You are on page 1of 22

รายงาน

วิชา พลศึกษา
เรื่อง แบดมินตัน
เสนอ
อ.ศศิประภา ผดุงญาติ
จัดทาโดย
นายเสฎฐวุฒิ รัตนสิ งห์ เลขที่ 45
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/4
โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบารุ ง
ปี การศึกษา 2555
คานา

รายงานฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของวิชาพลศึกษา จัดทาขึ ้นเพื่อเป็ นแนวทางในการศึกษาด้ านกีฬา


ในเรื่ องของกีฬาแบดมินตัน เพื่อที่จะเผยแพร่ความรู้ตา่ งๆเกี่ยวกับแบดมินตัน อาทิเช่น ประวัติความเป็ นมา
กติกา มารยาท เพื่อที่จะนาความรู้ไปใช้ ในการเล่นแบดมินตันได้ อย่างถูกต้ อง หากผิดพลาดประการใด
ต้ องขออภัย ณ ที่นี ้ด้ วย

นายเสฎฐวุฒิ รัตนสิงห์
สารบัญ
เรื่ อง หน้ า

คานา 1

ประวัติแบดมินตัน 2
- ประวัติในไทย 6
- กติกา 7
- การนับคะแนน 8

ประโยชน์ของแบดมินตัน
- ระยะสัน้ 9
- ระยะยาว 10

คุณสมบัติ 11

มารยาท
- ผู้เล่น 12
- ผู้ชม 13
- ผู้ตดั สิน 14

ภาพแบดมินตัน 15

สรุป 16

อ้ างอิง 17
อ้ างอิง
ข้ อมูลจากเว็บ

 http://blog.eduzones.com/jipatar/85917

 http://saynamkung.exteen.com/20070331/entry-5

 http://blog.eduzones.com/jipatar/85842

 http://www.gotoknow.org/blogs/posts/148330
สรุ ป
รายงานฉบับนี ้เสร็จสมบูรณ์ออกมาด้ วยความตังใจของผู
้ ้ จดั ทา
ซึง่ ได้ รวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับแบดมินตัน จากแหล่งต่างๆ
เพื่อหวังให้ ท่านผู้อ่านได้ ศกึ ษาวิธีการเล่นที่ถกู ต้ อง
และมีความรู้เกี่ยวกับกีฬาประเภทแบดมินตันเพิม่ ขึ ้น ไม่มากก็น้อย
ประวัติแบดมินตัน
แบดมินตัน (Badminton) เป็ นกีฬาที่ได้ รับการวิจารณ์เป็ นอย่างมาก
เพราะไม่มีหลักฐานที่แน่ชดั ถึงที่มาของกีฬาประเภทนี ้ คงมีแต่หลักฐานบางอย่างที่ทาให้ ทราบว่า
กีฬาแบดมินตันมีเล่นกันในยุโรป โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ ตอนปลายศตวรรษที่ 17
และจากภาพสีน ้ามันหลายภาพได้ ยืนยันว่า
กีฬาแบดมินตันเล่นกันอย่างแพร่หลายในพระราชวงศ์ของราชสานักต่าง ๆ ในทวีปยุโรป
แม้ วา่ จะเรี ยกกันภายใต้ ชื่ออื่นก็ตาม

โดยกีฬาแบดมินตันได้ รับการบันทึกแบบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในปี พ.ศ. 2413 ซึง่ พบว่า


มีการเล่นกีฬาลูกขนไก่เกิดขึ ้นที่เมืองปูนา (Poona) ในประเทศอินเดีย เป็ นเมืองเล็ก ๆ
ห่างจากเมืองบอมเบย์ประมาณ 50 ไมล์ โดยได้ รวมการเล่นสองอย่างเข้ าด้ วยกันคือ
การเล่นปูนาของประเทศอินเดีย และการเล่นไม้ ตีกบั ลูกขนไก่ (Battledore Shuttle Cock) ของยุโรป

ในระยะแรก การเล่นแบดมินตันจะเล่นกันเพียงแต่ในหมู่นายทหารของกองทัพ
และสมาชิกชนชันสู
้ งของอินเดียเท่านัน้ จนกระทัง่ มีนายทหารอังกฤษที่ไปประจาการอยู่ที่เมืองปูนา
นาการเล่นตีลกู ขนไก่นี ้กลับไปอังกฤษ และเล่นกันอย่างกว้ างขวาง ณ คฤหาสน์แบดมินตัน
(Badminton House) ของดยุคแห่งบิวฟอร์ ด ที่กลอสเตอร์ เชียร์ ดังนัน้ ในปี พ.ศ. 2416
เกมกีฬาตีลกู ขนไก่เลยถูกเรี ยกว่า แบดมินตัน
ตามชื่อคฤหาสน์ของดยุคแห่งบิวฟอร์ ดตังแต่
้ นนเป็
ั ้ นต้ นมา

