You are on page 1of 43

บทที่ 6

โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
Nuclear Power Plant
ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทนา

1. พลังงานนิวเคลียร์ จากปฏิกริ ิยารวมตัว (Fusion)


2. พลังงานนิวเคลียร์ จากปฏิกริ ิยาแตกตัว (Fission)
ก) เครื่ องปฏิกรณ์ แบบเพาะเชื้อเพลิงเร็ว (Fast Breeder Reactor)
ข) เครื่ องปฏิกรณ์ แบบกาลังความร้ อน (Thermal Power Reactor)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 454


โครงสร้ างของอะตอม (The Atomic Structure)

𝐸 = 𝑚𝑐 2 …(6.1)

1) ไอโซโตป (Isotopes)

𝑋 𝐴
𝑍 .92 𝑈 238

2) สารหน่ วงนิวตรอน (moderator)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 455


การจาแนกประเภทของปฏิกรณ์ นิวเคลียร์

องค์ ประกอบทีส่ าคัญของเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ มีดงั นี้


1. เชื้อเพลิง
2. สารหน่วงนิวตรอน (moderator)
3. แท่งควบคุม (control rod)
4. สารระบายความร้อนหรื อทาให้เย็น (Coolant)
5. กาแพงเตาหรื อเครื่ องกาบัง (shielding)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 456


ตารางที่ 6.1 การจาแนกประเภทเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์

สารหน่ วง
ชนิดของปฏิกรณ์ สารหล่ อเย็น เชื้อเพลิง
ปฏิกริ ิยา
PWR : น้ ำอัดควำมดัน น้ ำ น้ ำ ยูเรเนียมเข้มข้น
BWR : น้ ำเดือด น้ ำ น้ ำ ยูเรเนียมเข้มข้น
CANDU : แคนดู น้ ำมวลหนัก น้ ำมวลหนัก ยูเรเนียมธรรมชำติ
SGHWR : น้ ำมวลหนักใช้ไอน้ ำ น้ ำมวลหนัก น้ ำ ยูเรเนียมเข้มข้น
HTGR : ก๊ำซหล่อเย็นอุณหภูมิสูง แกรไฟต์ ฮีเลียม ยูเรเนียม (ทั้งสองชนิด)
AGR : ก๊ำซหล่อเย็นขั้นสู ง แกรไฟต์ คำร์บอนไดออกไซด์ ยูเรเนียมเข้มข้น
GCR : ก๊ำซหล่อเย็น แกรไฟต์ คำร์บอนไดออกไซด์ ยูเรเนียมธรรมชำติ
LMFBR : เพำะเชื้อเพลิงเร็ว ไม่ตอ้ งกำร โซเดียมเหลว พลูโตเนียม

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 457


ตารางที่ 6.2 คุณลักษณะเตาปฏิกรณ์ แต่ ละชนิด

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 458


ตารางที่ 6.2 คุณลักษณะเตาปฏิกรณ์ แต่ ละชนิด (ต่ อ)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 459


ระบบเตาปฏิกรณ์ นา้ อัดความดัน (PWR)

รูปที่ 6.1 ผนังแสดงระบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แบบน้าอัดความดัน (PWR)


วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 460
รู ปที่ 6.2 ภาพตัดเตาปฏิกรณ์ แบบ (PWR)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 461


เตาปฏิกรณ์ แบบนา้ เดือด (Boiling Water Reactor)

รูปที่ 6.3 ผังแสดงระบบโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ แบบน้าเดือด (BWR)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 462


รู ปที่ 6.4 ภาพตัดเตาปฏิกรณ์ BWR

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 463


รู ปที่ 6.5 โมดูลของเซลเชื้อเพลิงที่ประกอบด้ วยมัดเชื้อเพลิง 4 มัด

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 464


เตาปฏิกรณ์ แบบอัดความดันนา้ หนักมวลหรื อแบบแคนดู

รูปที่ 6.6 ผังแสดงระบบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แบบแคนดู


วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 465
รู ปที่ 6.7 ภาพตัดเตาปฏิกรณ์ แคนดู

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 466


เตาปฏิกรณ์ แบบก๊ าซระบายความร้ อน

รูปที่ 6.8 ผังแสดงระบบโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ แบบเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ ถ่ายเทพลังงานอุณหภูมิสูง


