You are on page 1of 14

การใช้วิศวกรรมย้อนรอยและระเบียบวิธี

ไฟไนต์เอลิเมนต์ ในการวิเคราะห์
ความแข็งแรงของพระพุทธรูป
Endurable Analysis of Buddha Model
Using Reverse Engineering and
Finite Element Method

วีรพงษ์ นิจโรจน์กุล 1
อภิชาต แจ้งบำรุง 2

บทคัดย่อ
งานวิ จั ย นี้ เ ป็ น การใช้ ก ระบวนการทาง ทั้งนี้เนื่องจากผลของแรงกระทำหลักที่กระทำต่อ
วิศวกรรมย้อนรอยและระเบียบวิธีทางไฟไนต์เอลิ- โครงสร้ า งองค์ พ ระคื อ แรงกระทำจากลมที่ ม า
เมนต์ ม าทำการศึ ก ษาถึ ง ความแข็ ง แรงของ ปะทะนั่ น เอง การใส่ แ รงอั น เนื่ อ งมาจากลมที่
พระพุ ท ธรู ป ที่ จ ะดำเนิ น การสร้ า งจริ ง ที่ อำเภอ กระทำต่อองค์พระคำนวณโดยใช้มาตรฐานการ
ห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี โดยการศึกษาจะ คำนวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารของ
ทำการสร้ า งแบบจำลองทางคอมพิ ว เตอร์ จ าก กรมโยธาธิการ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า แรงกระทำ
พระพุทธรูปต้นแบบโดยใช้วิธีการทางวิศวกรรม ต่อองค์พระเนื่องจากลมจะเกิดผลความเค้นสูงสุด
ย้อนรอยและกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ช่วยใน ที่บริเวณข้อพระบาทขององค์พระ และที่ความเร็ว
การออกแบบ จากนั้ น นำแบบจำลองที่ ได้ ม า ลม 33 เมตรต่อวินาทีซึ่งเป็นความเร็วลมเทียบ
ทำการวิเคราะห์ถึงความแข็งแรงของโครงสร้าง เท่ากับความเร็วลมของพายุโซนร้อนที่เกิดขึ้นใน
ด้ ว ยระเบี ย บวิ ธี ท างไฟไนต์ เ อลิ เ มนต์ โดยใน ประเทศไทยจะส่งผลให้เกิดความเค้นขนาด 0.37
การจำลองได้ ใช้ แ รงลมจากข้ อ มู ล ของกรม MPa ที่บริเวณข้อพระบาทขององค์พระพุทธรูป
อุตุนิยมวิทยาในบริเวณสถานที่ก่อสร้างจริงมาเป็น จำลอง ซึ่ ง ความเค้ น นี้ ยั ง ไม่ ส ามารถทำให้ เ กิ ด
ข้ อ มู ล ในการคำนวณแรงที่ ก ระทำต่ อ องค์ พ ระ ความเสียหายต่อองค์พระได้
1
นิสิตปริญญาโท หลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิทยาเขตบางเขน
2
อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

95
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
คำสำคั ญ : วิ ศ วกรรมย้ อ นรอย เครื่ อ ง wind velocity of 33 m/s, the speed of
เก็บพิกัดระบบเลเซอร์ ระเบียบวิธีทางไฟไนต์เอลิ- tropical storms occurring in Thailand, the
เมนต์ value of the maximum stress is 0.37 MPa
which occurs at the ankle area of the
Abstract Buddha image. This maximum stress value
This research uses the procedure cannot cause the collaps of the Buddha
of reverse engineering a long with the image that will be constructed.
finite element method to study the
strength of the Buddha image that Keywords: reverse engineering, 3D
will be built at Amphur Huay-Krajao, laser scanner, finite element method
Kanchanaburi Province. A computer model
of the Buddha image was created from a 1. บทนำ
real original Buddha image using reverse นับตั้งแต่ ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ศาสตร์
engineering and computer aid design ของกระบวนการทางวิศวกรรมนั้น มักเป็นสิ่งที่
techniques. The finite element method เกี่ยวข้องกับงานทางด้านการออกแบบ การผลิต
was used to analyse the strength of the การก่ อ สร้ า ง การบำรุ ง รั ก ษาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ระบบ
Buddha image that will be built. In the ตลอดจนโครงสร้างต่าง ๆ โดยอาศัยกระบวนการ
case of the strength analysis, the wind ทำงานใน 2 ลักษณะ ได้แก่ กระบวนการที่ดำเนิน
velocity data at the place where the ไปตามลำดั บ ขั้ น ตอนทางวิ ศ วกรรม (Forward
Buddha image will be constructed was Engineering) และวิศวกรรมย้อนรอย (Reverse
requested from the Meteorological Engineering)
Depar tment of Thailand. This wind สำหรั บ กระบวนการวิ ศ วกรรมย้ อ น[1]
velocity data was used to calculate the นั้นเป็นกระบวนการย้อนกลับทางวิศวกรรมที่สร้าง
forces which have an impact on the แบบของชิ้นงาน ให้มีรูปร่างและคุณสมบัติเหมือน
Buddha image. This wind velocity data กับวัตถุต้นแบบที่มีอยู่จริงซึ่งอาศัยหลักการการ
was converted to wind force by using ตรวจสอบข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค และข้ อ มู ล อื่ น ๆ
the standard of wind power calculation ที่เกี่ยวข้องกับชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ถือ
and the reaction of the Public Works เป็ น ศาสตร์ ท างด้ า นวิ ศ วกรรมแขนงหนึ่ ง ที่ มี
Department. The results of the strength การนำไปประยุกต์ ใช้กับงานในด้านต่าง ๆ อาทิ
analysis show that maximum stress occurs งานด้านการแพทย์ งานด้านโบราณคดี งานด้าน
at the ankle of the Buddha image. At a วิศวกรรม เช่น การออกแบบและผลิต เป็นต้น

