You are on page 1of 11

1

ประวัติบาสเกตบอลในต่ างประเทศ
กีฬาบาสเกตบอล ( Basketball) เป็ นกีฬาประจาชาติอเมริ กนั ถูกคิดขึ้น เพื่อต้องการช่วยเหลือบรรดา
สมาชิก Y.M.C.A. ได้เล่นกีฬาในฤดูหนาว เนื่องจากในช่วงฤดูหนาวสภาพพื้นภูมิประเทศโดยทัว่ ๆไป ถูก
หิ มะปกคลุม อันเป็ นอุปสรรคในการเล่นกีฬากลางแจ้ง เช่น อเมริ กนั ฟุตบอล เบสบอล คณะกรรมการสมาคม
Y.M.C.A. ได้พยายามหาหนทางแก้ไขให้บรรดาสมาชิ กทั้งหลายได้เล่นกีฬาในช่วงฤดูหนาวโดยไม่บงั เกิด
ความเบื่อหน่าย ในปี ค.ศ.1891 Dr.James A.Naismith ครู สอนพลศึกษาของThe International Y.M.C.A.
Training School อยูท่ ี่เมือง Springfield รัฐ Massachusetts ได้รับมอบหมายจาก Dr.Gulick ให้เป็ นผูค้ ิดค้นการ
เล่นกีฬาในร่ มที่เหมาะสมที่จะใช้เล่นในช่วงฤดูหนาว Dr.James ได้พยายามคิดค้นดัดแปลงการเล่นกีฬา
อเมริ กนั ฟุตบอลและเบสบอลเข้าด้วยกันและให้มีการเล่นที่เป็ นทีม ในครั้งแรก Dr.James ได้ใช้ลูกฟุตบอล
และตะกร้าเป็ นอุปกรณ์สาหรับให้นกั กีฬาเล่น เขาได้นาตะกร้าลูกพีชไปแขวนไว้ที่ฝาผนังของห้องพลศึกษา
แล้วให้ผเู ้ ล่นพยายามโยนลูกบอลลงในตะกร้านั้นให้ได้ โดยใช้เนื้ อที่สนามสาหรับเล่นให้มีขนาดเล็กลงแบ่ง
ผูเ้ ล่นออกเป็ นข้างละ 7 คน ผลการทดลองครั้งแรกผูเ้ ล่นได้รับความสนุกสนานตื่นเต้น แต่ขาดความเป็ น
ระเบียบ มีการชนกัน ผลักกัน เตะกัน อันเป็ นการเล่นที่รุนแรง ในการทดลองนั้น ต่อมา Dr.James ได้ตดั การ
เล่นที่รุนแรงออกไป และได้ทาการวางกติกาห้ามผูเ้ ล่นเข้าปะทะถูกเนื้อต้องตัวกัน นับได้วา่ เป็ นหลักเบื้องต้น
ของการเล่นบาสเกตบอล Dr.James จึงได้วางกติกาการเล่นบาสเกตบอลไว้เป็ นหลักใหญ่ๆ 3 ข้อ ด้วยกัน คือ
1. ผูเ้ ล่นที่ครอบครองลูกบอลอยูน่ ้ นั จะต้องหยุดอยูก่ บั ที่หา้ มเคลื่อนที่ไปไหนประตูจะต้องอยูเ่ หนื อศีรษะของ
ผูเ้ ล่น และอยูข่ นานกับพื้น
2. ผูเ้ ล่นสามารถครอบครองบอลไว้นานเท่าใดก็ได้ โดยคู่ต่อสู ้ไม่อาจเข้าไปถูกต้องตัวผูเ้ ล่นที่ครอบครองบอล
ได้
3. ห้ามการเล่นที่รุนแรงต่างๆโดยเด็ดขาด ผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายจะต้องไม่กระทบกระแทกกันเมื่อได้วางกติกาการ
เล่นขึ้นมาแล้วก็ได้นาไปทดลอง และพยายามปรับปรุ งแก้ไขระเบียบดีข้ ึน เขาได้พยายามลดจานวนผูเ้ ล่นลง
เพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะกัน จนในที่สุดก็ได้กาหนดตัวผูเ้ ล่นไว้ฝ่ายละ 5 คน ซึ่งเป็ นจานวนที่เหมาะสมที่สุด
กับขนาดเนื้ อที่สนามDr.James ได้ทดลองการเล่นหลายครั้งหลายหน และพัฒนาการเล่นเรื่ อยมา จนกระทัง่
เขาได้เขียนกติกาการเล่นไว้เป็ นจานวน 13 ข้อ ด้วยกัน และเป็ นต้นฉบับการเล่นที่ยงั คงปรากฏอยูบ่ นกระดาน
เกียรติยศในโรงเรี ยนพลศึกษา ณ Springfield อยูจ่ นกระทัง่ ทุกวันนี้
2

