You are on page 1of 10

1

แบดมินตัน

ประวัติแบดมินตันในต่ างประเทศ
โดยกีฬาแบดมินตันได้รับการบันทึกแบบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในปี พ.ศ. 2413 ซึ่งพบว่า มี
การเล่นกีฬาลูกขนไก่เกิดขึ้นที่เมืองปูนา (Poona) ในประเทศอินเดีย เป็ นเมืองเล็ก ๆ ห่างจากเมือ
งบอมเบย์ประมาณ 50 ไมล์ โดยได้รวมการเล่นสองอย่างเข้าด้วยกันคือ การเล่นปูนาของประเทศ
อินเดีย และการเล่นไม้ตีกบั ลูกขนไก่ (Battledore Shuttle Cock) ของยุโรป
ในระยะแรก การเล่นแบดมินตันจะเล่นกันเพียงแต่ในหมู่นายทหารของกองทัพ และสมาชิก
ชนชั้นสูงของอินเดียเท่านั้น จนกระทัง่ มีนายทหารอังกฤษที่ไปประจำการอยูท่ ี่เมืองปูนา นำการ
เล่นตีลูกขนไก่น้ ีกลับไปอังกฤษ และเล่นกันอย่างกว้างขวาง ณ คฤหาสน์แบดมินตัน (Badminton
House) ของยุคแห่งบิวฟอร์ด ที่กลอสเตอร์เชียร์ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2416 เกมกีฬาตีลูกขนไก่เลยถูก
เรี ยกว่า แบดมินตัน ตามชื่อคฤหาสน์ของดยุคแห่งบิวฟอร์ดตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมา

ประวัติแบดมินตันในประเทศไทย
 การเล่นแบดมินตันได้เข้ามาสู่ ประเทศไทยในราวปี พ.ศ. 2456 โดยเริ่ มเล่นกีฬาแบดมินตันแบบ
มี ตาข่าย โดยพระยานิพทั ยกุลพงษ์ ได้สร้างสนามขึ้ นที่บา้ น ซึ่งตั้งอยูร่ ิ มคลองสมเด็จเจ้าพระยา
2

ธนบุรี แล้วนิยมเล่นกันอย่างแพร่ หลายออกไป ส่ วนมากเล่นกันตามบ้านผูด้ ีมีตระกูล วังเจ้านาย


และในราชสำนัก การเล่นแบดมินตันครั้งนั้น นิยมเล่นข้างละ 3 คน ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2462
สโมสรกลาโหมได้เป็ นผูจ้ ดั แข่งขันแบดมินตันทัว่ ไปขึ้นเป็ นครั้งแรก โดยจัดการแข่งขัน 3
ประเภทได้แก่ ประเภทเดี่ยว ประเภทคู่ และประเภทสามคน ปรากฏว่าทีมแบดมินตันบางขวาง
นนทบุรี (โรงเรี ยนราชวิทยาลัยบางขวางนนทบุรี) ชนะเลิศทุกประเภท นอกจากนี้ มีนกั กีฬา
แบดมินตันฝี มือดีเดินทางไปแข่งขันยังประเทศใกล้เคียงอยูบ่ ่อยๆ

