas Thermometer จะคลายกับอุปกรณวัดความดันแบบ Bourdon Tube โดยภายใน
Bourdon Tube จะบรรจุดวยกาซบางชนิดที่นิยมคือ Nitrogen Gas และ Helium Gas
เมื่อกาซไดรับความรอน จะเกิดการขยายตัวทําให Bourdon Tube ยืดตัวออกและสามารถอานคา
ออกมาในรูปของอุณหภูมิได
ขอดีของ Gas Thermometer คือมีความไว (Sensitivity) ในการวัดดีกวาแบบ Liquid Expansion
System ดวยขนาด Bulb ที่เทากันและรูปรางที่เหมือนกัน
2.2 Filled System thermo Instrument
Fluid ที่ใชเติมมี 3 ลักษณะ คือ Gas Filled, Liquid Filled และ Vapor Pressure Thermometer
2.2.1 Gas Filled Thermometer
อาศัยหลักการ Charles’s Law (กฎของชารล) คือ เมื่อปริมาณคงที่หรือถูกจํากัด ความดันของกาซจะ
เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
โครงสรางจะเหมือนกับแบบ Gas Thermometer ดังที่กลาวมาแลว
คุณลักษณะโดยทั่วไป
1. มี Measuring Range กวางที่สุดเมื่อเทียบกับ Filled System อื่น ๆ
2. สวนมากจะ Filled ดวย Nitrogen Gas ซึ่งมีชวงการวัดในยานอุณหภูมิสูงและปานกลาง โดยมี Critical
Point ที่ –232.7oF6
3. Helivon Gas Filled เหมาะสําหรับการวัดอุณหภูมิต่ํา ๆ ใกลกับ Zero Absolute Temperature (0k)
โดยมีจุด Critical Point อยูที่ – 450.3oF
4. Argon Gas ใชวัดในชวง 470 ถึง 760oC และโดยมาก Bulb จะเปนโลหะ
2.2.2 Liquid Filled Thermometer
หลักการทํางานอาศัยการขยายตัวของของเหลวภายใน Bulb ที่มีโครงสรางเปน Bourdon Tube
ของเหลวที่ใชสวนมากจะเปน Won Inert Hydrocarbon เชน Xylene (C8H10) ซึ่งมีสัมประสิทธิ์การ
ขยายตัวสูงกวาปรอทถึง 6 เทา และของเหลวที่ใชนี้จะไมใชปรอท
โครงสรางสวนใหญจะคลายกับแบบ Liquid in Glass และ Liquid in Metal Thermometer และมียาน
การวัดตามคุณสมบัติของของเหลวที่ Filled ดังตารางในหัวขอ 2.1.3
Thermometer แบบนี้มี 3 ลักษณะ คือ
a.) Class I (No Compensation) เปนแบบที่ไมมีการชดเชยคาผิดพลาดจะมี Capillary สั้น ๆ
b.) Class IA (Full Compansation) เปนแบบที่มีการชดเชยคา Error จากผลของอุณหภูมิที่มีตอ
Capillary Tube และ Pressure Element
c.) Class IB (Case Compenastion) เปนแบบที่มีการชดเชยคา Error ที่เกิดขึ้นจากผลของอุณหภูมิ
ที่มีตอ Pressure Flement เทานั้น
2.2.3 Vapor pressure Thermometer (Liquid Vapor Filled Thermometer)
ที่มา INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL (SECOND EDITION) , SK SINGH ,
ISBN 007-048-290X , Mc GRAW-HILL
ภายในกระเปาะจะบรรจุของเหลวที่สามารถระเหยเปนไอไดงาย ตามสภาวะการใชงาน โดยเมื่อ
ของเหลวไดรับความเย็นหรืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น จะเกิดการระเหยขึ้นไปอยูในสวนของ Bourdon Tube และเกิด
ความดันขึ้น ทําให Bourdon เคลื่อนที่และสามารถอานคาอุณหภูมิได
ในทางกลับกัน หากอุณหภูมิลดลงไอระเหยก็จะควบแนนกลับเปนของเหลวอีกครั้ง ทําใหความดันของ
กาซลดลง คาของอุณหภูมิที่อานไดก็ลดลงดวยเชนกัน
สําหรับของเหลวที่ใชเติมในกระเปาะนั้น มีหลายชนิดขึ้นอยูกับยานการใชงานวัด ดังตาราง
Liquid Critical Temp Boling Temp Measuring Range Available (oC)
(oC) (oC)
Argon -122 -185.7 Very Low Temp. Down To –253
Methyl Chloride 143 -23.7 0 to 50
Sulphur Dioxide 157 -10 30 to 120
Ethyl-Aleohol 243 78.5 94 to 177
Toluene 321 110.5 150 to 250
Ethyl-Chloride 187 12.2 30 to 100
Bulane (n) 154 -0.6 20 to 80
Methyl Bromide - 4.6 27 to 82
Di-Ethyl Ether 194 34.5 60 to 160
Water 375 100 120 to 220
2.2.4 Mercury Filled Thermometer
หลักการโดยที่ทั่วไปจะเหมือนกับ Liquid Filled Thermometer เพียงแตใชปรอทเปน Working Fluid
เทานั้น เนื่องจากปรอทมีคุณสมบัติที่ดีหลายประการ ไดแก
- มีสัมประสิทธิ์การขยายตัวต่ํา
- ใหคา Accuracy ในการวัดที่ดี
- ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไดดี
- ใหคาความดันที่สูง จึงทําใหลดคา Error ที่เกิดขึ้นจากผลของระยะหาง (ความสูง) ระหวาง
Measuring Bulb กับ Bourdon (Measuring Element) ซึ่งคาความดันภายใน Bourdon ที่เกิดขึ้นอาจ
สูงถึง 1200 psig ในกรณีที่อุณหภูมิสูง ๆ และต่ําสุดจะอยูที่ประมาณ 400 psig และดวยความดันที่สูง
นี้จึงเกิดพลังขับเคลื่อนสูง ทําใหสามารถนําไปใชงานตอเนื่องกับอุปกรณไดดี เชน ติดตั้งรวมกับ Micro
Switch ได
ดังนั้นวัสดุที่ใชทํา Bulb จึงตองเปนวัสดุที่มีคาสัมประสิทธิ์การขยายตัวต่ําดวยเชนกัน สวนมากมักจะใช
Stainless Steel เนื่องจากทนตอสภาวะการกัดกรอนไดดี ทําใหสามารถใชงานไดหลายหลายกวา
ปจจัยที่ทําใหเกิดคา Error ของ Filled System Thermometer
a.) Ambient Temperature Effect เชน ขณะเริ่มตนทําการวัดคา Tamb = 25oC เมื่อปลอยทิ้ง
ไวสักครู หรือขณะทําการวัดซึ่งตองรอใหอุณหภูมิที่วัดไดอยูในสภาวะ Steady State กอนจึง
จะบันทึกคาได ในขณะที่ Tamb กลายเปน 27oC ดังนั้นคาที่อานไดจึงไมตรงกับความเปนจริง
วิธีแกไขคือ ตองมี Thermometer สําหรับวัด Tamb. วัดคาอยูใกล ๆ ดวยแลวบันทึกคา เพื่อ
นํามาชดเชยหรืออาจใชวิธีการออกแบบโดยใส Bimetallic Strip ไวที่ Bourdon Tube เปน
การชดเชยคาแบบอัตโนมัติ ดังรูป

ที่มา INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL(SECOND EDITION)


, SK SINGH , ISBN 007-048-290X , Mc GRAW-HILL
b.) Radiation Effect เกิดการแผรังสีระหวาง Measuring Bulb (กระเปาะวัดอุณหภูมิ) กับ
Measuring Part (เชน Bourdon, Pointer) วิธีการแกไขคือ ทํา Shield กั้นระหวาง 2 สวนนี้
c.) Immersion Effect เกิดจากการ Bulb สัมผัสกับแหลงที่จะวัดอุณหภูมิ ไมถูกตําแหนง เชน จุม
Bulb ลงไปในของเหลวนอยเกินไป ทําใหสัมผัสกับของเหลวแหลงอุณหภูมิไดไมเต็มที่ ปญหา
นี้เกิดจากการใชงานไมถูกตองตามชนิดของ Thermometer นั่นเอง
เนื่องจาก Thermometer ที่ผลิตขึ้นมานั้นจะมี 3 แบบ คือ
1. Partial Immersion Thermometer (จุมบางสวน)
2. Total Immersion Thermometer (จุมสวนที่มี Working Fluid ทั้งหมด)
3. Complete Immersion Thermometer (จุมทั้งชิ้น)
C 1. Partial Immersion Thermometer
Flow Measurement and
Instrumentation
เครื่องมือวัดอัตราการไหล
1. Introduction
ในการวัด Flow มีพารามิเตอรที่เกี่ยวของที่ตองพิจารณา ดังนี้
¾ อุณหภูมิ (Temperature)
เปนพารามิเตอรที่สําคัญที่สุด เนื่องจากมีผลกระทบตอคาของพารามิเตอรอื่น ๆ ดวย เชน คา
Density, volume เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการวัด Flow ของ Gas ดังนั้น วิธีการที่นิยมใชเพื่อแกปญหา
นี้คือ การวัด Flow Rate ในรูปของ Mass Flow Rate มากกวาจะวัดแบบ Volumetric Flow Rate
เพราะมวลจะไมเปลี่ยนแปลงตามคาของอุณหภูมิ
¾ ความดัน (Pressure)
ปกติการวัดคา Flow จะตองบอกใหทราบไดดวยวาอยูในสภาวะอุณหภูมิและความดันเทาไร
โดยมีรูปแบบของการบอกเปน 2 ลักษณะที่สําคัญ คือ
- Standard Condition เชน SCFM (Standard Cubic Feet per Minute) หมายถึง คา
Flow Rate ที่วัดไดนั้นมีสภาวะ T = 70oF, P = 14.7 Psia (1 atm) ,Relative humidity
0% เชน Flow Rate ของ Compressed Air วัดได 10 CFM ที่ 70 oF, P = 8.5 bar ,
0%RH หาก Convert ไปที่ SCFM จะมีคามากกวา 10 ประมาณ 8.5 เทา หรือประมาณ 85
SCFM เนื่องจากอากาศถูกอัดตัวจนมีความดัน และเมื่อไปเทียบในสภาวะ P = 1 atm ยอมมีคา
มากขึ้นเพราะอากาศจะขยายตัวเสมือนกับปลอยสูบรรยากาศนั่นเอง
- Normal Condition เชน Nl/min (Normal litre per minute) or NCFM หมายความ
วามี Flow Rate ที่สภาวะ T = 0 oC, P = 14.7 psia ,0%RH
รูปแบบการวัด Flow Rate ทั้ง 2 นี้ จะใชกับ Fluid ที่เปน Gas สําหรับของเหลวนั้นถือวา
เปน Incompressibility Fluid ซึ่งถือวาไม เปลี่ยนแปลงตามคา P และ T
อยางไรก็ตามการบอกคาอัตราการไหลของอากาศ จะตองระบุสภาวะไวเสมอ เนื่องจากบาง
ประเทศอาจใชคาอางอิงที่แตกตางกัน เชนที่ Europe จะใช T = 0 oC, P = 14.7 psia ,0%RH
เปน normal condition เปนตน
ดังนั้นเมื่อนํามาใชงานจะตองทําการแปลงคาเปนคา actual flow rate ตามสภาวะการ
ใชงานของเครื่องมือนั้นๆดวย ดังรายละเอียดขางลางนี้ โดยจะใชคําวา CFM เปนบรรทัดฐานในการ
คําณวน

- ACFM - Actual Cubic Feet per Minute คา parameter


ที่มีผลตอการวัดคาไดแก
• pressure
• temperature
• humidity

ในการหาคา flow rate ของอากาศที่สภาวะการใชงานจริง หาไดจากสมการดังนี้

ACFM = SCFM [Pstd / (Pact - Psat Φact)](Tact /


Tstd)
เมื่อ

ACFM = Actual Cubic Feet per Minute

SCFM = Standard Cubic Feet per Minute

Pstd = Standard absolute air pressure (psia)

Pact = Actual absolute barometric pressure (psia)

Psat = Saturation pressure (psi) ดูรายละเอียด


Saturation pressure or vapor pressure
Φ = Actual relative humidity

Tact = Actual ambient air temperature (oR) , 60F =


520 R

Tstd = Standard temperature(oR)

Saturation pressure or water vapor pressure


โดยอากาศปกติจะประกอบดวยความชื้นอยูจํานวนหนึง่ โดยมีตัวแปรที่สําคัญที่เกีย่ วของ
คือ อุณหภูมิ และความดัน หากในอากาศมีคาความดันไอสูง (Water vapor is almost
always present in our surrounding air)

คา maximum saturation pressure ของ water vapor ในอากาศจะ


แปรผันกับคาอุณหภูมิ มีความสัมพันธดงั นี้

pws = e(77.3450 + 0.0057 T - 7,235 / T) / T8.2


เมื่อ

pws = water vapor saturation pressure (Pa)

e = the constant 2.718.......

T = temperature of the moist air (K)

ตารางแสดงคา saturation pressure ที่อุณหภูมยิ านที่สาํ คัญ

Water Vapor
o
Temperature ( C) Saturation
Pressure (Pa)

0 609.9

5 870

10 1,225

15 1,701

20 2,333

25 3,130

30 4,234

Water Vapor
o
Temperature ( C) Saturation
Pressure (mmHg)

0 4.6
20 17.5

40 55.3

60 149

80 355

100 760

ตัวอยางการคําณวนหาคา Saturation Pressure of Water Vapor

The Saturation pressure of water vapor in moist air at 25oC


สามารถหาไดจาก

pws = e( 77.3450 + 0.0057 (273 + 25) - 7,235 / (273 + 25) ) / (273 +


25)8.2

= 3,130 Pa
¾ ความหนาแนน (Density)
ของเหลว (Liquid) ถือวาเปน Incompressibility Fluid คือ อัดตัวไมได ดังนั้นคาความดันจะไม
มีผลตอคา Density ยกเวนที่ Pressure สูงมาก ๆ แต Density ของของเหลวจะเปลี่ยนแปลงตามคา
อุณหภูมิ
กาซ (Gas) ถือวาเปน Compressibility Fluid คือสามารถอัดตัวไดตามความดัน ดังนั้น ทั้งคา
อุณหภูมิและความดันจึงมีผลตอคา Instrument ที่ใชวัด Flow Rate สวนใหญแลวจะเปลี่ยนแปลงจาก
การวัดแบบ Volumetric ไปเปน Mass Flow Rate เสมอ โดยการชดเชยคา Density ตาม P และ T
อยางไรก็ตาม การวัด Flow พื้นฐานคือ การวัด Volume / Time
¾ ความหนืด (Viscosity)
ของเหลว คาความหนืดต่ําลง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
กาซ คาความหนืดสูงขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
Reynolde Number
RD = ρvd = inertia
η viscosity
เมื่อ Rd คือ Reynolds Number หรือดัชนีบอกสภาพการไหลของของไหล
ρ = Fluid Density
v = Fluid Velocity in Pipe
d = Pipe Diameter
η = Fluid Viscosity
ถา
Rd อยูในชวง 0 - 2000 สภาพการไหลเปนแบบ Laminar Flow
Rd อยูในชวง 2001 - 4000 สภาพการไหลเปนแบบ Transition Zone คือ มีการไหล 2 แบบ คือ
Laminar + Turbulent
Rd มากกวา 4001 สภาพการไหลเปนแบบ Turbulent Flow โดยสวนใหญจะเปนการไหลแบบนี้
ซึ่งเปนอุปสรรคตอการวัด Flow Rate

ที่มา หลักการและการใชงานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม โดย สมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ , พิมพครั้งที่ 18 -2546 ,


ISBN 974-8325-148

ที่มา Fundamental of Industrial instrumentation and process control, William C.