กติกาบาสเกตบอล 13 ข้ อ ของ Dr.James มีดังนี้


1. ผูเ้ ล่นห้ามถือลูกบอลแล้ววิ่ง
2. ผูเ้ ล่นจะส่ งบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรื อสองมือก็ได้
3. ผูเ้ ล่นจะเลี้ยงบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรื อสองมือก็ได้
4. ผูเ้ ล่นต้องใช้มือทั้งสองเข้าครอบครองบอล ห้ามใช้ร่างกายช่วยในการครอบครองบอล
5. ในการเล่นจะใช้ไหล่กระแทก หรื อใช้มือดึง ผลัก ตี หรื อทาการใดๆให้ฝ่ายตรงข้ามล้มลงไม่ได้ ถ้าผูเ้ ล่นฝ่ า
ฝื นถือเป็ นการฟาวล์ 1 ครั้ง ถ้า ฟาวล์ 2 ครั้ง หมดสิ ทธิ์ เล่น จนกว่าฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดทาประตูกนั ได้จึงจะกลับมา
เล่นได้อีก ถ้าเกิดการบาดเจ็บระหว่างการแข่งขัน จะไม่มีการเปลี่ยนตัวผูเ้ ล่น
6. ห้ามใช้ขาหรื อเท้าแตะลูก ถือเป็ นการฟาวล์ 1 ครั้ง
7. ถ้าฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดทาฟาวล์ติดต่อกัน 3 ครั้ง ให้อีกฝ่ ายหนึ่งได้ประตู
8. ประตูที่ทาได้หรื อนับว่าได้ประตูน้ นั ต้องเป็ นการโยนบอลให้ลงตะกร้า ฝ่ ายป้ องกันจะไปยุง่ เกี่ยวกับประตู
ไม่ได้เด็ดขาด
9. เมื่อฝ่ ายหนึ่งฝ่ ายใดทาลูกบอลออกนอกสนาม ให้อีกฝ่ ายหนึ่งส่ งลูกเข้ามาจากขอบสนามภายใน 5 วินาที
ถ้าเกิน 5 วินาที ให้เปลี่ยนส่ ง และถ้าผูเ้ ล่นฝ่ ายใดพยายามถ่วงเวลาอยูเ่ สมอให้ปรับเป็ นฟาวล์
10. ผูต้ ดั สิ นมีหน้าที่ตดั สิ นว่าผูเ้ ล่นคนใดฟาวล์ และลงโทษให้ผเู ้ ล่นหมดสิ ทธิ์
11. ผูต้ ดั สิ นมีหน้าที่ตดั สิ นว่าลูกใดออกนอกสนาม และฝ่ ายใดเป็ นฝ่ ายส่ งลูกเข้าเล่น และจะทาหน้าที่เป็ น
ผูร้ ักษาเวลาบันทึกจานวนประตูที่ทาได้ และทาหน้าที่ทวั่ ไปตามวิสัยของผูต้ ดั สิ น
12. การเล่นแบ่งออกเป็ น 2 ครึ่ งๆละ 20 นาที
13. ฝ่ ายที่ทาประตูได้มากที่สุดเป็ นผูช้ นะ ในกรณี คะแนนเท่ากันให้ต่อเวลาออกไป และถ้าฝ่ ายใดทาประตูได้
ก่อนถือว่าเป็ นฝ่ ายชนะ
แม้วา่ กติกาการเล่นจะกาหนดขึ้นเพื่อเปิ ดโอกาสให้ผสู ้ ู งอายุได้เล่นเพื่อความสนุกสนานในแง่นนั ทนาการแต่
กีฬานี้ก็ได้รับความนิยมจากเยาวชนอย่างรวดเร็ วทั้งๆที่มีผคู ้ นเป็ นจานวนมากเห็นว่าเป็ นกีฬาสาหรับ
ผูอ้ ่อนแอและพยายามที่จะพิสูจน์ความเห็นนี้ดว้ ยการหาเรื่ องทะเลาะวิวาทกับผูเ้ ล่น บาสเกตบอลก็ตาม
อย่างไรก็ดี ความรู ้สึกเช่นนี้ค่อยๆเริ่ มจางหายไปเมื่อความรวดเร็ วและความแม่นยาในการ เล่นบาสเกตบอล
ได้สร้างความประทับใจและดึงดูดความสนใจของผูค้ นเพิ่มมากขึ้น และได้แพร่ กระจายไปทางตะวันออก
ของอเมริ กาอย่างรวดเร็ วและเมื่อโรงเรี ยนต่างๆได้ตระหนักถึงความสาคัญของกีฬาชนิดนี้จึงพากันนิยมเล่น
ไปทัว่ ประเทศ ก่อนปี ค.ศ. 1915 แม้วา่ บาสเกตบอลจะเป็ นกีฬาที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางเป็ นอย่าง
มากก็ตาม แต่ก็จากัดเป็ นเพียงการเล่นเพื่อออกกาลังกายในห้องพลศึกษาเท่านั้น ไม่มีองค์กรใดรับผิดชอบ
จัดการเล่นเป็ นกิจลักษณะ ยกเว้นองค์กรบาสเกตบอลอาชี พที่เกิดขึ้นเพียง 2-3 องค์กรแล้วก็เลิกล้มไป ฉะนั้น
การเล่นบาสเกตบอลในแต่ละที่แต่ละแห่งจึงต่างก็ใช้กติกาผิดแผกแตกต่างกันออกไป ทาให้เป็ นอุปสรรคต่อ
การเจริ ญเติบโตและการพัฒนากีฬาบาสเกตบอลเป็ นอย่างมากดังนั้นในปี ค.ศ. 1915 สมาคม Y.M.C.A.
สมาคมกีฬามหาวิทยาลัยแห่งชาติและสมาพันธ์กีฬาสมัครเล่นได้ร่วมประชุมเพื่อร่ างกติกาการเล่น
3

บาสเกตบอลขึ้นมาเพื่อเป็ นบรรทัดฐานเดียวกัน กติกานี้ไดใช้สืบมาจนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1938 และได้รับการ


ปรับปรุ งแก้ไขให้ดีข้ ึนในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ กครั้งที่ 11 ณ กรุ งเบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี
โดยคณะกรรมการโอลิมปิ กนานาชาติเป็ นผูพ้ ิจารณา สหรัฐอเมริ กายอมรับการเล่นบาสเกตบอลเป็ นกีฬา
ประจาชาติเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1892 ซึ่ งได้มีการเล่นบาสเกตบอลอย่างเป็ นทางการขึ้นเป็ นครั้งแรก
สมาคม Y.M.C.A. ได้นากีฬาบาสเกตบอลไปเผยแพร่ ในทุกส่ วนของโลก ได้แพร่ เข้าไปในประเทศจีนและ
อินเดียในราวปี ค.ศ. 1894, ฝรั่งเศส ในราวปี ค.ศ. 1895, ญี่ปุ่นราวปี ค.ศ. 1900 เกือบจะกล่าวได้วา่
บาสเกตบอลมีการเล่นในทุกประเทศทัว่ โลก ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 และคาดว่าก่อนปี ค.ศ. 1941 มี
ประชาชนทัว่ โลกเล่นกีฬาบาสเกตบอลเป็ นจานวนถึง 20 ล้านคน ในขณะนี้มีผนู ้ ิยมเล่นบาสเกตบอลกันทัว่
ทุกมุมโลก ไม่นอ้ ยกว่า 52 ประเทศ นอกจากนี้ได้มีการแปลกติกาการเล่นเป็ นภาษาต่างๆมากกว่า 30 ภาษา