96
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
ในงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและ เมตตาประชาไทย ไตรโลกนาถ คันธาราฐอนุสรณ์
ผลิตนั้น วิศวกรรมย้อนรอยหมายถึงกระบวนการ ที่ถูกสร้างโดยจำลองมาจากองค์พระพุทธศิลปะ
สร้างแบบจำลองของผลิตภัณฑ์ ในคอมพิวเตอร์ คันธารรัฐ ปางขอฝน (ยืน) ความสูง 56 เมตร
โดยอ้างอิงจากผลิตภัณฑ์จริง (The Part-to-CAD (28 วา) จากพระบาทถึ ง พระเกศ ที่ ป ระเทศ
Process) เช่นในกรณีที่ผู้ออกแบบได้สร้างสรรค์ อัฟกานิสถานที่ถูกทำลายไป โดยที่ต้นแบบจะถูก
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต้ น แบบจากการปั้ น ดิ น เหนี ย ว ปู น - ตรวจวัดรูปร่างและคัดลอกโดยใช้เทคโนโลยีสแกน
ปลาสเตอร์ ไม้ หรื อ วั ส ดุ อื่ น ๆ แต่ ไ ม่ ส ามารถ 3 มิ ติ เพื่ อ ให้ ได้ ข้ อ มู ล และแบบจำลองทาง
สร้ า งแบบจำลองคอมพิ ว เตอร์ (CAD Model) คอมพิวเตอร์ที่ ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานทางวิศวกรรม
ของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเพื่อนำไปใช้ ในการผลิตอัน ในการจั ด สร้ า งองค์ พ ระพุ ท ธเมตตาประชาไทย
เนื่องมาจากเหตุผลความซับซ้อนของผลิตภัณฑ์ ไตรโลกนาถ คั น ธาราฐอนุ ส รณ์ ที่ อ ำเภอห้ ว ย-
ต้นแบบหรือการที่ ไ ม่สามารถทราบมิติที่แน่นอน กระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็นพระพุทธรูป
ถู ก ต้ อ ง ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารใช้ ก ระบวนการทาง (ยืน) ที่มีความสูง 32 เมตร (16 วา) ซึ่งมีความ
วิศวกรรมย้อนรอยเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว พิเศษ คือการทรงประทับยืนด้วยสองพระบาทโดย
ในการใช้ ห ลั ก ของกระบวนการทาง ไม่ มี อ ะไรมายึ ด ติ ด ด้ า นหลั ง ขององค์ พ ระ ซึ่ ง ใน
วิศวกรรมย้อนรอย [2] ในอุตสาหกรรมการผลิต ปัจจุบันถ้าการดำเนินการสร้างแล้วเสร็จจะถือว่า
ชิ้นส่วนคือการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์ 3 เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ป ระทั บ ยื น ด้ ว ยสองพระบาท
มิ ติ (3D CAD Model) ให้ เ หมื อ นกั บ ชิ้ น งาน โดยที่ ไ ม่ มี อ ะไรมายึ ด ติ ด ด้ า นหลั ง ที่ สู ง ที่ สุ ด และ
ต้นแบบที่มีรูปร่างของชิ้นงานที่มีความโค้งเว้าของ ใหญ่ที่สุดเท่าที่มีการดำเนินการสร้างจริงนับตั้งแต่
พื้นที่ผิวที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องซึ่งทำให้การ มี ก ารจั ด สร้ า งพระพุ ท ธรู ป ลั ก ษณะแบบนี้ ใน
วาดแบบจำลองคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม CAD ประเทศไทย และนอกจากนี้ยังเป็นพระพุทธรูป
ทั่วไปทำไม่ ได้เนื่องจากไม่สามารถวัดมิติของชิ้น องค์ แ รกที่ ไ ด้ น ำเอากระบวนการทางวิ ศ วกรรม
งานได้อย่างถูกต้องด้วยเครื่องมือวัดทั่วไป ดังนั้น ย้ อ นรอยเข้ า มาช่ ว ยในการสร้ า งแบบจำลอง
กระบวนการทางด้านวิศวกรรมย้อนรอยจึงถูกนำ คอมพิวเตอร์ ได้นำข้อมูลที่ ได้มาทำการวิเคราะห์
มาใช้ โ ดยอาศั ย เครื่ อ งมื อ หลั ก 2 ส่ ว นอั น ได้ แ ก่ โดยระเบียบวิธีทางไฟไนต์เอลิเ มนต์เพื่อให้ทราบ
เครื่องเก็บค่าพิกัดสามมิติระบบเลเซอร์และเครื่อง ถึ ง ความแข็ ง แรงของตั ว องค์ พ ระพุ ท ธรู ป ที่ จ ะ
เก็บค่าพิกัดสามมิติระบบอ็อปติค [3,4,7,8] เพื่อใช้ ทำการก่อสร้างเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนที่จะ
ในการเก็บค่าของพิกัดและสร้างเป็นแบบจำลอง ลงมือสร้างจริงต่อไป
ทางคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ ในการผลิตต่อไป
ในงานวิจัยนี้ ได้นำกระบวนการทางด้าน 2. ระเบียบวิธีวิจัย
วิศวกรรมย้อนรอยมาใช้ ในการสร้างแบบจำลอง งานวิจัยนี้ดำเนินการโดยมีขั้นตอนดังนี้
ทางคอมพิวเตอร์จากต้นแบบขององค์พระพุทธ- 1. นำองค์ พ ระพุ ท ธเมตตาประชาไทย