Dunn ,McGrawhill ,2005 , ISBN007-145-7356
2. ประเภทของ Flow Meter แบงออกเปน 2 หมวดหมู คือ
Energy Extractive Series ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบ อีกเชนกัน คือ
- Head Type ไดแก แบบ Orifice Plate, Venturi, Nozzle , Pitot Tube, Annubar, Elbow
Tap, Weir, Flume, Rotameter เปนตน
- Pulse Type ไดแก Oval Gear, Turbine, Propeller, Coriolis , Cup Anemometer, Vortex
เปนตน
ที่มา Fundamentals of Flow Measurement , Joseph P. DeCarlo , The Foxboro Company ,
Massachusetts , Instrument Society of America 1984 , ISBN -087-664-6275
Additive Energy Series แบงออกเปน 3 รูปแบบ คือ
9 Magnetic Type (Magnetic Flow Meter)
9 Sonic Type (Ultrasonic Flow Meter)
9 Thermal Type
3. Basic Terminology
Flow Meter ประกอบดวย 2 สวน คือ Primary Element or primary device (Sensing
Element) และ Secondary Element ทั้ง 2 สวนประกอบเขาดวยกันจึงเรียกวา Flow meter

Typical Terminology
ที่มา Fundamentals of Flow Measurement , Joseph P. DeCarlo , The Foxboro Company ,
Massachusetts , Instrument Society of America 1984 , ISBN -087-664-6275
Flow Rate
Q = VA เปน Volumetric Flow Rate
M = ρAV เปน Mass Flow Rate
3.1 Stagnation Pressure
Total Energy = Potential Energy + Kinetic Energy
Stagnation Pressure = Static Pressure + Dynamic Pressure
PT = PS + ½ ρV2
4. Theory of Differential Pressure Flow Meter
ที่มา Fundamentals of Flow Measurement , Joseph P. DeCarlo , The Foxboro Company ,
Massachusetts , Instrument Society of America 1984 , ISBN -087-664-6275
ตามสมการ Bernoulli จะได
Total Energy 1 = Total Energy 2
P1 + ½ ρV2 + ρgH1 = P2+½ρV2+ρgH2 (1)

P1 + 1V12 + H1 = P2 + 1 x V22 + H2
ρg 2g ρg 2 g
P1 + V12 + H1 = P2 + V22 + H2
(2)
r 2g r 2g
เมื่อ r คือ น้ําหนักจําเพาะของของไหล มีคาเทากับ ρg
จากสมการ (1) H1 = H2 จะได
ΔP = P1 – P2 = ρ (V22 – V12)
(3)
2
จากกฎ Conservation of Mass
m′1 = m′2 = ρ V1 A1 = ρ V2 A2
และ Q1 = Q2 = A1 V1 = A2 V2
จะได V2 = A1 V1
A2
แทนคา V2 ใน (3) จะได
ΔP = ρV12 (A12 - 1)
2 A22
เมื่อ A1 = π D2
4
A2 = π d2
4
ΔP = ρV12 { D4 – 1}
(4)
2 d
ให B = d
D
จาก (4) จะได
V1 = √2ΔP x B2
(5)
ρ √1 – B4
ใหคา 1 = E
√1 – B 4

จะได V1 = EB2 √2ΔP/ρ (6)


จากสมการ (1) – (6) มีสมมติฐานคือ ไมมีการสูญเสียพลังงาน แตในทางปฏิบัติแลวเปนไปไมได ยอมี
การสูญเสียพลังงานที่เกิดขึ้นเสมอ ในรูปแบบของ Friction Loss ทําใหคา ΔP (Actual) มีคาสูงกวา ΔP
(Theoretical) เสมอ และจากสมการ (6) จะไดคา V1 (Theoretical) สูงกวา V1 (Actual) จึงไดมีการ
กําหนดคาอัตราสวนระหวางคา Actual กับคาทาง Theoretical เรียกวา Discharge Coefficient (Cd)
Cd = Actual Discharge = V1a = V1a
Theoretical Discharge V1T EB2 √2ΔP/ρ

ดังนั้น จะไดสมการที่สําคัญดังนี้ คือ


V1a = CEB2 √2ΔP/ρ
Q1a = A1 V1a = π2 (d2 B2) (CdE) √2ΔP/ρ
4
ดังนั้น Q Actual = π CdD E √2ΔP/ρ
2 2

(7)
4
m′1a = ρA1 V1a
= ρ π2 CdD2E √2ΔP/ρ
4
ดังนั้น m′ACTUAL = π CdD2E √2ΔP/ρ
2

(8)
4
คา CdE เรียกวา Flow Coefficient ซึ่งขึ้นอยูกับคา Re และคา diameter ratio
Fe = CdE = Cd/ √1 – B4 = Cd / √1 – (D)4
(9)
d
V1a = B Fe √2ΔP
2
= (D) Fe √2ΔP
2

(10)
ρ d ρ
สมการ (7), (8) จะใชกับ Primary Element ที่เปน Orifice Plate, Nozzle, Venturi โดยมี
คา Cd ประมาณ 0.6, 0.75 จนถึง , 0.98 ตามลําดับ จะเห็นไดวา Venturi จะสูญเสียความดันนอยที่สุด
A.Energy Extractive Series
5. Primary Element ที่เปนแบบ Head Type ( Orifice
Plate , Venturi , Nozzle , Pitot Tube , Annubar ,
Weir , Flume )
5.1 Orifice Plate มี 4 รูปแบบ คือ
¾ Concentric Orifice เปนแบบที่นิยมใชงานมากที่สุด
¾ Eccentric Orifice
¾ Segmental Orifice
¾ Quadrant Edge Orifice
¾ Square Orifice

ที่มา: INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL(SECOND EDITION) ,


SK SINGH , ISBN 007-048-290X , McGraw-Hill

ที่มา EGAT DWG. NO. KBTP-1-CTM-C7001 REV.2 , Hitachi Ltd. Tokyo ,Japan 2002

การวัดระดับ
Level Measurement
1. บทนํา
การวัดระดับ เปนสิง่ สําคัญประการหนึง่ ในงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท เนื่องจาก
คาของระดับจะสงผลกระทบตอพารามิเตอรอื่น ไดแก ความดันและอัตราการไหล เปนตน
สําหรับวิธีการวัดระดับมี 2 ลักษณะ คือ
A. การวัดระดับโดยตรง (Direct Level Measurement) สามารถวัดไดดวยวิธกี ารหลาย
รูปแบบ ดังนี้
1.1 Sight Glass (แบบใชกระจกมองระดับ)
1.2 Float Type (แบบลูกลอย)
1.3 Dip Stick (แบบจุม)
1.4 Hook Type
วิธีการวัดโดยตรงนี้เปนวิธีที่งาย ประหยัด มีความเชื่อถือได แตมีขอจํากัดบางประการดังที่จะกลาวใน

รายละเอียดตอไป

B. การวัดระดับแบบทางออม (Indirect Level Measurement) มีหลักการ 2 ลักษณะ คือ


1.1 Hydrostatic Type
1.2 Electronic Type
2. การวัดโดยตรง
2.1 Sight Glass
ลักษณะที่สาํ คัญ
ยานการวัดมาตรฐานทัว่ ไปจะใชวัดระดับไมเกิน 900 mm หากเกินกวานี้จะตองใช Sight
Glass มากกวา 2 อัน มาตอเรียงกันในลักษณะ Overlapping กัน

sight glass
ที่มา practical process instrumentation and control, The staff of chemical engineering,Mc Graw-hill
,ISBN:007-010-7122
sight glass 2 อันติดตอกัน
ที่มา หลักการและการใชงานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม โดย สมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ ,
พิมพครั้งที่ 18 -2546 , ISBN 974-8325-148

การติดตั้งใชงานจริง
ขอดีของ Sight Glass
1. อานคาไดโดยตรง
2. สามารถออกแบบพิเศษใหสามารถทนความดันไดถึง 10,000 psi และทน
อุณหภูมิไดสูงถึง 750oF
3. วัสดุที่ใชทาํ Sight Glass สามารถออกแบบใหทนตอสภาพการกัดกรอนไดเปน
อยางดีเชนใชพลาสติก หรือแกว เปนตน
ขอจํากัดของ Sight Glass
1. การอานคาโดยตรงอาจไมสะดวก เชนกรณีที่ติดตั้งไวบนที่สงู หรือดานบนของถัง เปนตน
2. คาความแมนยํา (Accuracy) ขึ้นอยูกับความสะอาดของชองมอง,สภาพของของของไหล
เชนความใสและผูอาน ซึ่งควบคุมไดยาก
3. กรณีของเหลวมีสีใส ทําใหยากสําหรับการอานคา
4. ในสภาพที่มีอากาศหนาวจัด อาจทําใหของเหลวบริเวณ Sight Glass เกิดการแข็งตัว ใน
กรณีที่ Sight Glass ติดตั้งไวภายนอก
5. การกระเพื่อมของของเหลว ทําใหการอานคากระทําไดยาก
Sight glass มี 2 แบบ คือ
2.1.1 แบบหลอดแกว (Tubular Glass)
ใชติดตั้งโดยตรงกับภาชนะที่ตองการวัดระดับของของเหลวภายใน
ขอดี
1. ราคาถูก ติดตั้งงาย คาบํารุงรักษาต่ํา
2. สามารถอานคาไดโดยตรงทันที มีความนาเชื่อถือได
ขอจํากัด
1. ใชงานที่อุณหภูมิสูงไมได
2. ใชงานที่ความดันสูงไมได
3. แตกงาย ดังนัน้ จึงไมเหมาะกับระบบที่มีความสําคัญมาก ๆ หรือไมเหมาะกับการวัดระดับ
ของสารที่เปนอันตราย เชน กรดเขมขน หรือในบริเวณทีม่ ีอันตรายสูง
4. การมองระดับตองเขาไปอานคาใกล ๆ บางครั้งก็ยากแตการสังเกต (ในกรณีที่เปนสีใส) แต
สามารถแกไขโดยใชแถบสีสะทอนแสงติดไวดานหลังของหลอดแกวพรอม Scale และใช
เลนสนนู ทําเปนหลอดแกว ทําใหการอานคาไดงายขึน้
2.1.2 แบบแผนแกวเรียบ (Flat Glass) มี 2 แบบ คือ
2.1.2.1 แบบแผนแกวเรียบสะทอน (Flat Refection Glass) แบบนี้เหมาะสําหรับการวัด
ระดับของของเหลวที่มีสีใส, สะอาด, คาความหนืดต่ํา โดยสวนที่เปนของเหลวจะปรากฏเปน
ทึบแสง สวนทีเ่ ปนชองวางหรือเหนือระดับของเหลวจะปรากฏเปนลักษณะโปรงใสดังภาพ
แผนแกวจะทําจากวัสดุทมี่ คี าสัมประสิทธิ์การขยายตัวต่ํามาก ดังนั้น จึงสามารถใชงานใน
บริเวณที่มีความรอนได นอกจากนี้ยงั สามารถรับแรงกระทําไดดอี ีกดวย
สามารถออกแบบใหทนความดันไดสูงถึง 4000 psi และทนอุณหภูมิไดสูงถึง 400oC
sight glass แบบแผนแกวเรียบ การติดตัง้ โดยมีโลหะครอบปองกัน
2.1.2.2 แบบหลายชองมอง (Multi-port Sight Glass)
แบบนี้เหมาะสําหรับการวัดระดับของของเหลวที่อยูภายใตสภาวะความดันและอุณหภูมิ
สูง โดยเฉพาะ เชน Boiler Drum
หลักการวัดระดับของ Boiler Drum โดยใช Multiport Sight Glass ใชหลักการหักเหของ
แสงในน้าํ และไอน้ํา โดยกําหนดใหนา้ํ เปนสีเขียว ไอน้าํ เปนสีแดง
หลักการทํางาน
ตัว Gauge Body จะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู โดยมี Glass Filter สีเขียวและสี
แดง ติดตั้งอยูด านขางในลักษณะที่ไมขนานกับตัว Gauge Body ดังรูป
ที่มา http://www.cesare-bonetti.it

ภายใน Gauge Port จะตอเชื่อมเขากับ Process ใน Boiler Drum ตัวหลอดไฟ (Illuminator) จะ


ติดตั้งไวดานหลังของ Glass Filter ดานตรงขามกับจุดทีช่ องมองระดับ (Indicator) หลอดไฟจะ
สองแสงผาน Glass Filter ที่ยอมใหแสงสีเขียวและสีแดงผานเทานัน้
เมื่อ Gauge Port มี Steam อยูภายในแสงสีเขียวที่สองผานมา จะเกิดการหักเห สวนแสง
สีแดงจะสองผานไปยังชองมองระดับ (Indicator) ทําใหเห็นเปนสีแดง ซึ่งหมายถึง สวนที่เปน
Steam
และเมื่อ Gauge Port มีนา้ํ อยูภายในแสงสีแดงจะหักเหออกไป เหลือแตแสงสีเขียวที่สอง
ผานไปยังชองมองระดับได จึงเห็นเปนสีเขียว ซึง่ หมายถึง น้ํา
โดยตัว Gauge Port จะติดตั้งเรียงกันไวหลาย ๆ วันติดตอกันดังรูป จึงเรียกวา Multi Port
Level Gauge การออกแบบ Gauge ชนิดนี้ตองเปนไปตาม ASME Boiler and Pressure Vessel
Code ดวย โดยทั่วไปสามารถทนความดันไดถึง 3000psi ที่อุณหภูมิ 700oF

ที่มา http://www.cesare-bonetti.it
การวัดระดับน้าํ ของ Boiler Drum หรือ Pressure Vessel อื่น ๆ เปนสิง่ ที่สาํ คัญมาก ทัง้ นี้
เนื่องจากอุณหภูมิและความดันภายในนัน้ สูงมาก จึงใชวิธีการวัดระดับแบบปกติไมได จําเปนตอง
มีเครื่องมือพิเศษ ดังที่กลาวติดตั้งไว นอกจากนี้ยังมี Level Transmitter อีก อยางนอย 2 ตัว ที่
ติดตั้งคอยตรวจจับระดับน้าํ และสงสัญญาณไปยังหองควบคุม เพื่อประมวลผลสั่งการตอไป
ระดับของน้ําใน Boiler Drum มีความสําคัญตอระบบการผลิตไอน้ําเปนอยางมาก ดัง
แสดงในภาพ

Multi-port sight glass for boiler drum ที่มา http://www.cesare-bonetti.it

การติดตั้งใชงาน
ที่มา http://www.penberthy-online.com
http://www.yarway.com
การติดตั้งใชงานโดยมีครอบโลหะปองกัน

level glass component


การติดตั้งลักษณะตางๆ
ที่มา http://www.cesare-bonetti.it
2.2 Float Type
ใชหลักการแรงพยุงเชนเดียวกับ displacer
เครื่องมือวัดความดัน
Pressure Instrumentation

1. Introduction
ความดัน คือ แรงกระทําตอพื้นที่

P = F/A
F คือ แรงกระทําซึ่งอาจเกิดจากของแข็ง ของเหลว หรือกาซ ก็ได มีหนวยมาตรฐาน เปน Newton : N
A คือ พื้นที่หนาตัดที่ถูกแรงกระทํา มีหนวยมาตรฐานเปน ตารางเมตร
1.1 ความดันที่เกิดจากของเหลว (Liquid Pressure)
P = ρgh
2
เมื่อ P คือ ความดัน (N/m ) ซึ่งเปน Static Head
ρ คือ ความหนาแนนของของเหลว (kg/m3)
h คือ ความสูงของของเหลว (m)
g คือ แรงโนมถวงของโลก (m/s2)
สําหรับ Dynamic Head (Velocity Pressure) นั้นจะถูกกําหนดโดยสมการของ Bernoulli ซึ่งกลาวไว
ในเรื่องการวัดอัตราการไหล
ความดันแบบ Static จากของเหลวเปนรูปแบบที่จะพบเห็นมากที่สุดในระบบเครื่องมือวัดทาง
อุตสาหกรรม
Velocity Pressure = Total Pressure – Static Pressure
1.2 ความดันที่เกิดจากกาซ (Gas Pressure)
P = 1 nmv2
3
เมื่อ P คือ ความดัน (N/m2)
n คือ จํานวนโมเลกุลของกาซใน 1m3 (Number/m3)
v คือ ความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลกาซ (m/s)
m คือ มวลโมเลกุลของกาซ (kg)
ตัวอยาง เชน การวัดความดันของอากาศอัด (Compressed Air)
1.3 ประเภทของความดัน ( Types of Pressure ) มี 4 ประเภท คือ
• ความดันเกจ (Gauge Pressure)
• ความดันสัมบูรณ (Absolute pressure)
• ความดันแตกตาง (Differential Pressure)
• สภาวะสุญญากาศ (Vacuum Pressure)
*** เพื่อใหการเรียกชื่อเปนแบบสากล ควรเรียกเปนภาษาอังกฤษ ดีกวา เพราะสื่อ
ความหมายไดมากกวาการเรียกเปนภาษาไทย การแปลเปนไทยบางครั้งทําใหสูญเสีย
ความหมายได เชนคําวา superheated steam บางคนแปลวา ไอดง หรือไอน้ํายิ่งยวด หรือ
Yield point บางคนแปลวา จุดจํานน ซึ่งลวนแตทําใหเสียความหมายทั้งสิ้น รวมทั้งทําใหผูที่
ศึกษาไมรูความหมายที่แทจริงไปดวย จากประสบการณของผูเขียนเห็นวาการแปลนั้นไมได
สื่อความหมายไดเลย ดังนั้นไมตองแสดงความเกงที่จะพยายามแปลศัพทเทคนิคใดๆทัง้ สิ้น
ลองแปลคําวา softwareหรือ windows จะแปลวาอะไรที่สื่อความหมายได
ถึงแปลไดก็พูดกับใครไมรูเรื่อง