บิดาแหงวงการแบดมินตันไทย

          ในปี พ.ศ. 2494 พระยาจินดารักษ์ได้ก่อตั้งสมาคมชื่อว่า "สมาคมแบดมินตันแห่ ง


ประเทศไทย" เมื่อแรกตั้งมีอยู่ 7 สโมสร คือ สโมสรสมานมิตร สโมสรบางกอก สโมสรนิวบอย
สโมสรยูนิต้ ี สโมสร ส.ธรรมภักดี สโมสรสิ งห์อุดม และสโมสรศิริบำเพ็ญบุญ ซึ่งในปัจจุบนั นี้
เหลือเป็ นสโมสรสมาชิกของสมาคมอยูเ่ พียง 2 สโมสร คือ สโมสรนิวบอย และสโมสรยูนิต้ี
เท่านั้น และในปี เดียวกัน สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยก็ได้สมัครเข้าเป็ นสมาชิกของ
สหพันธ์แบดมินตันนานาชาติดว้ ย สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยมีนกั กีฬาแบดมินตันที่มี
ฝี มือดีอยูม่ าก ซึ่งได้สร้างชื่อเสี ยงให้กบั ประเทศไทยจากการลงแข่งขันใน รายการต่าง ๆ ของ
โลกเป็ นอย่างมาก ทั้งโธมัสคัพ อูเบอร์คพั และการแข่งขันออลอิงแลนด์ โดยวงการแบดมินตัน
ของไทยยกย่อง นายประวัติ ปัตตพงศ์ (หลวงธรรมนูญวุฒิกร) เป็ นบิดาแห่งวงการประเภท
แบดมินตันของไทย
กติกาการเล่ นแบดมินตัน 
กติกาเบือ้ งต้ น
1. การออกนอกเส้น มีการกำหนดเส้นออกแต่งต่างกันในกรณี เล่นเดี่ยวและเล่นคู่
2. การเสิ ร์ฟลูก ตามกติกา ที่ถูกต้อง คือ
         1. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ำกว่าข้อมืออย่างเห็นได้ชดั
         2. หัวไม้ขณะสัมผัสลูกต้องต่ำกว่าเอวอย่างเห็นได้ชดั
         3. ผูเ้ ล่นต้องไม่ถ่วงเวลา หรื อเสริ ฟช้า หรื อเสริ ฟ 2 จังหวะ การเสริ ฟ ต้องเสริ ฟไปด้วยจังหวะเดียว
3

         4. ขณะเสิ ร์ฟ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งของเท้าทั้ง 2 ข้างต้องสัมผัสพื้นตลอดเวลา


         5. การเสิ ร์ฟลูกที่ถูกต้อง ต้องให้แร็ กเก็ตสัมผัสกับหัวลูกก่อน หากโดนขนก่อนถือว่าผิดกติกา
3. ขณะตีลูกโต้กนั ห้ามนำส่ วนหนึ่งส่ วนใดของร่ างกายหรื อไม้แบดไปสัมผัสกับเน็ท
4. ห้ามตีลูกที่ฝั่งตรงข้ามโต้กลับมาในขณะที่ลูกยังไม่ขา้ มเน็ทมายังแดนเรา(Over net)
สหพันธ์ แบดมินตันนานาชาติ ( IBF) ได้กำหนดให้ ทดลองใช้ระบบการนับคะแนนการแข่งขัน
กีฬาแบดมินตันใหม่ ในระบบ 3 x 21 คะแนน ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2549 เป็ นต้นไป
รายละเอียดของกติกาการนับคะแนนมีดงั นี้
1. แมทช์หนึ่งต้องชนะให้ได้มากที่สุดใน 3 เกม
2. ทุกประเภทของการแข่งขัน  ฝ่ ายที่ได้ 21 คะแนนก่อนเป็ นฝ่ ายชนะในเกมนั้น
ยกเว้นเมื่อได้ 20 คะแนนเท่ากันต้องนับต่อให้มีคะแนนห่างกัน 2 คะแนน ฝ่ ายใดได้คะแนนนำ 2 คะแนน
ก่อนเป็ นผูช้ นะ  แต่ไม่เกิน 30 คะแนน หมายความว่าหากการเล่นดำเนินมาจนถึง 29 คะแนนเท่ากัน 
ฝ่ ายใดได้ 30 คะแนนก่อน เป็ นผูช้ นะ
3. ฝ่ ายชนะเป็ นฝ่ ายส่ งลูกต่อในเกมต่อไป
4. ฝ่ ายชนะการเสี่ ยงสิ ทธิ์ เป็ นฝ่ ายส่ งลูกได้ก่อน  หากฝ่ ายตรงข้ามทำลูก "เสี ย" หรื อลูกไม่ได้อยูใ่ นการเล่น 
ผูเ้ ลือกส่ งลูกก่อนจะได้คะแนนนำ 1-0 และได้ส่งลูกต่อ  แต่หากผูส้ ่ งลูกทำลูก "เสี ย" หรื อลูกไม่อยูใ่ นการเล่น 
ฝ่ ายตรงข้ามจะได้คะแนนตามมาทันทีเป็ น 1-1 และฝ่ ายตรงข้ามจะได้สิทธิ์ ส่ งลูกแทน 
ดำเนินเช่นนี้ต่อไปจนจบเกม
5. ประเภทคู่ให้ส่งลูกฝ่ ายละ 1 ครั้ง ตามคะแนนที่ได้  ขณะที่เปลี่ยนฝ่ ายส่ งลูก หากคะแนนเป็ นจำนวนคี่
ผูอ้ ยูค่ อร์ดด้านซ้ายเป็ นผูส้ ่ งลูก  หากคะแนนเป็ นจำนวนคู่ผอู้ ยูค่ อร์ดด้านขวาเป็ นฝ่ ายส่ งลูก
การดิวส์

หากผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายทำคะแนนได้เท่ากันในคะแนนที่ 20 จะมีการเล่นต่อ จนกว่าว่าจะมีคะแนน


มากกว่าฝ่ ายตรงข้าม 2 คะแนน แต่ถา้ ยังไม่สามารถทำคะแนนห่างกัน 2 แต้มได้ จะเล่นต่อไปเรื่ อยๆ
แต่เมื่อแต้มได้ 29 เท่ากัน ใครที่ทำได้แต้ม 30 ก่อนจะเป็ นฝ่ ายชนะ

มารยาทการเล่ น
มารยาทผู้เล่ น
1. ผูแ้ ข่งขันต้อง ตระหนักอยูเ่ สมอว่าผูเ้ ข้าแข่งขันเป็ นนักกีฬาส
เล่น
ซึ่งต้องมีน ้ำใจเป็ น นักกีฬาอยูเ่ สมอ และพร้อมที่จะให้อภัยแกคว
4

พลาดทุกโอกาส
โดยไม่คำนึงถึงผลแพ้ชนะเป็ นสำคัญจนเกินไป
2. ผูเ้ ข้าแข่งขันแต่งกายด้วยชุดกีฬาสี ขาว สะอาด เรี ยบร้อย
3. ยิม้ แย้มแจ่มใสต่อคูแ่ ข่งขันแสดงออกถึงมิตรภาพความสุภาพ อ่อนโยนด้วยการสัมผัสมือ
หรื อเปิ ดโอกาสให้คู่แข่งขันได้วอร์ม รวมทั้งไม่เอาเปรี ยบคู่ต่อสู้หรื อคู่แข่งขันในการเสี่ ยง
ให้โอกาสคู่ต่อสู้เป็ นผูนำ ้ การเลือกเสี่ ยงก่อน
4. ไม่แสดงกริ ยาที่ไม่ดีเมื่อทำเสี ยเอง ด้วยท่าทางหรื อคำพูด รวมทั้งการกล่าวตำหนิผเู้ ล่นฝ่ ายเดียวกัน
5. ใช้คำพูดที่สุภาพในการแข่งขัน
6. การถามข้อสงสัย หรื อถามคะแนนต่อผูต้ ดั สิ นในระหว่างการแข่งขันควรจะใช้ถอ้ ยคำที่สุภาพ
7. การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของผูต้ ดั สิ น ก็เป็ นอีกเรื่ องหนึ่งที่ผแู้ ข่งขันควรจะใช้ถอ้ ยคำที่ระมัดระวัง
และเมื่อได้ทำการอุทธรณ์แล้ว ผูอ้ ุทธรณ์ตอ้ งอยูใ่ นความสงบ และพร้อมที่จะทำการแข่งขันต่อไปได้
และเมื่อผูต้ ดั สิ นชี้ขาดอย่างไรก็ตอ้ งปฏิบตั ิตามด้วยความเต็มใจ
8. เมื่อขณะดำเนินการแข่งขันอยูห่ ากจะหยุดพัก เช่น ขอเช็ดเหงื่อ ดื่มน้ำ เปลี่ยนแร็ กเกต
เปลี่ยนรองเท้าถุงเท้า ฯลฯ ต้องขออนุญาตผูต้ ดั สิ นทุกครั้ ง เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงปฏิบตั ิได้
9. ในการส่ งลูกเสี ยไปให้คู่ต่อสู้จะต้องส่ งลูกข้ามตาข่ายไปให้เสมอ