ประวัติบาสเกตบอลในประเทศไทย
กีฬาบาสเกตบอลแพร่ หลายเข้ามาในประเทศไทยเป็ นครั้งแรกในสมัยใด ปี ใดนั้น มิได้มีหลักฐานที่
จะปรากฏยืนยันแน่ชดั ได้ ทราบแต่เพียงว่า ในปี พ.ศ.2477 นายนพคุณ พงษ์สุวรรณ อาจารย์สอนภาษาจีนที่
โรงเรี ยนมัธยมวัดบพิตรพิมุข ได้ช่วยเหลือกรมพลศึกษาจัดแปลกติกาการเล่นบาสเกตบอลขึ้น ต่อมาในปี
พ.ศ. 2478 กระทรวงธรรมการ ได้จดั การอบรมครู จงั หวัดต่างๆจานวน 100 คน ภายในระยะเวลา 1 เดือน และ
ได้รับความช่วยเหลือจากพ.ต.อ.หลวงชาติตระการโกศลผูซ้ ่ ึงมีความรู ้และเชี่ยวชาญทางการเล่นกีฬา
บาสเกตบอลคนหนึ่ง ทั้งได้เคยเป็ นตัวแทนของมหาวิทยาลัยเข้าร่ วมการแข่งขัน เมื่อครั้งท่านกาลังศึกษาอยู่
ในสหรัฐอเมริ กามาเป็ นผูบ้ รรยายเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีเล่นบาสเกตบอลแก่บรรดาครู ที่เข้ารับการอบรม
ต่อมาก็เป็ นผลทาให้กีฬาบาสเกตบอลแพร่ หลายไปทัว่ ประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2496 สมาคมบาสเกตบอล
สมัครเล่นแห่งประเทศไทยได้ถูกจัดตั้งขึ้นตามแบบอันถูกต้อง โดยจดทะเบียนที่สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ และ
ได้กลายมาเป็ นสมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทยในปี เดียวกันนั้นเอง และในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.
2496 สมาคมบาสเกตบอลแห่ งประเทศไทยก็ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมบาสเกตบอลระหว่างประเทศ
4

กติกาบาสเกตบอล
บาสเกตบอลเป็ นกีฬาที่เล่นระหว่างผูเ้ ล่น 2 ชุด ชุดละ 5 คน โดยมีจุดมุ่งหมายว่า แต่ละชุดต้องนาลูก
บอลไปโยนให้ลงห่วงประตูของคู่แข่งขัน และพยายามป้ องกันมิให้อีกฝ่ ายหนึ่งได้ครอบครองลูกบอล หรื อ
ทาคะแนน ทั้งนี้ผเู ้ ล่นอาจจะส่ ง โยน ปั ดกลิ้ง หรื อเลี้ยงลูกบอลไปยังทิศทางใดก็ได้ให้ถูกต้องตามกติกา

บาสเกตบอลทีม
แต่ละทีมจะประกอบไปด้วยผูเ้ ล่นไม่เกิน 10 คน และโค้ช 1 คน ผูเ้ ล่นคนใดคนหนึ่งจะเป็ นหัวหน้า
ทีม แต่ละทีมอาจจะมีผชู ้ ่วยโค้ชอีก 1 คน สาหรับทัวร์ นาเมนต์ที่ทีมนั้นจะต้องแข่งขันมากกว่า 3 ครั้ง จานวน
ผูเ้ ล่นในแต่ละทีมอาจจะเพิ่มเป็ น 12 คนก็ได้ ผูเ้ ล่น 5 คน ของแต่ละทีมจะต้องอยูใ่ นสนามแข่งขันระหว่าง
เวลาการแข่งขัน และสามารถเปลี่ยนตัวผูเ้ ล่นได้ตามที่ระบุไว้ในกติกาผูเ้ ล่นของทีมคือผูเ้ ล่น ที่อยูใ่ น
สนามแข่งขัน และถูกกาหนดว่าจะลงแข่งขันนอกเหนื อจากนี้แล้วจะเป็ นผูเ้ ล่นสารอง ดังนั้นผูเ้ ล่นสารองจะ
กลายเป็ นผูเ้ ล่นเมื่อผูต้ ดั สิ นได้ให้สัญญาณแจ้งให้เขา เข้าไปในสนามแข่งขัน และผูเ้ ล่นจะกลายเป็ นผูเ้ ล่น
สารองทันทีที่ผตู ้ ดั สิ นได้ส่งสัญญาณแก่ผทู ้ ี่จะ เข้ามาแทนผูเ้ ล่นคนนั้นให้เข้าไปในสนามแข่งขัน ผูเ้ ล่นแต่ละ
คนจะต้องมีหมายเลขที่ดา้ นหน้าและด้านหลังของเสื้ อที่ตนสวมใส่ โดยมีลกั ษณะเรี ยบธรรมดา
(ไม่มีลวดลาย) และมีสีทึบติดกับเสื้ อ หมายเลขจะต้องเด่นชัด สาหรับหมายเลขที่ติดด้านหลังจะต้องสู งไม่
น้อยกว่า 20 เซนติเมตร และหมายเลขที่ติดด้านหน้าจะต้องสู งไม่นอ้ ยกว่า 10 เซนติเมตร ทาด้วยวัสดุที่กว้าง
ไม่นอ้ ยกว่า 2 เซนติเมตร ทีมหนึ่ง ๆ จะต้องใช้หมายเลขตั้งแต่ 4 ถึง 15 ผูเ้ ล่นในทีมเดียวกันจะต้องไม่ใช้
หมายเลขซ้ ากัน
ชุ ดทีผ่ ้ เู ล่ นสวมใส่ จะต้ องประกอบไปด้ วยสิ่ งต่ อไปนี้
– เสื้ อทีม จะเป็ นสี เดียว มีลกั ษณะทึบสม่าเสมอเหมือนกันทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ต้องสวมใส่ โดยผูเ้ ล่นทุก
คนในทีมนั้นเสื้ อที่มีลายทางแบบริ้ วลายจะไม่อนุ ญาตให้ใช้
– กางเกงขาสั้น จะเป็ นสี เดียว มีลกั ษณะทึบสม่าเสมอเหมือนกันทั้งทีม และจะต้องสวมใส่ โดยผูเ้ ล่นทุกคน
ในทีมนั้น
– เสื้ อคอกลม (ทีเชิ้ต) อาจจะสวมใส่ ได้ภายในเสื้ อทีม แต่ถา้ สวมเสื้ อคอกลมจะต้องใช้เสื้ อคอกลมมีสีเดียว
และให้เหมือนกับสี ของเสื้ อทีม
– ชุดชั้นในของกางเกง ที่ยนื่ เลยต่ากว่ากางเกงขาสั้น อาจจะสวมใส่ ได้โดยมีขอ้ กาหนดว่าจะต้องมีสีเดียว
และเหมือนกับกางเกงขาสั้น
ในกรณี ที่เสื้ อทีมมีสีตรงกันให้ทีมเหย้าเปลี่ยนสี เสื้ อทีมเมื่อแข่งขันที่สนามกลาง หรื อในทัวร์ นาเมนต์ทีมที่มี
ชื่อแรกในโปรแกรมการแข่งขันและต้องเป็ นชื่อแรกในใบบันทึกจะต้องเปลี่ยนสี เสื้ อทีมเพราะในทัวร์ นา
เมนต์หนึ่งๆ แต่ละทีมจะต้องมีเสื้ อทีมอย่างน้อย 2 ชุด คือชุดที่เป็ นสี จาง และชุดที่เป็ นสี เข้ม
สาหรับการแข่งขันที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์ ให้ทีมที่มีชื่อแรกในโปรแกรมการแข่งขัน (ทีมเหย้า) สวมเสื้ อสี
จาง และทีมที่มีชื่อที่สอง (ทีมเยือน) สวมเสื้ อสี เข้ม
5