ทังนี
้ ้ กีฬาแบดมินตันก็เริ่มแพร่หลายในประเทศแถบภาคพื ้นยุโรป
เนื่องจากเป็ นเกมที่คล้ ายเทนนิส แต่สามารถเล่นได้ ภายในตัวตึก
โดยไม่ต้องกังวลต่อลมหรื อหิมะในฤดูหนาว นอกจากนี ้ ชาวยุโรปที่อพยพไปสูท่ วีปอเมริกา
ยังได้ นากีฬาแบดมินตันไปเผยแพร่ รวมทังประเทศต่
้ าง ๆ
ในทวีปเอเชียและออสเตรเลียที่อยู่ภายใต้ อาณานิคมของอังกฤษ เนเธอร์ แลนด์
ต่างนาเกมแบดมินตันไปเล่นยังประเทศของตนเองอย่างแพร่หลาย
เกมกีฬาแบดมินตันจึงกระจายไปสูส่ ว่ นต่าง ๆ ของโลก รวมทังประเทศไทยด้
้ วย

สาหรับการเล่นแบดมินตันในระยะแรกไม่ได้ มีกฎเกณฑ์ตายตัว
เพียงแต่เป็ นการตีโต้ ลกู กันไปมาไม่ให้ ลกู ตกพื ้นเท่านัน้
ส่วนเส้ นแบ่งแดนก็ใช้ ตาข่ายผูกโยงระหว่างต้ นไม้ สองต้ นไม่ได้ คานึงถึงเรื่ องต่าสูง
เล่นกันข้ างละไม่น้อยกว่า 4 คน ส่วนมาจะเล่นทีมละ 6 ถึง 9 คน
ผู้เล่นสามารถแต่งตัวได้ ตามสบาย

จนกระทัง่ ปี พ.ศ.2436 ได้ มีการจัดตังสมาคมแบดมิ


้ นตันแห่งประเทศอังกฤษขึ ้น
ซึง่ นับเป็ นสมาคมแบดมินตันแห่งแรกของโลก
หลังจากที่มีการจัดแข่งขันแบดมินตันชิงชนะเลิศแห่งประเทศอังกฤษ หรื อที่เรี ยกกันว่า
ออลอิงแลนด์ ตังแต่
้ ปี พ.ศ.2432
ทางสมาคมแบดมินตันแห่งประเทศอังกฤษจึงได้ ตงกฎเกณฑ์
ั้ ของสนามมาตรฐานขึ ้นคือ
ขนาดกว้ าง 22 ฟุต ยาว 45 ฟุต (22 x 45) เป็ นสนามขนาดมาตรฐานประเภทคู่ที่ใช้ ในปั จจุบนั
จากนันจึ
้ งมีการปรับปรุงดัดแปลงในเรื่ องอุปกรณการเล่นให้ ดีขึ ้นเป็ นลาดับ
ต่อมาได้ รับความนิยมแพร่หลายไปทัว่ โลก
โดยประเทศในเอเชียอาคเนย์ที่มีการเล่นกีฬาแบดมินตันและได้ รับความนิยมสูงสุดคือ
อินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย

ส่วนการแข่งขันระหว่างประเทศได้ เริ่มจัดให้ มีขึ ้นในปี พ.ศ. 2445


และตลอดเวลาหลายปี ที่ผ่านมา
จานวนประเทศที่เข้ าร่วมแข่งขันกีฬาแบดมินตันระหว่างประเทศมีมากว่า 31 ประเทศ
แบดมินตันได้ กลายเป็ นเกมกีฬาที่เล่นกันระหว่างชาติ
โดยมีการยกทีมข้ ามประเทศเพื่อแข่งขันระหว่างชาติในทวีปยุโรป ในปี พ.ศ.2468
กลุ่มนักกีฬาของประเทศอังกฤษได้ แข่งขันกับกลุ่มนักกีฬาประเทศแคนาดา
ห้ าปี หลังจากนันพบว่
้ าประเทศแคนาดามีสโมสรสาหรับฝึ กแบดมินตันมาตรฐานแทบทุกเมือง

ในปี พ.ศ.2477
สมาคมแบดมินตันของประเทศอังกฤษเป็ นผู้นาในการก่อตังสหพั
้ นธ์แบดมินตันระหว่างประเทศ
โดยมีชาติต่าง ๆ อีก 8 ชาติคือ แคนาดา เดนมาร์ ก อังกฤษ ฝรั่งเศส ไอร์ แลนด์ เนเธอร์ แลนด์
นิวซีแลนด์ สก๊ อตแลนด์ และเวลล์ โดยมีศนู ย์กลางอยู่ที่กรุงลอนดอน
ปั จจุบนั มีประเทศที่อยู่ในเครื อสมาชิกกว่า 60 ประเทศ
ที่ขึ ้นต่อสหพันธ์แบดมินตันระหว่างประเทศ (I.B.F.) สหพันธ์มีบทบาทสาคัญในการกาหนด
และควบคุมกติการะเบียบข้ อบังคับต่าง ๆ ของการแข่งขันกีฬาแบดมินตันทัว่ โลก

