You are on page 1of 24

หน่ วยการเรียนรู้องิ มาตรฐานตามแนวทาง Backward Design

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 จำนวนนับ 1-10 และ 0


รหัส-ชื่อรายวิชา ค 111 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิ ตศาสตร์
ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 26 ชั่วโมง
ผู้สอน โรงเรียน

ขั้นที่ 1 กำหนดเป้าหมายหลักของการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ตัวชี้วดั
ค 1.1 ป.1/1 บอกจำนวนของสิ่ งต่าง ๆ แสดงสิ่ งต่าง ๆ ตามจำนวนที่ก ำหนด อ่านและเขียน
ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0
ค 1.1 ป.1/2 เปรี ยบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 โดยใช้เครื่ องหมาย    
ค 1.1 ป.1/3 เรี ยงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 ตั้งแต่ 3 ถึง 5 จำนวน

ความรู้ ฝังแน่ น ความเข้ าใจที่คงทน (Enduring Understanding)

นักเรี ยนเข้าใจว่า
• การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งทำให้รู้วา่ จำนวนสิ่ งของในหมู่ใดมีเท่ากัน ไม่เท่ากัน มากกว่า
หรื อน้อยกว่า
• จำนวนนับใช้บอกจำนวนสิ่ งของในหมู่ต่าง ๆ และใช้ตวั เลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
เป็ นสัญลักษณ์แสดงจำนวน
• ศูนย์เป็ นจำนวนที่แทนความไม่มี สามารถใช้ตวั เลขแสดงศูนย์เพื่อบอกจำนวนสิ่ งของต่าง ๆ
• การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ต้องเขียนให้ถูกวิธีจึงจะทำให้สามารถสื่ อสารได้
ถูกต้อง
• จำนวนสองจำนวน เมื่อนำมาเปรี ยบเทียบกันอาจเท่ากันหรื อจำนวนหนึ่งอาจจะมากกว่า
หรื อน้อยกว่าอีกจำนวนหนึ่ง
• การเรี ยงลำดับจำนวนอาจเรี ยงจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อย
• จำนวนนับไม่เกินสิ บ สามารถเขียนเป็ นกลุ่มย่อย 2 หรื อ 3 กลุ่มได้

สาระการเรียนรู้
1. การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง
2. จำนวนนับ 1-10 และ 0
3. การเขียนและอ่านตัวเลขแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0
4. การเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0
5. การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0
6. อันดับที่
7. การจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
- การคิดเชิงเหตุผล
- การจัดระบบความคิดเป็ นแผนภาพ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรี ยนรู้
2. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

คำถามสำคัญ
1. นักเรี ยนจะมีวิธีใดบ้างที่จะจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งให้ได้รวดเร็ วและถูกต้อง
2. นักเรี ยนเคยใช้การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งในชีวิตประจำวันหรื อไม่ อย่างไร
3. ถ้านักเรี ยนไม่มีความรู้ เรื่ อง การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งจะเกิดผลอย่างไร
4. เราจะบอกจำนวนของสิ่ งต่าง ๆ ได้ดว้ ยวิธีใดบ้าง
5. นักเรี ยนมีวธิ ีคิดอย่างไร เพื่อให้สามารถจำแนกสัญลักษณ์ที่ใช้แสดงจำนวนนับแบบต่าง ๆ ได้
6. ถ้านักเรี ยนทราบสัญลักษณ์แสดงจำนวนเพียงแค่แบบเดียวเท่านั้นจะเกิดผลอย่างไรบ้าง
7. นักเรี ยนจะใช้สญ ั ลักษณ์ใดแทนความไม่มีได้บา้ ง
8. ในชีวิตประจำวันนักเรี ยนใช้ความรู้ เรื่ อง ศูนย์ (0) ในเรื่ องใดได้บา้ ง
9. ถ้านักเรี ยนเขียนตัวเลขได้ไม่ถูกต้อง จะส่ งผลต่อการเรี ยนคณิ ตศาสตร์อย่างไรบ้าง
10. นักเรี ยนมีวธิ ีการใดอีกบ้างที่จะทำให้เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
11. ทำอย่างไรจะเขียนตัวเลขได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ ว และใช้ในชีวิตประจำวันได้
12. ถ้านักเรี ยนอ่านตัวเลขได้ไม่ถูกต้อง จะส่ งผลต่อการเรี ยนคณิ ตศาสตร์อย่างไรบ้าง
13. ถ้านักเรี ยนเขียนและอ่านตัวเลขได้ไม่ถูกต้อง จะส่ งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
14. ในชีวิตประจำวัน นักเรี ยนเขียนและอ่านตัวเลขและตัวหนังสื อแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0
ในเรื่ องใดบ้าง
15. นักเรี ยนมีวธิ ีใดบ้างที่จะนำมาใช้ในการเปรี ยบเทียบจำนวนให้ถูกต้องและรวดเร็ ว
16. นักเรี ยนมีวธิ ีการคิดอย่างไร เพื่อจะเปรี ยบเทียบจำนวนของสิ่ งต่าง ๆ ว่ามากกว่าหรื อน้อยกว่ากัน
ให้ได้รวดเร็วที่สุด
17. ถ้านักเรี ยนไม่สามารถเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 ได้ถูกต้อง จะส่ งผลต่อชีวิตประจำวัน
อย่างไรบ้าง
18. นักเรี ยนได้น ำการเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
19. นักเรี ยนมีวธิ ีการใดเพื่อให้เรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0 ได้รวดเร็ วที่สุด
20. นักเรี ยนคิดว่าการเรี ยงลำดับจำนวนที่มากกว่า 4 จำนวนขึ้นไป จะใช้วธิ ี การเปรี ยบจำนวนทีละคู่
ได้หรื อไม่ เพราะอะไร
21. นักเรี ยนสามารถนำความรู้ เรื่ อง การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0 ไปใช้ในการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
เรื่ องอะไรบ้าง
22. มีสิ่งใดบ้างในชีวิตประจำวันที่นกั เรี ยนใช้การเรี ยงลำดับจำนวนในการแก้ปัญหา
23. ถ้านักเรี ยนไม่มีความรู้ เรื่ อง อันดับที่จะส่ งผลอย่างไรในชีวิตประจำวัน