สาหรับการแข่งขันระดับสาคัญๆ ของฟี บ้า ผูเ้ ล่นในทีมเดียวกันจะต้องปฏิบตั ิดงั นี้


1. สวมรองเท้าซึ่ งมีสีเหมือนกัน
2. สวมถุงเท้าซึ่ งมีสีเหมือนกัน
ผูเ้ ล่นออกจากเขตสนามแข่งขันจะไม่อนุ ญาตให้ผเู ้ ล่นออกจากเขตสนาม เพื่อให้ได้เปรี ยบคู่แข่งขันอย่าง
ไม่ยตุ ิธรรม หัวหน้าทีม หน้าที่ และอานาจ เมื่อมีเหตุจาเป็ น หัวหน้าทีมจะต้องเป็ นผูแ้ ทนของทีมใน
สนามแข่งขันสามารถพูดกับผูต้ ดั สิ นเพื่อขอคาอธิ บาย หรื อเพื่อขอทราบข้อมูลที่จาเป็ น แต่ตอ้ งกระทาด้วย
ความสุ ภาพ ก่อนออกจากสนามแข่งขันด้วยเหตุอนั ควรใดๆ ก็ตาม หัวหน้าทีมต้องแจ้งต่อผูต้ ดั สิ นที่หนึ่งว่าผู ้
เล่นคนใดจะทาหน้าที่เป็ นหัวหน้าทีมแทนขณะที่เขาออกจากสนามแข่งขัน
คาอธิ บายกติกา ในกรณี บาดเจ็บของผูเ้ ล่น “ ถ้าผูเ้ ล่นที่บาดเจ็บได้รับการพยาบาล เขาต้องถูก
เปลี่ยนตัว ถ้าไม่เปลี่ยนตัวผูเ้ ล่นที่บาดเจ็บในกรณี ดงั กล่าว ทีมนั้นจะถูกปรับเป็ นเวลานอก ”จุดประสงค์ใน
กติกาข้อนี้คือ โค้ชมีสิทธิ์ ยอมเสี ยเวลานอก เพื่อให้ผเู ้ ล่นที่บาดเจ็บได้เข้าแข่งขันต่อไป แต่ทีมจะไม่ได้รับเวลา
นอกเต็ม 60 วินาที เท่ากับเวลานอกปกติ แต่ถา้ ไม่สามารถเปลี่ยนตัวผูเ้ ล่นที่บาดเจ็บภายในเวลา 1 นาที เขาจะ
ไม่มีสิทธิ์ แข่งขันต่อและจะต้องถูกเปลี่ยนตัว ลักษณะของการดาเนิ นการแข่งขันต่อ ภายหลังที่มีบอลตายด้วย
กรณี ใดๆ ก็ตาม ให้ดาเนินการแข่งขันต่อไปนี้ 1. ถ้าทีมใดทีมหนึ่งได้ครอบครองลูกบอลมาก่อน ให้ผเู ้ ล่น
ของทีมนั้นได้ส่งลูกบอลเข้าเล่นจากนอกเส้นข้างใกล้กบั จุดที่ บอลตายมากที่สุด 2. ถ้าไม่มีทีมใดได้
ครอบครองลูกบอลมาก่อน ให้เล่นลูกกระโดดที่วงกลมใกล้กบั จุดที่บอลตายมากที่สุด 3. หลังการฟาวล์
4. ภายหลังลูกยึด 5. ภายหลังการหมดเวลาแต่ละครึ่ งหรื อเวลาเพิ่มพิเศษ 6. ภายหลังลูกบอลออกนอกเขต
สนาม 7. ภายหลังการทาผิดระเบียบ

ผู้เล่ นสารอง
ผูเ้ ล่นสารองก่อนที่จะเข้าไปในสนามต้องรายงานตัวต่อผูบ้ นั ทึก และต้องพร้อมที่จะทาการแข่งขัน
ได้ทนั ที โดยผูบ้ นั ทึกจะต้องให้สัญญาณทันทีที่มีบอลตาย และหยุดเวลาการแข่งขัน แต่ตอ้ งกระทาก่อนที่ลูก
บอลจะเข้าสู่ การเล่นอีกครั้งหนึ่งภายหลังการทาผิด ระเบียบ เฉพาะทีมที่ไม่ได้ทาผิดระเบียบคือ ทีมที่จะส่ ง
ลูกบอลเข้าเล่นจากนอกเขตสนามทางเส้นข้างมีสิทธิ์ เปลี่ยนตัวผู ้ เล่น ถ้าได้มีสถานการณ์เช่นนี้ เกิดขึ้น อีกฝ่ าย
หนึ่งจะมีสิทธิ์ เปลี่ยนตัวได้ ผูเ้ ล่นสารองจะต้องรออยูน่ อกเส้นข้างจนกว่าผูต้ ดั สิ นได้ให้สัญญาณจึงจะเข้า ไป
ในสนามแข่งขันได้อย่างทันที การเปลี่ยนตัวต้องเสร็ จสิ้ นโดยเร็ วที่สุดเท่าที่จะทาได้ ถ้าผูต้ ดั สิ นเห็นว่ามีการ
ชักช้าโดยไร้เหตุผลอันควร ก็ให้เป็ นเวลานอกแก่ทีมที่ล่าช้านั้นผูเ้ ล่นที่จะเล่นลูกกระโดดจะไม่ให้ เปลี่ยนตัว
กับผูเ้ ล่นคนอื่น
6