ในปี พ.ศ.2482 เซอร์ จอร์ จ โทมัส


นักแบดมินตันอาวุโสชาวอังกฤษเป็ นผู้มอบถ้ วยทองราคา 5,000 ปอนด์
เพื่อมอบเป็ นรางวัลให้ แก่ผ้ ชู นะเลิศประเภทชาย ในการแข่งขันแบดมินตันระหว่างประเทศ
ซึง่ สหพันธ์แบดมินตันได้ รับไว้ และดาเนินการตามประสงค์นี ้
แม้ ว่าตามทางการจะเรี ยกว่า การแข่ งขันชิงถ้ วยชนะเลิศแบดมินตันระหว่ างประเทศ
แต่ นิยมเรี ยกกันว่ า โธมัสคัพ (Thomas Cup) การแข่ งขันจะจัดขึน้ ทุก ๆ 3 ปี
โดยสหพันธ์ ได้ แบ่ งเขตการแข่ งขันของชาติสมาชิกออกเป็ น 4 โซน คือ

1. โซนยุโรป
2. โซนอเมริกา
3. โซนเอเชีย
4. โซนออสเตรเลเซีย (เดิมเรี ยกว่ าโซนออสเตรเลีย)

วิธีการแข่งขันจะแข่งขันชิงชนะเลิศภายในแต่ละโซนขึ ้นก่อน
แล้ วให้ ผ้ ชู นะเลิศแต่ละโซนไปแข่งขันรอบอินเตอร์ โซนเพื่อให้ ผ้ ชู นะเลิศทัง้ 4 โซน
ไปแข่งขันชิงชนะเลิศกับทีมของชาติที่ครอบครองดถ้ วยโธมัสคัพอยู่
ซึง่ ได้ รับเกียรติไม่ต้องแข่งขันในรอบแรกและรอบอินเตอร์ โซน
ชุดที่เข้ าแข่งขันประกอบด้ วยผู้เล่นอย่างน้ อย 4 คน
การที่จะชนะเลิศนันจะตั
้ ดสินโดยการรวมผลการแข่งขันของประเภทชายเดี่ยว 5 คู่
และประเภทชายคู่ 4 คู่ รวม 9 คู่ และใช้ เวลาการแข่งขัน 2 วัน
การแข่งขันชิงถ้ วยโธมัสคัพครัง้ แรกจัดให้ มีขึ ้นระหว่างปี พ.ศ. 2491-2492

ต่อมาในการแข่งขันแบดมินตันโธมัสคัพ ครัง้ ที่ 8 ปี พ.ศ. 2512-2513


สหพันธ์ได้ เปลี่ยนแปลงวิธีการแข่งขันเล็กน้ อย
โดยให้ ชาติที่ครอบครองถ้ วยอยู่นนเข้
ั ้ าร่วมแข่งขันในรอบอินเตอร์ โซนด้ วย
โดยวิธีการจับสลากแล้ วแบ่งออกเป็ น 2 สาย
ผู้ชนะเลิศแต่ละสายจะได้ เข้ าแข่งขันชิงชนะเลิศโธมัสคัพรอบสุดท้ ายต่อไป
สาเหตุที่สหพันธ์เปลี่ยนแปลงการแข่งขันใหม่นี ้
เนื่องจากมีบางประเทศที่ชนะเลิศได้ ครอบครองถ้ วยโธมัสคัพไม่รักษาเกียรติที่ได้ รับจากสหพันธ์
ไว้ โดยพยายามใช้ ชนเชิ
ั ้ งที่ไม่ขาวสะอาดรักษาถ้ วยโธมัสคัพไว้ ครัง้ แล้ วครัง้ เล่า
สหพันธ์จงึ ต้ องเปลี่ยนข้ อบังคับให้ ชาติที่ครอบครองถ้ วยอยู่นนลงแข่
ั้ งขันในรอบอินเตอร์ โซนดังก
ล่าวด้ วย

กีฬาแบดมินตันได้ แพร่ หลายขึ ้น


แม้ กระทัง่ ในกลุ่มประเทศสังคมนิยมก็ได้ มีการเล่นเบดมินตันอย่างกว้ างขวาง
มีการบรรจุแบดมินตันเข้ าไว้ ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ และซีเกมส์
การแข่งขันกีฬาของประเทศในเครื อจักภพสหราชอาณาจักร
รวมทังการพิ
้ จารณาแบดมินตันเข้ าสู่การแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก ล้ วนแต่เป็ นเครื่ องยืนยันว่า
แบดมินตันได้ กลายเป็ นกีฬาสากลแล้ วอย่างแท้ จริง