Type of pressure
ที่มา: Guide to the measurement of pressure and vacuum, The institute of measurement and control
,LONDON,ISBN: 090-445-729X ,Published 1998
ที่มา THEORY AND DESIGN FOR MECHANICAL MEASUREMENTS(THIRD EDITION)BY: RICHARD S. FIGLIOLA , DONALD E.
BEASLEY, ISBN 047-135-0834
อธิบายเพิ่มเติม
1. ณ จุดความดันบรรยากาศหรือ Standard Atmospheric Pressure จะพบวาเข็มของ Pressure
Gauge จะชี้ที่เลขศูนย หมายความวา ความดันเกจมีคาเปนศูนย ณ ที่บรรยากาศปกติ
2. Perfect Vacuum หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา Zero Absolute (จุดศูนยความดันสัมบูรณ) มีคา Pabs=0
หรืออยูในสภาวะสูญญากาศสมบูรณนั่นเอง
Pabs = Patm + Pg ที่ Pabs = 0 Pg = -Patm หมายความวา Pressure gauge จะชี้คาที่ -
101325 kPa โดยประมาณ
1.3.1 ความดันเกจ (Gauge Pressure)
เปนคาที่ใชในงานอุตสาหกรรมโดย Gauge Pressure มีคาเปนศูนยที่ความดันบรรยากาศ
สัญลักษณที่ใช คือ Pg หนวยวัดที่ใชจะมีตัวอักษร g กํากับอยู เชน Barg, Psig เปนตน
1.3.2 ความดันสัมบูรณ (Absolute Pressure)
สัญลักษณที่ใช คือ Pa หรือ Pabs
หนวยวัดที่ใชจะมีอักษร abs หรือ a กํากับอยู เชน bar(abs), Psia เปนตน
ความดันสัมบูรณมีคา เทากับ 101.325 kPa ที่ความดันบรรยากาศ (1atm) คาความดันสัมบูรณจะใช
สําหรับในการคํานวณทาง Thermodynamic เปนสวนใหญ เชน การหา Boiler Efficiency เปนตน
1.3.3 ความดันแตกตาง (Differential Pressure)
สัญลักษณที่ใช คือ ΔP หนวยวัดที่ใชมักมีอักษร d , D กํากับอยู เชน Psid เปนตน
1.3.4 สภาวะสุญญากาศ (Vacuum Pressure)
สัญลักษณที่ใชไมปรากฏแนชัด แตสวนมากจะใชเครื่องหมายลบกํากับหนาตัวเลข นอกจากนี้ยังใช
abs หรือ Pabs ไดดว ยแตอาจเกิดความสับสนไดงาย วิธีที่ดีที่สุดคือ ควรกําหนดเปนคาตัวเลขติดลบ เชน P = -
10 Psig
หนวยวัดที่ใชโดยทั่วไปจะมีอักษร Vac กํากับอยู เชน 750 mmHg vac เปนตน
การกําหนดในรูปแบบของ Pabs เชน 50 kPa (abs) หมายถึง อยูในสภาวะ Vacuum เทากับ 50 -
101.325 = - 50.325 Kpa หรือ 50.325 kPaVac จะเห็นวา การกําหนดในรูปแบบ Pabs อาจสรางความสับสน
ใหแกผูใชงานไดงาย จากประสบการณของผูเขียนพบวาการเรียกแบบมีเครื่องหมายลบ( - ) สามารถสื่อ
ความหมายไดดีกวา
หมายเหตุ : จุดศูนยของความดันเกจหรือสภาวะบรรยากาศ จะมีคาแตกตางประมาณ 5% แตในทาง
ปฏิบัติถือวามีคาเทากัน ( average atmospheric pressure )
ระดับของสภาวะ Vacuum
¾ ระดับต่ํา (Low level) คือ อยูในชวง –25 จนถึง –736 mmHg
¾ ระดับกลาง (Medium Level) อยูในชวง 1 จนถึง –10-3 torr หรือ –759 mmHg จนถึง
–759.999 mmHg
¾ ระดับสูง (High Level) อยูในชวง 10-3 จนถึง 10-7 torr หรือ –759.999 mmHg จนถึง –759.9999999
mmHg
¾ ระดับสูงพิเศษ (Extreme high Level) อยูในชวง 10-7 torr ลงไป
1 torr มีคาเทากับ 1 mmHg สวนมากใชกับระบบที่เปน Vacuum 1 บรรยากาศ ( 1 atm ) = 760
torr

2. Method of Pressure Measurement มีหลายวิธีการดวยกัน คือ


2.1 Manometer method
2.2 Elastic pressure Transducer/Transmitter
2.3 Electrical Pressure Transmitter
2.4 Vacuum Pressure Measurement/Low Prossure Measurement
2.5 Balancing Force Ressure Measurement
รายละเอียดของแตละวิธีมีดังนี้
2.1 Manometer
เปนอุปกรณวัดความดันเกจอยางงายที่สุด โดยวัดที่คาความดันต่ํา ๆ มาโนมิเตอร อาศัยหลักการ
Balance pressure กับน้ําหนักของของเหลวภายใน Column ดังนั้น การตอบสนองการวัดของ manometer
ขึ้นอยูกับการเคลื่อนไหวของของเหลวใน Column
มาโนมิเตอรมีดวยกันหลายรูปแบบ แตละแบบมีขอดี ขอเสียและ Application ที่แตกตางกัน ดังตอไปนี้
2.1.1 U-Tube Manometer
เปนมาโนมิเตอรที่มีรูปแบบงายทีสุดในบรรดารูปแบบทั้งหลาย สวนมากนิยมใชงานในหองทดลอง
เนื่องจากสามารถเลือกใชไดกับของเหลวเกือบทุกชนิด แตที่นิยมใชคือ น้ําและปรอท ตลอดจนสามารถอานและ
บันทึกคาไดคอนขางแมนยําดวย
ลักษณะโครงสราง
เปนหลอดแกวรูปตัว U และตองเติมของเหลวเขาไปบางสวน ซึ่งที่นิยมใชที่สุดคือ น้ํา, ปรอท
เนื่องจากวาทั้ง 2 ชนิดมีคา Specific Weight คงที่แมอุณหภูมิจะเปลี่ยนไปก็ตาม โดยอาจปลอยปลายดานหนึ่ง
ไวกับบรรยากาศและปลายดานหนึ่งตอเขากับจุดวัดความดัน หรืออาจตอปลายทั้งสองเขากับจุดวัดความดันก็ได
• หลักการในกรณีที่ตอ U-Tube เขากับจุดวัดความดันทั้ง 2 ดาน
อธิบายไดดวยสมการดังนี้

U-Tube Manometer
ที่มา: INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL(SECOND EDITION) , SK SINGH , ISBN 007-048-290X , McGraw-Hill

P1-P2 = (ρ-ρ1) (h1-h 2)g


ΔP = (ρ-ρ1) gh
เมื่อ ρ คือ ความหนาแนนของของเหลวใน U-Tube (ปกติแบบนี้จะใชปรอท)
ρ1 คือ ความหนาแนนของของเหลวในทอ (Main Pipe)
h คือ ความสูง แตกตางที่เกิดจาก ความดันทั้ง 2 ดาน ของ Manometer
g คือ แรงโนมถวงของโลก
• ในกรณีที่ตอ U-Tube เขากับจุดวัดความดัน 1 ดาน อีกดานหนึ่งปลอยอิสระกับบรรยากาศ ดังรูป

ที่มา หลักการและการใชงานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม โดย สมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ , พิมพครั้งที่ 18 -2546


, ISBN 974-8325-148
อธิบายไดดวยสมการดังนี้
P1-P2 = (ρ-ρ1) (h1-h 2)g
= (ρ-ρ1) g Δ h
เมื่อ P คือ ดานที่ตอเขากับความดัน ρ2 คือ บรรยากาศ
ρ คือ ความหนาแนนของของเหลวใน U-Tube
ρ1 คือ ความหนาแนนของ Fluid เหนือของเหลวดาน ρ2 ในที่นี้คือ อากาศและเมื่อเทียบ ρ กับ ρ1
และ ρ1 มีคานอยมาก จึงใหเทากับ 0
ดังนั้น ΔP = ρg Δ h
จากสมการจะพบวา ΔP แปรผันตรงกับคา Δh และคา ρ ดังนั้นสมการออกแบบหรือเลือกใชงาน
Manometer จึงตองคํานึงถึงตัวแปร 2 ตัว เปนหลัก เชน หลอดแกวที่มีความสูง 1 เมตร ใชของเหลวที่เปนน้ํา จะ
สามารถวัดความดันไดในยาน 0-98.066 mbar
หากใชของเหลวเปนปรอท จะสามารถวัดความดันไดในยาน 0-1329 mbar
คุณลักษณะที่สําคัญของ U-Tube Manometer
• มีคา Error ประมาณ Ι 0.3% ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการอานคาดวย โดยอาจมีคา Human Error เกิดขึ้น
คอนขางมาก
• คา Liquid Purity, Temperature, Atmospheric Pressure ที่เปลี่ยนแปลงไป ลวนสงผลตอคา
Density ของของไหล จึงตองนํามาคํานวณเพื่อชดเชยคา Error ดวย
• ของเหลวที่เติมใน U-Tube ที่นิยมใชคือน้ํา, ปรอท และน้ํามันผสม โดยคุณสมบัติที่สําคัญคือ ตองไมทํา
ปฏิกิริยากับ Fluid ที่ตองการวัดความดันในระบบ ไมกัดกรอนไมเปนสารพิษ ไมแข็งตัว ไมเดือดงาย ไม
ระเหยงาย
• ผลของ Surface Tension หรือ คาแรงตึงผิวของของเหลวที่เติมใน U-Tube จะทําใหการอานคา
ผิดพลาดได การอานคาที่ถูกตองคือ ตองอานคา ณ จุดกึ่งกลาง Tube ไมวาจะอยูจุดสูงสุดหรือต่ําสุดก็
ตาม ดังรูป

• ยานการวัดขึ้นอยูกับขนาดความสูงของ U-Tube และสารที่ใชเติม โดยทั่วไปจะใช U-Tube ความสูง


ประมาณ 1 เมตร เพราะหากสูงมาก ๆ จะมีปญหาเรื่องการอานคาที่ลําบาก
• Manometer จัดเปนเครื่องมือวัดความดันที่อยูในกลุมของ Reference Device ซึ่งประกอบดวย Mc
Leod Gauge, Barometer และ Dead Weight Tester
นอกจากนี้ยังอาจพบเห็น U-Tube Manometer ที่ใชของเหลว 2 ชนิด (Double Liquid Type
manometer) เติมลงไปใน U-Tube ดวย
โดยมีคุณลักษณะที่สําคัญคือ
• ใชวัดความดันของกาซเทานั้น
• มีความไวในการวัด (Sensitivity) มากกวา Single Liquid ถึง 8-12 เทา โดยคา S ขึ้นอยูกับคาความ
แตกตางของความหนาแนนของของเหลวทั้ง 2 ชนิด นั่นคือ S α 1
Δ Density
คาความแตกตางของพื้นที่หนาตัดของกระเปาะกับพื้นที่หนาตัดของหลอดแกว นั้นคือ
S α Δ Area

รูปที่ 1 รูปที่2

ที่มา หลักการและการใชงานเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม โดย สมศักดิ์ กีรติวุฒิเศรษฐ ,พิมพครั้งที่ 18 -2546 ,


ISBN 974-8325-148

จากรูป ของเหลวดานขวามือคือ น้ํา ρ1 = 1 x 103 kg/m3


ของเหลวดานซายมือคือ น้ํามัน ρ2 = 0.9 x 103 kg/m3
ρ1 คือ ความดันบรรยากาศ
ρ2 คือ ความดันของระบบที่ตองการวัด
จากรูปที่ 1 เปนกรณีที่ ρ1 = ρ2 น้ําซึ่งหนักกวาน้ํามันจะอยูสวนลางของ U-Tube คา Static Head
ของน้ํามันเทากับ ρ2 gh และ Static head ของน้ําเทากับ ρ2 x h
ρ1
จากรูปที่ 2 ρ1 > ρ2
จุด Reference หรือจุด Balance เปลี่ยนไปอยูกับ YY ระดับของนั้นลดลงเทากับ Ya/A = ระดับของน้ํา
เพิ่มขึ้นเทากับ Ya/A
ระดับความแตกตางของน้ํามันเปลี่ยนไปจากจุด XX ไปยัง YY มีคาเทากับ Y
จะได P ที่จุด Y ดังนี้
P1y = P1 + ρ1 g (ρ2 + Y + Y a)
ρ1 A
P2y = P2 + ρ2 g (h + Y – Y a)
A
ณ จุด YY P1y = P2y
P2 – P1 = ρ1 gy (1 + a) – ρ2 gy (1 – a)
A A
ΔP = gy [ρ1 (1 + a) - ρ2 (1 – a)]
A A
2.1.2 Well Type Manometer or Single Tube Manometer
เปนมาโนมิเตอร ชนิดที่นิยมใชงานกันมากที่สุด เนื่องจากมีขอดีหลายประการ คือ
• มีความสะดวกในการอานคา เนื่องจากมี Seale อยูดานใดดานหนึ่งเทานั้น สามารถอานการ
เปลี่ยนแปลงไดทันที
• มีความไวสูง สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของความไดดีมาก แมจะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยก็
ตาม

ที่มา: INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL(SECOND EDITION)


, SK SINGH , ISBN 007-048-290X , McGraw-Hill

จากรูป P1 – P2 = ρgh2 (1 + a) = ΔP
A
เนื่องจาก a < A มาก ดังนั้น a จึงมีคาใกลศูนย ในทางปฏิบัติจะใหเทากับศูนย
A
ดังนั้น ΔP = ρgh2
ในกรณีที่ P2 = ความดันบรรยากาศ
P1 = ρgh2
2.1.3 Inclined Manometer or Slant Manometer

ที่มา: INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL( SECOND EDITION )


, SK SINGH , ISBN 007-048-290X , McGraw-Hill

P2 – P1 = ρgh
H = L sine
คุณลักษณะที่สําคัญ
• สามารถใชวัดความดันคาต่ํา ๆ ไดดี ตั้งแต 0.254 mm H2O จนถึง 102.1334 mm H2O หรือ 10 mbar
• มีความไวตอบสนองในการวัดสูงกวาแบบทอตรง โดยความไวขึ้นอยูกับการปรับมุมของ Scale ซึ่งทําให
ระยะ L เปลี่ยนไปหากมุมลดลง จึงทําให ΔL มีคาเพิ่มขึ้น ดังนั้น ΔL/ΔP ซึ่งคือคา Sensitivity มีคา
เพิ่มขึ้น
• โดยทั่วไปมุม O จะเทากับ 10 องศา กรณีเปนแบบ Fixed Type หรือชนิดที่สามารถปรับมุมได
2.1.4 Micro Manometer
ที่มา: INDUSTRIAL INSTRUMENTATION AND CONTROL( SECOND EDITION ), SK SINGH , ISBN 007-048-290X ,
McGraw-Hill