ผูเ้ ล่นที่ได้เปลี่ยนตัวออกไปแล้วจะไม่ให้เข้าไปในสนามแข่งขันอีกในช่วงการเปลี่ยนตัวเดียวกันจะไม่ให้มี
การเปลี่ยนตัวในกรณี ต่อไป
1. ภายหลังการทาประตูได้ เว้นแต่วา่ ได้มีการให้เวลานอก หรื อมีการขานฟาวล์
2. จากช่วงเวลาตั้งแต่ลูกบอลเข้าสู่ การเล่นเพื่อการโยนโทษครั้งแรก หรื อครั้งเดียว กระทัง่ ได้มีบอลตายอีก
ครั้งหนึ่งของช่วงเวลาการเดินนาฬิกาจับเวลาการแข่งขัน หรื อกระทัง่ มีการขานฟาวล์ หรื อมีการกระทาผิด
ระเบียบก่อนจะเดินนาฬิกา การลงโทษสาหรับการโยนโทษ การเล่นลูกกระโดด หรื อการส่ งลูกบอลเข้าเล่น
จากนอกสนามทางเส้นข้าง ข้อยกเว้น ในกรณี ที่มีการทาฟาวล์ระหว่างการโยนโทษ จะอนุญาตให้มีการ
เปลี่ยนตัวได้ แต่เฉพาะเมื่อการดาเนินการโยนโทษและการฟาวล์ก่อนหน้านั้นได้เสร็ จสมบูรณ์ แล้วเท่านั้น
และก่อนที่ลูกบอลจะเข้าสู่ การเล่นสาหรับโทษของการฟาวล์ครั้งใหม่ ภายหลังการโยนโทษครั้งเดียวหรื อ
ครั้งสุ ดท้ายได้ผล เฉพาะผูโ้ ยนโทษเท่านั้น จะอนุญาตให้เปลี่ยนตัวได้ โดยมีขอ้ แม้วา่ ต้องขอเปลี่ยนตัวไว้
ก่อนลูกบอลจะเข้าสู่ การเล่นเพื่อโยนโทษ ครั้งแรกหรื อครั้งเดียวเท่านั้น ในกรณี น้ ีอีกฝ่ ายหนึ่งอาจจะ
เปลี่ยนตัวได้คนหนึ่ง โดยมีขอ้ แม้วา่ ได้ขอเปลี่ยนตัวไว้ก่อนที่ลูกบอลจะเข้าสู่ การเล่นก่อนการโยน โทษครั้ง
สุ ดท้ายหรื อครั้งเดียวนั้น ภายหลังจากที่ผบู ้ นั ทึกได้ให้สัญญาณเพื่อการเปลี่ยนตัว ไม่อาจจะบอกยกเลิกการ
ขอเปลี่ยนตัวได้อีก อย่างไรก็ตาม จะขอยกเลิกการขอเปลี่ยนตัวได้ทุกเวลา ก่อนที่ผบู ้ นั ทึกจะให้สัญญาณว่ามี
การขอเปลี่ยนตัว

คาอธิบายกติกาการเปลีย่ นตัว
1.เมื่อเกิดการฟาวล์การโยนโทษจะพิจารณาเป็ นชุดหรื อเป็ นกลุ่มของการฟาวล์
คานิยาม ชุดอาจจะมีลกั ษณะดังนี้ คือ โยนโทษ 1 ครั้ง หรื อโยนโทษ 1+1 หรื อโยนโทษ 2 ครั้ง หรื อโยนโทษ
3 ครั้ง กลุ่ม อาจจะมีลกั ษณะดังนี้ คือ
– โยนโทษ 1+1 และโยนโทษ 2 ครั้ง
– โยนโทษ 2 ครั้ง และโยนโทษ 2 ครั้ง + การครอบครองบอล
– โยนโทษ 1 ครั้ง และโยนโทษ 2 ครั้ง
– และการโยนโทษลักษณะผสมใด ๆ ของกลุ่มที่นอกเหนื อจากนี้
2. ถ้าภายหลังได้เริ่ มดาเนินการโยนโทษของกลุ่มการโยนโทษ แล้วปรากฎว่ามีการฟาวล์ หรื อการทาผิด
ระเบียบเกิดขึ้นก่อนจะเริ่ มเดินเวลาการแข่งขัน การลงโทษคือ การโยนโทษ (ครั้งเดียวหรื อหลายครั้ง) การ
เล่นลูกกระโดด หรื อการส่ งลูกบอลเข้าเล่นจากนอกเส้นข้างอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วก็ให้เปลี่ยนตัวเพิ่มได้อีก
7

ตาแห่ งของผู้เล่ นและผู้ตัดสิ น ตาแหน่งของผูต้ ดั สิ นจะถูกกาหนดโดยจุดสัมผัสกับพื้นสนามเมื่ออยูใ่ น


อากาศจากการกระโดด จะมีสภาพเช่นเดียวกับตอนสัมผัสพื้นสนามครั้งสุ ดท้ายเมื่อพิจารณาเกี่ยวกับเส้นขอบ
ของสนามเส้นกลาง เส้นเขตกาหนดการยิงประตูเพื่อทา 3 คะแนนเส้นโยนโทษ หรื อเส้นกาหนดเขตโยน
โทษ ตาแหน่งของผูต้ ดั สิ นจะถูกกาหนดเหมือนกับผูเ้ ล่น เมื่อลูกบอลถูกตัวผูต้ ดั สิ นก็เสมือนกับถูกพื้นสนาม
ในตาแหน่งที่ผตู ้ ดั สิ นยืน

วิธีการเล่นบาสเกตบอล กีฬาบาสเกตบอลคือ การเล่นลูกบอลด้วยมือ แต่การพาลูกบอลวิง่ การเตะ


