You are on page 1of 6

ชื่อ - นามสกุล ธนัชพร ขวันเพ็ชร

ระดับชั้น ม.3

โรงเรียน เทศบาล 2 (วัดกะพังสุรินทร์)

จังหวัด ตรัง
ธนัชพร ขวันเพ็ชร

20
1. ผลการประเมิน
คะแนนที่ได้ คะแนน

คะแนนผลการประเมินรายบุคคล (คะแนนเต็ม 150 คะแนน)

ระดับความยาก พื้นฐาน กลาง ประยุกต์ รวม ร้อยละ


เปอร์เซ็นไทล์
ของข้อสอบ (เต็ม 50 คะแนน) (เต็ม 50 คะแนน) (เต็ม 50 คะแนน) (เต็ม 150 คะแนน) ของคะแนนที่ได้

คะแนนที่ได้ 15 0 5 20 13 34

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 34 หมายถึง มีนักเรียนอยู่ประมาณร้อยละ 34 ที่ได้คะแนนน้อยกว่า 20 คะแนน

ค่าสถิติพื้นฐาน

จำนวนนักเรียน คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน คะแนนต่ำสุด คะแนนสูงสุด


วิชา ชั้น
ที่เข้าสอบ (Mean) มาตรฐาน (S.D.) (Min.) (Max.)

คณิตศาสตร์ ม.3 21,732 25 15.03 0 150

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นค่าที่แสดงว่าคะแนนของนักเรียนแต่ละคนอยู่ห่างจากคะแนนเฉลี่ยประมาณเท่าใด

อันดับที่ของการประเมิน

ระดับ อันดับที่ จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ (คน)

โรงเรียน 29 43

จังหวัด 371 669

ภูมิภาค 2,461 4,280

ประเทศ 13,049 21,732

คะแนนที่ผ่านมาในแต่ละปี

ปีที่สอบ ชั้นปีที่สอบ คะแนนที่ได้ (เต็ม 150 คะแนน)

2564 ม.1 45

2565 ม.2 10
ธนัชพร ขวันเพ็ชร

2. ผลวิเคราะห์ตามสาระการเรียนรู้

ร้อยละของ ร้อยละของ
วิชา / ชั้น สาระการเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย คะแนนที่ได้
คะแนนเฉลี่ย คะแนนที่ได้

จำนวนและพีชคณิต 90 13 14 15 17
คณิตศาสตร์ การวัดและเรขาคณิต 35 4 11 0 0
ม.3
สถิติและความน่าจะเป็น 25 8 31 5 20

กราฟแสดงร้อยละของคะแนนเฉลี่ยกับร้อยละของคะแนนที่ได้

สาระการเรียนรู้ ผลการประเมิน

จำเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องจำนวนและการดำเนินการ การกระจายเป็นนิพจน์กำลังสองสมบูรณ์ สมการ


กำลังสอง การแยกตัวประกอบ การหาคำตอบของสมการกำลังสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามและตัวประกอบร่วมของ
จำนวนและพีชคณิต พหุนาม การแยกตัวประกอบของสมการกำลังสาม สมการของพาราโบลา กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง และการประยุกต์ของ
ฟังก์ชันกำลังสอง เพื่อให้สามารถเข้าใจและวิเคราะห์ได้ รวมไปถึงต้องฝึกฝนการใช้ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์แทนสถานการณ์ต่าง
ๆ ฝึกแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหาให้มากขึ้น

จำเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส อัตราส่วน เส้นขนาน รูปเรขาคณิต ความคล้ายของรูป


การวัดและเรขาคณิต เรขาคณิต รูปคลี่ทรงกระบอก พื้นที่ผิวของทรงกระบอก และความคล้าย ต้องหมั่นศึกษาเพิ่มเติมในสาระข้างต้น และนำไปปรับ
ใช้ในการแก้ปัญหาให้มากขึ้น

จำเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องการอ่านข้อมูลกราฟ แผนภาพต้น–ใบ แผนภาพการกระจาย ฮิสโทแกรม และ


สถิติและความน่าจะเป็น
ค่าเฉลี่ย อีกทั้งยังต้องฝึกฝนให้มากขึ้นในการนำการให้เหตุผลเชิงอุปนัยมาใช้หาผลลัพธ์

สาระการเรียนรู้ N : จำนวนและพีชคณิต G : การวัดและเรขาคณิต S : สถิติและความน่าจะเป็น


ธนัชพร ขวันเพ็ชร

3. ผลวิเคราะห์ตามทักษะการเรียนรู้

ร้อยละของ ร้อยละของ
วิชา / ชั้น ทักษะการเรียนรู้ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย คะแนนที่ได้
คะแนนเฉลี่ย คะแนนที่ได้

การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูล และการจำลองปัญหา 65 13 21 10 15

การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาอย่างมีแบบแผน 25 2 10 5 20
คณิตศาสตร์
ม.3
ความเข้าใจ และการนึกภาพเชิงปริภูมิ 15 2 11 0 0