ใช้ ก๊าซฮีเลียมระบายความร้ อน (High - Temperature Gas - Cooled Reactor - HTGR)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 467


รูปที่ 6.9 มัดเชื้อเพลิง/สารหน่ วงความเร็วนิวตรอนของเตาปฏิกรณ์ แบบ HTGR

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 468


รู ปที่ 6.10 แผนผังแสดงการทางานของระบบผลิตกาลังเตาปฎิกรณ์ แบบ HTGR

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 469


เตาปฏิกรณ์ แบบแลกเปลีย่ นความร้ อนโดยโลหะเหลว

รูปที่ 6.11 ผังแสดงระบบโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ แบบแยกเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ แลกเปลี่ยน


ความร้ อนโดยโลหะเหลว (Liquid – Metal Fast – Breeder Reactor – LMFBR)
วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 470
รูปที่ 6.12 แผนภาพการทางานของระบบผลิตกาลังปฏิกรณ์ เพาะเชื้อเพลิงเร็ว

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 471


ไอโซโตปรังสี

รูปที่ 6.13 ขัน้ ตอนและวัฏจักรของเชื้อเพลิงที่ใช้ กบั โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์


วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 472
สรุปข้ อดี ข้ อเสี ย ของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ (เมื่อเปรียบเทียบกับโรงไฟฟ้ าชนิด
อื่น ๆ)

ข้ อดี
1. ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่าเนื่องจากเชื้อเพลิงมีราคาถูกและใช้นอ้ ย
(แร่ ยเู รเนียมเพียง 1 กรัม ให้ความร้อนเทียบเท่าถ่านหิ นถึง 3 ตัน)
2. สามารถสร้างโรงไฟฟ้าให้มีขีดความสามารถ มีกาลังผลิตสู ง
3. เป็ นแหล่งผลิตไฟฟ้าที่มนั่ คงและผลิตพลังงานได้ปริ มาณมาก อีกทั้งสามารถ
เดินเครื่ องผลิตไฟฟ้าได้ติดต่อกันมากกว่าหนึ่ งปี จึงจะเติมหรื อเปลี่ยนเชื้อเพลิง
4. เป็ นโรงไฟฟ้าที่สะอาดไม่มีเขม่าและควันไม่มีก๊าซเสี ย ที่จะทาให้เกิดนนกรด
และภาวะเรื อนกระจก
5. การเปลี่ยนแปลงราคาค่าเชื้อเพลิงมีผลต่อต้นทุนการผลิตน้อย
6. ใช้พ้นื ที่ไม่มาก

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 473


สรุปข้ อดี ข้ อเสี ย ของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ (เมื่อเปรียบเทียบกับโรงไฟฟ้ าชนิดอื่น ๆ)
ข้ อเสี ย
1. ไม่เป็ นที่ยอมรับของสำธำรณชน โดยเฉพำะเรื่ องควำมปลอดภัย
2. ต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้ำงสู ง เพื่อสร้ำงอำคำรคลุมปฏิกรณ์นิวเคลียร์
และระบบป้องกันควำมปลอดภัย
3. สถำนที่ต้ งั ของโรงไฟฟ้ำ ต้องมีกำรคัดเลือกอย่ำงเข้มงวด มีกฎเกณฑ์ต่ำงๆ มำกมำย
4. ใช้เวลำดำเนินกำรและก่อสร้ำงนำนหลำยปี
5. จะต้องใช้น้ ำเป็ นปริ มำณมำกในระบบระบำยควำมร้อนของโรงไฟฟ้ำ
6. ต้องนำเข้ำเชื้อเพลิงจำกต่ำงประเทศ
7. ต้องพิจำรณำเรื่ องสถำนที่เก็บกำกกัมมันตรังสี
8. ต้องใช้เทคโนโลยีในกำรผลิตสู ง

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 474


ตารางที่ 6.3 สรุ ปโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทวั่ โลก (1999)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 475


ตารางที่ 6.3 สรุ ปโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทวั่ โลก (1999) (ต่ อ)