คุณลักษณะที่สําคัญ
• สามารถใชวัดความดันที่มีคาต่ํามาก ๆ ไดดีกวา Inclined Manometer
• ใช Micrometer ในการอานคาการเปลี่ยนแปลงของระดับของของเหลว ซึ่งทําใหทราบความดันนั่นเอง
2.1.5 Error in Manometer
เกิดจากปจจัยที่สําคัญ 3 ประการ คือ
1. Capillary Size Effect ผลจากขนาดของ Tube ที่มีขนาดเล็กกวา 10 mm จะทําใหการวัดและอานคา
ผิดพลาดไดงาย อยางไรก็ตามในกรณีที่ตอทั้ง 2 ดานของมาโนมิเตอรเขากับจุดวัดความดัน ปญหานี้
จะไมหมดไป
2. Temperature Changed Effect
• อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปจะสงผลตอคาความหนาแนนของของเหลว จึงทําใหเกิด Error ขึ้น
เชน หากอุณหภูมิสูงขึ้นจะทําใหความหนาแนนของของเหลวลดลงและเกิดการขยายตัวของ
Fluid ทําใหการอานคามากกวาความเปนจริงได
• ผลของอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ทําใหไมเหมาะสําหรับมาโนมิเตอรที่ใช Working Fluid เปน
แบบ mixer Fluid หรือสารผสมตาง ๆ เพราะสารเหลานี้ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง Specific
Weight ไดจากการผสมกัน ดังนั้นจึงยากที่จะคํานวณคาชดเชยความผิดพลาดได (Error
Compensation) ในทางปฏิบัติจึงไมคอยนิยมใช Working Fluid แบบ Mixed Type
เนื่องจากตองการหลีกเลี่ยงปญหาดังกลาว ขางตน
• ผลของแรงตึงผิวของ Working Fluid (Meniscus Effect) โดยที่หาก Working Fluid เปน
ปรอทซึ่งมีคาแรงตึงผิวสูง จะทําใหปรอทไมเกาะติดผิวของ Tube และไมทําให Tube เปยก
ดังนั้น จึงเกิดเปนลักษณะโคงนูนขึ้นคลายเลนสนูน การอานคาที่ถูกตองคืออานคาของจุดที่
อยูตรงกลางของ Tube
• หาก Working Fluid เปนน้ําซึ่งมีคาแรงตึงผิวต่ํา โดยน้ําจะทําใหผิวของ Tube เปยกและ
เกาะติดที่ผิวของ Tube ดังนั้นจึงเกิดเปนลักษณะโคงเวาคลายเลนสเวน การอานคาที่ถูกตอง
ก็เชนเดียวกับกรณีของปรอท
สําหรับ Working Fluid ที่เปนแบบ Mixed Type นั้นจะไมทราบรูปแบบที่แนนอน แตหลักการอานคา
นั้นจะเหมือนกับน้ําและปรอท
2.1.6 Working Fluid for Manometer
ที่นิยมใชคือ น้ํา, ปรอท, Red Oil ซึ่งมีลักษณะที่สําคัญตางกันตามความตองการใชงาน กลาวคือ
กรณีใชน้ํา
1. ใชไดดีกับ Manometer ที่ตองการวัดความดันของอากาศ
2. ความยาวของ Tube มีคาจํากัดดังนั้นการอานคาความดันจึงตองอยูในชวงแคบ ๆ โดยปกติไมควรเกิน
2000 mmAg
3. หากอยูในสภาวะอากาศที่หนาวเย็น จะตองผสมหรือใชสาร Anti Freeze แทนน้ําและหากอยูในสภาวะ
อากาศรอนที่จะทําใหเกิดการระเหยของน้ําจะตองผสมหรือใชสาร Kerosene แทนน้ํา
กรณีใชปรอท
1. ใชในกรณีที่ตองการอานคาความดันที่สูงขึ้น เนื่องจากหากใชน้ําแลวจะตองสราง Tube ใหมีขนาดยาว
มาก ๆ ซึ่งไมสะดวกในการอานคา โดยจะทําใหความยาวของ Tube ลดลง 13.6 เทา
2. ใชไดดีในกรณีของการวัด Pressure ที่มี Fluid เปนพวกไอน้ํา หรือจําพวกที่ใชกับน้ําไมไดเพราะจะเกิด
ปญหาเรื่องการผสมกันของ Fluid ที่ตองการวัด Pressure กับ Working Fluid ใน Manometer
กรณี Red Oil
1. ใชในกรณีที่ตองการอานในระยะไกล เหมาะสําหรับระบบที่เปนพื้นที่อันตรายเชน สารเคมี, สารเกิดพิษ
อื่น ๆ เปนตน
2. ผลของอุณหภูมิจะทําใหการอานคาผิดพลาดไดมากที่สุด
สรุป ขอดี ขอดอยของ Manometer ชนิดตาง ๆ
ขอดี (Advantage)
1. มีโครงสรางอยางงาย ทําใหประหยัดคาบํารุงรักษา และมีอายุการใชงานที่ยาวนาน
2. High Accuracy
3. High Sensitivity
4. เหมาะสําหรับการวัด Pressure ที่มีคาต่ํา ๆ ไดดี รวมทั้งสามารถวัด Vacuum Pressure และ
Differential Pressure คาต่ํา ๆ ไดดีอีกดวย
5. สามารถเลือกใช Working Fluid ไดหลายชนิดขึ้นอยูลักษณะของการ Application
6. มีราคาถูก
ขอดอย (Disadvantage)
1. มีขนาดใหญ
2. เคลื่อนยายลําบาก เพราะอาจเกิดการหักไดงาย
3. การติดตั้งตองทําการ Levelling หรือ Set ระดับใหถูกตอง มิฉะนั้นจะอานคาผิดพลาด
4. อาจเกิดการกลั่นตัวของ Fluid ในระบบที่ตองการวัด แลวสะสมใน Manometer
5. ปญหาการระเหย การแข็งตัวของ Working Fluid อาจเกิดขึ้นไดหากเลือกใช Fluid ไมเหมาะสม
6. ไมมี Over Range Protection
7. ใชวัดความดันยานต่ํา ๆ เทานั้น
8. มีขอจํากัดเรื่องความสูง/ความยาวของ Scale หากสูงจะอานคาลําบาก และติดตั้งยาก
9. Fluid ของระบบที่ตองการวัด Pressure ตองเหมาะสมกับ Working Fluid ใน Manometer มิฉะนั้นอาจ
เกิดการ Mix เปนเนื้อเดียวกันไดหรืออาจเกิดปฏิกิริยา ทําใหเกิดความเสียหายได
2.2 Elastic Pressure Transducer / Device
Elastic Element เปนชิ้นสวนสําคัญของ เครื่องมือวัดความดันประเภทนี้ ชิ้นสวนนี้จะเปลี่ยนรูปราง
(Deformation) เมื่อไดรับความดัน ซึ่งการ Deform นี้จะถูกแปลงเปนการวัดในรูปแบบของสัญญาณทางไฟฟา
หรือทางกล ทําใหสามารถแสดงคาความดันบน Scale ของเครื่องมือวัดได
Elastic Element มีหลายลักษณะ ไดแก
- Bourdon Tube
- Bellows
- Diaphragm
- Capsule

ที่มา MECHANICAL MEASUREMENTS(FIFTH EDITION-1993) BY:THOMAS G. BECKWITH , ROY D. MARANGONI , JOHN


H. LEINHARD V,ISBN 0201-569-477

ขอดีของการทํา Elastic Element มาใชงานคือ สามารถใชงานไดในยานการวัดที่กวางมาก ๆ ขึ้นอยูกับ


การออกแบบชิ้นสวน Elastic Element
2.2.1 Bourdon Tube Element
THEORY AND DESIGN FOR MECHANICAL MEASUREMENTS(THIRD EDITION)BY: RICHARD S.FIGLIOLA , DONALD
E. BEASLEY, ISBN 047-135-0834
PROCESS CONTROL
Introduction
ในขบวนการผลิตโดยเฉพาะการผลิตแบบตอเนื่อง และการผลิตที่มีขนาดใหญ เชน ขบวนการกลั่น
น้ํามัน ขบวนการผลิตไฟฟา ขบวนการถลุงเหล็ก นั้น ลวนแลวแตเปนขบวนการที่มีความซับซอนคอนขางมาก
การควบคุมขบวนการผลิตเพื่อใหไดผลิตผลที่ดีมีคุณภาพตามตองการ(desired productivity) รวมทั้งตอง
ประหยัดดวย เหลานี้นับเปนสิ่งสําคัญ อันเปนที่ตองการสําหรับเจาของกิจการ
การนําเทคโนโลยี่การวัดคุมและระบบควบคุม( instrumentation and control system) เขามาใชงาน
จึงเปนสิ่งสําคัญที่สุด เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการผลิตที่ดีตามตองการ
ในปจจุบัน เทคโนโลยีระบบควบคุม ไดรับการพัฒนาอยางรวดเร็ว อุปกรณแบบใหม ๆ ไดถูกนํามาใช
ในงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการผลิต
ตัวควบคุมแบบ Analog PID Controller ซึ่งเคยถูกนํามาใชแทนที่ Pneumatic PID Controller กําลัง
จะลาสมัยไปแบบสิ้นเชิง การนําเอาไมโครคอมพิวเตอรมาประยุกตใชในงานควบคุมไดเขามาแทนที่เกือบจะ
ทั้งหมด
อยางไรก็ตาม ถาพิจารณากันใหลึกซึ้งจะพบวาหลักการควบคุม (Control Regulatory) ของตัวควบคุม
ไมวาจะเปนแบบ Pneumatic , Analog , Digital , Computer control หรือ อะไรก็แลวแต ยังคงใชหลักการ
เหมือนเดิมไมเปลี่ยนแปลง เพียงแตพัฒนาการของระบบควบคุมจะทําใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยที่มีขนาดเล็ก
ลง
ระบบควบคุมสวนใหญ ในโรงงานอุตสาหกรรมก็ยังคงเปนแบบ P-only, PI ,PD หรือ PID นั่นเองไม
เปลี่ยนแปลง
เนื้อหาในสวนที่จะกลาวนี้ เปนการสรางความเขาใจพื้นฐานที่ดี โดยเนนใหผูอานสามารถนําไปใชงาน
ไดทันที (ready to application) มากกวาการนําเสนอแบบตําราเรียนทั่วไป
อยางไรก็ตาม สิ่งที่จําเปนอยางยิ่งที่จะสรางทักษะไดนั้น คือการปฏิบัติควบคูไปดวย จะทําใหเขาใจ
ปญหาและสามารถแกไขไดเปนอยางดี ทานควรจะตองหาโปรแกรม PID simulator มาทดลองใชงานดวยจะเปน
การดีและทําใหเขาใจtheory แบบแตกฉานได
1. Process definition
คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพทาง physics หรือทางเคมีของสสารหรือการเปลี่ยนรูปของพลังงาน เชน
- ขบวนการทําความเย็น
- ขบวนการกลั่นน้ํามัน
- ขบวนการผลิตไฟฟา เปนตน
2. Instrument
เปนอุปกรณที่นํามาใชเพื่อวัดคาของ Process เพื่อใหรับรูถึงสภาพของ Process โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อการปรับแตงควบคุม (Control) ให Process เปนไปตามที่ตองการ (Set Point)ในการวัดและการควบคุม
เพื่อใหมีคุณสมบัติตามที่ตองการมี ตัวแปร ที่เกี่ยวของที่ตองการวัดคา เชน
- อุณหภูมิ (Temperature) - ความหนืด (Viscosity)
- ความดัน (Pressure) - ความเร็ว (Velocity or Speed)
- ระดับ (Level) - ความชื้น (Moisture)
- ปริมาณการไหล (Flow Rate) - ความตานทาน (Resistance)
- น้ําหนัก (Weight) - อัตราเรง (Acceleration)
- แรงดันไฟฟา (Voltage) - การสั่นสะเทือน (Vibration)
- กระแสไฟฟา (Current) - คา pH
เปนตน
2.1 รูปแบบของ Instrument ที่นํามาใชงานมีหลายแบบ ตามลักษณะความตองการใชงาน ไดแก
- Indicator เพื่อแสดงคาของตัวแปร ไมสามารถสงสัญญาณไฟฟาได เชน pressure indicator
- Transmitter (Tx) เพื่อแสดงคาของตัวแปร โดยสามารถสงเปนสัญญาณไฟฟาไดดวย มีทั้ง Analog
และ Digital Signal เชน pressure transmitter
- Switch เพื่อแสดงคาของตัวแปร โดยสงเปนสัญญาณไฟฟาไดดวย เปนแบบ On-Off (Digital Signal)
เชน pressure switch
- Recorder Device เพื่อเก็บบันทึกของตัวแปร ปจจุบันนิยมใชในรูปแบบของ Electronic Format เชน
เก็บไวใน Hard Disk
- Controller เปนอุปกรณที่ใชควบคุมขบวนการ เปนลักษณะของการ programming เชน
PLC , PID control
- Alarm Device เปนอุปกรณที่มีไวเพื่อเตือนคาของตัวแปรที่อาจเปนอันตรายตอระบบหรือProcess
- Interlocking Device เปนอุปกรณสําหรับปองกันอันตรายของระบบหรือ process โดยมีรูปแบบตาง
เชน ตองมีสัญญาณของการจายน้ํา (Flow Rate) เกิดขึ้นกอนจึงจะสามารถจายสารเคมีบางสวนได
- Transducer มีคุณสมบัตคิ ลาย ๆ กับ Transmitter แตไมได Generate สัญญาณไฟฟามาตรฐาน
ออกมา (Standard Signal : 4 -20 mA ,1-5 V )
3. Control Function
หนาที่หลักของการควบคุมสามารถจําแนกได 3 ประการ คือ
- Gathering Information เปนการรับรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับตัวแปรที่เราตองการควบคุม และเกี่ยวของ
- Decision ประมวลผลและตัดสินใจในขอมูลที่รับเขามาในขั้นตอน Gathering
- Take Action สงคา Output ออกไปสั่งการ Final Drive จากผลของ Decision
ตัวอยางเชน

Desired Temperature More Steam Flow


(Set Point)
Comparison Constant combustion rate (No Action)

Actual Temperature Less Steam Flow


3.1 Type of Control
การควบคุมสามารถกระทําไดดวยการควบคุมแบบ Manual และ Automatic ในการควบคุมแบบ
Manual การตัดสินใจสั่งการมนุษยจะเปนผูกระทํา สวนในการควบคุมแบบอัตโนมัติ (Automatic Control) การ
ตัดสินใจสั่งการจะกระทําดวยอุปกรณ หรือที่รูจักกันคือ Controller เชนในการควบคุมความเร็วของรถยนตแบบ
Manual ผูที่จะควบคุมตัดสินใจก็คือคนขับรถ
ความแตกตางของการควบคุมแบบ Manual และแบบอัตโนมัติ (Automatically) พิจารณาจากการ
ตัดสินใจ (Decision) วาไดกระทําโดยอะไร มนุษยหรือเครื่องจักร (Man or Machine)
3.1.1 วัตถุประสงคของ process control
ƒ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ƒ ปองกันความเสียหายของระบบ และผูปฏิบัติงาน
ƒ ลดคาใชจายในการผลิต เชนใช operator นอยลง
ƒ ใชกับขบวนการผลิตแบบตอเนื่องและจํานวนมากๆ
3.2 Process Control Terms ( ควรทําความเขาใจ และจําใหได )
Terms หรือคําจํากัดความที่พบเห็นบอย ๆ ใน Process Control มีดังนี้
3.2.1 Controlled Variable
คือตัวแปรของ Process ที่เราตองการควบคุม คาตัวแปรควบคุมที่ใชสวนมาก ไดแก อุณหภูมิ, ความ
ดัน, อัตราการไหล, ระดับ เชนในการควบคุมอุณหภูมิของไอน้ํา Controlled Variable ก็คือ อุณหภูมิ
3.2.2 Measured Variable
เปนการวัดคาของตัวแปรที่เราตองการควบคุม อาจจะเปนตัวเดียวกับ Controlled Variable หรือไมก็
ได
3.2.3 Set Point
เปนคาเปาหมายในการควบคุม เชน Steam Temp. Set Point = 560oC เปนตน ในการควบคุมตัวแปร
ที่เราวัดซึ่งก็คือ Measured Variable และ Controlled Variable โดยทั่วไปจะเปนตัวเดียวกัน เชนการควบคุม
อุณหภูมิของน้ํา Measure Variable และ Controlled Variable คืออุณหภูมิ
ในบางกรณี เชนการควบคุมระดับน้ําในถัง Controlled Variable ก็คือระดับน้ํา แต Measured
Variable สามารถวัดในรูปของความดันหรือวัดความดันแตกตางจากนั้นจึงแปลงคาความดันไปเปนระดับของน้ํา
ได หรือการวัด Flow Rate คา Measured Variable คือ Differential Pressure
3.2.4 Deviation or Error
เมื่อคา Set Point และคา Controlled Variable ถูกนํามาเปรียบเทียบกันถาเกิดความแตกตางระหวาง
คา 2 คานี้เราเรียกวา Deviation หรือ Error
Error เปนคําที่ใชเรียกเมื่อคาทั้งสองแตกตางกัน มิใชหมายความวา คาความผิดพลาด สวนมากใช
กับ instrument คือมีคาเทากับ คาที่วัดได -คามาตรฐานหรือคาที่วัดไดที่เที่ยงตรงกวา
Deviation จะเนนชวง Error ที่เกิดในชวงเริ่มตน และเปนคําที่ใชกันในระบบ control
3.2.5 Manipulated Variable
เมื่อมี Deviation เกิดขึ้นในการควบคุมตัวควบคุม (Controller) ก็จะสง Control Output ออกไป เพื่อ
ขจัดคา Deviation นี้ Control Output นี้จะไปทําการปรับแตงคาตัวแปรที่เรียกวา “Manipulated Variale” ซึ่ง
เปนตัวที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของ “Controlled Variable”
เชนในการควบคุมอุณหภูมิของน้ําดวยการผาน Heat Exchanger ดวยการใชไอน้ํา อุณหภูมิของน้ําจะ
ถูกวัดและนํามาเปรียบเทียบกับคา Set Point ถาคาทั้งสองนี้ไมเทากัน ก็ตองมีการปรับคาปริมาณของไอน้ํา เพื่อ
ทําใหอุณหภูมิเขาสูคา set point ในกรณีนี้ไอน้ําก็คือ Manipulated Variable ซึ่งก็คือตัวแปรปรับแตง process
นั่นเอง
Manipulted variable is the variable that causes a change in the controlled variable
3.2.6 Disturbances or Upset
การควบคุมอุณหภูมิของน้ําที่ผาน Heat Exchanger ที่กลาวมาแลว การควบคุมอุณหภูมิจะขึ้นอยูกับ
การปรับปริมาณ steam flow โดยตรง แตยังมีปจจัยอื่นที่ทําใหอุณหภูมิของน้ําที่เราควบคุม(water flow out
temperature ) เปลี่ยนไปทั้ง ๆ ที่ปริมาณ flow rate ไอน้ําเทาเดิมเราเรียกวา “Disturbance” หรือ “Upset” เชน
มีการเปลี่ยนปริมาณการใชน้ําที่ปลายทาง , อุณหภูมิของไอน้ําเปลี่ยนแปลง , ความสะอาดของ Heat
Exchanger , Ambient Temperature เปนตน
3.2.7 Closed Loop Control
เปนการควบคุมชนิดหนึ่งซึ่ง Control Action จะขึ้นอยูกับ Process Output
3.2.8 Feedback Control
เปนสวนหนึ่งของ Closed Loop Control โดยที่ Control Action จะขึ้นอยูกับ Process Output โดย
การวัดคาตัวแปรที่เราตองการควบคุมแลวนํากลับเขามาเปรียบเทียบกับคา Set Point
การควบคุมแบบ Feedback Control แบงไดเปน 2 อยาง คือ
• Negative Feedback เปนการควบคุมที่นําคาสัญญาณที่ตองการควบคุมปอนกลับเปรียบเทียบกับคา
Setpoint โดยนํามาลบกับคา Set point
• Positive Feedback เปนการควบคุมที่นาํ คาสัญญาณที่วัดไดปอนกลับเขามาบวกกับคา Set point