ความคิดสร้างสรรค์ และการเชื่อมโยงความรู้ 45 7 16 5 11

กราฟแสดงร้อยละของคะแนนเฉลี่ยกับร้อยละของคะแนนที่ได้

ทักษะการเรียนรู้ ผลการประเมิน

จำเป็นต้องเพิ่มความสามารถในการวิเคราะห์ การใช้ข้อมูล และการจำลองปัญหา ต้องฝึกฝนเพิ่มเติมเรียนรู้การจัดการความรู้


การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูล และข้อมูลอย่างเป็นระบบ การเก็บรวบรวม วิเคราะห์ และใช้ข้อมูลอย่างมีกลยุทธ์ ต้องฝึกวางแผนอย่างรอบคอบและให้มี
และการจำลองปัญหา ประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแปลงสถานการณ์ปัญหา โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ รูปภาพ ที่
เหมาะสม

จำเป็นต้องเพิ่มความเข้าใจในการให้เหตุผลและการแก้ปัญหาอย่างมีแบบแผน พยายามจัดระเบียบกระบวนการทางความคิด
การให้เหตุผล และการแก้ และสื่อความหมายออกมาให้ถูกต้องมากที่สุด ควรต้องฝึกฝนเพิ่มเติมและพัฒนาความสามารถในการสร้างข้อความคาดการณ์
ปัญหาอย่างมีแบบแผน อย่างมีระบบ โดยอาศัยการให้เหตุผลแบบนิรนัยและอุปนัย เพิ่มทักษะการคิด การมองปัญหาให้ลึกซึ้ง และการค้นหาคำตอบ
รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการวางแผนและการวางกลยุทธ์ในการแก้ปัญหา

จำเป็นต้องเพิ่มความสามารถในการนึกภาพเชิงปริภูมิ อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการศึกษาเรขาคณิต ฝึกฝนนำการนึกภาพเชิง


ความเข้าใจ และการนึกภาพ
ปริภูมิมาใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา และควรต้องฝึกฝนเพิ่มเติม รวมทั้งพัฒนาความสามารถในการนึกภาพจากข้อมูลที่
เชิงปริภูมิ
กำหนดให้

จำเป็นต้องเพิ่มความสามารถในด้านความคิดสร้างสรรค์และการเชื่อมโยงความรู้ เพิ่มความรอบคอบและความถูกต้องในการ
ความคิดสร้างสรรค์ และการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดหรือหลักการต่าง ๆ ต้องฝึกฝนการคิดในสิ่งที่เป็นเหตุเป็นผลและสร้างสรรค์ รวมทั้งพัฒนาความสามารถใน
เชื่อมโยงความรู้
การเปลี่ยนมุมมองและเชื่อมโยงความรู้ระหว่างเนื้อหาต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ

ทักษะการเรียนรู้ A : การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูล และการจำลองปัญหา B : การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาอย่างมีแบบแผน

C : ความเข้าใจ และการนึกภาพเชิงปริภูมิ D : ความคิดสร้างสรรค์ และการเชื่อมโยงความรู้


ธนัชพร ขวันเพ็ชร

4. การวิเคราะห์โจทย์ประเมินรายข้อ

ข้อ สาระ ทักษะ เนื้อหาการประเมิน เฉลย คำตอบของนักเรียน ถูก/ผิด เปอร์เซ็นต์ที่ตอบถูก

1 N A จำนวนและการดำเนินการ 853 772  38

2 N D การกระจายเป็นนิพจน์กำลังสองสมบูรณ์ 4 4  28

3 N D คำตอบของสมการกำลังสอง 7 8  7

4 S A การอ่านข้อมูลกราฟ 3 5  37

5 N D ตัวประกอบร่วมของพหุนาม 4 3  12

6 S A แผนภาพต้น–ใบ 4 3  46

7 N D คำตอบของสมการกำลังสอง 1 3  20

8 N D การหาคำตอบของสมการกำลังสอง 3 4  19

9 N A สมการของพาราโบลา 11 11  42

10 S A แผนภาพการกระจาย 4 4  47

11 N D การแยกตัวประกอบของสมการกำลังสาม 4 1  25

12 N B สมการกำลังสอง 1 4  29

13 S A ฮิสโทแกรม 30 38  12

14 G C รูปเรขาคณิต 24 40  2

15 N A การแยกตัวประกอบ 13 9  3

16 N A การแยกตัวประกอบ 9 40  5

17 N D สมการกำลังสอง 3 4  9

18 G D ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 4 1  17

19 G A ความคล้ายของรูปเรขาคณิต 5 4  18

20 G C เส้นขนาน / อัตราส่วน 3 5  24

21 N B สมการกำลังสอง 12 17  3

22 S A ค่าเฉลี่ย 5 9  11

23 N A การนำการแยกตัวประกอบไปใช้ 21 12  2

24 N A การประยุกต์ของฟังก์ชันกำลังสอง 180 80  0

25 N B การนำฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ 2 2  12

26 G D รูปคลี่ทรงกระบอกและทฤษฎีบทพีทาโกรัส 12 8  7

27 N B กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง 12 470  3

28 N B การนำฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ 520 600  1

29 G A พื้นที่ผิวของทรงกระบอก 5 10  6

30 G C ความคล้าย 7 4  7

สาระการเรียนรู้ N : จำนวนและพีชคณิต G : การวัดและเรขาคณิต S : สถิติและความน่าจะเป็น