ลูกบอล หรื อการชกลูกบอล เป็ นการทาผิดกติกาการเตะลูกบอลหรื อสกัดลูกบอลด้วยส่ วนหนึ่งส่ วนใดของผู ้
เล่นเป็ นการทาผิดกติกาได้ เมื่อการกระทาโดยจงใจเท่านั้นและการที่เท้าหรื อขาถูกลูกบอลโดยไม่ถือเป็ นการ
ทาผิดกติกา การครอบครองลูกบอล ผูเ้ ล่นได้ครอบครองลูกบอล เมื่อผูเ้ ล่นถือลูกบอลหรื อเลี้ยงลูกบอลหรื อ
ในกรณี ที่ครอบครองลูกบอลนอกเขตสนามก็ต่อเมื่อลูกบอลอยูใ่ นมือของผูเ้ ล่นเพื่อส่ งลูกบอลเข้าเล่น
ทีมครอบครองลูกบอล เมื่อผูเ้ ล่นของทีมนั้นได้ครอบครองลูกบอล รวมทั้งเมื่อลูกบอลถูกส่ งไปมาระหว่างผู ้
เล่นของทีมนั้น ซึ่ งทีมจะได้ครอบครองลูกบอลต่อไปจนกระทัง่ คู่แข่งขันได้แย่งการครอบครองลูกบอล หรื อ
เกิดมีบอลตาย หรื อได้มีการยิงประตูตอนที่ลูกบอลหลุดออกจากมือผูย้ งิ ประตูไปแล้ว ผูเ้ ล่นออกนอกเขต
สนาม ลูกบอลออกนอกเขตสนาม ผูเ้ ล่นจะออกนอกเขตสนามเมื่อสัมผัสพื้นบนเส้นขอบสนาม หรื อนอก
เขตสนาม ลูกบอลออกนอกเขตสนาม เมื่อถูกสิ่ งต่อไปนี้
1. ผูเ้ ล่นหรื อบุคคลอื่นผูซ้ ่ ึ งอยูน่ อกเขตสนาม
2. พื้นหรื อวัตถุอื่นใดนอกเขตสนาม
3. สิ่ งค้ ายันหรื อด้านหลังของกระดานหลัง
การที่ลูกบอลออกนอกเขตสนาม ลูกบอลถูกทาให้ออกนอกเขตสนาม โดยผูเ้ ล่นคนสุ ดท้ายที่ถูกลูกบอล
ก่อนที่ลูกบอลจะออกนอกเขตสนาม โดยถูกสิ่ งอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากผูเ้ ล่น ผูต้ ดั สิ นจะต้องแสดงสัญญาณ
อย่างชัดเจนว่าทีมใดจะได้ส่งลูกบอลเข้าเล่นจากนอกเขตสนามการทาให้ลูกบอลออกนอกเขตสนาม เป็ นการ
ทาผิดกติกา ผูต้ ดั สิ นต้องขานลูกยึดเมื่อไม่แน่ใจว่าทีมใดทาให้ลูกบอลออกนอกเขตสนาม
การเลี้ยงลูกบอล จะเกิดขึ้นเมื่อผูเ้ ล่นได้ครอบครองลูกบอล แล้วทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่โดยการโยน ปั ด หรื อ
กลิ้งลูกบอลแล้วไปถูกลูกบอลอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะไปถูกผูเ้ ล่นคนอื่น ในการเลี้ยงลูกบอลนั้น ลูกบอล
จะต้องถูกพื้นสนามภายหลังจากการทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ดงั กล่าวแล้ว ผูเ้ ล่นจะสิ้ นสุ ดการเลี้ยงลูกบอลทันที
ที่เขาได้สัมผัสลูกบอลด้วยสองมือ พร้อมๆ กัน หรื อทาให้ลูกบอลพักอยูใ่ นมือใดมือหนึ่ งหรื อทั้งสองมือ ไม่
จากัดว่าผูเ้ ล่นจะต้องก้าวเท้ากี่กา้ ว ขณะที่ลูกบอลไม่สัมผัสมือของเขา ผูเ้ ล่นจะต้องไม่เลี้ยงลูกบอลครั้งที่สอง
ภายหลังการเลี้ยงลูกบอลครั้งแรกสิ้ นสุ ดลง
8

เว้นแต่วา่ ได้เสี ยการครอบครองลูกบอลเพราะเหตุต่อไปนี้


1. ทาการยิงประตู
2. ถูกคู่แข่งปั ดลูกบอลออกจากการครอบครอง
3. การส่ งหรื อการทาลูกบอลหลุดจากมือโดยบังเอิญ แล้วลูกบอลไปถูกผูเ้ ล่นคนอื่น หรื อผูเ้ ล่นคนอื่นถูกลูก
บอล ผูเ้ ล่นที่โยนลูกบอลใส่ กระดานหลังแล้วไปถูกลูกบอลอีกก่อนที่ลูกบอลจะถูกผู ้ เล่นคนอื่น เป็ นการทา
ผิดกติกา เว้นแต่ผตู ้ ดั สิ นเห็นว่าเป็ นการยิงประตู ข้อยกเว้น ต่อไปนี้ไม่ใช่การเลี้ยงลูกบอล
1. การยิงประตูต่อเนื่องกัน
2. เสี ยการครอบครองลูกบอลโดยบังเอิญ (การที่ลูกบอลหลุดจากมือโดยบังเอิญ) ตอนเริ่ มต้นหรื อตอนสิ้ นสุ ด
การเลี้ยงลูกบอล และได้ครอบครองลูกบอลอีกครั้ง
3. ความพยายามที่จะครอบครองลูกบอล โดยการปั ดลูกบอลจากผูเ้ ล่นคนอื่นที่พยายามครอบครองลูกบอล
4. ปั ดลูกบอลจากการครอบครองของผูเ้ ล่นคนอื่น
5. สกัดกั้นการส่ งเพื่อให้ได้ลูกบอลไว้ครอบครอง
6.โยนลูกบอลไปมาจากมือหนึ่งไปยังอีกมือหนึ่ง (หรื อทั้งสองมือ) และถือลูกบอลไว้ก่อนที่ลูกบอลจะถูกพื้น
สนาม โดยมีขอ้ แม้วา่ ผูเ้ ล่นคนนั้นไม่ได้ทาผิดกติกาว่าด้วยการเคลื่อนที่พร้อมลูก บอล การเลี้ยงลูกบอลครั้งที่
สอง เป็ นการทาผิดกติกา

การยิงประตู
เป็ นขั้นตอนที่สาคัญที่สุดในการรุ ก และเป็ นจุดมุ่งหมายหลักของการเล่นบาสเกตบอล ซึ่ งทักษะแต่
ละคนมีไม่เท่ากันต้องอาศัยการฝึ กฝน องค์ประกอบที่ช่วยให้เกิดความแม่นยาได้แก่ วิธีการเล็ง วิธีโค้งของลูก
สิ่ งแวดล้อม สภาพร่ างกาย และจิตใจผูย้ งิ ประตู องค์ประกอบดังกล่าว มีผลต่อความแม่นยาเป็ นอย่างยิง่ เช่น
ในขณะที่เกมกาลังดาเนินการแข่งขันซึ่ งมักดาเนินด้วยความตื่นเต้นและดุเดือด เพราะผูเ้ ล่นมีความสามารถ
ในการเล่นเกมรับและเกมรุ กพอๆกัน โดยเฉพาะเวลาที่มีแต้มใกล้เคียงกันสภาพจิตใจต้องเยือกเย็น มัน่ คง มี
การตัดสิ นใจที่แน่วแน่กล้าที่จะสู ้และขณะเล่นต้องมีจุดเล็งที่ดีเช่นการยิงโดยไม่ให้ลูกกระทบแป้ น มีจุดเล็งที่
เป็ นจุดกระทบขึ้นอยูก่ บั มุมยิง ระยะทางแรงของบอลโดยเฉพาะมุมแคบใต้แป้ น จุดกระทบมักอยูส่ ู งและไกล
จากห่วงส่ วนมุมยิงกว้างมุมกระทบมักจะต่าและใกล้ห่วงประตูนอก จากนี้ความโค้งของส่ วนเดินทางของลูก
สู่ ห่วงประตูตอ้ งมีความโค้งที่มีขีดจากัด ดังนั้นความสู งต่าของความโค้งขึ้นอยูก่ บั ความกว้างของมุมยิงจาก
มือ และเพื่อเพิ่มความแม่นยา ในระยะทางที่ปานกลางควรมีวถิ ีโค้งปานกลางโดยทัว่ ไปจุดสู งสุ ดของส่ วน
โค้งจะอยูร่ ะดับขอบบนของแป้ น (ไม่รวมลูกกระทบแป้ น) สาหรับทิศทางและความเร็ วของการหมุนของลูก
นั้น มาจากออกแรงของข้อมือนิ้วมือ ขณะที่บอลออกจากมือและอยูก่ ลางอากาศซึ่ งจะทาให้ลูกหมุนเข้าหาผู ้
ยิงโดยใช้ขวางของลูกเป็ นแกนหมุน ดังนั้นการรักษาทิศทางทางและความแรงของลูกไว้จะช่วยเพิม่ ความ
แม่นยาของลูกไว้
9