รูปแสดง Feedback control


3.2.9 Feed Forward Control
เปนการควบคุมอีกแบบหนึ่งที่นําเอาคาของสัญญาณของ Disturbance เขามาเพื่อทําการปรับแตง
Manipulated Variable กอนที่ Controlled Variable จะเปลี่ยนแปลงไปมาก นิยมใชกับ process ที่มีการ
เปลี่ยนแปลงของ load บอย ๆ เมื่อนําการควบคุมชนิดนี้เขามาใชรวมใน Feedback Loop จะทําให
Controlled Variable เกิดเปลี่ยนแปลงหรือมี Deviation นอยที่สุด
จากรูป
water temperature outlet = controlled variable
steam flow rate(inlet) = manipulated variable
water flow rate(inlet) = disturbance

รูปแสดง Feedforward Control

4. Feedback Control Loop


ระบบควบคุมสวนใหญจะอาศัยหลักการของ feedback control loop
ในการควบคุมแบบนี้ เราจะใช sensor เปนตัววัดคา controlled variable และสงขอมูลใหกับ controller โดยมี
comparator ซึ่งเปนสวนหนึ่งใน controller จะทําการเปรียบเทียบสัญญาณ controlled variable นี้กับ Set
point ความแตกตางที่ไดจากคาทั้งสองจะเรียกวา error หรือ deviation จากนั้น controller จะนําคา error
signal ไปเปนตัวกําหนดขนาด และทิศทางการเปลี่ยนแปลงของ final control element เชน control valve ,
damper เปนตน เพื่อทําการเปลี่ยนคา manipulated variable
คา controlled variable หรือ measured variable ( water temperature :out) จะถูกวัดโดย Sensor
แลวสงคากลับมาที่ controller จากนั้น controller จะสงสัญญาณที่ผานการประมวลผลแลว ตาม control
mode เพื่อทําการปรับแตง manipulated variable( steam flow : in ) เพื่อรักษาคา controlled variable ให
ไดคาตามที่ตองการ ( Set point ) อยูตลอดเวลา จากการทํางานลักษณะนี้เราจึงเรียบระบบนี้วา feedback
control loop หรือ closed loop control ตามรูป

รูปแสดง Feedback control loop


จากรูป เปนตัวอยางของ feedback control loop
ถาอุณหภูมิของน้ํารอนที่วัดมาสูงกวาคา set point , controller จะสงสัญญาณไปหรี่ control
lvalve ลด steam flow rate ทําใหอุณหภูมิของน้ํารอนลดลง กลับเขาหา set point
ในทางกลับกัน ถาอุณหภูมิของน้ํารอนที่วัดมาไดต่ํากวาคา set point controller ก็จะสงสัญญาณไป
เปดวาลวเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มปริมาณไอน้ํา ทําใหอุณหภูมิของน้ํารอนเพิ่มขึ้น เปนเชนนี้สลับไปมา
รูปแสดง basic control loop
5. SENSOR
เปนอุปกรณวัดคาตัวแปร (PV) ไดแก temperature sensor , pressure sensor , level sensor
เปนตน ในสวนของรายละเอียด ควรศึกษาในเรื่องของ sensor and transducer อีกครั้ง
ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวของกับ control system เทานั้น โดยมี term ที่เกี่ยวของดังนี้
5.1 Response Time
เปนเวลาในการตอบสนองของ process ของตัว Sensor เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาของ input. โดย
ปกติ Response Time มักถูกใชวัดในรูปของ Time Constant หนึ่งๆ
Time Constant หมายถึง การเปลี่ยนแปลงคาของ Output ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาขึ้นกับคา input โดย
คิดเมื่อ Output เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจนถึง 63.2% ของ Output ที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตามรูป
รูป แสดง time constant
จากกราฟเปน Response ของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ปกติวัดอุณหภูมิอยูที่ 100 oF ถาอุณหภูมิเกิด
เปลี่ยนเพิ่มขึ้นกระทันหันเปน Step Change ถึง 700 oF แตผลตอบสนองของเครื่องวัดจะมีคาคอย ๆ เพิ่มขึ้น
ตามจนถึง 63.2% ของการเปลี่ยนแปลง 600 oF (700-100)
จากกราฟ จะเห็นวาผลการตอบสนองการวัดของตัว Sensor จนชี้ถึงคา 63.2% หรือที่ 479.2 oF
(600*63.2%) นั้นใชเวลา 3 วินาที ซึ่งก็คือ 1 Time Constant ดังนั้นจึงกลาวไดวา 1 time constant มีคา
เทากับ 3 วินาที
การคําณวนเปนดังนี้
2 Time Constant (6 วินาที)
700 o F - 479.2 o F = 220.8 o F
(220.8oF x 0.632) + 479.2 oF = 618.7 oF
3 Time Constant (9 วินาที)
700 oF – 618.7 oF =81.3 oF
(81.3 oF *0.632) + 618.7 oF = 670.5 oF
5.2 Accuracy
เปนความสามารถของตัว Sensor ที่จะชี้แสดงคาที่แทจริง เครื่องมือวัดที่มี Accuracy ดีก็คือเครื่องมือ
ที่สามารถชี้แสดงคาไดเทากับคาจริงหรือใกลเคียงของจริงมากที่สุด แตไมจําเปนวาทุก ๆ ครั้งของการวัดคาเดิม
จะแสดงคาไดเทากันทุกครั้ง
รูปแสดง accuracy profile

5.3 Precision
เปนความสามารถของตัว Sensor ที่จะแสดงคาในการวัดที่ใกลเคียงหรือเทากันทุกครั้ง เมื่อถูกนําไปวัด
คาตัวเดิมในสภาวะเดิมในแตละครั้ง ซึ่งคาที่ไดจะเทากับหรือใกลเคียงกับคาจริงหรือไมก็ได หากใกลเคียงกับคา
จริงก็เรียกวา accuracy ไดดวย
โดยปกติ sensor ที่ดีจะมีคา accuracy and precision อยูใกลเคียงกับคาที่แทจริงเสมอ

Machine Monitoring System (MMS)


ในอุตสาหกรรมที่มีเครื่องจักรแบบหมุน (Rotation Machine) ติดตั้งใชงานและตองทํางานอยาง
ตอเนื่องเปนเวลาติดตอกันยาวนาน การตรวจสอบดูแลการทํางานของเครื่องจักรเหลานี้มีความจําเปนอยางยิ่ง
เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางตอเนื่อง การตรวจสอบดูแลการทํางานของเครื่องจักรหรือเรียกวา Machine
Monitoring จําเปนตองใชเครื่องมือวัด (Instrument) ประเภทตาง ๆ ในการตรวจวัดและรายงานผลตลอดจน
สามารถวิเคราะหผลจากสภาวะการทํางานของเครื่องจักรใหไดดวย
Rotation Machine ที่สําคัญไดแก Motor, Fan, Turbine และเครื่องจักรดานกําลังขนาดใหญตาง ๆ
เครื่องจักรเหลานี้มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองออกแบบใหมีระบบตรวจสอบและวิเคราะหการทํางาน เพื่อ
ปองกันความเสียหาย ที่อาจสงผลเสียหายไดดังตอไปนี้
9 ตองหยุดขบวนการผลิต เพื่อตรวจสอบสภาพเครื่องจักร หรือตองหยุดเปนเวลานานเพื่อซอมแซม
9 ตองสั่งซื้อมาติดตั้งใหม หากเกิดความเสียหายมาก ทําใหขบวนการผลิตตองหยุดชะงัก ธุรกิจเสียหาย
และที่สําคัญคือ Machine เหลานี้มักมีราคาแพงและใชเวลาในการผลิตคอนขางนาน
9 บางครั้งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานหรือเครื่องจักรอื่น ๆ ตลอดจนสภาพแวดลอมใกลเคียงดวย
1. จุดประสงคการใช Machine Monitoring System
ในขบวนการผลิตแบบตอเนื่อง (Continuous Production) เครื่องจักรจะตองทํางานตอเนื่อง
ตลอดเวลา เครื่องจักรบางประเภทมีความสลับซับซอนมาก เชน Steam Turbine โดยการทํางานมีหลาย
สวนประกอบกันและตองสอดคลองกันดวย การทํางานที่ผิดปกติของ Machine เหลานี้อาจสงผลใหการผลิต
หยุดชะงักหรือประสิทธิภาพลดลงได และความปลอดภัยของขบวนการผลิตก็เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งพอ ๆ
กับผลิตภาพเชนกัน หากมีผลกระทบตอเครื่องจักรและบุคลากร ดังนั้น จุดประสงคของระบบ MMS ใน
พื้นฐานคือ
¾ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยตอเครื่องจักรและผูปฏิบัติงาน (Safety for Machine and
Operator)
¾ เพื่อควบคุมและลดคาใชจายในการบํารุงรักษาเครื่องจักร (Safe Maintenance Cost)
¾ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการใชงานของเครื่องจักร (Maximize Machine Capacity)
¾ เพื่อพัฒนาศักยภาพเทคโนโลยีใหสูงขึ้น (Improvement Technology)

ภาพแสดงความเสียหาย จากความผิดปกติของเครื่องจักร เชน misalignment


ที่มา The practical vibration primer ,Jackson Charles , Gulf publishing company Texas USA , 1979 , ISBN:087-
2018911

ICEBERGE
ที่มา เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร advance control (PID Control) กองศูนยฝกอบรมแมเมาะ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ
ไทย , 14-6-48
จาก Iceberge จะเห็นวา Maintenance cost เปนสวนลางที่จมอยูในน้ํา ซึ่งหมายความวา เปนปจจัย
ที่ควบคุมไดยากและบางครั้งก็ไมสามารถคาดการณหรือประมาณการณไดเลย ดังนั้นการมี monitoring ที่ดีจึง
เปนทางเลือกที่ดีประการหนึ่งที่จะสามารถลด cost ในสวนนี้ได
2. ระบบการวัดแบบตอเนื่อง (Continuous Monitoring System)
ระบบเฝาติดตามการทํางานของเครื่องจักร เพื่อให Machineสามารถทํางานไดตามเปาหมายการผลิต
มีอายุการใชงานยืนยาว ตลอดจนลดคาใชจายในการบํารุงรักษา ดังนั้นการออกแบบและการนําเขาใชงาน
อุปกรณวัดตองใหมีความเหมาะสมเปนไปตามจุดประสงค โดยตองคํานึงถึงระบบการวัดและลักษณะการวัด
การทํางานของเครื่องจักรตามสภาวะตาง ๆ เชน การทํางานในชวง Transient State การทํางานสภาวะคงที่
(Steady State) คุณสมบัติของเครื่องจักร (Characteristics That Fully Define Mechanical Condition) เปนตน
3. การจําแนกกลุมของเครื่องจักร ( Machine Classification )
ในระบบการผลิตตาง ๆ ไมวาขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ ลวนจําเปนตองมีระบบการจําแนกกลุม เพื่อให
สามารถตรวจวัด และติดตามการทํางานในสวนตาง ๆ ตามความเหมาะสมและสอดคลองตามหลักวิศวกรรม
เนื่องจากระบบ Monitoring เปนระบบซึ่งใชตรวจวัดและชวยในการวิเคราะหการทํางานและความเสียหายของ
เครื่องจักร การจําแนกกลุมของเครื่องจักรจึงถูกประเมินโดยความสําคัญของเครื่องจักรในขบวนการผลิตนั้น ๆ
โดยแบงเปน 3 กลุม ดังนี้
3.1 เครื่องจักรที่มีความสําคัญตอขบวนการผลิตมากที่สุด (Critical Machines)
ตัวอยางเครื่องจักรในขบวนการผลิตไฟฟาและอุตสาหกรรมบางประเภท เชน เครื่องกังหันไอน้ํา(Steam
turbine) , เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) เปนตน เมื่อเครื่องจักรเหลานี้เกิดการชํารุดเสียหายจากการใชงาน
อาจกอใหเกิดผลกระทบรายแรง เชน
o ทําใหขบวนการผลิตตองหยุดชะงักธุรกิจเสียหาย เสียโอกาสในการผลิต
o ใชเวลา แรงงาน และคาใชจายคอนขางมากในการตรวจสอบและแกไข
o มีคาใชจายสูงในการสํารองเครื่องจักร (Spare Part) หรือใชเวลานานในการจัดหา โดยปกติเครื่องจักร
เหลานี้ มักมีราคาแพง รวมทั้งอาจตองใชเวลาในการผลิตขึ้นมาเปนพิเศษ (Made to Order)
o ทําใหเกิดอันตรายตอ Machine อื่น ๆและ ผูปฏิบัติงาน
3.2 เครื่องจักรที่มีความสําคัญอันดับรอง (Essential Machines)
เชน Boiler Feed Pumps , Air Compressors , Condensate Pump เปนตน กลุมนี้ถาเกิดการชํารุด
เสียหาย (Failure) แลวทําใหเกิดผลกระทบตอขบวนการดังนี้
ƒ ทําใหขบวนการผลิตหยุดชั่วคราว หรือลดกําลังการผลิตลง
ƒ ใชเวลาไมมากและคาใชจายไมสูงนักในการตรวจสอบแกไข
ƒ เครื่องจักรเหลานี้สามารถจัดหา Spare Part ไวไดหรือมีอุปกรณไวสํารองพรอมใชงานไดทันที (Stand
By) หมายความวา machine นี้มักจะมีการติดตั้งไวมากกวา 1 ตัว เมื่อตัวใดตัวหนึ่งหยุดเดินเครื่องก็มี
อีกตัวที่ stand by อยูเดินเครื่องทํางานตอไดทันที
3.3 เครื่องจักรทั่ว ๆ ไป (General Purpose Machines)
เชน ปมหรือมอเตอรขนาดเล็ก, พัดลมขนาดตาง ๆ รวมไปจนถึง Turbine Pump ทั่วไป ถาเกิดการ
ชํารุดเสียหาย (Failure) แลวทําใหเกิดผลกระทบดังนี้
• ไมมีผลกระทบตอกําลังการผลิตของสวนใหญ
• สูญเสียระบบการสนับสนุน (Backup) บางสวนหรือทั้งหมด
• ทําใหคาความเชื่อมั่นตอการผลิตลดลง (Reliability ลดลง)
• ใชเวลาในการตรวจสอบแกไขนอย สามารถทําไดทันที
• ระบบการตรวจสอบไมยุงยาก จัดหาอุปกรณไดงาย มีอะไหลใชงานไดทันที
• เครื่องจักรเหลานี้สามารถสํารองอุปกรณไวไดทุกชิ้นสวน เนื่องจากราคาไมแพง ดังนั้นจึงสามารถแกไข
หรือเปลี่ยนใหมไดทั้งชุด
ความตองการขอมูลเพื่อใชในขบวนการติดตามการทํางาน (monitoring) ของเครื่องจักรกลุมตาง ๆ

Machine Information Requirement


Operant หมายถึง ขบวนการวัดประกอบดวย
- Process Variable ตาง ๆ ที่สําคัญ
- การบันทึกขอมูลจากการวัด (Recording Data )
- การรวบรวมขอมูล (Gathering Date)
โดยตองพิจารณาตามความเหมาะสมของเครื่องจักรนั้น ๆ ตามหลักวิศวกรรม เชน Steam Turbine ซึ่ง
มักนิยมเรียกระบบนี้วา Turbine Supervisory System ประกอบดวยระบบยอย ดังนี้
1. Vibration Monitoring System
2. Shaft Position Measurement System
o Radial
o Axial
3. Machine Temperature Measurement System
ƒ Bearing
ƒ Casing
4. Process Variable Measurement System
o Steam Flow Rate
o Steam Pressure
o Output ซึ่งก็คือ คากําลังการผลิตไฟฟา (MW)
5. Expert System หรือระบบวิเคราะหและแปรผล โดยใช Data Base ที่มีอยูเปรียบเทียบและแสดงผล
เชิงวิศวกรรม+ทางสถิติของคา Input จาก MMS ทั้งนี้ตองพิจารณาจาก Characteristic ของ
Machine หรือระบบนั้น ๆ ดวย
ดังนั้น Machine Monitoring จึงหมายถึง การนําขอมูลจาก Operant มาแปรผลทางวิศวกรรมและทาง
สถิติ ทําใหสามารถวิเคราะห สภาพการทํางานของเครื่องจักร ตลอดจนประเมินแนวโนม (Trend) ของเครื่องจักร
ได ประโยชนที่ไดรับคือ
ƒ ทําใหผูควบคุมเครื่องจักร (Operator) สามารถใชเปนขอมูลในการตัดสินใจเดินเครื่องอยางถูกวิธี
และปลอดภัย
ƒ เปนขอมูลสําหรับผูวิเคราะหระบบ ทําใหรูปญหาไดเร็วขึ้นและแกปญหาไดตรงจุด ไมเสียเวลา
ƒ สามารถพยากรณความเสียหายลวงหนาได ซึ่งสนับสนุนการ Maintenance แบบ Predictive
Maintenance
ƒ สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการควบคุมเครื่องจักรได
Typical parameter ของ turbine supervisory system
ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