การส่ งลูกลอดใต้ตาข่ายไปให้คู่ต่อสู้ถือว่าเป็ นการเสี ยมารยาทอย่างรุ นแรง
10. ในระหว่างการแข่งขัน ถ้าผูต้ ดั สิ นทำหน้าที่ผดิ พลาดแต่เราอยูใ่ นฐานะได้เปรี ยบ
ไม่ควรใช้ความได้เปรี ยบนั้นเป็ นประโยชน์
11. การตีลูกเสี ย นักกีฬาที่ดีตอ้ งร้องออกมาดัง ๆ ว่า "เสี ย" โดยไม่ตอ้ งรอให้ผตู้ ดั สิ นร้องออกมาก่อน
แต่ถา้ ผูต้ ดั สิ นดูไม่ทนั ผูต้ ีลูกเสี ยไม่ควรจะฉวยโอกาสเล่นต่อไปด้วย เพราะการฉวยโอกาสเช่นนี้
เป็ นการกระทำที่ไม่สุจริ ต
12. เมื่อการแข่งขันเสร็ จสิ้ นลง ถ้าเราเป็ นฝ่ ายชนะจะต้องไม่แสดงความดีใจจนเกินควร
ต้องเข้าไปจับมือคู่แข่งขันทันทีพร้อมแสดงความเสี ยใจ ถ้าเป็ นฝ่ ายแพ้ไม่ควรจะแสดงอารมณ์ฉุนเฉี ยว
ต้องควบคุมอารมณ์ และรี บไปแสดงความยินดีกบั คูแ่ ข่งโดยทันทีเหมือนกัน
13. ยอมรับและเชื่อฟังการตัดสิ นโดยไม่โต้แย้ง และเมื่อเสร็ จสิ้ นการแข่งขันควรแสดงความเคารพ
ผูต้ ดั สิ น
14. ในสนามที่มีผมู้ ารอเล่นอยูม่ าก และไม่ใช่การแข่งขัน ไม่ควรเล่นกันนานจนเกินไป
ควรเปิ ดโอกาสให้ผอู้ ื่นได้เล่นบ้าง
มารยาทผู้ชม
1. แต่งกายให้สุภาพ เรี ยบร้อย เป็ นการให้เกียรติแก่การแข่งขันนั้น ๆ
2. ให้เกียรติแก่นกั กีฬาทั้ง 2 ฝ่ าย ด้วยการปรบมือเมื่อมีการแนะนำคู่แข่งขัน
3. ไม่กล่าววาจาไม่สุภาพ และไม่เชียร์ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งจนไม่น่าดู
5

4. ขณะการแข่งขันยังดำเนินอยูไ่ ม่ควรรบกวนสมาธิของผูแ้ ข่ง หรื อผูช้ มด้วยกัน


5. การนิ่งเงียบ ในขณะที่นกั กีฬากำลังเล่นถือว่าเป็ นมารยาทของผูช้ มที่ดี
6. ควรปรบมือเมื่อผูเ้ ล่นฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเล่นได้ดี สวยงาม และกระทำเมื่อลูกไม่ได้อยูใ่ นการเล่น
7. ไม่แสดงออกด้วยกิริยา หรื อวิพากษ์วิจารณ์การตัดสิ นของกรรมการ ขณะทำการแข่งขัน
แม้วา่ จะมีขอ้ ผิดพลาด
8. เมื่อการแข่งขันสิ้ นสุ ดลง ควรปรบมือเป็ นเกียรติแก่นกั กีฬาทั้งสองฝ่ าย