97
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
ไตรโลกนาถ คันธาราฐอนุสรณ์ ที่ทำการขึ้นรูป 3 มิติแบบ 3D-Optical Scanner และทิศทาง
โดยการปั้นโดยช่างปั้น ซึ่งอาศัยแบบจากองค์จริง ของมุมที่เครื่องทำการเก็บค่าพิกัดต่าง ๆ
ที่ประเทศอัฟกานิสถาน ก่อนถูกทำลาย 2. นำค่าที่ ได้มาทำการตกแต่งโครงพื้นผิว
2. นำต้นแบบที่ ได้จากการปั้นมาทำการ รูป 3 เหลี่ยม (Triangle) พร้อมจัดเส้นโครงร่าง
เก็บพิกัดและตำแหน่งต่าง ๆ โดยหลักการและ (NURB) ให้สวยงาม
เทคนิคของกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย เพื่อที่ 3. จัดเก็บข้อมูลของรูปแบบ รูปร่างของ
จะได้แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์เบื้องต้นก่อน ต้นแบบ 3 มิติ (Final 3D Model) เครื่องเก็บ
ทำการปรับแต่ง พิกัดสามมิติระบบเลเซอร์ที่นำมาใช้ ในงานวิจัยนี้
3. ทำการปรั บ ปรุ ง และปรั บ แต่ ง แบบ เป็นเครื่องที่ติดตั้งและใช้งานอยู่ที่ สถาบันค้นคว้า
จำลองทางคอมพิวเตอร์ที่ ได้ โดยใช้ โปรแกรมทาง และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม
ด้าน CAD (RDiPT) คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย
4. คำนวณความแข็งแรงของตัวองค์พระ เกษตรศาสตร์ โดยตัวเครื่องจะประกอบด้วย 2
ในกรณีที่ถูกลมพัดโดยใช้วิธีการทางระเบียบวิธี ส่วนคือ ชุดหัวจับพิกัดสามมิติระบบเลเซอร์และ
ทางไฟไนต์ เ อลิ เ มนต์ โ ดยตั้ ง สมมุ ติ ฐ านที่ ว่ า องค์ ชุดแขนกล โดยอุปกรณ์ทั้งสองนี้จะทำงานร่วมกัน
พระจะโดนลมพัดทำให้แตกหักเสียหาย โดยวัสดุที่ เพื่ อ ใช้ ในการเคลื่ อ นที่ ข องหั ว ตรวจจั บ สามมิ ติ
ใช้สร้างองค์พระทำจากคอนกรีตเพียงอย่างเดียว ระบบเลเซอร์ ไปเก็ บ พิ กั ด รู ป ทรงของชิ้ น งานที่
ซึ่งมีความเปราะและไม่คำนึงถึงผลอื่น ๆ ที่กระทำ ตำแหน่งต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วน
กั บ องค์ พ ระ เช่ น น้ ำ หนั ก องค์ พ ระที่ ก ระทำต่ อ 3.1 ชุดหัวจับพิกัดสามมิติระบบเลเซอร์
โครงสร้าง การทำงานพื้ น ฐานของเครื่ อ งเก็ บ พิ กั ด
5. นำผลจากการคำนวณมาวิเคราะห์ถึง สามมิติระบบเลเซอร์ [5] จะใช้หลักการฉายแสง
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากแรง เป็ น แนวทแยงสามเหลี่ ย ม (Triangulation
ลมที่มากระทำเพื่อเสนอแนะสำหรับการสร้างจริง Principle) ลงบนวัตถุและภาพที่ ได้จะมีลักษณะ
เหมื อ นจริ ง ทั้ ง ขนาดและรู ป ทรง โดยหลั ก การ
3. อุปกรณ์และวิธีการ ดังกล่าว คือ การทราบค่าระยะ และค่ามุมตกกระ
งานวิ จั ย นี้ ต้ น แบบขององค์ พ ระพุ ท ธ- ทบก็ จ ะสามารถหาตำแหน่ ง ของจุ ด ได้ แหล่ ง
เมตตาประชาไทย ไตรโลกนาถ คันธาราฐอนุสรณ์ กำเนิ ด แสงเลเซอร์ (Laser Source) ส่ ง แสง
จะถู ก นำมาเก็ บ ค่ า พิ กั ด จุ ด โดยใช้ เ ครื่ อ งเลเซอร์ เลเซอร์ ไปกระทบวั ต ถุ และจะสะท้ อ นกลั บ มา
3 มิติ โดยที่เครื่องจะทำการวัดขนาดและตำแหน่ง กระทบกับส่วนรับลำแสงซึ่งจะมีเลนส์ และกล้อง
พิกัดของผิวโดยมีขั้นตอนดังนี้ คือ CCD (Charge Coupled Device) ภายใน
1. เริ่ ม จากการเก็ บ ค่ า กลุ่ ม พิ กั ด จุ ด ประกอบด้วยหน่วยรับสัญญาณ (Pixel) ซึ่งภายใน
(Cloud Points) ของต้นแบบด้วยเครื่องมือเก็บค่า ประกอบด้ ว ยไดโอด (Diode) หน่ ว ยแปลง

98
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
สัญ ญาณภาพ (Shutter) หน่วยขยายสัญญาณ 3.2 ชุดแขนกล (Articulated Arm)
(Voltage Amplifier) หน่วยลดสัญญาณรบกวน ชุดแขนกลรุ่น Cimcore 3000i จะใช้งาน
(CDS) และหน่ ว ย สะสมประจุ (Charge ร่ ว มกั บ หั ว ตรวจจั บ สามมิ ติ ร ะบบเลเซอร์ เ พื่ อ ใช้
Accumulators) จากนั้ น สั ญ ญาณจะถู ก แปลง ในการเคลื่ อ นที่ ข องหั ว ตรวจจั บ สามมิ ติ ร ะบบ
ตำแหน่งในแนว U และV ในรูปของเมตริก เพื่อ เลเซอร์ ไปเก็บพิกัดต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วนและ
ให้จุดต่าง ๆ ไปปรากฏในคอมพิวเตอร์ ครอบคลุมทุกตำแหน่ง

