You are on page 1of 2

14 สุขภาพคนไทย 2555

การเจ็บป่วย
และการตาย
ศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล และ รองศาสตราจารย์ ดร.ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

“จ�ำนวนการตายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ไม่ ใช่เพราะเรามีโรคภัยไข้เจ็บมากขึ้น


หากเป็นเพราะประชากรไทยมีอายุสูงขึ้น ประมาณว่าร้อยละ 60
ของคนที่ตายทั้งหมดในแต่ละปีเป็นผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป”
เดีย๋ วนี้ คนไทยมีสขุ ภาพดีกว่าแต่กอ่ นมาก อายุกย็ นื ยาว สาเหตุการตายของประชากรไทยได้เปลี่ยนไป
ขึน้ เมือ่ 40-50 ปีกอ่ น พอเกิดมา คาดเฉลี่ยว่าคนไทยจะ จากเดิมมาก ในอดีต คนไทยตายมากเพราะโรคติดเชื้อ
มีชีวิตอยู่ต่อไปอีกเฉลี่ยเพียง 50 ปีเท่านั้น ปัจจุบันเพิ่ม ที่แพร่ระบาดไปได้ทั้งทางน�้ำ อากาศ หรือโดยพาหะ
สูงขึ้นถึง 73 ปี เราหวังว่าคนไทยจะยิ่งมีอายุยืนขึ้นไปอีก น�ำโรคชนิดต่างๆ ปัจจุบันการตายของประชากรไทย
ในอีก 20-30 ปีข้างหน้า คนไทยน่าจะมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อ ส่ ว นใหญ่ มี ส าเหตุ ม าจากพฤติ ก รรมการกิ น อยู ่ แ ละ
แรกเกิดถึง 80 ปี ไม่นอ้ ยกว่าชาวญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั มากนัก การใช้ชวี ติ ของตนเอง สาเหตุการตายทีส่ ำ� คัญในปัจจุบนั
คนไทยตายราว 4 แสนกว่ า คนในแต่ ล ะปี ได้แก่ โรคเกีย่ วกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด มะเร็ง
เอดส์ โรคหัวใจ ความดันเลือด รวมทั้งอุบัติเหตุบนถนน
แต่จำ� นวนตายนี้ก�ำลังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต อีกราว
โรคสมัยใหม่หลายอย่างสามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยง
10-20 ปี ข ้ า งหน้ า อาจจะมี ค นไทยตายปี ล ะกว่ า
ได้ดว้ ยการเปลีย่ นพฤติกรรมส่วนบุคคล เช่น พฤติกรรม
6 แสนคน (หรือทีอ่ ตั ราตายประมาณ 10 คน ต่อประชากร การกินอาหาร การออกก�ำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา
1,000 คน) ซึ่งจะเป็นจ�ำนวนพอๆ กับการเกิด ท�ำให้ การขับขี่ยวดยานพาหนะ
ประชากรไทยไม่เพิ่มขึ้น หรืออาจถึงขั้นลดจ�ำนวนลง
เมื่อประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู ้ สู ง อายุ คื อ
อายุเฉลี่ยของประชากรไทยที่สูงขึ้นมากในช่วง มีผสู้ งู อายุ 60 ปีขนึ้ ไปเกินร้อยละ 10 และนับวันประชากร
เวลา 3-4 ทศวรรษทีผ่ า่ นมานี้ เป็นผลอย่างมากจากการ ไทยจะยิ่งมีอายุสูงขึ้น เราก็พอมองเห็นภาพแนวโน้ม
ลดลงของการตายในวัยทารกและเด็ก เมื่อ 40 ปีก่อน ของภาวะความเจ็บป่วยของประชากรที่น่าจะเกิดขึ้นใน
เด็กเกิดมา 1,000 คน จะตายไปเสียตัง้ แต่อายุยงั ไม่ครบ อนาคต ผู้สูงอายุย่อมมี โอกาสเจ็บป่วยมากกว่าคนอายุ
ขวบถึง 80 คน อัตราตายทารกได้ลดลงเหลือเพียง น้อย ยิ่งอายุมากก็ยิ่งมีความเสี่ยงที่จะเจ็บป่วยมากขึ้น
13 รายต่ อ การเกิ ด มี ชี พ 1,000 ราย ในปั จ จุ บั น โรคของผู้สูงอายุมกั จะเป็นโรคเรือ้ รังทีต่ อ้ งการการดูแล
การอนามัยแม่และเด็ก สุขาภิบาล การสร้างภูมิคุ้มกัน ระยะยาว เช่น โรคเบาหวาน โรคความจ�ำเสือ่ ม อัมพฤกษ์
โรค เช่น การปลูกฝี ฉีดวัคซีน ช่วยท�ำให้ทารกและเด็ก อัมพาต โรคเกีย่ วกับกระดูกและฟัน โรคเหล่านีต้ อ้ งการ
มีอตั รารอดชีพสูงขึน้ อย่างมาก อัตราตายในวัยอืน่ ๆ ของ การรักษาต่อเนื่อง โรคของผู้สูงอายุเหล่านี้จะเพิ่มภาระ
ประชากรไทยก็ลดลงอย่างมากเช่นกัน การพัฒนาประเทศ ในการดูแลรักษาให้กับสังคมไทยในอนาคต
ด้านต่างๆ ทั้งด้านการแพทย์ สาธารณสุข สุขาภิบาล
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมท�ำให้อัตราตายของ
ประชากรไทยลดต�่ำลงอย่างมากในทุกกลุ่มอายุ
11 ตัวชีว้ ดั ประชากรไทยกับสุขภาพ 15