สิ่ งที่จะช่วยให้ประสบผลสาเร็ จคือ โอกาสและพละกาลังของผูเ้ ล่นที่ยงิ ลูกด้วย โดยทัว่ ไปมีวธิ ี การดังนี้


1. มือเดียวเหนือศีรษะ
2. สองมือเหนือศีรษะ
3. ยิงใต้ห่วง(เลย์อพั )
เป็ นการยิงประตูระหว่างการเคลื่อนที่ในขณะที่วงิ่ แล้วกระโดดขึ้นไปยิงประตู มักใช้ในการบุกเร็ วและเมื่อ
เจาะผ่านไปใต้แป้ นซึ่ งสามารถเข้าไปใกล้ใต้ห่วงมากที่สุด ผูเ้ ล่นทุกคนต้องฝึ กฝนให้เกิดความชานาญ
รวดเร็ ว แม่นยา และสามารถยิงได้ 2 มือทั้งมือซ้ายและมือขวา การยิงลูกใต้ห่วงอย่างนี้ เป้ ฯการผสมทักษะ
หลายทักษะเข้าด้วยกัน คือการเลี้ยงลูกพร้อมกับวิง่ กระโดด และชูลูกขึ้นยิงประตู บางครั้งผูเ้ ล่นต้องหลีก
จากการถูกปั ดขณะลอยตัวอยูด่ ว้ ยทั้งนี้ทิศทางการวิง่ เข้ายิงประตูแบ่งได้ 3 ทิศทางคือ
1. ทิศทางหน้าตรงห่วง ยิงด้วยมือที่ถนัด
2. ทิศทางด้านขวา ยิงด้วยมือขวา
3. ทิศทางด้านซ้าย ยิงด้วยด้านซ้าย
การยิงใต้ห่วงจะยิงด้วยมือเดียวหรื อ 2 มือก็ได้ แต่ส่วนมากมักยิงด้วยมือเดียวลักษณะของมือในการยิง
มี 3 แบบคือ 1. แบบคว่ามือ 2. แบบหงายมือ 3.แบบ 2 มือ
บทลงโทษ ให้คูแ่ ข่งขันได้ส่งลูกบอลเข้าเล่นจากนอกเส้นข้าง ณ จุดที่ใกล้กบั การทาผิดกติกามากที่สุด
การหมุนตัว จะเกิดขึ้นเมื่อผูเ้ ล่นที่กาลังถือลูกบอลก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งเพียงเท้าเดียว 1 ก้าว หรื อหลายๆ ก้าวใน
ทิศทางต่างๆ โดยเท้าอีกข้างหนึ่งจะเป็ นเท้าหลัก (หรื อเท้าหมุน) ซึ่ งยังคงสัมผัสพื้น ณ จุดที่ตนยืนอยูน่ ้ นั

สนามแข่ งขัน
สนาม 28 x 15 เมตร ( เล็กสุ ด 26x 14 เมตร ) เพดานไม่ต่ากว่า 7 เมตร เส้นสนาม 5 ซม. ทุกเส้น ลูก
บาสเกตบอล ขนาดเบอร์ 7 เส้นรอบวง74.9-78 ซม. หนัก 567 – 650 กรัม การกระดอน ปล่อยจากจุด 180 ซม.
ต้องกระดอนระหว่าง 120 – 140 ซม.
10

ประโยชน์ การเล่นบาสเกตบอล
1. พัฒนากลไกการเคลื่อนไหวของร่ างกายให้ดีข้ ึน โดยมีการทางานประสานกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อและ
ระบบประสาท เช่น การประสานงานของมือกับตา เท้ากับตา มือกับเท้า เป็ นต้น
2. ฝึ กให้มีน้ าใจนักกีฬา ทาให้เป็ นคนใจกว้าง รู ้แพ้ รู ้ชนะ รู ้อภัย ยอมรับความคิดเห็นและความสามารถของ
ผูอ้ ื่น ตลอดจนเคารพต่อกฎกติกา ระเบียบของการแข่งขันบาสเกตบอล
3.นาไปใช้ในการจัดการจัดการเรี ยนการสอนวิชาพลศึกษา ในการเรี ยนวิชาพลศึกษาทุกช่วงชั้นแทบทุก
โรงเรี ยนมักมีการจัดกีฬาบาสเกตบอลเป็ นกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้เพื่อการออกกาลังกาย
4. ทาให้ร่างกายแข็งแรง การเล่นกีฬาบาสเกตบอลจะให้ได้ออกกาลังกาย จงส่ งผลให้ร่างกายแข็งแรง
5. พัฒนาและเสริ มสร้างสมรรถภาพทางกาย การเล่นบาสเกตบอลต้องใช้ความสามารถทางร่ างกายหลายด้าน
เช่น ความเร็ ว ความคล่องตัว ความแข็งแรง ความอดทน เป็ นต้น จึงส่ งผลให้มีสมรรถภาพทางกายดีข้ ึน
6. ทาให้เกิดความรักใคร่ สามัคคีในหมู่คณะ บาสเกตบอลเป็ นกีฬาประเภททีม ผูเ้ ล่นต้องฝึ กซ้อมร่ วมกัน
ประสานสัมพันธ์กนั ในการเล่น มีการช่วยเหลือกัน เกิดความเห็นอกเห็นใจกัน
7. ทาให้มีไหวพริ บดี ฉลาด และแก้ปัญหาได้ดี การเล่นบาสเกตบอลต้องมีการเผชิ ญหน้ากับคู่แข่งขัน มีการ
หลบหลีก หลอกล่อเข้าแย่งลูกบอล ทาให้ตอ้ งคิดและมีการตัดสิ นใจตลอดเวลา
8. ทาให้สนุกสนาน เพลิดเพลิน กีฬาบาสเกตบอลเป็ นกีฬาที่เล่นสนุก คลายความตึงเครี ยดในการประกอบ
ภารกิจประจาวันได้
9. ทาให้มีจิตใจหนักแน่นควบคุมอารมณ์ได้ดี การเล่นบาสเกตบอลย่อมมีการกระทบกระทัง่ กันอยูบ่ ่อยครั้ง
จึงเป็ นการช่วยฝึ กจิตใจให้หนักแน่น และควบคุมอารมณ์โกรธ เพราะเป็ นการกระทบกระทัง่ กันในเกมการ
เล่น