ภาพที่ 3 ชุดแขนกล

3.3 วิธีการ
ภาพที่ 1 แสดงรายละเอียดการทำงาน ขั้นตอนการทำวิจัยแสดงใน Flow Chat
ของเครื่องเก็บพิกัดเลเซอร์ ด้านล่าง

ภาพที่ 2 ชุ ด หั ว เลเซอร์ ส แกน Kreon ภาพที่ 4 ผัง Flow Chat ขั้นตอนการ


รุ่น KZ-50 ทำงาน

99
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
ในการทำการสแกนเพื่อที่จะนำข้อมูลหรือ
Clouds Point ที่ ได้จากการสแกนนั้นจำเป็นต้อง
วางแผนในการเริ่มต้นสแกนเก็บข้อมูล เนื่องจาก
องค์พระพุทธรูปองค์ต้นแบบนี้มีขนาดค่อนข้างจะ
ใหญ่จึงจำเป็นต้องมีการแบ่งองค์พระพุทธรูปนั้นให้
เป็นสัดส่วนเพื่อง่ายต่อการนำไฟล์หรือข้อมูลที่ ได้
มาใช้ ในการสร้าง CAD File องค์รวม

ภาพที่ 6 แสดงรายละเอี ย ดของกลุ่ ม


พิกัดจุดที่ ได้จากการสแกน

เมื่อสแกนในส่วนของชิ้นงานต้นแบบจน
ได้กลุ่มพิกัดจนครบทั้ง 6 ส่วนแล้วจึงนำข้อมูลที่ ได้
มาเข้ามาแปลงเป็นพื้นผิว (Triangle Surface)
ด้วยโปรแกรม Geo Magic Studio Version 8
ในขั้นตอนการแปลงมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
ภาพที่ 5 แสดงพระพุทธรูปต้นแบบที่ ใช้ 1. Select Disconnected
ในการสแกน Component คือการจำกัด Point ที่อยู่ห่างจาก
กลุ่ ม Point ที่ อ งค์ พ ระพุ ท ธรู ป หลั ง จากนั้ น ทำ
หลั ง จากที่ ส แกนด้ ว ยใช้ โปรแกรม การเลือก
Polygonia จะได้เป็นกลุ่มพิกัดจุด (Clouds Point) 2. Select Outliers เพื่ อ การจำกั ด
ซึ่งสามารถเก็บรายละเอียดของภาพได้มากกว่า Point ที่ทับซ้อนอยู่ ในกลุ่ม Point หลักขององค์
ล้านจุด ทำให้เกิดความแม่นยำของรูปทรง ซึ่งใน พระพุทธรูป
งานวิจัยนี้จำเป็นต้องสแกนงานออกเป็นส่วน ๆ 3. Reduce Noise หมายถึง การกำจัด
ทั้งหมด 6 ส่วน ซึ่งจำเป็นต้องทำการกำหนดจุดใน Point ที่อยู่บนผิวขององค์พระพุทธรูป (จะคล้าย
การอ้างอิง เพื่อที่ ใช้ ในการประกอบกันหลังจาก กับ Select Outliers แต่จะสามารถปรับค่าต่าง ๆ
แปลงกลุ่ ม พิ กั ด จุ ด ให้ เ ป็ น พื้ น ผิ ว (Triangle ได้ ม ากกว่ า ) เป็ น การกรอง Point ที่ เ กิ น ความ
Surface) จำเป็นออกจากกลุ่มพิกัดจุด
4. Uniform Sample หมายถึ ง การ
จัดการวางตัวของกลุ่มพิกัดจุดให้มีการเรียงตัวที่

100
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
สม่ำเสมอกันและง่ายต่อการสร้างพื้นผิว Wrap
Point เพื่ อ ทำให้ Cloud Point แปลงไปเป็ น
Surface กลุ่ม Cloud Point ก็จะเปลี่ยนไปเป็น
Surface ดังที่แสดงในภาพที่ 7

ภาพที่ 7 แสดงรายละเอี ย ดหลั ง จาก


แปลงกลุ่มพิกัดจุดเป็น Surface
ภาพที่ 8 แสดงการประกอบ Surface
ในส่วนของขั้นตอนนี้เราต้องทำจนครบ เข้าด้วยกัน
ทั้ง 6 ส่วนเพื่อนำผิวที่ ได้มาทำการประกอบเข้า
ด้วยกัน
จะทำซ้ ำ ตามกระบวนการดั ง กล่ า วเพื่ อ
ประกอบในช่วงลำตัวและช่วงล่างของพระพุทธรูป
จากนั้นนำมาประกอบและประสานผิวงานทั้งหมด
ให้เป็นผิวงานเดียวกัน ก่อนทำการตกแต่ง ช่อง
ว่ า งหรื อ รู โ หว่ ที่ อ งค์ พ ระพุ ท ธรู ป รวมทั้ ง การ
ตกแต่งความเรียบของผิวของพระพุทธรูปเพื่อให้
ผิว Surface ของพระพุทธรูปมีความเรียบเสมอ
กันทั่วทั้งองค์