4. ระบบแสดงผลของ MMS
MMS ตองทํางานอยางตอเนื่องตามการใชงานของเครื่องจักร และมีการแสดงผลในรูปแบบตาง ๆ
เพื่อใหงายในการวิเคราะห สามารถตรวจสอบขอมูลยอนหลังได ที่สําคัญตองแสดงผลอยางถูกตองตลอดเวลา
การเลือกใชระบบตรวจสอบติดตามการทํางานของเครื่องจักรและการกําหนดจุดวัดเปนสิ่งที่สําคัญ
ตองเปนไปตามหลักการที่ถูกตอง หรือสามารถพิสูจนไดในทางวิศวกรรมวาเหมาะสม
การเลือกใชตองคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ เหลานี้ เชน
- เปนไปตามหลักวิศวกรรมและมีมาตรฐานรองรับ
- เหมาะสมหรือลงตัวพอดีกับเครื่องจักรที่ออกแบบไวและติดตั้งไดงาย
- มีประวัติการใชงานมาแลวในอุตสาหกรรมตาง ๆ และเปนที่ยอมรับ เชน ยี่หอ Bently Nevada เปน
ยี่หอที่มีความนาเชื่อถือและเปนที่ยอมรับกันมากรายหนึ่ง
- มีการบริหารหลังการขายที่ดีทั้งทางดานวิศวกรรมและดานอื่น ๆ
- ราคาเหมาะสมกับคุณสมบัติและคุณภาพ
- Low Cost Maintenance
- มีความถูกตองแมนยําสูง และทนตอสภาวะสิ่งแวดลอมไดดี
- ราคาโดยรวมทั้งระบบไมสูงจนเกินไป
- มีอายุการใชงานยาวนาน โดยคา Accuracy ยังอยูในเกณฑที่ยอมรับได
- มีความทนทาน
5. ตําแหนงที่ตองการวัดและแสดงผล
สิ่งที่สําคัญตองคํานึงถึงคือ จุดวัดหรือจุดติดตั้ง Sensor จะตองไดรับการออกแบบใหถูกตองเหมาะสม
เพื่อใหผลการวัดมีความแมนยําและเปนไปตามที่ตองการ สวนประกอบที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ อุปกรณที่
เกี่ยวของทั้งหมด ดังนั้นตองเลือกใหเหมาะสม ดังรายการตอไปนี้
- Sensor และ Transducers ตองเลือกใชชนิดที่เหมาะสม โดยพิจารณาปจจัยในขอ 4 ขางตน
- Monitoring System
- Location of Monitor
- Signal Processing สามารถใชรวมกับระบบอื่น ๆ ไดหรือไม
6. Parameter for MMS
ในระบบนี้ไดแบงอุปกรณการตรวจวัดตามลักษณะของเครื่องจักรและการทํางานของมันตามจุดตาง ๆ
ถาเปนเครื่องกังหันไอน้ําและเครื่องกําเนิดไฟฟา( Steam turbine and generator ) โดยทั่วไปผูออกแบบได
กําหนดใหมีจุดวัดตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดังนี้
6.1 Temperature Monitor
Sensor ที่ใชโดยมากเปน RTD, Thermocouple โดยติดตั้งไวตามจุดตาง ๆ ที่สําคัญของเครื่องจักร
ไดแก
- Thrust Bearing Temperature
- Bearing Metal Temperature
- Bearing Drain Temperature
- Drive End and Non Drive End Bearing Temperature
- Casing Temperature เชน Turbine Casing Temperature
- Steam Temperature or Fluid Temperature
- Exhaust Temperature (กรณีเปน Steam Turbine)
- Generator Stator Temperature (เปนกรณีโรงงานผลิตไฟฟา)
- Generator Winding Temperature (เปนกรณีโรงงานผลิตไฟฟา)
- Etc.
6.2 Rotor Speed Monitor
เปนการวัดคาความเร็วรอบของเครื่องจักรในสภาวะตาง ๆ ของการเดินเครื่อง โดยใช Sensor ประเภท
ตาง ๆ เชน
- Proximity Sensor ใชติดตั้งแบบถาวร
- Magnetic Sensor ใชติดตั้งแบบถาวร
- Infrared Sensor ใชวัดคาเปนครั้งคราว เพื่อตรวจวิเคราะหสภาพการทํางานเบื้องตน ในกรณีที่ไมมี
Sensor ติดตั้งแบบถาวร

ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย


6.3 Keyphaser Monitor
เปนการวัความเร็วรอบ โดยมีจุดประสงคในการวิเคราะหโดยเฉพาะ เชนใชพิจารณาตําแหนงมุมของ
Rotor หรือ Shaft ในกรณีเกิด Vibration สูง ๆ ในคามุมตาง ๆ โดยตองนําคาที่ไดไปทําการประมวลผลเชิง
วิศวกรรม รวมกับเครื่องมือวัดพิเศษอื่น ๆ เชน Vibration Monitor
ถามีเฉพาะ keyphaser ก็วัดไดเพียงคา speed เพราะใชหลักการเดียวกัน
สวนมาก Sensor ที่ใชคือ Proximity Sensor ( sensor แบบไมสัมผัส หรือ non-contact sensor )
ทีม่ า เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ที่มา Application note , the key phasor
,BENTLY NEVADA,USA
ศูนยฝก อบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

6.4 Rotor Position Monitor/Shaft Axial Position


ในขณะที่เพลาเกิดการหมุนจะมีแรงเกิดขึ้นในแนวแกน (Axial Force) เรียกวา Thrust Force การ
เคลื่อนที่ในแนวแกนนี้จะถูกควบคุมใหเครื่อนที่ไดในระยะที่จํากัดไวเทานั้น โดย Thrust Bearing ดังนั้นจึงตองมี
การตรวจวัดระยะการเคลื่อนที่นี้ไวดวย เพื่อตรวจสอบสถานะการทํางานของ Machine เชนเดียวกับการ Monitor
ชนิดอื่น ๆ
Sensor ที่นิยมใชคือ Proximity Sensor โดยปกติจะติดตั้ง Sensor วัดที่ Thrust Collar หรือ Rotor
End แลวแตกรณี ลักษณะการเคลื่อนที่ของ Rotor ในแนวแกนมี 2 ลักษณะ คือ
- Short Expansion หมายถึง เคลื่อนที่หรือขยายตัวไดนอย เปนดานตรงกันขามกับ long expansion
- Long Expansion หมายถึง เคลื่อนที่หรือขยายตัวไดมาก มีทิศทางเดียวกับแรงภายนอกที่มากระทํา
เชนแรงจากความดันของไอน้ํา

ที่มา Operation manual 330525, velometor piezo-velocity sensor , BENTLY NEVADA ,USA

ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย


6.5 Differential Expansion Monitor
เปนการวัดคาการขยายตัวของ Rotor เทียบกับ Casing โดยปกติเมื่อโลหะไดรับความรอนก็จะเกิดการ
ขยายตัว ซึ่งมีคามากนอยแลวแตสัมประสิทธิ์การขยายตัวของโลหะนั้น ๆ และอุณหภูมิที่ไดรับ ยกตัวอยางที่
ชัดเจนที่สุดคือ Steam Turbine ซึ่งไดรับความรอนจาก Steam ที่ไหลผาน Turbine Blade ใน Stage ตาง ๆ ซึ่ง
ทําใหเกิดการขยายตัวของโลหะระหวาง Rotor (Shaft) กับ Casing ไมเทากัน เนื่องจากมีคาของ Gradient ของ
อุณหภูมิเกิดขึ้น หากการขยายตัวของ Rotor และ Casing ไมสัมพันธกัน หมายความวา rotor อาจขยายตัว
มากกวา casing จนเกินคาพิกัด ก็จะเกิดการเสียดสีระหวาง Stationary Blade และ Rotation Blade ทําใหเกิด
ความเสียหายที่รุนแรงไดและเปนความเสียหายที่นากลัวมากที่สุดประการหนึ่ง
การออกแบบที่ดีจะตองกําหนดทิศทางการขยายตัวที่มีแนวโนมจะเกิดขึ้นมาก (Long Expansion คือ
การขยายตัวเนื่องจากความรอนสูงทางดาน main steam inlet) ไวอยางชัดเจนและตอง Monitor คานี้ไวดวย
Sensor โดยมากนิยมใช Proximity Sensor ติดตั้งไวคอยตรวจจับคา Differential Expansion ที่เกิดขึ้น
ดังรูป

ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย


ลักษณะการเกิด Differential Expansion มี 2 รูปแบบ คือ
- Normal Shaft Direction ตามรูป
- Ramp Shaft Direction ตามรูป

ที่มา Operation manual 330525, velometor piezo-velocity sensor , BENTLY NEVADA

6.6 Casing Expansion Monitor (Absolute Expansion)


ทุก ๆ สวนของเครื่องจักรเมื่อไดรับความรอน ยอมเกิดการขยายตัว ในสวนของ Casing ก็เชนกัน การ
วัดการขยายตัวของ Casing เทียบกับ Fixed Reference หรือ Foundation เปนสิ่งที่ตอง Monitor ไวดวยเชนกัน
Sensor ที่นิยมใชมี 2 ประเภท คือ
- LVDT (Linear Variable Differential Transformer)
- Proximity Sensor

ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย


6.7 Eccentricity Monitor
เปนการวัดการหมุนของเพลาในกรณีที่เกิดการเยื้องศูนยขึ้นคือ การเกิดการหมุน โดยมีเสนศูนยกลาง
การหมุนคนละเสนกับแนวเดิมของเพลา สาเหตุของการเกิดลักษณะนี้มาจากหลาย ๆ ประการไดแก
- เกิดจากน้ําหนักของ Shaft (Rotor) เชน Steam Turbine Rotor ซึ่งมีน้ําหนักมาก และไดหยุดการ
Operate เปนเวลานาน ๆ ทําใหเกิดการ Sack หรือภาษาพูดเรียกวาการตกทองชาง
- การ Unbalance of Weight ของ Rotor ทั้งหมด
Sensor ที่ใชเปน Proximity Sensor

Eccentric from weight


ที่มา เอกสารประกอบการฝกอบรม turbine supervisory ศูนยฝกอบรมบางปะกง(www.energythai.net)การไฟฟาฝายผลิตแหง
ประเทศไทย

ที่มา The practical vibration primer ,Jackson Charles , Gulf publishing company Texas USA , 1979 , ISBN:087-2018911
6.8 Vibration Monitor
โดยปกติเครื่องจักรทุกชนิดที่ Operate อยูจะเกิดคาการสั่นสะเทือนอยูคาหนึ่ง ๆ เสมอ เรียกไดวาเปน
อาการปกติของ Machine นั่นเอง แตคาการสั่นสะเทือนนี้ตองอยูในคาที่ยอมรับได โดยไมเปนอันตรายตอ
เครื่องจักร ผูปฏิบัติงานและขบวนการผลิต
การวัด Vibration เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปน Monitor ที่สําคัญมากประการหนึ่ง เนื่องจากสามารถ
นําคานี้ไป Analysis สภาพการทํางานของ Machine ไดอยางดียิ่ง (วิศวกรหรือชางเทคนิค ควรศึกษาเรื่อง
Vibration ใหเกิดความเขาใจอยางถองแทอีกครั้ง จากตําราอื่น ๆ เนื่องจากมีความสําคัญในอันดับตนๆ )
โดยปกติจุดวัด Vibration ที่ดีจะอยูบริเวณ Bearing เนื่องจากสามารถแสดงผลของ Vibration ไดดี
ที่สุด เพราะเปนการวัดจากตนกําเนิดที่แทจริง
การวัด Vibration มี 3 วิธีที่สําคัญคือ
- Displacement Measurement
- Velocity Measurement
- Acceleration Measurement
โดยแตละวิธีนั้นมีความเหมาะสมในการใชงานแตกตางกันไป ดังนี้
9 ลักษณะของเครื่องจักร เชน Vertical Pump, Boiler Feed Pump , Steam Turbine , Fan , Motor
เปนตน ซึ่งเครื่องจักรแตละชนิดมี Ccharacteristics แตกตางกันไป
9 ขนาดของเครื่องจักร หมายถึง ขนาดกําลังขับเคลื่อนเพลา เครื่องจักรขนาดใหญนั้นมีลักษณะ
Vibration ที่แตกตางกันไป
9 ประเภทของเครื่องจักร
9 อื่น ๆ เชน ความเร็วรอบการหมุน
การพิจารณาเลือกใชวิธีการแบบใดใหเหมาะสม จึงเปนสิ่งสําคัญ มิฉะนั้นทําใหการวัดคาผิดพลาดหรือ
เกิด Deviate ขึ้นได
ตัวอยางการประยุกตใชงาน Vibration Sensor กับ Steam Turbine ในโรงงานผลิตกระแสไฟฟาเปน
ดังนี้
¾ Casing Vibration Monitor ใชการวัดเชิงความเร็ว : Velocity หรือความเรง : Acceleration
¾ Shaft Vibration Monitor ใชการวัดเชิงระยะทาง : Displacement โดยเปน Sensor แบบ
proximity sensor ที่ใชหลักการของ Eddy Current
6.9 Sound Monitor
การวัดระดับความดังของเสียงที่เกิดจากการทํางานของเครื่องจักร มีวัตถุประสงคเพื่อตองการทราบ
ความผิดปกติของการทํางาน ในกรณีที่อาจเกิดการเสียดสีของชิ้นสวนเครื่องจักรตามจุดตาง ๆ ได แตในปจจุบัน
ไมพบการติดตั้ง Sensor วัดระดับความดังของเสียงแบบถาวรใหกับ Machine แตอาจจะใชวิธีการวัดเปนครั้ง
คราว เชน กรณีเริ่มตนของการเดินเครื่อง ( commissioning period )เปนตน สําหรับอุปกรณที่ใชวัดเรียกวา
Sound Level Meter มีลักษณะเปน Portable คลาย ๆ กับ Multi Meter
sound pressure level
ที่มา Random vibration in perspective ,Wayne Tustin and Robert Mercado , Tustin Institute of Technology , Santa Barbara , California,
1984 ,ISBN-0918247004

ที่มา The practical vibration primer ,Jackson Charles , Gulf publishing company Texas USA , 1979 , ISBN:087-2018911
โดยปกติหากเครื่องจักรมีปญหา มักจะสงเสียงดังผิดปกติออกมาดวยเสมอ โดยมีความสัมพันธกันดัง
กราฟ IFD ( Incipient Failure Detection or high frequency monitoring method ) อยางไรก็ตามการ
วิเคราะหนั้นกระทําไดคอนขางยาก จึงไมนิยมใช แตก็สามารถใชเปนดัชนีตัวหนึ่งไดเนื่องจากวาระดับความดัง
ของเสียงนั้นเปนตัวแทนคา vibration intensity or power ratio ดังตารางขางตน
Control Value
Basic Introduction
ในขบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมทั้งหลาย โดยเฉพาะขบวนการผลิตขนาดใหญและซับซอนนั้นมักใช
ระบบการควบคุมแบบอัตโนมัติเขามาใชงานเพื่อใหขบานการผลิตเปนไปอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพดี สิ่ง
สําคัญประการหนึ่งในระบบที่ขาดไมได คือ อุปกรณขับเคลื่อน หรือ final drive ที่จะกลาวในที่นี้คือ control
valve ซึ่งเปนอุปกรณหนึ่งในหลายๆอยางที่อยูในกลุมของ final drive ทั้งนี้เนื่องจากวา control valve เปน
อุปกรณที่สําคัญมากประการหนึ่งของระบบการผลิต หรือเรียกวามี priority อันดับตนๆนั่นเอง
การศึกษาเพื่อใหเกิดความเขาใจจะนําไปสูการใชงานที่ปลอดภัยตอระบบ และผูปฏิบัติงาน ตลอดจนทําให
ขบวนการผลิตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดตามตองการ รวมทั้งเกิดความประหยัดอันเหมาะกับยุคสมัย
ที่พลังงานนับวันจะขาดแคลนขึ้นทุกวัน
กอนที่จะเขาสูเนื้อหาของ Control valve ควรทําความรูจักและเขาใจในเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่อง Process
Control Terminology กอน เพื่อจะทําใหสามารถเขาใจเนื้อหาในสวนตอๆไปไดเปนอยางดี โดยจะกลาวใน
ลักษณะสรุปสั้นๆ และจะเขาสูรายละเอียดในสวนตอๆไปอีกครั้ง กรณีเชนนี้ก็เชนเดียวกับการศึกษาวิชา
คณิตศาสตรที่ตองทําความเขาใจในนิยามใหถองแทเสียกอนจึงจะศึกษาในสวนตอๆไปไดโดยเกิดการติดขัด
นอยที่สุด
ทั้งนี้ขอแนะนําใหติดตามอานจนจบตอนสุดทายจะทําใหทานไดประโยชนมากที่สุด
Note : final drive = final control element = final element
1. Process Control Terminology
1.1 Capacity คือ Flow Rate ของการไหลของของไหลที่ผาน Control Value ภายใตสภาวะหนึ่ง ๆ
1.2 Controller คือ อุปกรณที่ทําหนาที่ในการประมวลผล โดยรับขอมูลหรือ Input จากตัวแปรที่
ตองการควบคุมหรือตัวแปรที่วัดคา (Controlled Variable or Measured Variable) จากนั้นจึงทํา
การประมวลผลตามรูปแบบการควบคุม (Control Regulatory) ที่ตองการ แลวสง Output Signal
(ผลที่ไดจากการประมวลผล) ไปยัง Final Control Element ในที่นี้คือ Control Value
1.3 Closed Loop Control เปนวงจรควบคุมแบบปด โดยนําเอาคาของสถานะจาก Final
Control Element กลับเขามาเปรียบเทียบกับคา Set Point เพื่อตรวจสอบวายังมีสถานะตางจากคา
เปาหมาย (Set Point) หรือไม ที่ยังมีคา Error หรือคา SP-PV ตัว Controller ก็จะสั่งการตอไป
จนกวาจะไดคาสถานะของ Final Element ที่ตองการโดยมีคา Error เปนศูนยนั่นเอง Controller ก็
จะหยุดสั่งการ Closed Loop ในบางครั้งก็เรียกวา Control Loop คือ Loop ที่เราสนใจเปนพิเศษ
หรือที่เราตองการควบคุม
1.4 Control Range เปนยานการเคลื่อนที่ของ Stem Value หรือระยะทางการเคลื่อนที่ของ stem
valve บางทีอาจเรียกวา valve travel or rated travel
1.5 Dead Band or Dead Zone
ชวงที่ sensor หรือ control valve ไมตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง(input ที่เปลียนแปลง) ซึ่ง
เกิดจากธรรมชาติของตัวอุปกรณเอง เกิดขึ้นไดทั้ง instrument และ control valve แตสวนมากจะใชกับ
instrument and control system มากกวา
จากรูปดานลางอธิบายไดดังนี้
สมมุตวาระบบนี้เปนการทํางานของ air compressor มีคา set point to start at 7.5 bar , stop at 8.0 bar
ในตอนเริ่มตน air compressor ก็จะอัดอากาศเพื่อสรางความดันขึ้นมาจนถึง 8 bar จากนั้น pressure switch
ก็สั่งตัดการทํางานของ air comp. แตเนื่องจากระบบมี time lag จึงพบวาเกิดการ over shoot ขึ้นเล็กนอย
หลังจากนั้นเมื่อความดันในระบบคอยๆลดลงจนกระทั่งถึง 7.5 bar ซึ่งเปนจุดที่ compressor ตองstart ขึ้นมา
แตเนื่องจากวา pressure switch ที่ใชงานนี้มี dead band คอนขางมาก(อุปกรณคุณภาพต่ํา) ทําใหไมสามารถ
ตอบสนองตอ input ที่เปลี่ยนแปลงได และair compressor ก็ไมสามารถทํางานไดตามที่ตองการ เนื่องจาก
switch ไมเปลี่ยนสถานะ จนกระทั่งความดันลดลงเรื่อยๆ ไปจนถึง 7.0bar จากนั้น air compressor จึงstart
ขึ้นมา จะเห็นไดวา dead band ที่เกิดขึ้นนี้นั้นทําใหเราไมสามารถควบคุมระบบไดตามตองการ
วิธีการแกไขคือ เปลี่ยน pressure switch ที่มีคา dead band ต่ําๆมาใชงาน หรือ ติดตั้ง pressure switch 2
ตัว คือ ทําหนาที่สั่ง start , stop แยกอิสระตอกัน