มารยาท ผู้ตัดสิ น
1. เมื่อเข้าสู่ สนามแข่งขัน ต้องแต่งกายให้ถูกต้องตามลักษณะของการเป็ นผูต้ ดั สิ น
เครื่ องแต่งกายต้องประณี ต และสะอาด วางตัวในลักษณะสุ ภาพอ่อนน้อม แต่สำรวมไม่หลอกล้อ
กับผูห้ นึ่งผูใ้ ด แสดงออกถึงอาการที่จะให้ความร่ วมมือกับผูอ้ ื่นด้วยท่าทีกระฉับกระเฉง
ไม่ใช่ประหม่าหรื อลุกลี้ลุกลน
2. ระหว่างการแข่งขัน หลีกเลี่ยงการพบปะสนทนากับผูเ้ ล่น ผูฝ้ ึ กสอน ตลอดจนผูค้ ุน้ เคยอื่น ๆ
พยายามตั้งใจจริ งในการปฏิบตั ิหน้าที่ในการตัดสิ น ตัดสิ นใจด้วยความเด็ดขาดถูกต้อง
แสดงออกถึงความมีน ้ำใจเป็ นนักกีฬา ไม่แสดงอารมณ์ออกมา ควรใช้วาจาเฉพาะในสิ่ งที่จำเป็ น
พูดเฉพาะหลักการเท่านั้น เพื่อสร้างความเชื่อมัน่ แก่ผฟู้ ัง และไม่ควรโต้เถียงกับผูใ้ ดผูห้ นึ่ง
ซึ่งจะเป็ นการลดฐานะของตนเอง อันเป็ นการทำให้เสื่ อมศักดิ์ศรี และเป็ นการนำไปสู่ การทะเลาะวิวาท
หรื อทำให้เกิดคับข้องขุ่นเคืองใจได้
3. เมื่อจบการแข่งขัน หลังจากตรวจใบนับคะแนนเรี ยบร้อยแล้ว ควรรี บออกจากสนามแข่งขันทันที
ไม่ควรรี รออยูเ่ พื่อขออภัยในความผิดพลาดในการตัดสิ น หรื อเพื่อแสดงความยินดีหรื อเสี ยใจต่อคู่แข่ง
ไม่ควรแสดงความคิดเห็นใด ๆ เกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ ที่มีการถกเถียงกัน ในกรณี ที่มีผสู้ ื่ อข่าวขอสัมภาษณ์
ควรให้ความร่ วมมือด้วยอัธยาศัยอันดี โดยชี้ แจงอย่างเป็ นธรรมและเหมาะสมในขอบเขตของการ
เป็ นผูต้ ดั สิ นแต่ไม่ควรแสดงความคิดเห็นที่ซ ้ำเติม หรื อก้าวก่ายหน้าที่ของผูอ้ ื่น
6

ท่ ายืนเตรียมพร้ อมแบดมินตัน
การยืนท่ าเตรี ยมพร้ อม

การยืนท่าเตรี ยมพร้อม ประกอบด้วยการจับแร็ กเกตด้วยมือขวา ยืนในลักษณะเอียงลำตัวโดยให้


เท้าซ้ายนำหน้า และเท้าขวาอยูข่ า้ งหลัง และให้ปลายเท้าชี้ไปตามทิศทางที่จะตีลูก สำหรับคนที่
จับแร็ กเกตด้วยมือซ้ายให้ยนื แบบเดียวกันเพียง แต่สลับเท้า

การยืน ควรยืนด้วยปลายเท้าลำตัวตั้งตรงขึ้น หรื อก้มเพียงเล็กน้อยแขนทั้ง 2 ยกขึ้น ให้สมดุลกัน