ภาพที่ 9 แสดง Surface ที่ประกอบกัน


เรียบร้อยแล้ว

101
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
Surface ในลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมย่อย ๆ ทั่ว
ทั้งองค์พระพุทธรูปจำลอง (ดังแสดงในภาพที่ 13)
2. หลังจากที่ร่างแนว Patch Surface
เรียบร้อยแล้ว จึงให้ โปรแกรมกำหนดค่าความถี่
ของแนว Patch Surface ให้มีลักษณะที่แตกย่อย
ภาพที่ 10 แสดงตัวอย่างบริเวณที่เกิด ลงมาอีกเพื่อความเรียบเสมอกันของผิวชิ้นงาน
ช่องโหว่ที่องค์พระพุทธรูป (ดังแสดงในภาพที่ 14)
3. จากนั้นกำหนดการเรียงตัวของแนว
Patch Surface ให้มีการเรียงตัวที่สม่ำเสมอทั่ว
ทั้ ง องค์ แ ละกำหนดความถี่ ข องแนว Patch
Surface อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เพื่ อ ที่ เ ป็ น แนวการวางตั ว
ของ Surface

ภาพที่ 11 แสดงรายละเอียดการปิดรูบน
Surface

ภาพที่ 13 แสดงขั้ น ตอนการร่ า งแนว


ภาพที่ 12 แสดงรายละเอียดก่อนและ Patch Surface
หลังการปรับ Surface

หลังจากที่ ได้ปรับ Surface ได้เรียบทั่วทั้ง
องค์แล้ว จึงทำการสร้างแนว Patch Surface
เพื่อที่จะนำมาสร้าง Surface ที่สามารถแก้ ไขใน
โปรแกรมช่วยในการออกแบบได้ (CAD) ซึ่งมีขั้น
ตอนดังต่อไปนี้
1. ทำการกำหนดแนวระนาบเพื่อกำหนด
ทิศทางของแนว Vector เมื่อกำหนดระนาบและ ภาพที่ 14 แสดงส่วนขยายหลังจากที่ ได้
แนวแกนเรียบร้อยแล้วจึงทำการร่างแนว Patch กำหนดความถี่ของแนว Patch Surface

102
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
4. เมื่ อ ได้ Surface ที่ ส มบู ร ณ์ ขึ้ น มา
เรียบร้อยแล้ว (ดังที่แสดงในภาพที่ 15) จึงแปลง
เป็นไฟล์กลางเพื่อไปเปิดกับโปรแกรมช่วยในการ
ออกแบบโปรแกรมอื่ น ๆ ในที่ นี้ ได้ ก ำหนดไฟล์
กลางเป็น STEP ไฟล์
5. ไฟล์ที่ ได้จะถูกนำไปเปิดในโปรแกรม
Unigraphic Nx 5 เพื่อที่เขียนแบบส่วนประกอบ
ต่าง ๆ เพิ่มและตกแต่งให้สวยงามและครบถ้วน
โดยที่ ไฟล์ที่ ได้รับการตกแต่งเสร็จเรียบร้อยแล้ว
นั้นจะถูกนำไปตัดหาเส้นรอบองค์พระตามสัดส่วน
และความสูงเพื่อที่จะนำไปเป็นแบบในการสร้าง
จริงต่อไป

ภาพที่ 16 แสดงรู ป กระบวนการรวมในการ


ทำงานในโปรแกรม Unigraphic Nx 5

เป็นหลัก ในการเขียนแบบจำลองขึ้นมาใหม่นี้เรา
ต้ อ งแบ่ ง สั ด ส่ ว นของโมเดลต้ น แบบออกเป็ น 3
ช่วง (ดังที่แสดงในภาพที่ 16) เพื่อที่จะสอดคล้อง
ภาพที่ 15 แสดงรายละเอียด Surface กับการคำนวณ เนื่องจากความเร็วลมในแต่ละชั้น
ที่สมบูรณ์ นั้นมีความเร็วลมที่ต่างกัน ทำให้เกิดแรงในแต่ละ
ช่วงความสูงที่ ใช้ ในการคำนวณนั้นต่างกันตามไป
6. ในขั้นตอนการวิเคราะห์ความแข็งแรง ด้วยตามหลักการคำนวณโครงสร้างอาคารสูง [6]
ขององค์พระนั้น จำเป็นต้องลบรายละเอียดที่เกิน นอกจากนี้ ในการคำนวณเราได้กำหนดทิศทางของ
ความจำเป็นออกเพื่อความรวดเร็วในการประมวล ลมที่ จ ะกระทำกั บ องค์ พ ระพุ ท ธรู ป มี ทิ ศ ทาง
ด้วยคอมพิวเตอร์ ในส่วนนี้เราจึงต้องเขียนโมเดล ตั้ ง ฉากกั บ องค์ พ ระด้ า นหน้ า เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง
ขึ้ น มาใหม่ โ ดยอาศั ย สั ด ส่ ว นที่ ไ ด้ จ ากการสแกน กับแรงกระทำที่เกิดสูงสุดต่อตัวองค์พระ โดยที่