dead band of instrument


ที่มา เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร introduction to process control กองศูนยฝก อบรมบางปะกง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
1.6 Gain คือ คา Output Change/Input Change มี 2 แบบ คือ Static Gain คือคา OP Change/ IP
Change ในสภาวะ Steady State บางครั้งเรียกวาคา Sensitivity สวน Dynamic Gain เปนคา OP
Change/IP Change ในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยู เปน Function ของความถี่หรืออัตรา
การเปลี่ยนแปลงของ Input อุปกรณที่มีคานี้มากๆก็หมายถึงวาสามารถขยายสัญญาณ input ได
มากๆนั่นเอง ยกตัวอยางเชน power amplifier
1.7 Hysteresis เปนตัวการทําใหเกิด dead band เปนลักษณะของการยอนกลับไมได ซึ่งเปนคุณ
ลักษณะเฉพาะของตัวอุปกรณ(instrument) สวนมากเกิดจากเรื่องของ material และเปนคุณลักษณะ
ประจําตัวของอุปกรณที่ไมสามารถแกไขได ดังนั้นจึงตองทําการบันทึกคาไวขณะ calibrate เพื่อเปน
ขอมูลเบื้องตนที่จะนําไปใชงานในภายหลังรวมทั้งยังสามารถเปนเครื่องตัดสินไดวาสมควรจะนําไปใช
งานหรือไมหากมีคานี้สูงมากๆ ลองนึกถึงการลากเสนลงบนกระดาษจากซายไปขวา แลวลากกลับโดย
พยายามใหทับเสนเดิมนั้นเปนสิ่งที่ไมสามารถกระทําได หมายความวาขบวนการใดๆในโลกที่เกิด
ขึ้นมานั้นไมสามารถทําใหยอนกลับไดโดยสมบูรณแบบ เปนไปตามกฏขอที่ 2 ของ thermodynamics

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.8 Open Loop Control เปนวงจรควบคุมแบบเปด โดยไมมีการนําเอาคาของสถานะจาก Final
Control Element กลับเขามาเปรียบเทียบกับคา Set Point เพื่อตรวจสอบวายังมีคา Error หรือคา
SP-PV เกิดขึ้นหรือไม เชน การเปดประตูระบายน้ําคือเมื่อสั่งใหเปดประตู motor ก็ทํางาน
จนกระทั่งเปดจนสุด โดยไมมีการตรวจสอบตําแหนงของบานประตูวาอยูตําแหนงใด คือไมมี sensor
ตรวจจับการเคลื่อนที่ในตําแหนงตางๆนั่นเอง
การทํางานในลักษณะนี้ไมนิยมใชงานแบบ automatic และสวนมากไมคอยพบในระบบ automatic
process control
1.9 Process Variable ไดแก pressure , temperature , flow rate , level , conductivity , p H
, vibration เปนตน
1.10 Process หรือขบวนการ ไดแกขบวนการกลั่นน้ํามัน ขบวนการผลิตไฟฟา ขบวนการระบาย
ความรอน เปนตน
1.11 Relay เปนอุปกรณที่ทําหนาที่คลายกับ Power Amplifier คือการขยายสัญญาณลม(pneumatic
signal)ใหมีขนาดใหญขึ้น เพื่อไปขับ Value Actuator คําในความหมายนี้จะใชกับ control valve
โดยเฉพาะ
ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.12 Resolution คือ คาความละเอียดของ Display device หรือสวนแสดงผล ที่สามารถแสดงคาใน
ลักษณะคานอยๆได หมายความวาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาเพียงเล็กนอย ก็สามารถแสดงคานั้นๆ
ได เชน pressure gauge ที่ใชวัดคาความดันที่มี scale แบบเข็ม สมมุตวา 1 ชองของ scale มีคา
เทากับ 0.5 psi ก็หมายความวาหากการเปลี่ยนแปลงความดันมีคานอยกวา 0.5 psi ก็ไมสามารถ
อานคาไดอยางถูกตอง แตสามารถจะประมาณคาได แตถาแสดงผลเปนแบบ digital ที่มีการกําหนด
หลักของตัวเลขไวเชน 2 หลัก คือ x.xx หากคาที่เปลี่ยนแปลงอยูที่ 0.00x ก็ไมสามารถแสดงคาให
ปรากฏ คือเครื่องวัดจะไมรับรูคาที่เปลี่ยนแปลงไดเลย ซึ่งตางกับแบบเข็มหรือ analog ที่สามารถ
ประมาณคาที่เปลี่ยนแปลงนั้นไดเพียงแตไมถูกตองเทานั้นเอง
1.13 Response Time หรือที่มักเรียกวา Time Constant
เปนเวลาในการตอบสนองของ process ของตัว Sensor เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาของ input. โดยปกติ
Response Time มักถูกใชวัดในรูปของ Time Constant คาหนึ่งๆ
Time Constant หมายถึง การเปลี่ยนแปลงคาของ Output ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาขึ้นกับคา input โดย
คิดเมื่อ Output เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจนถึง 63.2% ของ Output ที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตามรูป

จากกราฟเปน Response ของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ปกติวัดอุณหภูมิอยูที่ 100 oF ถาอุณหภูมิเกิดเปลี่ยนเพิ่มขึ้น


กระทันหันเปน Step Change ถึง 700 oF แตผลตอบสนองของเครื่องวัดจะมีคาคอย ๆ เพิ่มขึ้นตามจนถึง
63.2% ของการเปลี่ยนแปลง 600 oF (700-100)
จากกราฟ จะเห็นวาผลการตอบสนองการวัดของตัว Sensor จนชี้ถึงคา 63.2% หรือที่ 479.2 oF
(600*63.2%) นั้นใชเวลา 3 วินาที ซึ่งก็คือ 1 Time Constant ดังนั้นจึงกลาวไดวา 1 time constant มีคา
เทากับ 3 วินาที
การคําณวน Time Constant อื่นๆเปนดังนี้
2 Time Constant (6 วินาที)
700 o F - 479.2 o F = 220.8 o F
(220.8oF x 0.632) + 479.2 oF = 618.7 oF
3 Time Constant (9 วินาที)
700 oF – 618.7 oF =81.3 oF
(81.3 oF *0.632) + 618.7 oF = 670.5 oF
1.14 Shaft Wind-Up คือ ลักษณะของการเคลื่อนที่ (หมุน) ของ Shaft ที่สวแรงมาจาก Actuator
โดยตรงเกิดการหมุนไปแลว แตสวนปลายที่ตอกับ Value Plug ยังไมเคลื่อนที่เนื่องจากมีแรงเสียด
ทานบริเวณ Seal or packing สูงมาก เมื่อ Actuator เพิ่มแรงบิดมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งชนะแรง
เสียดทาน Value Plug จึงเคลื่อนที่ได ลักษณะนี้เกิดขึ้นกับ Rotary Value เทานั้น
Rotary valve
ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.15 Sensor and Transmitter
Sensor คือ อุปกรณวัดคาตัวแปร (Measured Variable) ไดแก temperature sensor , pressure
sensor, level sensor เปนตน
Transmitter เปนอุปกรณซึ่งใชเปลี่ยนคาของตัวแปรที่วัด (Measured Variable)คือการรับคาจาก
sensor นั่นเอง จากนั้นจึงแปลงไปเปนสัญญาณมาตรฐาน (standard signal) ทําใหสะดวกตอการ
นําไปใชงานรวมกับอุปกรณอื่น ๆ ที่ผลิตภายใต standard เดียวกัน ไดแก temperature transmitter,
level transmitter เปนตน ใชสัญญลักษณ Tx แทน transmitter
หนาที่ของ Transmitter โดยทั่วไปมีดังนี้
¾ Converse เปลี่ยนคาตัวแปรที่วัดไปเปนสัญญาณที่ตองการ เชน เปลี่ยนแปลงคา differential
pressure เปนคา flow rate เปนตน
¾ Amplifier ทําหนาที่ขยายสัญญาณที่เปลี่ยนแลวใหมีขนาดใหญขึ้น เพื่อใหงายตอการ รับ สง
และลดปญหาเรื่อง signal loss หรือ noise มารบกวน
¾ Standard signal ในการขยายสัญญาณตองขยายใหอยูในคามาตรฐาน คือ
4-20 mA , 1-5 V , 3-15 psi
¾ Transmit ทําการสงสัญญาณมาตรฐานออกไป โดยคาสัญญาณที่วัดไดสามารถสงออกไปใน
รูปแบบตางๆไดดังนี้
- Electrical Signals เปนสัญญาณทางไฟฟาในรูปของกระแสไฟฟา หรือแรงดันไฟฟา ( 4-20 mA , 1-5
V)
- Pneumatic Signals เปนสัญญาณของความดันลม (3-15 psi )
- Hydraulic Signals เปนสัญญาณของความดันของของเหลว(3-15 psi )
- Telemetered Signals สงสัญญาณในรูปของคลื่นความถี่วิทยุ
1.16 Transducer เปนอุปกรณไฟฟาที่รับคาการวัดจาก Sensor จากนั้นจึงสงเปนสัญญาณไฟฟา
ออกไปยังหองควบคุม โดยสัญญาณที่สงไปจะไมอยูในรูปของ Standard Signal เหมือน
Transmitter เชน Vibration Transducer ซึ่งอาจเปน -5 to +5 V หรือ 1 to 10 V ก็ได
1.17 Value Sizing คือ การเลือกขนาด ชนิด ประเภท สวนประกอบอื่น ๆ ของ Value ใหมี
ความสัมพันธกับระบบที่ตองการใชงานอยางเหมาะสม
1.18 Set Point เปนคาเปาหมายในการควบคุม เชน Steam Temp. Set Point = 560oC เปนตน ใน
การควบคุมตัวแปรที่เราวัดซึ่งก็คือ Measured Variable และ Controlled Variable โดยทั่วไปจะเปน
ตัวเดียวกัน เชนการควบคุมอุณหภูมิของน้ํา Measure Variable และ Controlled Variable คือ
อุณหภูมิ
ในบางกรณี เชนการควบคุมระดับน้ําในถัง Controlled Variable ก็คือระดับน้ํา แต
Measured Variable สามารถวัดในรูปของความดันหรือวัดความดันแตกตางจากนั้นจึงแปลงคาความ
ดันไปเปนระดับของน้ําได หรือการวัด Flow Rate คา Measured Variable คือ Differential
Pressure
1.19 Bench Set คือ การทดสอบการเคลื่อนตัวของ Actuator Spring Range โดยการปอนลมเขาที่
Diaphragm Chamber เพื่อให Actuator เกิดการขยับตัวโดยที่ยังไมไดตอเขากับ Value Plug เปน
การทดสอบการทํางานของ diaphragm วาทํางานตามยานความดันที่กําหนดหรือไม ทั้งนี้สามารถ
บงชี้ในเบื้องตนไดวา diaphragm มีปญหาหรือไม เชน การรั่ว หรือฉีกขาด หรือ defect อื่นๆ
เพื่อที่จะแกไขกอนที่จะมีปญหาในขณะใชงานจริง
1.20 Diaphragm Pressure Span เปนคาความแตกตางระหวางคาสูงสุดและต่ําสุดของ
Diaphragm Pressure Range เชน กําหนดคาไวที่ 40 to 400 kPa คา Span คือ 400 – 40 = 360
kPa
1.21 Single Acting Actuator คือ Actuator ที่มีการปอนพลังงาน (Pneumatic , Hydraulic) เขา
ไปใน 1 ทิศทาง แบบนี้จะมีสปริงเพื่อทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในทิศทางตรงกันขามกับแรงของ
pneumatic or hydraulic

single acting actuator


ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.22 Double Acting Actuator คือ Actuator ที่ตองมีการปอนพลังงาน (Pneumatic , Hydraulic)
เขาไปใน 2 ทิศทาง แบบนี้จะไมมีสปริง การเคลื่อนที่ทั้งสองทิศทางตองใชแรงจาก Pneumatic or
Hydraulic) หรือตองใชพลังงานภายนอกทั้งสองทิศทาง
1.23 Dynamic Unbalance คือ สภาวะที่มีคาของแรง คาหนึ่งที่เกิดขึ้นจากแรงกระทําของของไหลที่
กระทําตอ Value Plug ในขณะที่มีการเปด Value

ที่มา เอกสารทางวิชาการประกอบการฝกอบรม เรื่อง Control Valve , พิษณุวัฒน ศิริจารุทรรศน :แปล , กองฝกอบรม


อุปกรณ ,ฝายฝกอบรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
1.24 Fail Closed เปนเงื่อนไขที่ใชกับระบบบางระบบที่คํานึงถึงความปลอดภัยเปนหลัก โดยเมื่อไมมี
แหลงพลังงาน (Pneumatic, Hydraulic) ก็จะทําให Value อยูในตําแหนงปด โดยมากมักจะปดดวย
แรงสปริง
1.25 Fail Open เชนเดียวกับ Fail Closed แต Value จะเปดเมื่อ Power Source Fail
1.26 Fail Safe คือ การกําหนดตําแหนงของ Value วาจะใหอยูในตําแหนงใดเมื่อเกิด Power Source
Fail คือ อาจจะใหเปดสุด(fully open) ปดสุด(fully closed) หรือคางตําแหนงเดิมไว (lock up)
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขการควบคุมหรือ Control Regulatory โดยคํานึงถึงเรื่องความปลอดภัยของ
ระบบเปนหลัก เชน safety valve ก็ควรจะมี fail safe เปนแบบ fully open
1.27 Flow Characteristic คือ ความสัมพันธระหวาง Flow Rate ที่ผาน Value กับ Percent การ
ปดเปดของ Value โดยคิดที่ 0-100% โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ
- Inherent Flow Characteristic
- Installed Flow Characteristic
- Inherent Flow Characteristic เปนคาความสัมพันธของ Flow Rate ที่ผาน Value กับการ
เคลื่อนที่ของ Stem Travel หรือ %การปดเปดของ Value เริ่มจากปดสุดไปจนถึง Rated Flow โดยมีคา
Pressure Drop ที่ตกคลอม valve คงที่คาหนึ่ง (Constant ΔP Across Value)
- Installed Flow Characteristic เปนคาความสัมพันธของ Value Flow Rate กับ Stem Travel
หรือ % ปดเปดของ Value เริ่มจากปดสุดไปจนถึง Rated Flow โดยมีคา Pressure Drop ที่ตกคลอม valve
มีคาเปลี่ยนแปลงไปตามคาการไหลและสภาวะตาง ๆ ของ Process คานี้เปนคาที่เกิดขึ้นจริงในขณะใช
งาน
1.28 Flow coefficient (Cv) เปนคาคงที่ขึ้นอยูกับรูปทรงทางเรขาคณิตของวัตถุที่ของไหลไหลผาน
โดยเปนตัวกําหนดคา Flow Capacity ตอไป คา Cv จะวัดที่ 60oF, Pressure Drop 1 psi โดยการ
วัด Flow Rate ของน้ําเปน US Gallon/Minute ที่ไหลผาน Value คา Cv จะเปนคาเฉพาะตัว
ของ Value หรือของอุปกรณ เชน คา Cv ของแผน Orifice หรือคา Cv ของ Control Value ดังตาราง
คา Cv จะนําไปคําณวณ flow rate ได
ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.29 Normally Closed Value มีความหมายเชนเดียวกับ Fail Closed
1.30 Normally Open Value มีความหมายเชนเดียวกับ Fail Open
1.31 Push Down to Close Construction ลักษณะ Value Actuator เปนแบบ Direct
Actuator (direct acting) คือ เมื่อมีแรงดันลมเขาที่ดานบน Diaphragm Chamber ก็จะทําให
Value Stem เคลื่อนที่ลง ทําให Value ปด ลักษณะเชนนี้เหมือนกับ Value ทั่ว ๆ เชน Value กอกน้ํา
คือ หมุนมือหมุน แลวกาน valve เคลื่อนที่ลง ทําให valve ปด

