You are on page 1of 11

รายงาน

Compaction Test

เสนอ

รศ.ดร. ทวีศักดิ ์ ปิ ติคุณพงศ์สุข

วันที่ทำการทดลอง

4 มกราคม 2566

ผู้เขียนรายงาน

กรกันต์ ช้างศิลา 6310504908

หมู่ 12 กลุ่ม 2

สมาชิกกลุ่ม

กมลลักษณ์ โคตะยันต์ 6310504894


กรกันต์ ช้างศิลา 6310504908

ณัฐชยา หนิดภักดี 6310505009

บุริศร์ ศรีบุญเรือง 6310505076

กานตพงศ์ นุ่มนวล 6310506331

วัตถุประสงค์ : 1.บอกมาตรฐานการบดอัดดินทัง้ 2 มาตรฐานได้

2.บอกขอบข่ายของการบดอัดดิน

3.หาค่าความหนาแน่นแห้งสูงสุดและปริมาณน้ำสูงสุด
ที่ทำให้มวลดินอัดแน่น

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง :

การบดอัดดินคือการทำให้ดน
ิ แน่นขึน
้ ด้วยแรงของคนหรือ
เครื่องจักร เพื่อไล่อากาศไปจาก

ช่องว่างระหว่างดิน ทำให้เม็ดดินเรียงตัวกันแน่นขึน
้ จนทำให้มี
ช่องว่างระหว่างเม็ดดินน้อยลง

ซึ่งการทดสอบการบดอัดดินนีม
้ ี 2 แบบ คือ 1.การบดอัดแบบ
มาตรฐาน 2.การบดอัดแบบสูงกว่า

มาตรฐาน โดยจะมีตัวแปรควบคุมอยู่ 4 อย่าง คือ 1.ความหนา


แน่นแห้ง 2.ปริมาณความชื้น
3.พลังงานในการบดอัด 4.ชนิดของดิน เมื่อนำดินที่บดอัด
แล้วไปชั่งจากนัน
้ นำค่ามาแทนใน

สูตรคำนวณมีสูตรดังนี ้

ω = ปริ มาณน้ำในดินเป็ นร้ อยละคิดเทียบกับมวลของดินอบแห้ ง


W wet = มวลของดินเปี ยก
Ws = มวลของดินอบแห้ ง

❑wet
= ความแน่นเปี ยก มีหน่วยเป็ นกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
V =ปริมาตรของแบบหรือปริมาตรของดินเปี ยกที่บดอัดในแบบ

❑d
= ความหนาแน่นแห้ง

อุปกรณ์ที่ใช้ :
1

Compaction Mold หลอดทดลอง


ที่ตักดิน

ค้อนบดอัดแบบมาตรฐาน ค้อนบดอัดแบบสูงกว่ามาตรฐาน
ตะแกรงร่อนดินเบอร์ 4
กระป๋องใส่ตวั อย่างดิน เวอร์เนียร์
ตาชัง่

ดิน ถาดใส่ดิน

วิธีทำการทดลอง Standard Proctor

1. วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงของ Mold พร้อมทัง้


คำนวณหาปริมาตรของ mold

2. ชั่งน้ำหนักของ mold ให้ได้ความละเอียด 0.1 g

3. ชั่งน้ำหนักดินตัวอย่างที่เตรียมไว้มาอย่างน้อย 4 kg. ผสมน้ำลง


ไป 3-4 % คลุกเคล้ากันให้ทั่วจนได้ความชื้นของดินสม่ำเสมอกัน
ตลอด
4. ตักดินใส่ใน mold ที่ประกอบ collar และ base plate แล้ว
กะแบ่งปริมาตรของดินที่ใส่ให้ได้จำนวน 3 ชัน
้ เท่าๆ กัน เมื่อ
compact เสร็จแล้ว ชัน
้ สุดท้ายให้เหลือพ้นส่วนบนของ mold
เล็กน้อย ประมาณ 1-2 hr.

5. ใช้ hammer ขนาด 5.5 lb. compact ดินใน mold ในแต่ละ


ชัน
้ ๆ ละ 25 ครัง้ และต้องพยายาม compact ให้ได้ความแน่น
ของดินในแต่ละชัน
้ สม่ำเสมอเท่ากันโดยตลอดขณะ compact
ตัว mold จะต้องวางบนพื้นคอนกรีตเรียบและแข็ง

6. เมื่อ compact ครบจำนวนครัง้ แล้วถอด collar ของ mold


ออกใช้บรรทัดเหล็กปาดดินส่วนที่สูงเกินปาก mold ออกและอุด
แต่งผิวดินให้เรียบเสมอปาก mold ใช้แปรงปั ดทำความสะอาด
ดินที่ค้างอยูน
่ อก mold แล้วถอด base plate ออกนำไปชั่งหา
น้ำหนักดินใน mold ให้ได้ละเอียดถึง 0.1 g.