กติกาการเล่ นแบดมินตัน
กติกาเบือ้ งต้ น
1. การออกนอกเส้ น มีการกาหนดเส้ นออกแต่งต่างกันในกรณีเล่นเดี่ยวและเล่นคู่
2. การเสิร์ฟลูก ตามกติกา ที่ถกู ต้ อง คือ
1). หัวไม้ ขณะสัมผัสลูกต้ องต่ากว่าข้ อมืออย่างเห็นได้ ชดั
2). หัวไม้ ขณะสัมผัสลูกต้ องต่ากว่าเอวอย่างเห็นได้ ชดั
3). ผู้เล่นต้ องไม่ถ่วงเวลา หรื อเสริ ฟช้ า หรื อเสริฟ 2 จังหวะ การเสริฟ
ต้ องเสริฟไปด้ วยจังหวะเดียว
4). ขณะเสิร์ฟ ส่วนใดส่วนหนึง่ ของเท้ าทัง้ 2 ข้ างต้ องสัมผัสพื ้นตลอดเวลา
5). การเสิร์ฟลูกที่ถกู ต้ อง ต้ องให้ แร็กเก็ตสัมผัสกับหัวลูกก่อน
หากโดนขนก่อนถือว่าผิดกติกา
3. ขณะตีลกู โต้ กนั ห้ ามนาส่วนหนึง่ ส่วนใดของร่างกายหรื อไม้ แบดไปสัมผัสกับเน็ท
4. ห้ ามตีลกู ที่ฝั่งตรงข้ ามโต้ กลับมาในขณะที่ลกู ยังไม่ข้ามเน็ทมายังแดนเรา(Over net

สหพันธ์ แบดมินตันนานาชาติ ( IBF) ได้ กาหนดให้


ทดลองใช้ ระบบการนับคะแนนการแข่งขันกีฬาแบดมินตันใหม่ ในระบบ 3 x 21 คะแนน ตังแต่

วันที่ 1 มกราคม 2549 เป็ นต้ นไป

รายละเอียดของกติกาการนับคะแนนมีดังนี ้

1. แมทช์หนึง่ ต้ องชนะให้ ได้ มากที่สดุ ใน 3 เกม

2. ทุกประเภทของการแข่งขัน ฝ่ ายที่ได้ 21 คะแนนก่อนเป็ นฝ่ ายชนะในเกมนัน้


ยกเว้ นเมื่อได้ 20 คะแนนเท่ากันต้ องนับต่อให้ มีคะแนนห่างกัน 2 คะแนน
ฝ่ ายใดได้ คะแนนนา 2 คะแนนก่อนเป็ นผู้ชนะ แต่ไม่เกิน 30 คะแนน
หมายความว่าหากการเล่นดาเนินมาจนถึง 29 คะแนนเท่ากัน ฝ่ ายใดได้ 30
คะแนนก่อน เป็ นผู้ชนะ
3. ฝ่ ายชนะเป็ นฝ่ ายส่งลูกต่อในเกมต่อไป

4. ฝ่ ายชนะการเสี่ยงสิทธิ์เป็ นฝ่ ายส่งลูกได้ ก่อน หากฝ่ ายตรงข้ ามทาลูก "เสีย"


หรื อลูกไม่ได้ อยู่ในการเล่น ผู้เลือกส่งลูกก่อนจะได้ คะแนนนา 1-0
และได้ ส่งลูกต่อ แต่หากผู้ส่งลูกทาลูก "เสีย"
หรื อลูกไม่อยู่ในการเล่น ฝ่ ายตรงข้ ามจะได้ คะแนนตามมาทันทีเป็ น 1-1
และฝ่ ายตรงข้ ามจะได้ สิทธิ์ส่งลูกแทน ดาเนินเช่นนี ้ต่อไปจนจบเกม

5. ประเภทคู่ให้ ส่งลูกฝ่ ายละ 1 ครัง้ ตามคะแนนที่ได้ ขณะที่เปลี่ยนฝ่ ายส่งลูก


หากคะแนนเป็ นจานวนคี่
ผู้อยู่คอร์ ดด้ านซ้ ายเป็ นผู้ส่งลูก หากคะแนนเป็ นจานวนคู่ผ้ อู ยู่คอร์ ดด้ านขวาเป็ นฝ่ ายส่ง
ลูก

ประวัตแิ บดมินตันในไทย

การเล่นแบดมินตันได้ เข้ ามาสู่ประเทศไทยในราวปี พ.ศ. 2456


โดยเริ่มเล่นกีฬาแบดมินตันแบบมี ตาข่าย โดยพระยานิพทั ยกุลพงษ์ ได้ สร้ างสนามขึ ้นที่บ้าน
ซึง่ ตังอยู
้ ่ริมคลองสมเด็จเจ้ าพระยาธนบุรี แล้ วนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายออกไป
ส่วนมากเล่นกันตามบ้ านผู้ดีมีตระกูล วังเจ้ านาย และในราชสานัก การเล่นแบดมินตันครัง้ นัน้
นิยมเล่นข้ างละ 3 คน ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2462
สโมสรกลาโหมได้ เป็ นผู้จดั แข่งขันแบดมินตันทัว่ ไปขึ ้นเป็ นครัง้ แรก โดยจัดการแข่งขัน 3
ประเภทได้ แก่ ประเภทเดี่ยว ประเภทคู่ และประเภทสามคน
ปรากฏว่าทีมแบดมินตันบางขวางนนทบุรี (โรงเรี ยนราชวิทยาลัยบางขวางนนทบุรี)
ชนะเลิศทุกประเภท นอกจากนี ้
มีนกั กีฬาแบดมินตันฝี มือดีเดินทางไปแข่งขันยังประเทศใกล้ เคียงอยู่บ่อยๆ