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
Push Down to Open Construction ลักษณะของ Value Actuator จะเปนแบบ Direct
Actuator สวน Value Plug จะเปนแบบ Reverse ดังรูป เมื่อมีแรงดันลมเขาดานบน Diaphragm
Chamber ตัว Value Stem จะเคลื่อนที่ลง ทําให Value เปดให Fluid ไหลผานไปได
reverse plug direct actuator
ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.32 Rangeability คือ คา Maximum Range/Minimum Range เชน 100/1 หมายความวา Control
Value ยังคงความสามารถในการควบคุมการไหลไดดีแมกระทั่ง Flow Rate เพิ่มขึ้นเปน 100 เทาของ
คา Minimum Controllable Flow Rate คือ ปกติควบคุม Flow Rate ที่ 1 m3/hr แตอาจใชงานไดที่
100 m3/hr ไดโดยคา Capacity, Pressure Drop หรือ Performance ยังคงเดิม สวนมากคา
Rangeability มักจะใชกับ Instrument หรืออุปกรณการวัดคุมมากกวา ซึ่งเรียกวา การบีบ-ขยาย
span เชน pressure transmitter ที่มีคา rangeability 50/1 หมายความวา สามารถ calibrate ให
มียานการวัดที่ 0 -1 bar หรือ 0- 50 bar ก็ได ในกรณีที่มีการบีบ span มากๆก็เกิดคา error หรือ
accuracy ไดเชนกันทั้งนี้ตองพิจารณาดวยวาอยูในยานที่ยอมรับไดหรือไม
1.33 Rated Flow Coefficient เปนคา Cv ที่ Value อยูในตําแหนง Rated Flow Rate
1.34 Rated Travel คือ ระยะการเคลื่อนที่ของ Travel จากตําแหนงปดสุดไปยังตําแหนง Rated Full
Open หรือตําแหนงเปดสูงสุดที่ Flow Rate ที่ตองการ
1.35 Seat Leakage ปริมาณการรั่วของ Fluid ผาน Value เมื่ออยูในตําแหนงปดสุด ในสภาวะ
Temperature and Differential Pressure ที่กําหนด ในทางปฏิบัติคือไมสามารถทําให valve ปดกั้น
การไหลได 100% จะตองมีการรั่วคาหนึ่งที่อยูในคาที่สามารถยอมรับได ดังตาราง

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.36 Vena Contracta เปนตําแหนงของ Maximum Fluid Velocity และ Minimum Pressure
ดังรูป

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.37 Calibration Curve คาความสัมพันธของ Input กับ Output ดังกราฟ

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.38 Calibration Cycle
คือ การบันทึกคาความสัมพันธของ Input กับ Output จาก 0 ไป 100% และจาก 100 กลับไป 0%
เพื่อเก็บเปนขอมูลเบื้องตนไวสําหรับการวิเคราะหปญหาในอนาคต เชนการตรวจสอบ drift ที่เกิดขึ้น

ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.39 Hunting คือสภาวะของการเกิด Oscillation ของสัญญาณควบคุม ทําใหตัว Final Element ไม
สามารถเขาสูคา Set Point ไดใน Control Value สวนมากเกิดจาก Control Signal จาก Positioner
ที่มีปญหาไมคงตัว (unstable signal) ทําใหไมสามารถควบคุม PV ไดตามที่ตองการ ลักษณะ
อาการนี้อาจเกิดจากการรบกวนของ วิทยุรับสงก็ได หรือจากอุปกรณที่กําเนิดคลื่นวิทยุกําลังสูงตางๆ
อาการเชนนี้จะทําให stem valve เกิดการขยับตัวตลอดเวลา เพื่อที่วิ่งเขาหา set point แตก็ไม
สามารถเขาหาได จึงเกิดการขยับไปมาตลอดเวลา ในลักษณะนี้สงผลเสียโดยตรงตอ mechanical
equipment ไดแก packing , positioner mechanism , actuator เปนตน ที่จะเกิดการสึกหรอเร็ว
กวาปกติ รวมทั้ง เกิด process deviation คือเกิดการเบี่ยงเบนของการผลิตหรือคุณภาพผลิตผล เชน
กรณีที่เกิดขึ้นกับ fuel oil flow control valve หรือวาลวควบคุม flow rate ของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใช
ในการเผาไหม ก็จะทําใหคาอุณภูมิเผาไหมไมคงที่ หากเปนระบบการผลิตไอน้ําก็จะทําใหไดคา
pressure and temperature ของไอน้ํามีคา ไมคงที่ สงผลกระทบตอการทํางานของอุปกรณอื่นๆ
อีกมากทําใหระบบเกิดการปนปวนได ดังรูป

1.40 Instrument Pressure คือ Output Pressure จากController (I/P) เพื่อใชสั่งการ Control
Value ให Action ตามตองการ

แสดงตําแหนงของ instrument pressure


ที่มา Control valve handbook ,3rd edition , FISHER Controls international LLC,USA
1.41 Loading Pressure คือ ความดันที่ทําให Pneumatic Actuator ทํางานหากไมมี I/P converter
คา Loading Pressure จะใช Instrument Pressure แทน
1.42 Operating Media คือ Fluid ที่ตองการควบคุม Flow Rate ดวย Control Value มีคา Max.
Flow Rate 100 m3/hr ที่ 100
1.43 Range คือ ยานของการใชงานหรือยานของการวัด เชน 3 to 15 psi, -40 oC to 100 oC เปนตน
1.44 Span คือ ชวงของ Range เชน 3 to 15 psi คา Span คือ 15-3 = 12 psi เปนตน
1.45 Repeatibility เปนความสามารถของ Instrument ที่สามารถวัดคาไดคาเดิมหรือใกลเคียงกับคา
เดิมภายใตสภาวะหรือเงื่อนไขเดิมโดยขึ้นอยูกับ วิธีการวัด , ผูทําการวัด, ตัวอุปกรณที่ใชวัด
(คุณภาพ), ตําแหนงที่ทําการวัด, Condition (เชน อุณหภูมิ , ความดัน ฯลฯ) โดยวัดเปนชวงเวลาสั้น
ๆ ปกติการบอกคาจะบอกเปน Standard Deviation เชน การวัดความดันของน้ําที่อุณหภูมิ 80 oC,
Flow Rate 50 m3/hr สมมุติวาวัดคา P ไดเทากับ 10.0 bar ในเวลาตอมาคา T และ Flow Rate
เปลี่ยนไปจนกระทั่งกลับมาที่ 80 oC และ 50 m3/hr คา P ควรจะวัดได 10.0 bar เทาเดิม
หมายความวาทุก ๆ ครั้งที่ Process เดินทางผานเสนทางเดิมคาที่วัดไดในชวงเวลานั้น ๆ ควรจะเทา
เดิมดวย ดังรูป

ที่มา Control valve handbook ,3rd edition , FISHER Controls international LLC,USA
มิใชครั้งที่ 1 วัดได P = 10.0 bar
ครั้งที่ 2 วัดได P = 11.5 bar
ครั้งที่ 3 วัดได P = 9.0 bar
โดยสภาวะตาง ๆ ณ เวลานั้น ๆ (ที่ทําการวัดคา) ยังเหมือนเดิม คือ ที่อุณหภูมิ 80 oC, Flow Rate 50
m3/hr อยางนี้เรียกวามี Repeatibility ไมดี
คาRepeatibility ในอีกความหมายหนึ่งคือ ความสามารถของ Instrument ที่วัดคาและได Output
ออกมา โดยคา Input ที่ปอนยังคงเดิมภายใตสภาวะ Operating Condition เดิมในชวงเวลาสั้น ๆ
ชวงหนึ่ง เชน ใช Multimeter วัดคา Voltage ของแหลงจายแรงดัน (Ideal Power Supply) ตองวัด
คาไดคาเดิมทุกครั้งภายใตเงื่อนไขเดิม เชน วัดได 10.0 VDC จํานวน 10 ครั้ง เปนตน ในชวงเวลาสั้น

1.46 Reproducibility เปนคาความสามารถของ Instrument ในการวัดคาและให Output ออกมาคา
เดิมตามคา Input ที่ปอนเขาไป ภายใตเงื่อนไข Operating Condition เดิม แตชวงเวลาเปนการวัด
คาในชวง 1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ป เชน วันนี้วัดคาได 100 bar อีก 3 เดือน ก็ควรจะวัดคาได 100
bar ดวย ภายใต Operating Condition เดียวกัน Instrument ที่ดี ควรมีคา Reproducibility ที่ดี
ดวย
1.47 Drift มีความหมายใกลเคียงกับ Reproducibility มากหรืออาจเรียกวาเปนคํา ๆ เดียวกันก็ได
Instrument ที่ดี ไมควรเกิดคา Drift ในชวงเวลาสั้น ๆ หรือใชงานไปไมกี่เดือน คา Drift มี 2 ลักษณะ
คือ
- Point Drift โดยการกําหนด Operating Condition เดิมแลวดูคา Output ที่วัดไดวาเปลี่ยนแปลงไปจาก
คาเดิมเทาไร โดยใหคา Input Signal คงที่
- Calibration Drift เปนการนําตัว Instrument มาทําการ Calibrate ใหม โดยการเปรียบเทียบผลที่ไดกับ
Calibration Report หรือ Calibration Curve เดิม วามีความแตกตางกันเทาไรในทุก ๆ คาที่ทําการ
Calibrate เชน
คาเดิมที่ calibrate ครั้งแรก
Input (%) 0.0 25.0 50.0 75.0 100.0
Output ( volt ) 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0

คาใหมที่ผานการใชงาน
มาแลวระยะหนึ่ง 1 ป
Input (%) 0.0 25.0 50.0 75.0 100.0
Output ( volt ) 4.5 10.4 14.5 19.5 24.3
จากตัวอยาง จะเห็นวามีคา Drift เกิดขึ้นประมาณ 0.5 ในทุก ๆ คา เปนตน โดยปกติคา Drift ของอุปกรณจะบอก
เปน % Output Span จากตัวเลข จะไดคา drift =0.5x100 / 20 =2.5% of output span
1.48 Static Error เปนคา Error จากการวัดที่เงื่อนไขเดิม แตเกิดความแตกตางขึ้นเล็กนอย
1.49 True Value (คาที่แทจริง , คาจริง)
True Value = Instrument Readout (คาที่อานไดจากเครื่องมือวัด) – Static Error
1.50 Sensitivity เปนคาอัตราสวนระหวาง Change of Output/Change of Input ในสภาวะ Steady
State Condition
1.51 Dynamic Characteristic เกิดขึ้นจาก 3 ลักษณะ คือ
- Step Change การเปลี่ยนแปลง Input แบบทันทีทันใด
- Linear Change การเปลี่ยนแปลงคา Input ในลักษณะคอย ๆ เพิ่มหรือลด หรือเรียกวา ramp signal
- Sinusoidal การเปลี่ยนแปลงคา Input ในลักษณะเปน Sine Wave
ลักษณะของ Change เหลานี้ทําใหเกิด Dynamic Error, Lag, Speed of Response, Fidelity, Etc.
1.52 Dynamic Error เปนคา Error ที่เกิดจากสภาวะของ Dynamic Characteristic ทั้ง 3 แบบ
1.53 Lag or time lag เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง input ขึ้น โดยธรรมชาติของอุปกรณ จะไม
สามารถตอบสนองไดในทันทีทันใด จึงเกิด Time Lag ขึ้นเสมอ
1.54 Speed of Response คือ ความสามารถของ Instrument ในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
คา Input ยิ่งมี Speed สูงยิ่งดี แสดงวาสามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของ Input ไดเร็วมาก
1.55 Precision Error เปนคา Error จากสภาพ Conformity ของตัวอุปกรณวัด เชน ตัว Resistor มี
คา R = 1.592 Mega Ohm มี Error 154 Ohm ตัว Multimeter ที่นํามาวัดคาและอานโดยคน
(สมมติวาไมมี Error ที่คนอานคา) คาที่แสดงจากเข็มวัด อานไดที่ประมาณ 1.5 Mega Ohm ทั้ง ๆ
ที่คาจริงนั้นอยูที่ 1.592 +154 Mega Ohm คาที่อานไดจาก Scale นี้เรียกวา Precision Error คือ
เปนคา Error ที่เกิดจากขีดจํากัดของ Scale Reading ของเครื่องมือวัด
1.56 Zero Error เปนคา Error ของเครื่องมือวัดในชวงคา Input ต่ํา ๆ มักกําหนดคาเปน % Of Ideal
Span
1.57 Zero Offset หมายถึง ในสภาวะปกติที่ยังไมมี Input ใหกับ Instrument ตัว Indicator ควรแสดง
คาที่ศูนย แตหากคาที่อานไดไมเปนศูนยนั่นคือ การเกิด Zero Offset ตองทําการปรับแตงหรือ
Calibrate ให Indicator แสดงคาที่ศูนยใหไดและตองบันทึกคาไว หากปรับ Zero ไมไดจริง ๆ
ยกตัวอยางใหเห็นชัดเจนคือ กรณีของ Pressure Gauge หากนํามาวางไวในบรรยากาศปกติ เข็มชี้
คาหรือ Pointer Indicator ควรชี้คาที่ “0”

1.58 Backlash เปนคา Mechanical Hystersis สวนมากเกิดขึ้นกับระบบ Gear, Linkage,


Mechanical Transmission Device เปนตน เชน การขบกันของเฟองเกียร เมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา
ตําแหนงของเกียรก็จะอยูตําแหนงหนึ่ง แตเมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกา ตําแหนงของฟนเฟองเกียร
มิใชอยูในตําแหนงเดิม แตเปลี่ยนตําแหนงเล็กนอย คา Backlash ควรมีคานอยที่สุด อยางไรก็ตาม
คานี้ไมสามารถทําใหหมดไปได เนื่องจากเปนขอจํากัดของชิ้นสวนทางกลที่ตองมี Clearance เขามา
เกี่ยวของเสมอ โดยเฉพาะอุปกรณที่เปนกลไกหรือแบบ Non-Rigid Mechanism

2. Introduction to Control Value


ในระบบการควบคุมอุปกรณที่ทําหนาที่ในการขับเคลื่อนคือ Final Element ซึ่งรับสัญญาณควบคุมมา
จาก Controller และทําหนาที่ในการปรับแตง Process หรือ Manipulated Variable ดังรูป
Final Element or final control element ประกอบดวยอุปกรณหลาย ๆ ชนิด ไดแก
- Control Value (Pneumatic / Hydraulic)
- Motor Operated Value
- Pneumatic / Hydraulic Damper
- Pump (Metering Pump)
- Pneumatic / Hydraulic Cylinder
- Shut off Value (pneumatic / Hydraulic)
- Linear Drive Actuator
- Other Mechanical Devices
จะเห็นไดวา control valve เปนสวนหนึ่งของ final element และจัดวามีความสําคัญในอันดับตนๆ
2.1 หนาที่ของ Control Value
Control Value เปนอุปกรณหนึ่งใน Final Element โดยมีหนาที่หลักที่สําคัญคือ ควบคุมอัตราการไหล
ของของไหล ( fluid flow control )หากกลาวในภาษา Control System คือ ทําหนาที่ในการปรับแตง
Manipulated Variable เพื่อใหไดคาตาม Set Point โดยมีการตรวจสอบดวย Instrument ที่คอยตรวจจับคาตัว
แปรหรือ Measured Variable (Controlled Variable) หรือคา PV แลวสงสัญญาณไปยัง Controller เพื่อ
เปรียบเทียบคากับ Set Point (SP) หากยังมีคา Offset หรือ Error (SP-PV) เกิดขึ้นอยู ตัว Controller ก็จะสั่ง
การไปยัง Control Value ใหทําการปรับแตง Process ตอไปจนกวาจะไดคาที่ตองการหรือ Error = 0 เปนการ
สิ้นสุดขบวนการทํางาน
2.2 ประเภทของ Control Value
แบงตามลักษณะการเคลื่อนที่ของ Drive Shaft ดังนี้
A. Linear Shaft Value or Sliding Stem Valve ลักษณะการเคลื่อนที่ของ Drive Shaft
จะเปนแนวเสนตรง ดังรูป
ที่มา Control valve handbook , third edition , FISHER Controls international LLC,USA

You might also like