ทักษะการเรียนรู้ A : การวิเคราะห์ การใช้ข้อมูล และการจำลองปัญหา B : การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาอย่างมีแบบแผน

C : ความเข้าใจ และการนึกภาพเชิงปริภูมิ D : ความคิดสร้างสรรค์ และการเชื่อมโยงความรู้


ธนัชพร ขวันเพ็ชร

แนวทางการพัฒนาและยกระดับความสามารถ
ในวิชาคณิตศาสตร์

ระดับ 1 ลดข้อผิดพลาด และเข้าใจแนวคิดอย่างลึกซึ้ง


เข้าใจแนวคิดของหน่วยการเรียนรู้ทั้งหมด นำแนวคิดมาประยุกต์ใช้พัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์
เติมเต็ม เพื่อต่อยอดไปยังอนาคต หมั่นทบทวนอย่างสม่ำเสมอให้จดจำและเข้าใจแนวคิดทั้งหมด รวมถึงลดความผิดพลาด
ความสามารถ ที่เกิดจากการเข้าใจแนวคิดคลาดเคลื่อน

ระดับ 2 ฝึกฝนโจทย์ที่หลากหลายประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคณิตศาสตร์

หมั่นทบทวนแนวคิดและฝึกฝนโจทย์ประยุกต์ ฝึกการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้แก้โจทย์ในแต่ละขั้นตอน เรียนรู้ส่วนที่


ยกระดับ
เกิดความผิดพลาดและหาทางแก้ไขข้อผิดพลาดนั้น เนื่องจากโจทย์ประยุกต์มีความซับซ้อนจึงควรใช้ความรอบคอบ
ความสามารถ และเน้นแก้โจทย์ด้วยความเข้าใจไม่ใช่แค่การท่องจำ เพื่อการพัฒนาความรู้ที่ยั่งยืน
เชิงประยุกต์

ระดับ 3 ท้าทายความสามารถด้วยโจทย์ยากที่เป็นโจทย์แบบบูรณาการ

ทักษะบูรณาการ คือ การผสมผสานทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ในการทำโจทย์ต้องอาศัยทักษะการอ่านทำความเข้าใจ


เรียนรู้ ทักษะการแปลความหมาย ทักษะการคำนวณ โจทย์ยากที่ต้องอาศัยทักษะการอ่านทำความเข้าใจสูง มีโอกาสที่จะเกิด
อย่างลึกซึ้ง ความผิดพลาดได้ง่าย การทำความคุ้นเคยกับโจทย์ที่ต้องคิดต้องเชื่อมโยงกับแนวคิดต่าง ๆ และตีความหลายขั้นตอน
จะช่วยเพิ่มความสามารถในการฝึกฝนการแก้โจทย์ที่เคยผิดพลาด ทำซ้ำ ๆ เพื่อทำความเข้าใจและเรียนรู้แก้ไข
ข้อผิดพลาด

ระดับ 4 หาความแปลกใหม่ในการเรียนรู้

การเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ จะทำให้แนวคิดและกระบวนการต่าง ๆ ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงอย่าหยุดที่จะไขว่คว้า


มุ่งพัฒนา
หาความรู้นอกเหนือจากในแบบเรียนซึ่งแหล่งความรู้มีอยู่ทั่วไปให้ค้นคว้า จงตระหนักไว้เสมอว่า การเก่งคณิตศาสตร์
อย่างต่อเนื่อง เป็นผลพวงมาจากความพยายามไม่ใช่พรสวรรค์ที่มีติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด ขอเพียงมีความมุ่งมั่น และพยายาม
เสาะแสวงหาแนวทางความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอความสำเร็จก็จะอยู่ใกล้แค่เอื้อม

ระดับ 5 เผยความสามารถใหม่ ๆ

สิ่งที่ยากที่สุดนอกจากจะต้องเข้าใจแนวคิดพื้นฐานอย่างถ่องแท้แล้ว ยังจำเป็นต้องมีทักษะการคิดเชิงบูรณาการ
ก้าวสู่ ที่สามารถไขแนวคิดต่าง ๆ ในขั้นตอนการแก้โจทย์ได้ จำเป็นต้องเข้าใจเจตนาของการตั้งคำถามและโจทย์ต้องการ
ความสำเร็จ ทราบสิ่งใด สามารถแก้โจทย์ได้ตั้งแต่โจทย์พื้นฐาน โจทย์ประยุกต์หรือแม้แต่โจทย์ยากที่มีความซับซ้อน
ความสามารถยอดเยี่ยมจากการประยุกต์ใช้แนวคิดการแปลความหมายโจทย์ได้อย่างถูกต้องและการเลือกใช้
วิธีการคำนวณอย่างชาญฉลาดคือบทพิสูจน์ของความสำเร็จทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนำไปปรับใช้กับการเรียนรู้
ในด้านอื่น ๆ จนอาจค้นพบความสามารถใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ

You might also like