เอกสารอ้ างอิง ; Energy, Its Use the Environmental, 2002


วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 476
รู ปที่ 6.14 การตรวจสอบแท่ งเชื้อเพลิงก่ อนบรรจุลงในเตาปฏิกรณ์ นิวเคลียร์

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 477


รู ปที่ 6.15 แสดงตาแหน่ งโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ที่ติดตั้งในปี 1999 ของประเทศอเมริกา

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 478


รู ปที่ 6.16 รู ปความเสี ยหายจากการระเบิดของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ที่
chernobyl ประเทศรัสเซีย ระหว่ างวันที่ 25-26 เม.ย. 1986

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 479


หน่ วยทางรังสี

ความแรงรังสี
(อัตราการสลายตัว)
เบคเคอเรล (Bq)

ปริมาณรังสี
เกรย์ (Gy)

ปริมาณรังสีทรี่ ่ างกายได้ รับ


ซีเวิร์ท (Sv)

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 480


แหล่งรังสี ที่ได้ รับในชีวติ ประจาวัน mSv/ ปี

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 481


ปริมาณรังสี ซึ่งบุคคลได้ รับเฉลีย่ ต่ อปี

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 482


ขนาดแก้วไพเร็กซ์ เก็บกากกัมมันตรังสี
ทีเ่ กิดจากการผลิตกระแสไฟฟ้ าสาหรับใช้ ตลอดชีวติ สาหรับบุคคล 1 คน

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 483


ข้ อมูลที่ต้องพิจารณาถึงความต้ องการในระดับชาติ
ประกอบด้ วยข้ อมูลต่ างๆดังนี้
1. กำรกำหนดหน้ำที่ในหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
2. พระรำชบัญญัติและกฏหมำยที่เกี่ยวกับพลังงำนนิ วเคลียร์
3. กำรพัฒนำบุคลำกร
4. อุปกรณ์และปั จจัยต่ำงๆในกำรดำเนิ นงำน ตลอดจนกำรร่ วมงำนของหน่วยงำนของรัฐบำล
5. ระบบประกันคุณภำพและกำรควบคุมคุณภำพ
6. ควำมต้องกำรในกำรลงทุนและระบบกำรเงิน
7. ระบบป้องกันภัยโดยทัว่ ไปของรัฐบำล
8. กำรกำหนด กำรควบคุมชนิดและกำรใช้วสั ดุนิวเคลียร์ ของหน่วยงำนรัฐบำล
9. กำรประชำสัมพันธ์และสำรนิเทศ
10. กำรวิจยั และค้นคว้ำ ติดตำมวิทยำกำรด้ำนพลังงำนนิวเคลียร์และค้นคว้ำ
วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 484
ข้ อมูลที่ต้องพิจารณาเกีย่ วกับความปลอดภัยและสิ่ งแวดล้ อม

1. ศึกษำผลกระทบของรังสี ที่มีต่อสิ่ งมีชีวิตและมำตรกำรป้องกันอันตรำยจำกรังสี


2. กำรป้องกันอุบตั ิเหตุและกำรประกันควำมปลอดภัยจำกรังสี
3. หลักปฏิบตั ิเพื่อควำมปลอดภัยจำกโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์
4. รำยงำนวิเครำะห์ควำมปลอดภัยและรำยงำนวิเครำะห์สิ่งแวดล้อม
พร้อมทั้งกำรขอใบอนุญำต
5. ศึกษำและวิจยั เพื่อรำยงำนด้ำนำกรเสี่ ยงภัยจำกปฏิกรณ์นิวเคลียร์
6. ดำเนินกำรเกี่ยวกับปัญหำด้ำนผลกระทบสิ่ งแวดล้อม

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 485


ความปลอดภัยของโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์

 ทบวงกำรพลังงำนปรมำณู ระหว่ำงประเทศ (International Atomic Energy Agency)


