You are on page 1of 5

3.

5 การประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC จากผู้เชี่ยวชาญ

ตารางที่ 3.1 ผลวิเคราะห์ค่าดัชนีเพื่อความสอดคล้อง IOC จากผู้


เชี่ยวชาญ
ผู้
ท เชี่ยวชาญ ค่า ผลที่
รายละเอียด
ี่ คนที่ เฉลี่ย ได้
1 2 3
ด้านการทดลอง
1 ทดสอบการเชื่อมบอร์ดฯ ESP 8266
ทดสอบเขียนโค้ดโปรแกรม IDE ลง
2
บอร์ด ESP 8266
3 ทดสอบไฟติดในบอร์ด
4 แก้ไขข้อผิดพลาดในโปรแกรม IDE
ด้านการเลือกใช้โปรแกรม
1 เลือกใช้โปรแกรมที่ตรงกับบอร์ด
อย่างถูกต้อง
บอร์ด ESP 8266 ที่ตรงกับความ
2
ต้องการผู้ใช้งาน
โปรแกรมที่สามารถทดสอบลงใน
3
บอร์ดได้
สามารถนำบอร์ด ESP 8266 มาใช้
4
งานเป็ นประโชยน์
ด้านการนำไปใช้งาน
1 สามารถนำไปใช้อย่างอื่นได้
ผู้
ท เชี่ยวชาญ ค่า ผลที่
รายละเอียด
ี่ คนที่ เฉลี่ย ได้
1 2 3
2 สามารถนำไปใช้งานต่อยอดได้
3 สามารถนำมาพัฒนาบอร์ดได้
สามารถนำไปใช้ในงานได้ประโยชน์
4
สูงสุด
จากตารางที่ 3.1 การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงวิธีการวิเคราะห์ดัชนี
ความสอดคล้อง ใช้ได้ 13 ข้อ โดยใช้หลักเกณฑ์ การคำนวณ IOC สูตรทา
โร่ยามาเน่ ใช้คะแนนในการวัด ดังนี้ 0.50 - 1.00 ใช้ได้ ต่ำกว่า 0.50 ต้อง
ปรับปรุง ยังใช้ไม่ได้
3.5.1 โดยการหาค่าดัชนีเพื่อความสอดคล้อง IOC (Index of
Objective Congruence) โดยกำหนดเกณฑ์การประเมินแบบสอบถาม
ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญแล้วนำผลคะแนนที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญมา
คำนวณหาค่า IOC ตามสูตรเกณฑ์ สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงค์
(2551). ได้ดังนี้
+1 หมายความว่า ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์
0 หมายความว่า ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์
-1 หมายความว่า ถ้าแน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ไม่ตรงตาม
วัตถุประสงค์
ความหมายของค่าคะแนน IOC
ข้อคำถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50-1.00 มีค่าความเที่ยงตรง
ใช้ได้
ข้อคำถามที่มีค่า IOC ต่ำกว่า 0.50 ต้องปรับปรุง ยังใช้ไม่ได้

3.4
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) คือ ผลรวมของค่าตัว
อย่างที่ได้จากการสำรวจทุกค่าของข้อมูล แล้วหารด้วยจำนวนตัวอย่าง
ของข้อมูล ดังสมการ (ราช ศิริวัฒน์)
∑x
x ¿
n

เมื่อ ∑ 𝑥 คือ ผลบวกของค่าคะแนนทุกค่า และ n คือ จำนวน ข้อมูล


ทั้งหมด
2) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คือ ค่าสถิติ
ตัวหนึ่งที่สามารถนำมาวัดการกระจายของข้อมูลสามารถคำนวณได้จาก
การหาค่ารากที่สองของความแปรปรวน หรือผลรวมของทุกค่าที่ห่างจาก
ค่ากลางของข้อมูล ที่ยกกำลังสอง หารด้วยยจำนวนข้อมูล แล้วนำค่าที่ได้
มาหาค่ารากที่สอง ดังสมการ (ราช ศิริวัฒน์)

S.D. = √ ∑ ( xi −x )2
( n−1 )

เมื่อ xi คือ ข้อมูล ตัวที่ 1, 2, 3, …., n


x คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
n คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด
3) แบบสอบถามประเมินประสิทธิภาพการวิจัย IOC ( IOC :
Index of item objective congruence ) คือ การหาค่าความเที่ยงตรง
ของแบบสอบถาม หรือค่าสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์
ปกติแล้วจะให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปในการตรวจสอบ
โดยให้เกณฑ์ในการตรวจพิจารณาข้อคำถาม ดังนี้
+1 แน่ใจว่าข้อคำถามของเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
0 ไม่แน่ใจว่าข้อคำถามของเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
-1 แน่ใจว่าข้อคำถามเครื่องมือนั้นไม่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์
แล้วนำคะแนนของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมาคำนวณ ดัง
สมการ
∑R
IOC = n
เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างเครื่องมือนั้นกับวัตถุประสงค์
∑ R แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างเครื่องมือกับวัตถุประสงค์
n แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ

4) การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อคำถามที่คำนวณค่าเฉลี่ยซึ่ง
กำหนดให้ตามมาตรวัดแบบ Likert -Type - Scale นั้น ได้กำหนดระดับ
คะแนน ดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2550)

ตารางที่ 3.8 เกณฑ์การประเมินระดับประสิทธิภาพ


ค่าเฉลี่ย ระดับ
4.51 – 5.00 มากที่สุด
3.51 – 4.50 มาก
2.51 – 3.50 ปานกลาง
1.51 – 2.50 น้อย
1.00 – 1.50 น้อยที่สุด

You might also like