แนวโนมการเปลี่ยนแปลงอัตราเกิด อัตราตายของประเทศไทย พ.ศ. 2500-2593 รอยละจำนวนปที่สูญเสียไปจากการตายกอนวัยอันควร (Year of Life Lost: YLL)


จำแนกตามสาเหตุ ของคนไทยเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาค พ.ศ. 2551
45.0
40.0 60
55
35.0 อัตราเกิด 50 49
อัตรา (ตอประชากร 1,000 คน)

30.0 อัตราตาย 40
36

รอยละ
25.0 30
20.0 24 22
20
15.0 15
10
10.0
0
5.0 ไทย ในภูมิภาค (เฉลี่ย) ไทย ในภูมิภาค (เฉลี่ย) ไทย ในภูมิภาค (เฉลี่ย)
พ.ศ.
0 โรคติดตอ โรคไมติดตอ การบาดเจ็บ

2593
2500
2504
2508
2512
2516
2520
2524
2528
2532
2536
2540
2544
2548
2552
2556
2560
2564
2568
2572
2576
2580
2584
2588
ที่มา: Global Health Observatory (GHO), WHO;
ที่มา: ปทมา วาพัฒนวงศ พ.ศ. 2500-2553 คำนวณจากขอมูลทะเบียนราษฎร (ไมมีการปรับการตกจดทะเบียน) [http://www.who.int/gho/countries/en/; เขาถึง 30 พ.ย. 2554]
และ พ.ศ. 2554-2593 คำนวณจากการฉายภาพประชากร หมายเหตุ: ประเทศในภูมิภาค หมายถึง กลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ขององคการอนามัยโลก

การตายของประชากรไทย จำแนกตามสาเหตุ พ.ศ. 2545 และ 2551


จำนวนการตายของประเทศไทย พ.ศ. 2511-2553

500
จำนวนการตาย ป 2553 รวม 4.15 แสนคน
รอยละในการตายทั้งหมด (ทุกอายุ)

400
กลุมอาการ/โรคไมติดตอ
คิดเปนรอยละ 59 300
จำนวน 1,000 คน

ของสาเหตุการตาย
ใน พ.ศ.2545 โดยเพิ่มขึ้น 200
20 เปนรอยละ 71 ใน พ.ศ. 2551
100
0 พ.ศ.
2545 พ.ศ.
0
2511
2513
2515
2517
2519
2521
2523
2525
2527
2529
2531
2533
2535
2537
2539
2541
2543
2545
2547
2549
2551
2553
ที่มา: Global Health Observatory (GHO), WHO.
[http://www.who.int/gholcountries/en/;
เขาถึง 30 พ.ย. 2554] ที่มา: ขอมูลทะเบียนราษฎร

ประมาณจำนวนผูสูงอายุ จำแนกตามภาวะพึ่งพิงในกิจวัตรประจำวันและตามเพศ พ.ศ. 2553-2583


1,800 1,800 1,693
1,500 ชาย 1,500 หญิง
1,302
1,200 1,200
929
พันคน

พันคน

900 832 900


672 644 675
600 502 600 564
351 360 411
309 281 471
300 232 300 364
163 268 262
218 181
114 163 พ.ศ. พ.ศ.
0 0
2553 2563 2573 2583 2553 2563 2573 2583

กิจวัตรพื้นฐาน การขับถาย การทำงานบาน ที่มา: ประมาณโดยผูเขียน จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย โดยการตรวจรางกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547

ภาวะพึ่งพิง (Dependency) หมายถึง ภาวะที่ผูสูงอายุไมปฏิบัติกิจอยางเปนอิสระ แตตองการความชวยเหลือหรือการเฝาระวังจากบุคคลอ�น

You might also like