ในปี พ.ศ. 2494


พระยาจินดารักษ์ ได้ ก่อตังสมาคมชื
้ ่อว่า "สมาคมแบดมินตันแห่ งประเทศไทย" เมื่อแรกตังมี

อยู่ 7 สโมสร คือ สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย สโมสรยูนิตี ้ สโมสร
ส.ธรรมภักดี สโมสรสิงห์อดุ ม และสโมสรศิริบาเพ็ญบุญ
ซึง่ ในปั จจุบนั นี ้เหลือเป็ นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยู่เพียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย
และสโมสรยูนิตี ้เท่านัน้ และในปี เดียวกัน
สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยก็ได้ สมัครเข้ าเป็ นสมาชิกของสหพันธ์แบดมินตันนานาชาติ
ด้ วย สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยมีนกั กีฬาแบดมินตันที่มีฝีมือดีอยู่มาก
ซึง่ ได้ สร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยจากการลงแข่งขันใน รายการต่าง ๆ ของโลกเป็ นอย่างมาก
ทังโธมั
้ สคัพ อูเบอร์ คพั และการแข่งขันออลอิงแลนด์ โดยวงการแบดมินตันของไทยยกย่อง
นายประวัติ ปั ตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) เป็ นบิดาแห่งวงการแบดมินตันของประเทศไทย

ประโยชน์ ของแบบดมินตัน
ระยะสัน้

1. ทาให้ ร่างกายแข็งแรงและอวัยวะทุกส่วนได้ พฒ ั นาอยู่เสมอโดยเฉพาะข้ อมือ แขน ขา


และ สายตา
2. เป็ นกีฬาที่ต้องใช้ สมรรถภาพทางร่างกายที่ดี สมรรถภาพทางร่างกายดังกล่าว
คือความแข็งแรง ความอดทน
การทางานสัมพันธ์กนั ของระบบประสาทกับระบบกล้ ามเนื ้อ
พลังความยืดหยุ่นของอวัยวะต่าง ๆ ความคล่องตัว ความทนทานของกล้ ามเนื ้อ
และระบบไหลเวียนเลือด ดังนัน้ จึงทาให้ ผ้ เู ล่นมีร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ
3. ถ้ าเล่นแบดมินตันเพื่อความอดทน จะช่วยให้ ระบบย่อยอาหารทางานดีขึ ้น
เพิม่ อัตราการเผาผลาญอาหารให้ สงู ขึ ้น เพิม่ อัตราการเต้ นของหัวใจ
และอัตราการหายใจให้ ลกึ และดีขึ ้นด้ วย
4. แบดมินตันมีวิธีการตีลกู หลายแบบ จึงมีเทคนิคเล่นมากมายที่ทาให้ ได้
การฝึ กฝนการใช้ สติปัญญาอยู่ตลอดเวลา
5. เป็ นกีฬาที่ต้องใช้ ความฉลาด ไหวพริบ และการส่อหลอกประกอบกัน
จึงกล่าวได้ ว่าการเล่นแบดมินตันเป็ นการทาสงครามด้ วยความฉลาด
เพราะการเล่นมีการรุก – รับตลอดเวลา
6. ช่วยผ่อนคลายความตรึงเครี ยดและสร้ างความพอใจให้ ผ้ เู ล่นเพราะคนทัว่ ๆ
ไปต้ องการเล่นให้ สนุกสนานปล่อยอารมณ์ไปกับการเคลื่อนไหวตามชนิดต่าง ๆ
ของกิจกรรม
ตามหลักจิตวิทยาแล้ วแบดมินตันยังช่วยเสริมสร้ างและรักษาจิตใจได้ อีกด้ วย
จิตแพทย์คาร์ ล เมนนินเยอร์ (Dr.Karl
Menninger)หัวหน้ าหน่วยงานTopekaซึง่ เป็ นหน่วยงานระดับโลก
ได้ แนะนาให้ ใช้ กีฬาแบดมินตันเป็ นกิจกรรมนันทนาการสาหรับคนไข้ ที่ผิดปกติทางอารม
ณ์ และไม่ใช่แต่จะทาให้ สขุ ภาพจิตของคนป่ วยดีขึ ้นเท่านันคนปกติ
้ ก็ดีขึ ้นด้ วยเช่นกัน
7. เป็ นกีฬาที่สร้ างเสริมมนุษย์สมั พันธ์ มิตรภาพ
และการแสดงออกที่แสดงถึงความมีน ้าใจนักกีฬาอย่างแท้ จริง
เพราะการเล่นต้ องเล่นร่วมกับคนอื่น ๆ
ได้ มีการพบปะสังสรรค์ทงเด็ั ้ กและผู้ใหญ่ทงผู
ั ้ ้ หญิงและผู้ชาย จะได้ รับประโยชน์เท่า ๆ
กัน
8. เป็ นกีฬาที่มีคนนิยมมาก มีรางวัลสูง มีการแข่งขันทังในประเทศและต่
้ างประเทศ
ทาให้ ได้ เห็นเกมส์แบดมินตันดี ๆ อยู่เสมอ
ระยะยาว