24. นักเรี ยนมีวธิ ี การใดบ้างที่จะจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 ให้ได้ถูกต้องและรวดเร็ วที่สุด


25. ในชีวิตประจำวันของนักเรี ยนมีสิ่งใดบ้างที่ตอ้ งใช้การจัดกลุ่มออกเป็ น 2 หรื อ 3 กลุ่ม ในการแก้ปัญหา
26. ถ้านักเรี ยนจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 ไม่ถูกต้อง จะส่ งผลต่อการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
และชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
ขั้นที่ 2 กำหนดหลักฐานหรือร่ องรอยของการเรียนรู้

ภาระงาน : ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียน
• ใบงานที่ 1 เรื่ อง การเขียนและการอ่านตัวเลขแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0
• ใบงานที่ 2 เรื่ อง การเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0
• ใบงานที่ 3 เรื่ อง การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู ้ เรื่ อง การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง จำนวนนับ 1-10 และ 0 การเขียนและอ่านตัวเลขแสดง
จำนวนนับ 1-10 และ 0 การเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0
อันดับที่ การจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงาน เรื่ อง การเขียนและการอ่านตัวเลขแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0 (P)
ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงาน เรื่ อง การเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 (P) ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงาน เรื่ อง การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0 (P) ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ ่งมัน่ ในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท ไม่มีการกำหนด
ทำงานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้ าหมาย มีการชี้แจงเป้ าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้ าหมาย และไม่มีการชี้แจงเป้ า
การทำงาน มีการปฏิบตั ิ อย่างชัดเจนและปฏิบตั ิ อย่างชัดเจน หมาย สมาชิก
งานร่ วมกัน งานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ต่างคนต่างทำงาน
อย่างร่ วมมือร่ วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็ นระยะ ๆ
เป็ นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเขียนและการอ่ านตัวเลขแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
การเขียนตัวเลข เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ฮินดูอารบิกและ ตัวเลขไทย และคำอ่าน ตัวเลขไทย และคำอ่าน ตัวเลขไทย และคำอ่าน ตัวเลขไทย และคำอ่าน
ตัวเลขไทย และคำอ่าน แสดงจำนวนนับ 1-10 แสดงจำนวนนับ 1-10 แสดงจำนวนนับ 1-10 แสดงจำนวนนับ 1-10
แสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0 ได้ถูกต้องทุกข้อ และ 0 ได้ถูกต้อง และ 0 ได้ถูกต้อง และ 0 ได้ถูกต้อง
และ 0 ด้วยตนเอง มีบางข้อที่ผดิ ด้วยตนเอง มีบางข้อผิด แต่ตอ้ งมีผแู้ นะนำทุกข้อ
แต่สามารถแก้ไขได้ เมื่อมีผแู้ นะนำก็สามารถ
ด้วยตนเอง แก้ไขได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
การเปรี ยบเทียบ เปรี ยบเทียบจำนวน เปรี ยบเทียบจำนวน เปรี ยบเทียบจำนวน เปรี ยบเทียบจำนวน
จำนวนสิ่ งของ สิ่ งของที่ก ำหนด สิ่ งของที่ก ำหนด สิ่ งของที่ก ำหนด สิ่ งของที่ก ำหนด
ที่ก ำหนด ได้ถูกต้องทุกข้อ ได้ถูกต้อง มีบางข้อผิด ได้ถูกต้องด้วยตนเอง ได้ถูกต้อง แต่ตอ้ งมี
ด้วยตนเอง แต่สามารถแก้ไขได้ มีบางข้อผิด เมือ่ มีผแู้ นะนำก็ ผูแ้ นะนำทุกข้อ
ด้วยตนเอง สามารถแก้ไขได้

แบบประเมินใบงาน เรื่อง การเรียงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0


ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
การเรี ยงลำดับ เรี ยงลำดับจำนวนนับ เรี ยงลำดับจำนวนนับ เรี ยงลำดับจำนวนนับ เรี ยงลำดับจำนวนนับ
จำนวนนับ 1-10 1-10 และ 0 ได้ถูกต้อง 1-10 และ 0 ได้ถูกต้อง 1-10 และ 0 ได้ถูกต้อง 1-10 และ 0 ได้ถูกต้อง
และ 0 ทุกข้อด้วยตนเอง มีบางข้อผิด แต่สามารถ ด้วยตนเอง มีบางข้อผิด แต่ตอ้ งมีผแู้ นะนำทุกข้อ
แก้ไขได้ดว้ ยตนเอง เมือ่ มีผแู้ นะนำก็สามารถ
แก้ไขได้

ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วดั ที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้
พฤติกรรมบ่ งชี้ ดีเยีย่ ม (3) ดี (2) ผ่ าน (1) ไม่ ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรี ยน ตั้งใจเรี ยน เอาใจใส่ ตั้งใจเรี ยน เอาใจใส่ ตั้งใจ เอาใจใส่ ไม่ต้ งั ใจเรี ยน
4.1.2 เอาใจใส่ และ และมีความเพียรพยายาม และมีความเพียรพยายาม ในการเรี ยน
มีความเพียรพยายาม ในการเรี ยนรู้ เข้าร่ วม ในการเรี ยน
ในการเรี
แบบประเมิยนรู้ นคุณลักิกจษณะอั
กรรมการเรี
นพึยนรู ้ตา่ ง ๆ
งประสงค์
4.1.3 สนใจเข้าร่ วม
กิจกรรมการเรี ยนรู้
ต่าง ๆ

มุ่งมัน่ ในการทำงาน
ตัวชี้วดั ที่ 6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็ จตามเป้ าหมาย
พฤติกรรมบ่ งชี้ ดีเยีย่ ม (3) ดี (2) ผ่ าน (1) ไม่ ผ่าน (0)
6.2.1 ทุ่มเททำงาน ทำงานด้วยความขยัน ทำงานด้วยความขยัน ทำงานด้วยความขยัน ไม่ขยัน อดทน
อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อ อดทน พยายามให้งาน พยายามให้งานสำเร็ จ เพื่อให้งานเสร็จตามที่ ในการทำงาน
ปัญหาและอุปสรรค สำเร็จตามเป้ าหมาย ตามเป้ าหมาย ได้รับมอบหมาย
ในการทำงาน ชื่นชมผลงาน
6.2.2 พยายาม ด้วยความภาคภูมิใจ
แก้ปัญหาและอุปสรรค
ในการทำงานให้สำเร็ จ
6.2.3 ชื่นชมผลงาน
ด้วยความภาคภูมิใจ
ขั้นที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือประสบการณ์ การเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
• การจับคู่หนึ่งต่ อหนึ่ง

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการจับคูห ่ นึ่งต่อหนึ่ง
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการจับคูห
่ นึ่งต่อหนึ่ง จากแหล่งการเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย
เช่น การสังเกต การสอบถาม การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม แต่ละกลุ่มร่ วมกันพิจารณาขวดน้ำกับหลอดที่ก ำหนด จากนั้นร่ วมกัน
ตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
่ นึ่งต่อหนึ่ง โดยเล่นเกม “เพือ่ นกันฉันและเธอ” โดยเลือกนักเรี ยนชาย
4. นักเรี ยนฝึ กทักษะการจับคูห
และนักเรี ยนหญิงเดินวนเป็ นวงกลมตามจังหวะเพลง เมื่อให้สญ ั ญาณหยุด นักเรี ยนร่ วมกันสังเกตและตอบ
คำถามกระตุน้ ความคิด
5. นักเรี ยนพิจารณาบัตรภาพบนกระดาน แล้วผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาร่ วมกันลากเส้นประแสดงการ
จับคู่หนึ่งต่อหนึ่งบนกระดาน จากนั้นร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
6. นักเรี ยนเขียนแผนภาพความคิดเกี่ยวกับการจับคูห ่ นึ่งต่อหนึ่ง
7. นักเรี ยนร่ วมเล่นเกม “จับคู่ ดูให้ดี ๆ” โดยจับคู่กนั แล้วออกมาหยิบซองปริ ศนาจากกล่องปริ ศนา
แต่ละคู่ไปหาคู่อื่น เพื่อจับกลุ่มกันแสดงการจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งจากซองปริ ศนาโดยใช้เส้นประ
8. นักเรี ยนร่ วมกันคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าว่า นักเรี ยนสามารถนำความรู ้เกี่ยวกับการจับคู่
หนึ่งต่อหนึ่งไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร จากนั้นร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนวาดภาพผัก ผลไม้ท่มี ีประโยชน์ตอ่ ร่ างกาย จากนั้นเขียนแสดงการจับคูห
่ นึ่งต่อหนึ่ง
แล้วเขียนสรุ ปผลที่ได้ลงในกระดาษเปล่า จากนั้นสลับผลงานกับเพือ่ น เพือ่ ร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไข
ให้ถกู ต้อง
10. นักเรี ยนสรุ ปความรู้เป็ นความเข้าใจร่ วมกัน ดังนี้
การจับคูห่ นึ่งต่อหนึ่ง ทำให้รู้วา่ จำนวนสิ่งของในกลุม่ ใดเท่ากัน ไม่เท่ากัน มากกว่าหรื อน้อยกว่ากัน
เราสามารถนำความรู้น้ ีไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน และเป็ นพื้นฐานในการเรี ยนคณิตศาสตร์ตอ่ ไป