โดยแขนที่จบั แร็ กเกตต้องชูข้ ึนให้หวั ของแร็ กเกตชี้ไปข้างหน้าให้ทำมุมกับพื้น ประมาณ 45
องศา ส่ วนแขนอีกข้างหนึ่งยกขึ้นถ่วงไว้ให้สมดุลกัน
7

การจับไม้ ตีลกู หน้ ามือ “โฟร์แฮนด์” (Forehand)


การจับไม้ตีลูกหน้ามือ อาจจับได้ท้งั มือซ้าย-มือขวา ตามข้างที่ตนถนัด โดยต้องจับให้จบั เต็มมือ
โดยกำมือให้นิ้วทั้งห้าอยูร่ อบด้ามไม้ให้ส้นของมืออยูส่ ุ ดด้ามของไม้พอดี ซึ่งมีการจับเหมือนจับ
มีดอีโต้ ส้นของไม้ตอ้ งตั้งฉากกับพื้น และเป็ นแนวเดียวกับส้นมือ และแขนจับตามสบาย ไม่ตอ้ ง
เกร็ งไม่วา่ จะตีหน้ามือแนวใด ส้นไม้แบดมินตัน ส้นมือ และแขนต้องอยูแ่ นวเดียวกันเสมอ ใน
ท่าเตรี ยมการจับไม้ตอ้ งเป็ นมุมฉากกับแขนหรื อเกือบได้ฉาก
ทั้งนี้ แบ่งลักษณะการจับไม้ออกเป็ น 3 ระดับ คือ

1. การจับไม้แบบสั้น

การจับไม้แบบสั้น
2. การจับไม้แบบกลาง

การจับไม้แบบกลาง
8

3. การจับไม้แบบยาว

การจับไม้แบบยาว

การจับไม้ ตีลกู หลังมือ (Backhand)

การจับไม้ตีลูกหลังมือ อาจจับได้ท้ งั มือซ้าย-มือขวา ตามข้างที่ตนถนัด และมีลกั ษณะเดียวกับการ


จับตีลูกหน้ามือ แต่แทนที่จะให้หวั แม่มือกำรอบไม้ กลับตั้งหัวแม่มือจะอยูส่ ูงกว่านิ้วชี้เล็กน้อย
แนบไปกับด้ามไม้
วิธีการจับแบบหลังมือเริ่ มด้วยการับแบบหน้ามือ โดยถือแร็ กเกตให้ห่างจากตัวไปทางด้านหน้า
ในลักษณะนี้ หน้าแร็ กเกตจะทำมุม 90 องศา กับพื้น ต่อไปให้ผอ่ นมือเล็กแล้วเลื่อนด้ามแร็ กเกต
ไปขวามือประมาณ 30 องศา แล้วใช้ดา้ นหน้าของนิ้วหัวแม่มือกดลงที่ดา้ มหรื อบังคับที่ดา้ นหลัง
ของด้ามในขณะตีลูก และถ้าหมุนข้อมือมาทางซ้ายอีกเล็กน้อยก็จะช่วยทำให้แร็ กเกตเปิ ดมากขึ้น
อีก ต้องฝึ กการเปลี่ยนการจับด้ามจากหน้าเป็ นหลังมือให้ชำนาญ เปลี่ยนกลับไปกลับมาให้เป็ น
อัตโนมัติจึงจะทำให้การตีลูกมีประสิ ทธิภาพ

ท่ ายืดก่ อนเล่ น
ก่อนการเล่นกีฬาทุกครั้งผูเ้ ล่นควรทำการอบอุ่นร่ างกายเสี ยก่อน ควรใช้เวลา 5 – 10 นาที เพื่อเพิ่ม
การเต้นของหัวใจ เพิ่มอุณหภูมิของร่ างกายอย่างช้าๆ และควรจะต้องมีการเคลื่อนไหวของข้อ
9