103
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
ข้อมูลที่ ใช้ประกอบการคำนวณนั้นได้จากการขอ V = ความเร็ ว ลมอ้ า งอิ ง มี ห น่ ว ยเป็ น
ข้อมูลความเร็วลมทางสถิติจาก กรมอุตุนิยมวิทยา m/s คือความเร็วลมเฉลี่ยในช่วง 1 ชั่วโมงที่ความ
ที่เก็บได้ ในจังหวัดกาญจนบุรี โดยจะนำข้อมูลแรง สูง 10 เมตร จากพื้นดินในสภาพภูมิประเทศโล่ง
ลมที่สูงสุดในรอบ 10 ปีมาใช้ ในการจำลองโดย สำหรับคาบเวลากลับ (return period) 50 ปีซึ่ง
อาศัยสมการ เป็นวิธีกำหนดแรงลมสถิตเทียบเท่าในการคำนวณ
โครงสร้างอาคารสูง
และ
ซึ่งจากตารางจะเห็นได้ว่าความเร็วลมที่
P = แรงลมสถิตเทียบเท่าหลังจากรวม
เกิดขึ้นในจังหวัดกาญจนบุรีนั้นมีความเร็วของลม
ผลของค่าตัวประกอบของลม ที่ 40 นอต ซึ่งจะเท่ากับ 20.6 m/s ซึ่งต่ำกว่าค่า
q = หน่ ว ยแรงลมอ้ า งอิ ง เนื่ อ งจาก
ความเร็วลมที่กระทรวงกำหนดไว้ ในการออกแบบ
ความเร็วลม คือ 30 m/s แต่ ในการศึกษาในครั้งนี้จะใช้ค่า
Ce = ค่ า ประกอบเนื่ อ งจากสภาพภู มิ
ความเร็วลมที่ 33 m/s หรือความเร็วเท่ากับ 64
ประเทศ นอต ซึ่งเป็นความเร็วลมเทียบเท่ากับความเร็วลม
Cg = ค่ า ประกอบเนื่ อ งจากผลการ ของพายุโซนร้อนที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
กระโชกของลม ในการคำนวณจะแบ่งช่วงของความเร็ว
Cp = ค่าสัมประสิทธิ์ของหน่วยแรงลม หรือแรงที่มากระทำออกเป็น 3 ระดับตามตาราง
P = ความหนาแน่ น ของมวลอากาศ
ด้านล่ าง
= 1.25 kg/m3

ตารางที่ 1 แสดงความเร็วลมสูงสุดในรอบ 10 ปี ในจังหวัดกาญจนบุรี (ค่าความเร็วลมมีหน่วย



เป็นนอต)

104
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
ตารางที่ 2 ตารางการคำนวณตามหลัก จากข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ข้ า งต้ น เมื่ อ นำมา
การโครงสร้างอาคารสูง คำนวณความแข็งแรงขององค์พระโดยระเบียบ
วิ ธี ท างไฟไนต์ เ อลิ เ มนต์ ผ่ า นการใช้ โปรแกรม
Unigra-phic Nx 5 ทำให้ ได้ผลลัพธ์ออกมาดังที่
แสดงในภาพที่ 18

ผลการคำนวณโดยระเบียบวิธีทางไฟไนต์-
ซึ่งค่าที่ ได้จากการคำนวณได้ดังแสดงใน เอลิเมนต์
ตารางนั้ น จะถู ก นำไปใช้ ใ นการกำหนดแรงใน ผลการคำนวณโดยระเบียบวิธีทางไฟไนต์
แต่ ล ะช่ ว งขององค์พระ โดยที่วัสดุที่นำมาใช้ ใน เอลิเ มนต์ถูกแสดงในภาพที่ 18 และ 19 โดยที่
การพิจารณาศึกษาความแข็งแรงนั้นได้ ใช้วัสดุที่มี ภาพที่ 18 แสดงให้เห็นว่าความเค้นสูงสุดที่เกิดขึ้น
การตกลงกั น ในการสร้ า งองค์ จ ริ ง คื อ คอนกรี ต จะปรากฏที่บริเวณข้อพระบาททั้งสองข้าง โดยมี
เสริมเหล็ก แต่เนื่องจากการศึกษานี้ต้องการศึกษา ค่าความเค้นที่เกิดขึ้นที่บริเวณข้อพระบาทข้างขวา
ถึงขนาดความเค้นสูงสุดและตำแหน่งที่กระทำต่อ มีค่าเท่ากับ 0.37 MPa และบริเวณข้อพระบาท
องค์ ก่ อ นมี ก ารสร้ า งจริ ง ดั ง นั้ น การเสริ ม เหล็ ก ข้ า งซ้ า ยมี ค่ า เท่ า กั บ 0.33 MPa ซึ่ ง จุ ด ที่ มี
โครงสร้างเป็นอย่างไรนั้นยังไม่ ได้มีการออกแบบ ความเค้ น สู ง สุ ด นั้ น เป็ น จุ ด ที่ อ ยู่ ที่ ข้ อ พระบาท
จริง จึงทำให้ ไม่สามารถวิเคราะห์ โดยใช้วัสดุเป็น และอยู่จากพื้นประมาณ 1.67 เมตร
คอนกรีตเสริมเหล็กได้ ด้วยเหตุผลนี้สมมุติฐาน ภาพที่ 19 แสดงถึงค่าความเค้นตามแนว
เบื้องต้นจึงกำหนดให้วัสดุที่ ใช้ ในการคำนวณเป็น ความสูงนับจากฐานขององค์พระ โดยแสดงทั้งค่า
คอนกรีตอย่างเดียว ไม่มีการเสริมเหล็กซึ่งมีค่า ความเค้นที่เกิดขึ้นที่ขาขวาและซ้ายขององค์พระ
คุณสมบัติทางกล ดังนี้ จากกราฟจะเห็นได้ว่าลักษณะเส้นแสดงความเค้น
ที่เกิดขึ้นทั้งขาซ้ายและขวามีรูปแบบเดียวกัน แต่
เนื่องจากการยืนขององค์พระไม่ ได้อยู่ ในลักษณะ
สมมาตรดังนั้นเส้นกราฟของความเค้นจึงมีความ
แตกต่ า งกั น ตามลั ก ษณะการยื น นั่ น เอง โดยค่ า
ความเค้นสูงสุดจะปรากฏที่ขาขวานั่นเอง
ในการพิ จ ารณาความแข็ ง แรงขององค์
พระต่ อ แรงลมกระทำ สิ่ ง ที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในการ
ภาพที่ 17 แสดงคุณสมบัติของคอนกรีต พิ จ ารณาคื อ ตั ว องค์ พ ระนั้ น สามารถทนแรงอั น
ที่ ใช้ ในการคำนวณ เนื่ อ งมาจากลมที่ เ ข้ า ปะทะหรื อ ไม่ ดั ง นั้ น ถ้ า
พิจารณาแรงอันเนื่องมาจากลมที่มาปะทะโดยที่
ลมมีความเร็ว 33 m/s จากการคำนวณพบว่า ค่า