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
11. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยนักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
12. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
13. นักเรี ยนช่วยสอนเพือ่ นที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการจับคูห
่ นึ่งต่อหนึ่งให้เข้าใจยิง่ ขึ้น
จากนั้นประเมินผลตนเอง และการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมกลุ่ม
14. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

• จำนวนนับ 1-10 และ 0

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการนับจำนวนนับ 1-10 และ 0
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการนับจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนร่ วมกันพิจารณาบัตรภาพหมวกบนกระดาน จากนั้นผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาแสดงการนับ
จำนวนให้ครบตามจำนวนหมวก
4. นักเรี ยนฝึ กทักษะการนับจำนวนของสิ่ งต่าง ๆ โดยร่ วมเล่นเกม “ปริ ศนามาเจอกัน” โดยนักเรี ยน
แบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 3-4 คน แต่ละกลุม่ รับบัตรปริ ศนา ในซองจะมีภาพของสัตว์หรื อสิ่งของต่าง ๆ เหมือนกัน
แต่จำนวนไม่เท่ากัน แล้วปฏิบตั ิตามคำบอกของครู
5. นักเรี ยนฝึ กทักษะการบอกจำนวนของสิ่งของต่าง ๆ โดยการนับพร้อม ๆ กัน โดยผูแ้ ทนนักเรี ยน
ครั้งละ 5 คน ออกมาชูบตั รภาพให้เพือ่ นในชั้นเรี ยนนับจำนวน จากนั้นร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
6. นักเรี ยนฟังเนื้อเรื่ อง “วัวของลุง” จากนั้นร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิดเกี่ยวกับสัญลักษณ์
แทนความไม่มี (0) รวมถึงวิธีการเขียนสัญลักษณ์แทนความไม่มี
7. นักเรี ยนออกมาเล่าเรื่ องที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความไม่มีหรื อศูนย์ให้เพือ่ นในชั้นเรี ยนฟัง โดยมีเพือ่ น
ร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า มีความสมเหตุสมผลหรื อไม่ อย่างไร และชอบเรื่องที่เพือ่ นเล่าเรื่องใดมากที่สุด
8. นักเรี ยนเขียนแผนภาพความคิดเกี่ยวกับจำนวนนับ จากนั้นร่ วมกันสรุ ปสิ่งที่เข้าใจเป็ นความรู้ร่วมกัน

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 10 กลุ่ม แต่ละกลุ่มรับกระดาษบัตรภาพ 3 ใบ จากนั้นร่ วมกันระบายสี สิ่งที่อยู่
ในบัตรภาพให้ครบตามจำนวนที่ก ำหนด กลุ่มใดทำเสร็ จก่อนให้ผแู ้ ทนกลุ่มออกมาหน้าชั้นเรี ยนพร้อมกับ
บัตรภาพที่ระบายสี ค ำตอบแล้ว ถ้าถูกต้องจะได้คะแนน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรี ยนวาดภาพแสดงความไม่มีหรื อศูนย์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันหรื อจากประสบการณ์
พร้อมแต่งเรื่ องสั้น ๆ เกี่ยวกับภาพลงในกระดาษเปล่า จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่ วมกันตรวจสอบ
และแก้ไขให้ถูกต้อง
11. นักเรี ยนสรุ ปความเข้าใจเป็ นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
จำนวนนับ ใช้บอกจำนวนสิ่งของในหมูต่ า่ ง ๆ และใช้สญ ั ลักษณ์หลายแบบในการแสดงจำนวน
เราสามารถนำความรู้ไปใช้บอกจำนวนสิ่งต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน และเป็ นพื้นฐานในการเรี ยนคณิตศาสตร์
ต่อไป
ศูนย์เป็ นจำนวนที่แทนความไม่มี เราสามารถใช้ตวั เลขแสดงศูนย์เพือ่ บอกจำนวนสิ่งของต่าง ๆ
ในชีวติ ประจำวันได้ และใช้เป็ นพื้นฐานในการเรี ยนคณิตศาสตร์ตอ่ ไป

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
12. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
13. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
14. นักเรี ยนนำความรู้ท่ไี ด้ไปช่วยสอนเพือ่ นที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับจำนวนนับ 1-10 และ 0 ให้เข้าใจยิง่
ขึ้น
15. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

