You are on page 1of 4

ความเที่ยงตรง (Validity)

ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง ความถูกต้องหรือความตรง


ของเครื่องมือในการวัดสิ่งที่ต้องการวัด ความเที่ยงตรงเป็ นการวัดที่
เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมายสำคัญของการนำเครื่องมือไปใช้ ในการสร้าง
เครื่องมือจำเป็ นต้องมีการตรวจสอบความเที่ยงตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญเป็ นผู้พิจารณาเนื้อหา และ
วัตถุประสงค์ของเครื่องมือที่ต้องวัด
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา(Content validity) พิจารณาจาก
ความสอดคล้องระหว่าข้อสอบกับจุดประสงค์ โดยคำนวณจากสูตร ดัชนี
ความสอดคล้อง IOC (Index of item objective congruence) ดังนี ้
∑R
IOC = N
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องของระหว่างจ้อสอบกับจุด
ประสงค์
R แทน ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
∑ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทัง้ หมด
N แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
การให้คะแนนการตอบของผู้เชี่ยวชาญ
+1 แทน แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรงหรือสอดคล้องตามเนื้อหา/จุด
ประสงค์
0 แทน ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ตรงหรือสอดคล้องตามเนื้อหา/จุด
ประสงค์หรือไม่
-1 แทน แน่ใจว่าข้อสอบวัดได้ไม่ตรงหรือสอดคล้องตามเนื้อหา/จุด
ประสงค์
ค่า IOC ที่มีค่า 0.5 ขึน
้ ไปแสดงว่า ข้อสอบวัดได้ตรงตามเนื้อหา หรือเป็ น
ตัวแทนจุดประสงค์ของวิชา
ตัวอย่าง สมมติว่าข้อสอบจำนวน 5 ข้อ ซึ่งวัดจุดประสงค์ข้อหนึง่
ปรากฏผลการลงความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ดังแสดงในตาราง
คะแนนความคิดเห็นของผู้
จุด ข้อสอ
เชีย
่ วชาญ แปล
ประสง บข้อ ∑ R IOC
คน คน คน คน คน ผล
ค์ ที่
ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ที่ 5
+0.8
1 +1 +1 +1 +1 0 +4 ใช้ได้
0
+0.6
2 +1 +1 0 +1 0 +3 ใช้ได้
0
- ใช้ไม่
1 3 -1 -1 0 -1 -1 -4
0.80 ได้
ใช้ไม่
4 0 0 0 0 0 0 0.00
ได้
+1.0
5 +1 +1 +1 +1 +1 +5 ใช้ได้
0
สรุปได้ว่า ข้อสอบข้อที่ 1,ข้อที่ 2 และข้อที่ 5 มีความสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ ส่วนข้อ 3 และข้อ 4 ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์

ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) เป็ น


คุณลักษณะของแบบทดสอบที่สามารถวัดพฤติกรรมได้ถูกต้องตามโครง
ทฤษฎีเช่นถ้าเป็ นแบบทดสอบวัดเชาว์ปัญญาก็จะต้องสร้างโดยยึดแนว
โครงสร้างของพฤติกรรมการเรียนรู้ในที่นีจ
้ ะนำเสนอวิธีการตรวจสอบ
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างโดยวิธีของคาร์เวอร์ (Carver Method) โดย
ยึดแนวคิดที่ว่าผู้ที่เรียนแล้วน่าจะสอบผ่านและผู้ที่ยังไม่ได้เรียนน่าจะสอบ
ไม่ผ่านวิธีการเริ่มจากนำผลการสอบมาจัดลงในตารางดังนี ้
กลุ่มที่ยังไม่ กลุ่มที่
ได้เรียน เรียนแล้ว
สอบผ่าน b A
สอบไม่
c d
ผ่าน

สูตรในการคำนวณค่าความเที่ยงตรงตามโครงสร้างทัง้ ฉบับ เป็ นดังนี ้


a+c
rc = N

เมื่อ rc แทน ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง


a แทน จำนวนผู้ที่เรียนแล้วสอบผ่าน
c แทน จำนวนผู้ที่ยังไม่ได้เรียน สอบผ่าน
N แทน จำนวนผู้ที่สอบทัง้ หมด (a+b+c+d)

ตัวอย่าง จากผลการสอบต่อไปนีจ
้ งหาความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ซึ่งทดสอบกับนักเรียน 2 กลุ่มคือกลุ่มที่
ยังไม่ได้เรียน 15 คนกับกลุ่มที่เรียนเรื่องนัน
้ แล้ว 10 คนคะแนนจุดตัดคือ
24 คะแนน (จุดตัด 60% จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน)
คะแนนของกลุ่มที่เรียนแล้ว คือ
26 39 15 28 37 20 28 25 24 31
คะแนนของกลุ่มที่ยังไม่ได้เรียน คือ
15 10 27 19 24 30 14 20 18 10 9 20 11 13 16 ฎ a= 8 คน
WWW:{‘p
จำนวนผู้ที่ยังไม่ได้เรียนแล้วสอบไม่ผ่าน c = 12 คน
จำนวนผู้ที่เข้าสอบทัง้ หมด N = 25 คน
a+c
จากสูตร rc = N
8+12
= 25

= 0.80
ดังนัน
้ ค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างทัง้ ฉบับ
เท่ากับ 0.80
หมายเหตุ ค่าความเที่ยงตรงตามสูตรนีม
้ ีค่าตัง้ แต่ 0.00-1.00 และ
เกณฑ์การผ่านคือ 0.50 -1.00

อ้างอิงจาก : จารุนันท์ ขวัญแน่น. เอกสารประกอบการสอน


รายวิชา การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้. กำแพงเพชร:
มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร

You might also like