1. ผู้มีส่วนร่วมในกีฬาแบดมินตันจะได้ รับประโยชน์ทงทางด้
ั้ านสรี รวิทยา จิตวิทยา
และสังคมวิทยา เป็ นอย่างมาก
2. โลกในปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเพื่อเป็ นการลดความกดดันลงบ้ าง
งานอดิเรกจึงจาเป็ นและสาคัญสาหรับมนุษยชาติ
กีฬาแบดมินตันจึงเป็ นกีฬาที่ใช้ เป็ นงานอดิเรกได้ ดียิ่ง มีทงความตื
ั้ ่นเต้ น
สนุกสนานในชีวิตประจาวัน และแม้ ว่าจะอายุถึง 60-70 ปี ก็ยงั สามารถเล่นได้ อยู่
3. เป็ นกีฬาที่ช่วยเสริมสร้ างความแข็งแรง สมบูรณ์ของร่างกาย โดยการเล่นเป็ นประจา
4. เป็ นกีฬาประเภทบุคคล จึงไม่จาเป็ นต้ องใช้ หรื อรอคอยส่วนประกอบอื่น ๆ
มากนักและไม่ต้องใช้ อปุ กรณ์มากด้ วย
คุณสมบัติของผู้เล่ นแบดมินตัน
แบดมินตันเป็ นกีฬาที่ต้องอาศัยความอดทน อดกลัน้ ทังก ้ าลังกายและกาลังใจ
นอกจาก ผู้เล่นจะต้ องมีสมรรถภาพทางร่างกายดีเลิศแล้ ว ควรต้ องมีคณ ุ สมบัติต่าง ๆ
ดังต่อไปนี ้
1. มีความสนใจอย่างแรงกล้ า มีความกระตือรื อร้ นในการเรี ยนรู้
และหาวิธีการเล่นใหม่ ๆ อยู่เสมอ
2. มีความต้ องการใกห้ ตนเองมีความสามารถเพิม่ ขึ ้น
มีสายตาปกติและสามารถเคลื่อนไหวตัวได้ รวดเร็ว
3. มีร่างกายอ่อนตัวดี ยืดหยุ่นได้ ดี สามารถใช้ มือและแร็กเก็ตให้ สมั พันธ์กนั ได้ ดี
4. มีความเข้ าใจในวิธีการเล่นอย่างแจ่มแจ้ ง มีร่างกายสมบูรณ์ จิตใจผ่องใส
และมีพลังจิตที่เข้ มแข็ง
5. มีระเบียบวินยั ที่ดี และมีความรับผิดชอบสูง
6. เชื่อฟั งและปฎิบตั ิตามคาแนะนาของผู้ฝึกสอนอย่างเคร่งครัด

คุณสมบัตทิ างด้ านจิตวิทยา

นอกจากผู้เล่นแบดมินตันจะต้ องมีคณ ุ สมบัตทิ างกายอย่างดีแล้ ว


จะต้ องมีคณุ สมบัติทางด้ านจิตวิทยา เป็ นอย่างดีอีกด้ วย ซึง่ คุณสมบัติทางด้ านจิตวิทยานี ้
จะช่วยให้ การเล่นแบดมินตันประสบผลสาเร็จ
1. ผู้เล่นแบดมินตันจะต้ องมีความคุ้นเคยกับทักษะเกมการเล่น ซึง่ จะมีทงช้ ั ้ าและเร็ว
2. มีการเคลื่อนไหวทางกลไกของร่างกายเป็ นอย่างมาก จะต้ องเข้ าใจในการฝึ กหัด
3. รู้จกั วิเคราะห์และยอมรับสถานการณ์ในการแข่งขันต่าง ๆ ด้ วย
4. จะต้ องยอมรับและเรี ยนรู้ วิธีการเล่นแบดมินตัน ว่าเป็ นส่วนหนึง่ ของชีวิตท่าน
ต้ องพยายามเล่นให้ ประสบผลสาเร็จทังที ้ ่เป็ นกลุ่มและเดี่ยว
จะต้ องเข้ าใจสถานการณ์แข่งขัน พยายามรักษาจุดที่ทาให้ ชนะไว้
และต้ องรู้จกั แก้ ไขจุดที่เสียคะแนนได้
5. จะต้ องพยายามรักษาแรงกระตุ้นหรื อสิ่งเร้ าให้ มีมากอยู่เสมอ
และพร้ อมที่จะปรับปรุงได้ ทกุ เวลา
6. จะต้ องมีความมัน่ คงทางอารมนณ์สงู ในการเล่นแบดมินตัน