• การเขียนและการอ่ านตัวเลขแสดงจำนวน

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการอ่านและการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการอ่านและการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน จากแหล่ง
การเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ฝึ กเขียนตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิก โดยผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมา
ชูจ ำนวนดินสอ จากนั้นแต่ละกลุ่มร่ วมกันนับจำนวน แล้วส่ งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาแข่งขันกัน โดยใช้นิ้วเขียน
ตัวเลขไทยและตัวเลขฮินดูอารบิกบนอากาศให้ถูกต้อง จากนั้นร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
4. นักเรี ยนฝึ กทักษะการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน โดยผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาหยิบบัตรภาพแสดง
จำนวน แล้วเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวนตามบัตรภาพ
5. นักเรี ยนแบ่งเป็ น 3 กลุ่ม แต่ละกลุ่มส่ งผูแ้ ทนออกมาวาดภาพ เขียนตัวเลขไทย และเขียนตัวเลข
ฮินดูอารบิก ตามบัตรคำสัง่ ที่ก ำหนด
6. นักเรี ยนร่ วมกันเกม “อาหารแสนอร่ อย” โดยนักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แต่ละกลุ่มจะได้
รับบัตรภาพ กลุ่มละ 1 ใบ ร่ วมกันวาดภาพสัตว์ จำนวนสัตว์ พร้อมทั้งเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
แสดงจำนวนให้ถูกต้อง
7. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย มีวิธีการเขียน
เหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร นักเรี ยนชอบเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยมากกว่ากัน
8. นักเรี ยนออกมาหยิบบัตรคำ คำอ่าน มาติดให้ตรงกับจำนวนในบัตรภาพบนกระดานให้ถูกต้อง

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวนที่ก ำหนดให้ถูกต้องและสวยงาม
ลงในกระดาษเปล่าให้ครบตั้งแต่ 0-10 จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูก
ต้อง
10. นักเรี ยนจะได้รับบัตรภาพ “สัตว์เลี้ยงแสนรัก” จากนั้นวาดภาพจำนวนสัตว์เลี้ยงลงในกระดาษเปล่า
พร้อมทั้งเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแสดงจำนวนสัตว์ในภาพ จากนั้นสลับผลงานกับเพือ่ น
เพือ่ ร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถกู ต้อง
11. นักเรี ยนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 3-4 คน แต่ละกลุ่มวาดภาพแสดงจำนวน 1-10 ลงในกระดาษเปล่า
จากนั้นนำภาพมารวมกัน แล้วสุ่มหยิบบัตรภาพมาติดบนกระดานครั้งละ 1 ภาพ แล้วผูแ้ ทนกลุม่ บอกจำนวน
จากบัตรภาพ และออกมาเขียนตัวเลขไทย ตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวหนังสือแสดงจำนวนให้ถกู ต้อง
12. นักเรี ยนทำใบงานที่ 1 เรื่ อง การเขียนและการอ่านตัวเลขแสดงจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากนั้น
สลับผลงานกับเพือ่ น เพือ่ ร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถกู ต้อง
13. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่งที่เข้าใจเป็ นความรูร้ ่ วมกัน ดังนี้
การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ต้องเขียนให้ถกู วิธีจึงจะทำให้สามารถสื่อสารได้ถกู ต้อง

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
14. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
15. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
16. นักเรี ยนนำความรู้ท่ไี ด้ไปช่วยสอนเพือ่ นที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการเขียนและการอ่านตัวเลข
แสดงจำนวนให้เข้าใจยิง่ ขึ้น
17. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิม่ คุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป
• การเปรียบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากแหล่งการเรี ยนรู้
ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสนทนากับเพือ่ นในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนร่วมกันพิจารณาบัตรภาพสิ่งของทีแ่ สดงจำนวนไม่เท่ากัน และบัตรข้อความบนกระดาน
แล้วร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
4. นักเรี ยนร่วมกันบอกว่า ควรเขียนข้อความแสดงการเปรี ยบเทียบจำนวนอย่างไร โดยเขียนไว้ใต้ภาพ
5. นักเรี ยนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 3-4 คน ฝึ กทักษะการเปรี ยบเทียบจำนวน แล้วร่ วมกันอภิปรายสรุ ปความรู้
โดยการเขียนแผนภาพความคิด
6. ผูแ้ ทนนักเรี ยนครั้งละ 2 คน ออกมาสร้างโจทย์แสดงการเปรี ยบเทียบสิ่งของ 2 สิ่ง พร้อมทั้งวาดภาพ
บนกระดาน แล้วผูแ้ ทนนักเรี ยนอีก 2 คน ออกมาเขียนแสดงการเปรี ยบเทียบจำนวน
7. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ร่ วมกันจัดสถานการณ์จำลองในชั้นเรี ยน โดยดำเนินกิจกรรมฝึ กทักษะ
การเปรี ยบเทียบจำนวน แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้อย่างไร
และเขียนเป็ นแผนภาพความคิด
8. นักเรี ยนพิจารณาตัวเลขแสดงจำนวนบนกระดาน แล้วร่ วมกันเปรี ยบเทียบจำนวนสองจำนวน
โดยรับบัตรคำ มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ จากนั้นนำบัตรคำไปติดลงบนข้อที่นกั เรี ยนคิดว่าเป็ นคำตอบที่ถกู ต้อง
โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
9. นักเรี ยนร่ วมกันเขียนเครื่ องหมายแสดงการเปรี ยบเทียบแทนบัตรคำ มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
โดยมีนกั เรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
10. นักเรี ยนทำใบงานที่ 2 เรื่ อง การเปรี ยบเทียบจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากนั้นสลับผลงานกับเพือ่ น
เพือ่ ตรวจสอบและแก้ไขให้ถกู ต้อง
11. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่งที่เข้าใจเป็ นความรูร้ ่ วมกัน ดังนี้
จำนวนสองจำนวนเมือ่ นำมาเปรี ยบเทียบกันอาจเท่ากันหรื อจำนวนหนึ่งมากกว่าอีกจำนวนหนึ่ง
หรื อจำนวนหนึ่งน้อยกว่าอีกจำนวนหนึ่ง