หรื อ IAEA เป็ นหน่ ว ยงำนในสั ง กัด ของสหประชำชำติ ที่ ค วบคุ ม โรงไฟฟ้ ำ
นิวเคลียร์ให้ปฏิบตั ิตำมกฎเกณฑ์ดำ้ นควำมปลอดภัยอย่ำงเคร่ งครัด
 กฎเกณฑ์ดงั กล่ำวเกี่ ยวข้องกับสถำนที่ ต้ งั กำรออกแบบ กำรก่อสร้ ำง กำรทดสอบ
กำรเดิ นเครื่ อง กำรตรวจสอบและกำรบำรุ งรั กษำ บุคลำกรที่ ทำหน้ำที่ เดินเครื่ อง
โรงไฟฟ้ำนิ วเคลียร์ จะต้องผ่ำนกำรทดสอบตำมมำตรฐำนของ IAEA และต้องผ่ำน
ทดสอบใหม่ทุก 3 ปี

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 486


 โรงไฟฟ้ำนิ วเคลียร์ ทุกโรงได้รับกำรออกแบบโดยคำนึ งถึงควำมปลอดภัยจำกรั่วไหล
ของกัมมันตรังสี ขณะเดินเครื่ อง
 มี กำรป้ องกันกำรรั่ วไหลอย่ำงน้อยสำมชั้นคือ แท่งเชื้ อเพลิงนิ วเคลียร์ ทุกแท่งซึ่ งเป็ น
แหล่งผลิ ตสำรกัมมันตรั งสี มีแผ่นโลหะหุ ้มมิ ดชิ ด แท่งเชื้ อเพลิ งหลำยแท่งที่ อยู่ใน
แกนของเตำมีเปลือกเตำปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ลอ้ มรอบ และเตำปฏิกรณ์บรรจุอ ยูภ่ ำยใน
โครงสร้ำงคอนกรี ตหนำ
 ปริ ม ำณสำรกัม มัน ตรั ง สี ที่ อ ยู่ใ นแท่ ง เชื้ อ เพลิ ง จึ ง ต้อ งผ่ำ นด่ ำ นสำมด่ ำ นก่ อ นที่ จ ะ
เล็ดลอดออกมำได้ดว้ ยเหตุน้ ี กำรรั่วไหลจึงเกิดขึ้นน้อยมำก
 กำรออกแบบโรงไฟฟ้ ำนิ วเคลียร์ ยงั คำนึ งถึงกำรป้ องกันอุบต ั ิเหตุร้ำยแรงซึ่ งจะทำให้
มีกำรปล่อยสำรกัมมัตรังสี ปริ มำณมำกสู่ สิ่งแวดล้อม
 ตัวอย่ำงเช่น เตำปฏิ กรณ์มีคุณสมบัติในกำรลดฟิ ชชัน ่ ถ้ำอุณหภูมิของเตำสู งขึ้น กำร
หยุดกำรทำงำนของเตำโดยกำรหย่อนแท่งควบคุมเข้ำไป ในเตำเป็ นระบบอัตโนมัติ

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 487


 ควำมเข้ำใจผิดว่ำอุบตั ิเหตุที่ร้ำยแรงที่สุดของโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ คือ กำรระเบิด
อย่ำงรุ นแรงพอๆ กับระเบิดนิวเคลียร์
 ในควำมเป็ นจริ ง มี ควำมแตกต่ ำ งอย่ำงมำกระหว่ำงเชื้ อ เพลิ งของโรงไฟฟ้ ำ
นิวเคลียร์ กบั เชื้อเพลิงของระเบิดนิวเคลียร์ ควำมเข้มข้นของ U-235 ในระเบิด
นิวเคลียร์ ตอ้ งมำกกว่ำ 95% ในขณะที่เชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้ำนิ วเคลียร์ มีควำม
เข้มข้นของ U-235 เพียง 2-3%

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 488


อุบัตเิ หตุทรี่ ้ ายแรงทีส่ ุ ดของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
คือ กำรหลอมเหลวของเตำปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (reactor meltdown) ซึ่ งมีสำเหตุจำกกำร

 ขำดกำรหล่อเย็นของเตำและควำมร้ อนที่เกิ ดขึ้นในเตำทำให้อุณหภู มิของเตำ


สู งถึงจุดหลอมเหลว ในกรณี ที่กำรหลอมเหลวเกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่ องยำวนำน
และปรำศจำกกำรควบคุมอำจทำให้วสั ดุ ที่หลอมเหลวทะลุฐำนของเตำไป
ชั้นหิ นและชั้นน้ ำบำดำล
 เมื่อวัสดุ หลอมเหลวไหลถึ งน้ ำก็จะทำให้น้ ำกลำยเป็ นไออย่ำงรวดเร็ ว และ
ทำให้เกิ ดกำรระเบิดอย่ำงรุ นแรงซึ่ งจะทำให้สำรกัมมันตรังสี กระจำยไปใน
วงกว้ำง