มารยาท
ผู้เล่ น

1. ผู้แข่งขันต้ องตระหนักอยู่เสมอว่าผู้เข้ าแข่งขันเป็ นนักกีฬาสมัครเล่น


ซึง่ ต้ องมีน ้าใจเป็ นนักกีฬาอยู่เสมอ และพร้ อมที่จะให้ อภัยแกความผิดพลาดทุกโอกาส
โดยไม่คานึงถึงผลแพ้ ชนะเป็ นสาคัญจนเกินไป
2. ผู้เข้ าแข่งขันแต่งกายด้ วยชุดกีฬาสีขาว สะอาด เรี ยบร้ อย
3. ยิ ้มแย้ มแจ่มใสต่อคู่แข่งขันแสดงออกถึงมิตรภาพความสุภาพ
อ่อนโยนด้ วยการสัมผัสมือ หรื อเปิ ดโอกาสให้ ค่แู ข่งขันได้ วอร์ ม
รวมทังไม่
้ เอาเปรี ยบคู่ต่อสู้หรื อคู่แข่งขันในการเสี่ยง
ให้ โอกาสคู่ต่อสู้เป็ นผู้นาการเลือกเสี่ยงก่อน
4. ไม่แสดงกริยาที่ไม่ดีเมื่อทาเสียเอง ด้ วยท่าทางหรื อคาพูด
รวมทังการกล่
้ าวตาหนิผ้ เู ล่นฝ่ ายเดียวกัน
5. ใช้ คาพูดที่สภุ าพในการแข่งขัน
6. การถามข้ อสงสัย
หรื อถามคะแนนต่อผู้ตดั สินในระหว่างการแข่งขันควรจะใช้ ถ้อยคาที่สภุ าพ
7. การอุทธรณ์คาวินิจฉัยของผู้ตดั สิน
ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึง่ ที่ผ้ แู ข่งขันควรจะใช้ ถ้อยคาที่ระมัดระวัง
และเมื่อได้ ทาการอุทธรณ์แล้ ว ผู้อทุ ธรณ์ต้องอยู่ในความสงบ
และพร้ อมที่จะทาการแข่งขันต่อไปได้
และเมื่อผู้ตดั สินชี ้ขาดอย่างไรก็ต้องปฏิบตั ิตามด้ วยความเต็มใจ
8. เมื่อขณะดาเนินการแข่งขันอยู่หากจะหยุดพัก เช่น ขอเช็ดเหงื่อ ดื่มน ้า เปลี่ยนแร็กเกต
เปลี่ยนรองเท้ าถุงเท้ า ฯลฯ ต้ องขออนุญาตผู้ตดั สินทุกครัง้
เมื่อได้ รับอนุญาติแล้ วจึงปฏิบตั ิได้
9. ในการส่งลูกเสียไปให้ ค่ตู อ่ สู้จะต้ องส่งลูกข้ ามตาข่ายไปให้ เสมอ
การส่งลูกลอดใต้ ตาข่ายไปให้ ค่ตู ่อสู้ถือว่าเป็ นการเสียมารยาทอย่างรุนแรง
10. ในระหว่างการแข่งขัน
ถ้ าผู้ตดั สินทาหน้ าที่ผิดพลาดแต่เราอยู่ในฐานะได้ เปรี ยบไม่ควรใช้ ความได้ เปรี ยบนันเป็

นประโยชน์

11. การตีลกู เสีย นักกีฬาที่ดีต้องร้ องออกมาดัง ๆ ว่า "เสีย"


โดยไม่ต้องรอให้ ผ้ ตู ดั สินร้ องออกมาก่อน แต่ถ้าผู้ตดั สินดูไม่ทนั
ผู้ตีลกู เสียไม่ควรจะฉวยโอกาสเล่นต่อไปด้ วย
เพราะการฉวยโอกาสเช่นนี ้เป็ นการกระทาที่ไม่สจุ ริ ต
12. เมื่อการแข่งขันเสร็ จสิ ้นลง ถ้ าเราเป็ นฝ่ ายชนะจะต้ องไม่แสดงความดีใจจนเกินควร
ต้ องเข้ าไปจับมือคู่แข่งขันทันทีพร้ อมแสดงความเสียใจ
ถ้ าเป็ นฝ่ ายแพ้ ไม่ควรจะแสดงอารมณ์ฉนุ เฉียวต้ องควบคุมอารมณ์
และรี บไปแสดงความยินดีกบั คู่แข่งโดยทันทีเหมือนกัน
13. ยอมรับและเชื่อฟั งการตัดสินโดยไม่โต้ แย้ ง
และเมื่อเสร็จสิ ้นการแข่งขันควรแสดงความเคารพผู้ตดั สิ ้น
14. ในสนามที่มีผ้ มู ารอเล่นอยู่มาก และไม่ใช่การแข่งขัน ไม่ควรเล่นกันนานจนเกินไป
ควรเปิ ดโอกาสให้ ผ้ อู ื่นได้ เล่นบ้ าง