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
12. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
13. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
14. นักเรี ยนนำความรู ้ไปช่วยสอนเพื่อนให้เข้าใจเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบจำนวนมากยิง่ ขึ้น
15. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

• การเรียงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากแหล่งการเรี ยนรู้
ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสนทนากับเพือ่ นในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนพิจารณาบัตรตัวเลขที่ไม่ซ้ำกัน 3 จำนวน แล้วร่ วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การเปรี ยบเทียบจำนวน และตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่มเป็ น 2 ฝ่ าย ร่ วมกันเล่นเกม “โบกี้รถไฟหรรษา” เพื่อฝึ กทักษะการเรี ยงลำดับ
จำนวน จากนั้นร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรี ยงลำดับจำนวน แล้วสรุ ปความรู ้โดยเขียน
เป็ นแผนภาพความคิด
5. นักเรี ยนพิจารณาตัวเลขแสดงจำนวนบนกระดาน แล้วเรี ยงลำดับจำนวนตามกำหนด
โดยผูแ้ ทนนักเรี ยนครั้งละ 3 คน ออกมาเขียนแสดงการเรี ยงลำดับบนกระดาน
6. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ฝึ กทักษะการเรี ยงลำดับจำนวน โดยแต่ละกลุ่มร่ วมกิจกรรม
แข่งขันกันเรี ยงลำดับจำนวนจากน้อยไปหามากหรื อจากมากไปหาน้อย นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
7. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันเล่นเกม “ตัวเลขปริ ศนา” โดยทายว่าบัตรตัวเลขที่คว่ำบนกระดาน
คือตัวเลขใด กลุ่มใดตอบได้ถูกต้องและรวดเร็ วที่สุดรับคะแนนพิเศษ จากนั้นร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้
ความคิด
8. นักเรี ยนพิจารณาสถานการณ์ที่มีจ ำนวนไม่เท่ากัน 3-4 จำนวน แล้วร่ วมกันเรี ยงลำดับจำนวน
ตามกำหนด และตอบคำถามกระตุน้ ความคิด

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนทำใบงานที่ 3 เรื่ อง การเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0 จากนั้นสลับผลงานกับเพือ่ น
เพือ่ ร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถกู ต้อง
10. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่งที่เข้าใจเป็ นความรูร้ ่ วมกัน ดังนี้
การเรี ยงลำดับจำนวนใช้การเปรี ยบเทียบทีละจำนวน แล้วเรี ยงจากน้อยไปมากหรื อจากมาก
ไปน้อย สามารถนำไปใช้ในการเรี ยงลำดับจำนวนของสิ่งต่าง ๆ ได้

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
11. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
12. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
13. นักเรี ยนนำความรู ้ไปช่วยสอนเพื่อนที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการเรี ยงลำดับจำนวนนับ 1-10 และ 0
ให้เข้าใจยิง่ ขึ้น
14. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

• อันดับที่

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับอันดับที่
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอันดับที่ จากแหล่งการเรี ยนรู้ท่ห
ี ลากหลาย เช่น การสังเกต
การสนทนากับเพือ่ นในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. ผูแ้ ทนนักเรี ยน 3 คน ออกมาร่ วมกิจกรรมหน้าชั้นเรี ยน โดยยืนเรี ยงแถวหน้ากระดาน
แล้วร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความคิด
4. นักเรี ยนพิจารณาบัตรภาพเพื่อฝึ กทักษะการบอกอันดับที่ แล้วร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความ
คิด แล้วร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู้ร่วมกัน

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ร่ วมกันวาดภาพระบายสี สิ่งของต่าง ๆ จำนวน 3-4 อย่าง
ลงในกระดาษเปล่า โดยกำหนดจุดเริ่ มต้น แล้วเขียนตัวเลขบอกอันดับที่ไว้ใต้ภาพ จากนั้นสลับผลงาน
กับเพื่อนกลุ่มอื่น เพื่อร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
6. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
การจะรู้อนั ดับที่ได้ตอ้ งรู้วา่ จุดเริ่ มต้นอยูท่ ี่ใด