105
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
พระสามารถทนต่อแรงลมที่มาปะทะกับองค์พระ
ได้ ทั้งนี้งานวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะแรงลมปะทะที่อาจ
จะทำความเสี ย หายต่ อ องค์ พ ระ ไม่ ไ ด้ ศึ ก ษาถึ ง
ความแข็ ง แรงของโครงสร้ า งอั น เนื่ อ งมาจาก
น้ ำ หนั ก ขององค์ พ ระที่ ก ระทำต่ อ ขาทั้ ง สองข้ า ง
ขององค์พระซึ่งแรงกระทำชนิดนั้นเป็นแรงกด

ภาพที่ 18 แสดงส่วนขยายในบริเวณที่
เกิดความเค้นสูงสุด

ภาพที่ 19 กราฟแสดงการเปรียบเทียบ ภาพที่ 20 แสดงผลที่ ได้จากการทดลอง


ความเค้นระหว่างพระบาททั้งสองข้าง
ดังนั้นในการก่อสร้างองค์พระจริงจะต้อง
ความเค้ น สู ง สุ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ค่ า 0.37 MPa ที่ ข้ อ ศึกษาถึงความแข็งแรงขององค์พระทั้งในแง่ของ
พระบาทด้านขวา ซึ่งเมื่อทำการเปรียบเทียบกับ การรับน้ำหนักและการรับแรงปะทะอันเนื่องมา
ค่า Ultimate Stress ของคอนกรีตซึ่งมีค่าเท่ากับ จากลมและอาจจะต้องเพิ่มเติมผลอันเนื่องมาจาก
28 MPa จะพบว่าค่าความเค้นสูงสุดอันเกิดจาก ปั จ จั ย ภายนอกอื่ น ๆ เช่ น แผ่ น ดิ น ไหวเข้ า มา
แรงลมที่ความเร็ว 33 m/s จะทำให้เกิดค่าสูงสุดที่ ประกอบด้วยเพื่อความปลอดภัย และทั้งนี้วัสดุที่
0.37 MPa ซึ่ ง น้ อ ยกว่ า ค่ า Ultimate Stress นำมาสร้ า งจริ ง ก็ เ ป็ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ซึ่ ง มี
ประมาณ 75 เท่า ความแข็งแรงมากกว่าคอนกรีตอย่างเดียว
ดั ง นั้ น จึ ง กล่ า วได้ ว่ า แรงกระทำอั น ภาพที่ 21 เป็ น ตั ว อย่ า งขององค์ พ ระที่
เนื่องจากลมพายุโซนร้อนที่มีความเร็วลม 33 m/s ได้สร้างมาจากแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ที่ ได้
อย่างเดียวจะไม่ทำให้เกิดความเสียหายต่อองค์ จากงานวิ จั ย นี้ โดยการนำแบบจำลองทาง
พระ นั่นคือความแข็งแรงของข้อพระบาทขององค์ คอมพิ ว เตอร์ ม าทำแบบหล่ อ ปู น ปลาสเตอร์ เ พื่ อ