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 489


อุบัตเิ หตุร้ายแรงทีส่ าคัญที่เกิดขึน้
ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สามครั้งคือ

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 490


1. เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2522 เกิดอุบัติเหตุทโี่ รงไฟฟ้ าทรีไมล์ไอส์ แลนด์
(Three Mile Island) ในมลรัฐเพนซิลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

โรงไฟฟ้ำแห่งนี้ใช้เตำปฏิกรณ์แบบ PWR อุบตั ิเหตุเริ่ มต้นจำกเหตุขดั ข้อง


ที่เครื่ องกำเนิ ดไอน้ ำซึ่ งทำให้ระบบควบคุมสั่งหยุดกำรทำงำนของเตำปฏิกรณ์และ
สั่งให้ระบบหล่อเย็นสู บน้ ำเข้ำเตำปฏิกรณ์เพื่อระบำยควำมร้อนที่เกิดจำกกระบวน
กำรประวิง แต่ผูป้ ฏิบตั ิกำรปิ ดเครื่ องสู บน้ ำหล่อเย็นให้เตำปฏิกรณ์โดยรู ้เท่ำไม่ถึง
กำรณ์ ผลก็คือ แท่งเชื้ อเพลิงบำงส่ วนหลอมละลำยและมีกมั มันตภำพรังสี รั่วไหล
จำกเตำปฏิกรณ์แต่ อำคำรคอนกรี ตที่คลุมเตำปฏิกรณ์ป้องกันไม่ให้กมั มันตภำพ
รังสี รั่วไหลออกไปได้จึงไม่มีผูเ้ สี ยชี วิตหรื อได้รับบำดเจ็บ อย่ำงไรก็ตำมอุบตั ิเหตุ
ครั้ งนี้ สั่น คลอนควำมเชื่ อ มัน่ ของชำวอเมริ กัน ที่ มีต่ อ ระบบควำมปลอดภัย ของ
โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 491


2. เมื่อวันที2่ 6 เมษายน พ.ศ. 2529 เกิดอุบัติเหตุทโี่ รงไฟฟ้ าเชอร์ โนบิล
(Chernobyl) ในสหภาพโซเวียตรัสเซีย
(ปั จ จุ บ ัน อยู่ ใ นประเทศยู เ ครน) โรงไฟฟ้ ำ แห่ ง นี้ ใช้เ ตำปฏิ ก รณ์ แ บบ
RBMK อุบตั ิเหตุเกิดจำกควำมผิดพลำดในกำรทดลองเดินเครื่ องเตำปฏิกรณ์ที่ภำระ
ต่ำ โดยผูป้ ฏิบตั ิกำรสั่งให้ระบบหล่อเย็นหยุดทำงำนและหยุดกำรทำงำนของระบบ
ควบคุ มอัตโนมัติที่สอดแท่งควบคุ มเข้ำเตำปฏิ กรณ์ ผลที่ ตำมมำคื อ ฟิ ชชัน่ เกิ ดขึ้ น
อย่ำงรวดเร็ วและไม่สำมำรถควบคุมได้อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็ วทำให้น้ ำหล่อ
เย็นในเตำปฏิ กรณ์กลำยเป็ นไอน้ ำควำมดันสู งและส่ งแรงระเบิดขึ้นข้ำงบนซึ่ งไม่มี
อำคำรคอนกรี ตคลุม กัมมันตภำพรังสี ปริ มำณมำกแพร่ กระจำยออกสู่ ภำยนอกในวง
กว้ำง ในเบื้องต้น มีผเู ้ สี ยชีวิต 31 คนและบำดเจ็บ 203 คน นอกจำกนี้ ยงั มีผปู ้ ่ วยจำก
กำรสัมผัสสำรกัมมันตรังสี จำนวนมำกที่เสี ยชีวติ จำกโรคมะเร็ งในภำยหลัง