7. ดันแท่งตัวอย่างดินออกจาก mold แล้วผ่ากลางตามแนวตัง้


เก็บดินตัวอย่าง ตามแนวผ่านีอ
้ ย่างน้อย 100 g. ไปชัง่ น้ำหนัก
และเข้าอบในเตาอบเพื่อคำนวณหาปริมาตรต่อไป

8. เอาตัวอย่างดินที่เหลือมาทุบย่อยให้รว่ นและผ่านตะแกรงเบอร์
4 แล้วผสมน้ำเพิ่มอีกประมาณ 3 % คลุกเคล้าให้เท่ากันและ
ทำการทดลอง ซ้ำตามข้อ 4 – 7 อีกจนกระทั่งน้ำหนักดินใน
mold ที่ชั่งได้ครัง้ สุดท้ายลดลงและอย่างน้อยควรจะเปลี่ยนหรือ
เพิ่มปริมาณน้ำถึง 5 ครัง้

วิธีทำการทดลอง Modified Proctor

1. วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความสูงของ mold พร้อม


ทัง้ คำนวณหาปริมาตรของดินใน mold
2. ชั่งน้ำหนักของตัว mold ให้ได้ละเอียดถึง 0.1 กรัม
3. ชั่งน้ำหนักดินที่เตรียมไว้อย่างน้อย 7 กิโลกรัม ผสมน้ำลงไป
3-4 เปอร์เซ็นต์คลุกเคล้ากันให้ทั่วจนได้ความชื้นในดิน
สม่ำเสมอกันตลอด
4. ตักดินใส่ใน mold ที่ประกอบด้วย collar, base plate
และ spacer disc เรียบร้อยแล้วกะแบ่งปริมาณดินที่ใส่ให้
ได้จำนวน 5 ชัน
้ เท่า ๆ กัน เมื่อ compact แล้วชัน
้ สุดท้าย
ให้เหลือพ้นปาก mold เล็กน้อยประมาณ 1.0 ซ.ม.
5. ใช้ hammer ขนาด 10 lb. compact ดินใน mold ใน
แต่ละชัน
้ ให้ได้ชน
ั ้ ละ 56 ครัง้ และต้องพยายาม compact
ให้ได้ความหนาแน่นของดินในแต่ละชัน
้ สม่ำเสมอเท่ากันโดย
ตลอดขณะ compact ตัว mold จะต้องวางบนพื้น
คอนกรีตที่เรียบและแข็ง
6. เมื่อ compact ครบจำนวนครัง้ แล้วถอด collar ของ mold
ออกใช้บรรทัดเหล็กปาดดินส่วนที่อยู่เหนือเหนือปาก mold
ออกและอุดแต่งผิวดินให้เรียบเสมอปาก mold ใช้แปรงปั ด
ทำความสะอาดที่ค้างอยู่นอก mold ถอด base plate
ออกนำ mold ไปชั่งน้ำหนักให้ได้ละเอียดถึง 0.1 กรัม
7. ดันแท่งตัวอย่างดินออกจาก mold แล้วผ่ากลางตามแนวตัง้
เก็บดินตัวอย่าง ตามแนวผ่านีอ
้ ย่างน้อย 500 g. ไปชัง่ น้ำ
หนักและเข้าอบในเตาอบเพื่อคำนวณหาปริมาตรต่อไป
8. เอาตัวอย่างดินที่เหลือมาทุบย่อยให้รว่ นและผ่านตะแกรง
เบอร์ ¾” แล้วผสมน้ำเพิ่มอีกประมาณ 3 % คลุกเคล้าให้
เท่ากันและทำการทดลอง ซ้ำตามข้อ 4 – 7 อีกจนกระทั่งน้ำ
หนักดินใน mold ที่ชั่งได้ครัง้ สุดท้ายลดลงและอย่างน้อย
ควรจะเปลี่ยนหรือเพิ่มปริมาณน้ำถึง 5 ครัง้
ผลการทดลอง :

STANDARD COMPATION TEST MODIFIED COMPACTION


4.50 TEST
5.00
4.00
4.50
3.50
4.00
3.00 3.50
Dry Density (g/cm3)

Dry Density (g/cm3)

2.50 3.00
2.50
2.00
2.00
1.50 1.50

1.00 1.00
0.50
0.50
0.00
0.00
00

00

0
.0

.0

.0

.0

.0

.0

.0

5.00 10.00 15.00 20.00 25.00


6.

8.
10

12

14

16

18

20

22

Water Content (%) Water Content (%)


ตัวอย่างการคำนวณ :
π 2 π 2 3
v= d h= (10.09 ) ( 11.48 )=918.75 c m
4 4
1.79
Dry Density= =1.65 pcf
8.45
1+( )
100

สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง

การบทอัดดินให้ได้ความหนาแน่น ต้องอาศัยน้ำเป็ นตัวหล่อ


ลื่นจากการทดสอบบดอัดดินแบบมาตรฐานทัว่ ไปได้ความหนา
แน่นแห้งสูงสุดเท่ากับ 1.81 ปริมาณความชื้นสูงสุดเท่ากับ
3
g/c m

13.76% ต่อมาสิง่ ต่างๆได้พัฒนามากขึน


้ รับน้ำหนักได้มากขึน
้ จึง
ต้องพัฒนาเป็ นการทดสอบแบบโมดิฟายด์ซึ่งได้ค่าความหนาแน่น
แห้งสูงสุดเท่ากับ 1.95 ปริมาณความชื้นสูงสุดเท่ากับ
3
g/c m

10.50%

ในขัน
้ ต่อการบีบอัดดินอาจต้องใช้จำนวนคนมากกว่า 2 คน
ทำเพราะอาจเกิดการล้าทางร่างกายทำให้ได้ค่าผิดพลาดได้
หนังสืออ้างอิง : - ENGINEERING SOIL TESTS: Volume I ภาค
วิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

- การบดอัดดิน (Soil Compaction) มหาวิทยาลัย


นเรศวร

You might also like