106
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .
ทดลองการสร้างจริงว่ามีลักษณะเหมือนต้นแบบ เพื่ อ ให้ ก ารสร้ า งนั้ น ได้ อ งค์ พ ระที่ ส วยงามและได้
หรือไม่อย่างไร ซึ่งผลจะเห็นได้ว่ามีความเหมือน สัดส่วนที่ถูกต้องตามองค์พระพุทธรูปต้นแบบ
ต้นแบบที่ขึ้นรูปโดยการปั้นเกือบ 100% ดั ง นั้ น จึ ง กล่ า วได้ ว่ า กระบวนการทาง
วิศวกรรมย้อนรอยนั้นสามารถนำมาใช้สร้างแบบ
สรุป จำลองคอมพิวเตอร์ ซี่งทำให้ ได้รูปร่างและมิติที่ถูก
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงความแข็งแรงขององค์ ต้องเหมือนต้นแบบ 100% และยังเอาแบบจำลอง
พระที่จะดำเนินการจัดสร้างจริงที่ จ.กาญจนบุรี ที่ ได้มาใช้ ในการวิเคราะห์ ทดสอบ สร้าง ทั้งในแง่
โดยขั้นต้นได้ ใช้ศาสตร์ของวิศวกรรมย้อนรอยใน ของความแข็งแรง ขนาด น้ำหนัก และอื่น ๆ ใน
การสร้างแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์และได้ ใช้ อีกหลาย ๆ ด้าน เนื่องจากสามารถเก็บข้อมูลเพื่อ
ระเบียบวิธีทางไฟไนต์เอลิเมนต์มาทำการวิเคราะห์ ใช้ ในการสร้างชิ้นงานต้นแบบได้ค่อนข้างจะได้ราย
ความเค้นอันเนื่องมาจากแรงลมปะทะ ซึ่งทำให้ ละเอี ย ดและยั ง สามารถเอาข้ อ มู ล ที่ ได้ ม าเป็ น
พบว่าค่าความเค้นสูงสุดจะเกิดที่ข้อพระบาทของ แนวทางในการช่วยในการศึกษาวิเคราะห์ ในด้าน
องค์พระ ซึ่งเมื่อพิจารณาค่าความเค้นสูงสุดอัน อื่น ๆ อีกด้วย เช่น การทดลองการความเสียหาย
เนื่องมาจากพายุโซนร้อนพัดเข้าปะทะองค์พระจะ การวิเคราะห์ถ่ายเทความร้อน วิเคราะห์การไหล
พบว่าค่าความเค้นสูงสุดนั้นมีค่าน้อยกว่าค่าของ ทางพลศาสตร์ของของไหล การสร้างชิ้นทดสอบ
Ultimate stress มากถึงแม้ว่าวัสดุที่ ใช้วิเคราะห์ เพื่อทดสอบในอุโมงค์ลม หรืออุโมงค์น้ำเพื่อทำการ
เป็ น คอนกรี ต อย่ า งเดี ย ว หรื อ กล่ า วได้ ว่ า ถ้ า ศึกษาผลกระทบอื่น ๆ ที่เป็นปัจจัยต่อรูปทรงต่อ
พิ จ ารณาเฉพาะแรงลมที่ เ ข้ า มาปะทะนั้ น ยั ง ไม่ การไหลผ่านของของไหล เป็นต้น
สามารถทำความเสี ย หายให้ กั บ องค์ พ ระได้
เนื่องจากงานวิจัยนี้ศึกษาแต่เฉพาะความเสียหาย
อั น เนื่ อ งมาจากแรงลมเข้ า ปะทะกั บ องค์ พ ระ
เท่านั้น แต่ ในการก่อสร้างจริงจะต้องพิจารณาผล
ของปัจจัยอื่น ๆ เข้าร่วมด้วยเพื่อความแข็งแรง
และความปลอดภัย อาทิเช่นแรงเนื่องจากน้ำหนัก
และปัจจัยของแรงอื่น ๆ ซึ่งในการก่อสร้างจริงนั้น
ต้องนำมาพิจารณาด้วย
สิ่ ง ที่ ส ำคัญในงานวิจัยนี้ก็คือการนำเอา
วิ ศ วกรรมย้ อ นรอยมาใช้ ส ร้ า งแบบจำลองทาง
คอมพิ ว เตอร์ โ ดยขนาดและรู ป แบบขององค์
พระพุ ท ธรู ป ที่ จ ะก่ อ สร้ า งจริ ง นั้ น จะต้ อ งอาศั ย
รายละเอี ย ดและรู ป ร่ า งลั ก ษณะที่ ได้ ม าจาก ภาพที่ 21 ตัวอย่างชิ้นงานต้นแบบที่ ได้
กระบวนการทางวิศวกรรมย้อนรอยอย่างครบถ้วน จากกระบวนการทางวิศวกรรมย้อนรอย

107
ฉบับที่ 72 ปีที่ 23 พฤษภาคม - กรกฎาคม 2553
เอกสารอ้างอิง [5] กรวิศว์ นราเดช และคณะ 2547, การ
[1] ณรงค์ พิ ทั ก ษ์ ท รั พ ย์ สิ น , ประสิ ท ธิ์ สร้างตัวถังรถต้นแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์
วัฒนวงศ์สกุล 2550, วิศวกรรมย้อนรอย ในการออกแบบและวิศวกรรมย้อนรอย,
กับการสร้างแบบจำลองผลิตภัณฑ์, ศูนย์ วิ ท ยานิ พ นธ์ ร ะดั บ ปริ ญ ญาตรี คณะ
เทคโนโลยี โลหะและวัสดุแห่งชาติ. วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
[2] ฉั ต รชั ย จั น ทร์ เ ด่ น ดวง 2547, การ เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ส แกน 3 มิ ติ ใ น [6] วิ โ รจน์ ธั ญ ญภิ ญ โญ และคณะ 2550,
กระบวนการทางวิศวกรรมย้อนรอยและ มาตรฐานการคำนวณแรงลมและการ
การตรวจสอบมิติ, ศูนย์เทคโนโลยี โลหะ ตอบสนองของอาคาร, กรมโยธาธิการ
และวัสดุแห่งชาติ. และผังเมือง กระทรวงมหาดไทย.
[3] ศุภสิทธิ์ รอดขัวญ 2549, การศึกษาการ [7] Giovanna Sansoni, Franco Docchio,
เปรี ย บเที ย บการใช้ ง านของเครื่ อ งเก็ บ Three-dimensional optical
ค่าพิกัดสามมิติระบบเลเซอร์และระบบ measurements and reverse
ออปติ ค ที่ ใช้ ส ำหรั บ งานวิ ศ วกรรม e n g i n e e r i n g f o r a u t o m o t i ve
ย้อนรอย, ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางแม่ applications, Robotics and
พิ ม พ์ ย าง สถาบั น ค้ น คว้ า และพั ฒ นา computer-Integrated Manufacturing
เทคโนโลยี การผลิ ต ทางอุ ต สาหกรรม 20 (2004), pp. 359-367.
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย [8] Kwan H. Lee, H. Woo, Direct
เกษตรศาสตร์. integration of reverse engineering
[4] ศุภฤกษ์ ศิริเวทิน 2537, การใช้วิธีไฟไนต์ and rapid prototype, Computer &
เอลิเมนต์วิเคราะห์หาความเค้นที่เกิดขึ้น Industrial Engineering 38 (2000),
ในกระดูกหัวเข่าเปรียบเทียบระหว่างใน pp. 21-38.
ขณะยื น ตรงและนั่ ง ยอง, วิ ท ยานิ พ นธ์ ,
ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า
พระนครเหนือ.

108
วิ ศ ว ก ร ร ม ส า ร ม ก .

You might also like