มารยาทผู้ชม

1. แต่งกายให้ สภุ าพ เรี ยบร้ อย เป็ นการให้ เกียรติแก่การแข่งขันนัน้ ๆ


2. ให้ เกียรติแก่นกั กีฬาทัง้ 2 ฝ่ าย ด้ วยการปรบมือเมื่อมีการแนะนาคู่แข่งขัน
3. ไม่กล่าววาจาไม่สภุ าพ และไม่เชียร์ ฝ่ายใดฝ่ ายหนึง่ จนไม่น่าดู
4. ขณะการแข่งขันยังดาเนินอยู่ไม่ควรรบกวนสมาธิของผู้แข่ง หรื อผู้ชมด้ วยกัน
5. การนิ่งเงียบ ในขณะที่นกั กีฬากาลังเล่นถือว่าเป็ นมารยาทของผู้ชมที่ดี
6. ควรปรบมือเมื่อผู้เล่นฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ เล่นได้ ดี สวยงาม
และกระทาเมื่อลูกไม่ได้ อยู่ในการเล่น
7. ไม่แสดงออกด้ วยกิริยา หรื อวิพากษ์ วิจารณ์การตัดสินของกรรมการ ขณะทาการแข่งขัน
แม้ ว่าจะมีข้อผิดพลาด
8. เมื่อการแข่งขันสิ ้นสุดลง ควรปรบมือเป็ นเกียรติแก่นกั กีฬาทังสองฝ่
้ าย

มารยาท ผู้ตัดสิน

1. เมื่อเข้ าสู่สนามแข่งขัน ต้ องแต่งกายให้ ถกู ต้ องตามลักษณะของการเป็ นผู้ตดั สิน


เครื่ องแต่งกายต้ องประณีต และสะอาด วางตัวในลักษณะสุภาพอ่อนน้ อม
แต่สารวมไม่หลอกล้ อกับผู้หนึง่ ผู้ใด
แสดงออกถึงอาการที่จะให้ ความร่วมมือกับผู้อื่นด้ วยท่าทีกระฉับกระเฉง
ไม่ใช่ประหม่าหรื อลุกลี ้ลุกลน

2. ระหว่างการแข่งขัน หลีกเลี่ยงการพบปะสนทนากับผู้เล่น ผู้ฝึกสอน ตลอดจนผู้ค้ นุ เคยอื่น


ๆ พยายามตังใจจริ
้ งในการปฏิบตั ิหน้ าที่ในการตัดสิน ตัดสินใจด้ วยความเด็ดขาดถูกต้ อง
แสดงออกถึงความมีน ้าใจเป็ นนักกีฬา ไม่แสดงอารมณ์ออกมา
ควรใช้ วาจาเฉพาะในสิ่งที่จาเป็ นพูดเฉพาะหลักการเท่านัน้ เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ แก่ผ้ ฟู ั ง
และไม่ควรโต้ เถียงกับผู้ใดผู้หนึง่ ซึง่ จะเป็ นการลดฐานะของตนเอง
อันเป็ นการทาให้ เสื่อมศักดิศ์ รี
และเป็ นการนาไปสู่การทะเลาะวิวาทหรื อทาให้ เกิดคับข้ องขุ่นเคืองใจได้
3. เมื่อจบการแข่งขัน หลังจากตรวจใบนับคะแนนเรี ยบร้ อยแล้ ว
ควรรี บออกจากสนามแข่งขันทันที
ไม่ควรรี รออยู่เพื่อขออภัยในความผิดพลาดในการตัดสิน
หรื อเพื่อแสดงความยินดีหรื อเสียใจต่อคู่แข่ง ไม่ควรแสดงความคิดเห็นใด ๆ
เกี่ยวกับปั ญหาต่าง ๆ ที่มีการถกเถียงกัน ในกรณีที่มีผ้ สู ื่อข่าวขอสัมภาษณ์
ควรให้ ความร่วมมือด้ วยอัธยาศัยอันดี
โดยชี ้แจงอย่างเป็ นธรรมและเหมาะสมในขอบเขตของการเป็ นผู้ตดั สิน
แต่ไม่ควรแสดงความคิดเห็นที่ซ ้าเติม หรื อก้ าวก่ายหน้ าที่ของผู้อื่น

ภาพแบดมินตัน
 ไม้ แบดมินตัน (แรกเก็ต)
 ลูกแบดมินตัน (ลูกขนไก่)

You might also like