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 492


3. เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 เกิดแผ่ นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ สเกล
นอกชายฝั่งภาคตะวันออกเฉียงเหนื อของประเทศญี่ปุ่น และมีคลื่นสึ นามิ
สู งกว่ า 10 เมตรถล่มเมืองฟูกชุ ิมา(Fukushima) ซึ่งเป็ นที่ต้ังของโรงไฟฟ้ า
ฟูกชุ ิมาไดอิชิ(Fukushima Daiichi)
โรงไฟฟ้ ำ แห่ งนี้ ใช้เตำปฏิ กรณ์ แบบ BWR จ ำนวน 6 เตำ ถึ งแม้ว่ำเตำ
ปฏิกรณ์ทุกเครื่ องสำมำรถหยุดทำงำนได้ทนั ทีหลังจำกเกิ ดแผ่นดิ นไหว แต่คลื่น
สึ นำมิซ่ ึงสู งถึง 14 เมตรทำให้น้ ำทะเลท่วมเครื่ องสู บน้ ำและระบบหล่อเย็นของเตำ
ปฏิ กรณ์ ลม้ เหลว ควำมร้ อนจำกกระบวนกำรประวิงทำให้เกิ ดกำรระเบิ ดที่ เตำ
ปฏิกรณ์จำนวน 4 เตำ ซึ่ งส่ งผลให้มีสำรกัมมันตรังสี รั่วไหลออกจำกโรงไฟฟ้ำใน
ปริ มำณมำก

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 493


คาถามท้ ายบท
1. จำกสสำรใดๆแสดงโดย ZXA นั้น Z และ A คืออะไรและหมำยควำมว่ำอย่ำงไร
2. Alpha decay คืออะไร
3. ปฏิกิริยำนิวเคลียร์มีกี่ชนิดและแต่ละชนิดเป็ นอย่ำงไร จงอธิบำย
4. องค์ประกอบหลักของเตำปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีอะไรบ้ำง จงอธิบำย
5. จงแสดงแผนภำพแสดงลักษณะของโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบน้ ำควำมดันสู ง พร้อมทั้ง
อธิบำยกำรทำงำน
6. จงแสดงแผนภำพแสดงลักษณะของโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบน้ ำเดือด พร้อมทั้งอธิบำย
กำรทำงำน
7. จงแสดงแผนภำพแสดงลักษณะของโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบอัดควำมดันน้ ำหนักมวล
พร้อมทั้งอธิบำยกำรทำงำน
8. จงแสดงแผนภำพแสดงลักษณะของโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบใช้ก๊ำซระบำยควำมร้อน
พร้อมทั้งอธิบำยกำรทำงำน
วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 494
9. จงแสดงแผนภำพแสดงลักษณะของโรงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์แบบใช้โลหะเหลว
พร้อมทั้งอธิบำยกำรทำงำน
10. จงอธิบำยเรื่ องไอโซโตปรังสี มำพอเข้ำใจ
11. จุดประสงค์ของกำรสกัดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ใช้แล้วเพื่ออะไร
12. จงอธิบำยเรื่ องกำกกัมมันตรังสี
13. จงอธิบำยวิธีกำรขจัดกำกกัมมันตรังสี ชนิดที่เป็ นของแข็งว่ำทำได้อย่ำงไร
14. จงอธิบำยวิธีกำรขจัดกำกกัมมันตรังสี ชนิดที่เป็ นของเหลวว่ำทำได้อย่ำงไร
15. จงอธิบำยวิธีกำรขจัดกำกกัมมันตรังสี ชนิดที่เป็ นไอหรื อก๊ำซว่ำทำได้อย่ำงไร
16. อุบตั ิเหตุของโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ที่อำจเกิดขึ้นได้ เพรำะเหตุใดบ้ำง
17. จงบอกถึงข้อดี ข้อเสี ย ของโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์เมื่อเปรี ยบเทียบกับโรงไฟฟ้ำชนิดอื่น ๆ
18. ข้อมูลในกำรเลือกที่ต้งั โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์มีอะไรบ้ำง อธิบำยโดยละเอียด

วิชา วิศวกรรมโรงงานต้นกาลัง โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ดร.เฉลิมพล เปล่งสะอาด 495

You might also like