มารยาทของการเป็ นผู้เล่ น และผู้ดูกฬ ี าบาสเกตบอล


กีฬาบาสเกตบอลเป็ นกีฬาที่มีผเู ้ ล่น 2 ฝ่ ายแข่งขันกัน ไม่มีตาข่ายมากั้น สนามไม่ใหญ่นกั และต้องมี
การเคลื่อนไหวอยูต่ ลอดเวลา แม้กติกาจะห้ามถูกตัว ปะทะ ชน กระแทกกัน แต่ในการเล่นจริ งๆ แล้วย่อม
หลีกเลี่ยงได้ยาก ถ้าผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายไม่ให้อภัยกัน ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ ไม่เคารพกติกา ปัญหาการ
ทะเลาะวิวาทอาจเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง ในฝ่ ายของผูด้ ูก็ตอ้ งรักษามารยาทด้วยเช่นกัน ทั้งผูเ้ ล่นและผูด้ ูจึงต้องมี
มารยาทในการเล่นและดูดงั นี้
1. มารยาทของผูเ้ ล่นที่ดี มีดงั นี้
1.1 แต่งกายในชุดที่เหมาะสมกับการเล่นกีฬาบาสเกตบอล
1.2 ปฏิบตั ิตามกฎกติกา และระเบียบการแข่งขันอย่างเคร่ งครัด
1.3 ต้องมีน้ าใจนักกีฬา
1.4 ต้องเล่นด้วยความสุ ภาพ และมีมารยาทของนักกีฬา
1.5 ไม่แสดงอาการดีใจ หรื อเสี ยใจในผล แพ้ / ชนะจนเกินไป
11

1.6 ยอมรับการตัดสิ นของผูต้ ดั สิ น ไม่โต้เถียง หรื อแสดงกิริยาที่ไม่ดีต่อผูต้ ดั สิ น


1.7 รู ้จกั ระงับอารมณ์เมื่อเกิดการยัว่ ยุและกระทบกระทัง่ จากฝ่ ายตรงข้าม
1.8 ต้องเล่นอย่างสุ ดความสามารถไม่วา่ จะแพ้ หรื อชนะ
1.9 เมื่อเกิดการเล่นผิดพลาดขึ้นในทีมจะต้องไม่วา่ กัน
1.10 ก่อนการแข่งขัน และหลังแข่งขันให้จบั มือกับผูแ้ ข่งขัน และไหว้ขอบคุณผูต้ ดั สิ น และผูช้ ่วยผูต้ ดั สิ นเมื่อ
เสร็ จสิ้ นการแข่งขัน
2. มารยาทของผูด้ ูที่ดี มีดงั นี้
2.1 ควรนัง่ หรื อยืนดูให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ไม่บงั ผูอ้ ื่น ไม่กีดขวางการเล่นของนักกีฬา และทาหน้าที่ของผู ้
ตัดสิ น
2.2 ต้องมีน้ าใจนักกีฬา
2.3 ปรบมือแสดงความยินดีกบั ผูเ้ ล่นที่เล่นได้ดี
2.4 ไม่แสดงกิริยาท่าทางหรื อส่ งเสี ยงยัว่ ยุให้ผเู ้ ล่นไม่มีสมาธิ ในการเล่น หรื อนาไปสู่ การเกิดเรื่ อง
ทะเลาะวิวาท
2.5 ยอมรับการตัดสิ นของผูต้ ดั สิ น ไม่ควรแสดงกิริยาหรื อวาจาที่ไม่สุภาพต่อผูต้ ดั สิ น
2.6 ไม่ประท้วง โห่ หรื อ ขว้างปา วัตถุใดๆ ลงไปในสนามแข่งขัน
2.7 ไม่ทาให้สนาม หรื อสถานที่แข่งขันสกปรก
2.8 แสดงความยินดีกบั ผูช้ นะ และเป็ นกาลังให้กบั ผูแ้ พ้

การดูแลรักษาอุปกรณ์ การดูแลรักษาอุปกรณ์เป็ นสิ่ งที่ผใู ้ ช้อุปกรณ์ทุกคนต้องร่ วมกันรับผิดชอบ เพื่อให้


อุปกรณ์มีความทนทานใช้งานได้นานที่สุด คุม้ ค่ากับงบประมาณที่ซ้ื ออุปกรณ์มา
ซึ่ งควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ควรทาความสะอาดลูกบาสเกตบอลที่เปรอะเปื้ อนด้วยการใช้ผา้ แห้งเช็ด
2. ถ้าลูกบอลตกน้ าให้รีบเก็บขึ้นมา และเช็ดให้แห้ง
3. ไม่ควรสู บลูกบอลจนแข็งเกินไป ถ้าจะเอาลมออก ก็ควรใช้เข็มที่ใช้กบั ลูกบาสเกตบอล ไม่ควรใช้ของ
4. แหลมแทงที่จุบ๊ เพื่อปล่อยลม
5. ไม่ควรนัง่ ทับลูกบาสเกตบอล
6. ไม่ควรให้ลูกบาสเกตบอลตากแดด ตากฝนเป็ นเวลานาน
7. ควรเก็บลูกบาสเกตบอลในที่ที่เหมาะสม เช่น เก็บในรถเข็นใส่ อุปกรณ์ เป็ นต้น
8. ตรวจนับลูกบาสเกตบอลก่อนและหลังเล่นทุกครั้งว่าอยูค่ รบหรื อไม่
9. รักษาพื้นสนามให้เรี ยบ สะอาด ถ้าเป็ นพื้นไม้ปาเกต์ควรเช็ดถูดว้ ย
10. สารวจเสา กระดานหลังห่วงประตูวา่ มัน่ คงอยูห่ รื อไม่ถา้ หลวม โยก คลอน ต้องรี บซ่อมทันที
11. ไม่ควรโหน หรื อโยกเสา ห่วงประตู หรื อตาข่าย

You might also like