ส่ วนต่างๆ เช่น ข้อมือ ข้อเท่า เข่า สะโพก และควรยืดกล้ามเนื้ อหลังจากอบอุ่นร่ างกายแล้ว เพื่อ
ป้ องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
การเล่นแบดมินตันก็เช่นกันควรอบอุ่นร่ างกายและยืดกล้ามเนื้ อก่อนการเล่น เนื่องจาก
แบดมินตันเป็ นกีฬาที่ตอ้ งใช้การเคลื่อนไหวของร่ างกายค่อนข้างมากและรวดเร็ ว หากไม่มีการ
อบอุ่นร่ างกายและยืดกล้ามเนื้ อที่เหมาะสม อาจทำให้บาดเจ็บ กล้ามเนื้ อ เอ็น ฉี กขาดได้

การยืดเส้น (Stretching) เป็ น


กิจกรรมที่นกั ออกกำลังกายเพื่อสุ ขภาพทุกคนเข้าใจดีอยูแ่ ล้วว่าเป็ นการตระเตรี ยมร่ างกายโดย
เฉพาะกล้ามเนื้ อ เอ็น พังผืด และปลอกหุม้ ข้อ ให้พรักพร้อมที่จะรับการเคลื่อนไหวรุ นแรงที่จะ
ตามมาในการออกกำลังกายไม่วา่ จะเป็ นการเล่นกีฬา หรื อการบริ หารร่ างกายแบบต่างๆ ทั้งแอโร
บิกและไม่แอโรบิก ผูท้ ี่ละเลยต่อการยืดเส้นจะได้รับผลร้ายทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

- ผลร้ายในระยะสั้น ได้แก่ การเคล็ดขัดยอก ตะคริ ว จนถึง การฉี กขาดของกล้ามเนื้ อ และ


การบาดเจ็บรุ นแรงอื่นๆ ที่ทำให้เสี ยอนาคตหากละเลยไม่รีบรักษา
- ผลร้ายระยะยาว ได้แก่การเสื่ อมสภาพของส่ วนที่ใช้งานหนักและผิดวิธีอนั เป็ นธรรมชาติ
เช่น ข้อเข่า ข้อตะโพก ข้อสันหลังส่ วนเอวเป็ นต้น สำหรับนักกีฬาบางประเภทก็อาจได้รับผลร้าย
เฉพาะประเภท เช่น นักเทนนิสมีอาการเจ็บปุ่ มกระดูกด้านนอกข้อศอก (Tennis Elbow) นักวิง่ มี
อาการเจ็บใต้ส้นเท้า (Painful heel) หรื อปวดสันหน้าแข้ง (shin splint) เรื้ อรัง
ซึ่งภาวะเหล่านี้สามารถป้ องกันได้ง่ายกว่า ประหยัดกว่าและดีกว่าการรักษาเป็ นอันมาก
ยิง่ กว่านั้นสมรรถภาพทางร่ างกาย (physical fitness) ของผูท้ ี่ละเลยต่อกิจกรรมยืดเส้นดังกล่าว
10

นั้นจะหมดโอกาสพัฒนาถึงขีดสูงสุ ด (peak performance) ได้ตามที่ควรจะเป็ นเป้ าหมายที่เหนือ


กว่าการมีสุขภาพดีเท่านั้น ดังนั้นผูส้ นใจการออกกำลังกายเพื่อสุ ขภาพจึงจำเป็ นต้องสนใจ
กิจกรรมยืดเส้นไว้ให้มาก และปฏิบตั ิโดยสม่ำเสมอ

บรรณานุกรม
https://sites.google.com/site/61bad2556/prawati-baedmintan-ni-prathesthiy
https://sites.google.com/site/nisakornkhaosri/1-pra-wati-kila-echer-bxl
https://sites.google.com/site/kilabaedmintan01/ktika-laea-maryath-kar-len-baedmintan-1
https://siamroommate.com

You might also like