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
7. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนนำความรู ้การบอกอันดับที่ไปใช้จดั เรี ยงสิ่ งของและจดจำตำแหน่งสิ่ งต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวัน
10. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป
• การจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจเกี่ยวกับการจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10
2. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 จากแหล่งการเรี ยนรู้
ที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสนทนากับเพือ่ นในชั้นเรี ยน

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


• (Gathering)
•••••••••••••••• •••
3. นักเรี ยนพิจารณาจำนวนไม้ไอศกรี มและวิธีการแบ่งถือโดยใช้มือทั้ง 2 ข้าง จากนั้นผูแ้ ทน
นักเรี ยนออกมาแสดงการถือและวาดภาพ เขียนตัวเลขแสดงจำนวนที่นบั ได้บนกระดาน แล้วร่ วมกัน
ตอบคำถามกระตุน้ ความคิด โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ฝึ กการแบ่งสิ่ งของออกเป็ น 2 กลุ่ม โดยพิจารณาบัตรภาพ
และร่ วมกันแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม โดยส่ งผูแ้ ทนกลุ่มออกมาแข่งขันกันระบายสี และเติมตัวเลขแสดง
จำนวนให้ถูกต้อง นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรี ยนเล่นเกม “รวมเงิน” เพื่อฝึ กทักษะการแบ่งกลุ่มออกเป็ น 2-3 กลุ่ม โดยมีนกั เรี ยนและครู
ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
6. นักเรี ยนพิจารณาแผนผังแสดงการจัดกลุ่มของจำนวน 3 กลุ่ม แล้วร่ วมกันวิเคราะห์และอภิปราย
ถึงวิธีการเขียนแผนผังการจัดกลุ่มของจำนวนหรื อสิ่ งของ 3 กลุ่ม
7. ผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาหยิบบัตรตัวเลขจากกล่อง 1 ใบ แล้วนำมาติดบนกระดาน จากนั้นนักเรี ยน
ร่ วมกันเขียนแผนผังการจัดกลุ่มของจำนวน 3 จำนวนบนกระดาน และร่ วมกันตอบคำถามกระตุน้ ความสนใจ
โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรี ยนพิจารณาแผนผังแสดงการจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 บนกระดาน แล้วร่ วมกัน
ตอบคำถามกระตุน้ ความคิด จากนั้นผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาเติมตัวเลขแสดงจำนวนที่หายไป
9. นักเรี ยนคิดประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าเกี่ยวกับการนำความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน
โดยเขียนเป็ นแผนภาพความคิดบนกระดาน
ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)
• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
10. นักเรี ยนจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10 โดยเลือกสิ่ งของในกระเป๋ านักเรี ยนมา 1 อย่าง
เขียนชื่อสิ่ งของพร้อมเขียนตัวเลขแสดงจำนวน แล้วเขียนแผนผังแสดงการจัดกลุ่มของจำนวนนับ
ลงในกระดาษเปล่า จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน เพื่อร่ วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
11. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
จำนวนนับไม่เกินสิ บ สามารถเขียนเป็ นกลุ่มย่อย 2 หรื อ 3 กลุ่มได้

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
12. นักเรี ยนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
13. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทำงาน
ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
14. นักเรี ยนนำความรู ้ที่ได้ไปช่วยสอนเพื่อนที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการจัดกลุ่มของจำนวนนับ 1-10
ให้เข้าใจยิง่ ขึ้น และไปใช้ในชีวิตประจำวันในการจัดกลุ่มสิ่ งของต่าง ๆ ได้ถูกต้องรวดเร็ ว
15. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู ้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

สื่ อการเรียนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้


1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แบบฝึ กหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
3. ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู ้พฒั นาการคิดวิเคราะห์ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
4. สิ่ งของต่าง ๆ ได้แก่ ลูกอม หลอด แก้วน้ำ ไม้ไอศกรี ม เงินเหรี ยญ ฝาจีบน้ำอัดลม ซองจดหมาย
ดินสอ ไม้บรรทัด สมุด ยางลบ โต๊ะ ลูกบอล
5. กล่องเปล่า
6. บัตรภาพ
7. บัตรคำ
8. บัตรคำสัง่
9. บัตรตัวเลข
10. ตารางบิงโก
11. สลาก
12. แถบโจทย์
13. นิทานเรื่ อง วัวของลุง
14. แถบข้อความ
15. แหล่งการเรี ยนรู้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน

แบบทดสอบก่ อนเรียน (Pre-Test)

ชื่อ ______________________________________________ เลขที่ _______ ชั้น ______


ได้____________คะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน
เขียนคำตอบ (ข้อละ 1 คะแนน)
1. ลำไยพวงนี้มีกี่ผล
เขียนเป็ นตัวเลขฮินดูอารบิก

2. ธงชาติไทยมีกี่สี เขียนเป็ นตัวเลขไทย

3. ฉันอาศัยอยูบ่ า้ นเลขที่ 9
เขียนบ้านเลขที่เป็ นตัวหนังสื อ

4. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน ที่เป็ นกลุ่มย่อย หรื อที่นบั ได้จากกลุ่มย่อย 2 หรื อ 3 กลุ่ม ที่ก ำหนดให้
1) 2)
3 2
6 8

5. เปรี ยบเทียบจำนวนในแต่ละข้อ โดยเขียนคำว่า มากกว่ า น้ อยกว่ า หรื อ เท่ ากับ

1) 6 6

2) 9 7

3) 3 8

6. อ่านอายุของเด็กทั้ง 4 คน แล้วเขียนคำตอบ

วิภาอายุ 7 ปี

เอกอายุ 9 ปี

วีนาอายุ 4 ปี

วิชยั อายุ 6 ปี

1) ใครมีอายุมากกว่า 4 ปี แต่นอ้ ยกว่า 7 ปี


2) เรี ยงลำดับจำนวนอายุจากมากไปน้อย

แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)

ชื่อ ________________________________________________ เลขที่ ______ ชั้น _____ ได้____________คะแนน


คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เขียนคำตอบ (ข้อละ 1 คะแนน)


1. ลำไยพวงนี้มีกี่ผล
เขียนเป็ นตัวเลขฮินดูอารบิก

2. ธงชาติไทยมีกี่สี เขียนเป็ นตัวเลขไทย

3. ฉันอาศัยอยูบ่ า้ นเลขที่ 9
เขียนบ้านเลขที่เป็ นตัวหนังสื อ
4. เขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน ที่เป็ นกลุ่มย่อย หรื อที่นบั ได้จากกลุ่มย่อย 2 หรื อ 3 กลุ่ม ที่ก ำหนดให้
1) 2)
2 3
8
6

5. เปรี ยบเทียบจำนวนในแต่ละข้อ โดยเขียนคำว่า มากกว่ า น้ อยกว่ า หรื อ เท่ ากับ

1) 3 8

2) 9 7

3) 6 6

6. อ่านอายุของเด็กทั้ง 4 คน แล้วเขียนคำตอบ

วิภาอายุ 7 ปี

เอกอายุ 9 ปี

วีนาอายุ 4 ปี

วิชยั อายุ 6 ปี

1) เรี ยงลำดับจำนวนอายุจากมากไปน้อย

2) ใครมีอายุมากกว่า 4 ปี แต่นอ้ ยกว่า 7 ปี


เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน (Pre-Test)

1. 7 ผล 2. ๓ สี 3. บ้านเลขที่เก้า
4. 5. 6.
1) 9 1) เท่ากับ 1) วิชยั
2) 6 2) มากกว่า 2) 9 ปี 7 ปี 6 ปี 4 ปี
3) น้อยกว่า

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)

1. 7 ผล 2. ๓ สี 3. บ้านเลขที่เก้า
4. 5. 6.
1) 6 1) น้อยกว่า 1) 9 ปี 7 ปี 6 ปี 4 ปี
2) 9 2) มากกว่า 2) วิชยั
3) เท่ากับ
แบบบันทึกสรุ ปผลการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียน
ชื่อ-นามสกุล _______________________________ เลขที่ _________ ชั้น ___________
วันที่ _________________________ เดือน _______________________ พ.ศ. ___________
คำชี้แจง นักเรี ยนบันทึกสรุ ปผลการเรี ยนรู ้จากหน่วยการเรี ยนรู ้น้ ี

นักเรี ยนยังไม่เข้าใจเรื่ องใดอีกบ้าง นักเรี ยนได้รับความรู้เรื่ องใดบ้าง


ที่เกี่ยวกับหน่วยการเรี ยนรู้น้ ี จากหน่วยการเรี ยนรู้น้ ี
ซึ่งต้องการให้ครู อธิบายเพิ่มเติม ________________________________
____________________________________ ________________________________
____________________________________ ________________________________
____________________________________ ________________________________
____________________________________ ________________________________
____________________________________ ________________________________
____

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1


จำนวนนับ 1-10 และ 0

นักเรี ยนได้ท ำกิจกรรมอะไรบ้าง


ในหน่วยการเรี ยนรู้น้ ี
นักเรี ยนจะสามารถนำความรู้ความเข้าใจ ผลงานที่นกั เรี ยนชอบและต้องการคัด ________________________________
จากหน่วยการเรี ยนรู้น้ ี ไปใช้ประโยชน์ เลือกเป็ นผลงานดี เด่นจาก ________________________________
ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง ________________________________
หน่วยการเรียนรู้น้ ีคือผลงานใดบ้าง ________________________________
____________________________________ เพราะอะไร
____________________________________ ________________________________
__________________________________ ________________________________
____________________________________ __________________________________ ________________________________
____________________________________ __________________________________
____________________________________ __________________________________
____________________________________ __________________________________
__

หมายเหตุ ครู สำเนาแบบบันทึกนี้ เพื่อให้นกั เรี ยนบันทึกทุกหน่วยการเรี ยนรู ้


1. ครู สามารถนำแบบบันทึกนี้ ไปใช้เป็ นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุ งและพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
2. ครู สามารถนำแบบบันทึกนี้ ไปใช้ประกอบการทำวิจยั ในชั้นเรี ยนเพื่อเป็ นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้

You might also like