You are on page 1of 210

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล

Digital Photogrammetry

ผูชวยศาสตราจารย ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


Assistant Professor Dr.-Ing. Phisan Santitamnont

ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เมษายน 2546
1 เบื้องตนเกี่ยวกับงานสํารวจดวยภาพ

1.1 คําจํากัดความ
การรังวัดดวยภาพ (Photogrammetry) เปนการสํารวจรังวัดที่ใชภาพเปนสื่อกลางในการรังวัด โดยมีการ
ใชภาพบันทึกสิ่งปรากฏทางกายภาพบนภูมิประเทศ อาณาบริเวณ อาคารสถานที่ หรือวัตถุที่สนใจ จากนั้นที่การ
จําลองแบบตามหลักการฉายของแสงดวยวิธีทางกลไก เชิงทัศน หรือเชิงคณิ ตศาสตร ทําใหสามารถที่จําลอง
สถานการณเหมือนขณะที่บันทึกภาพได
การรังวัดดวยภาพเปนทั้งศาสตรและศิลปเนื่องจากกระบวนการมีความซับซอน เครื่องมือเปนกลไกและ
อุปกรณเชิงทัศนที่ตองใชทั้งความเขาใจ การฝกฝนและความชํานาญในการทํางาน ผลลัพธที่จะเปนทั้งพิกัดของ
ตําแหนงวัตถุ ขนาด และรูปรางสามมิติพรอมกันไดทันที
การรังวัดดวยภาพสามารถทําไดโดยผูที่รังวัดไมจําเปนตองเขาสัมผัสวัตถุ สามารถใชการสังเกตและ
บันทึกจากระยะไกล การรังวัดสามารถครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวาง แตอยางไรก็ตามตองใชเครื่องมือและ
อุป กรณ ป ระกอบการทํางานเป น จํานวนมาก กระบวนการทุกขั้น ตอนมีความละเอียดออ น ตองอาศัยความ
ชํานาญและฝกฝน

1.1.1 นิยามของการรังวัดดวยภาพตาม ISPRS


ตามนิยามของ the International Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ISRPS) นิยาม
วาการังวัดดวยภาพและการสํารวจระยะไกลวา เปนศิลป วิทยาการ แลเทคโนโลยีในการที่จะไดขอมูลขาวสารที่
เชื่อถือไดจากวิธีการวัดไมสัมผัสบนภาพ (imaging) หรือจากระบบตรวจจับ (sensor system) โลกและสิ่งแวด
ลอม หรือวัตถุทางกายภาพตางๆ และมีการประมวลผลดวยการบันทึก การวัด การวิเคราะห และการแสดงผล
ซึ่งในเนื้อความตนฉบับกลาวไวดังนี้
Photogrammetry and Remote Sensing is the art, science, and technology of obtaining
reliable information from noncontact imaging and other sensor systems about the Earth and its
environment, and other physical objects and processes through recording, measuring, analyzing
and representation (ISPRS).

1.1.2 นิยามของการรังวัดดวยภาพตาม ASPRS


ตามนิ ย ามของ the American Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ASPRS) นิ ย าม
การรังวัดดวยภาพดังนี้ การรังวัดดวยภาพเปนศิลป วิทยาการและเทคโนโลยีในการที่ทําใหไดมาซึ่งขอมูลขาวสาร
ที่มีความนาเชื่อถือเกี่ยวกับกายภาพของวัตถุและสิ่งแวดลอมโดยผานกระบวนการบันทึก การวัด และการแปล
ภาพ และรูปแบบ ของพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่แพรออกมาและปรากฏการณอื่นๆ
ซึ่งในเนื้อความตนฉบับกลาวไวดังนี้
Photogrammetry is the art, science, and technology of obtaining reliable information about
physical objects and the environment, through processes of recording, measuring, and interpreting
images and patterns of electromagnetic radiant energy and other phenomena (ASPRS).

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-2 1.2 นิยามของการรังวัดดวยภาพตามลักษณะงาน

1.2 นิยามของการรังวัดดวยภาพตามลักษณะงาน
นอกจากความหมายของการรังวัดดวยภาพ (Photogrammetry) ดังที่กลาวมาแลวในเบื้องตน ยังมีการ
นําการรังวัดดวยภาพไปประยุกตเฉพาะทางตางๆ หรือมีการปรับปรุงกระบวนการทํางานโดยนําเทคโนโลยีอื่นๆ
มาประยุกตใชรวมกัน โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยีขั้นสูงสมัยใหมเชน การประมวลผลภาพดิจิทัล (digital image
processing) การรังวัดดวยดาวเทียมจีพีเอส (GPS) ทําใหเกิดเปนศาสตรในการรังวัดดวยภาพแขนงยอยออกไป
ตามขอบเขตการใชงาน ดังนั้นนิยามการรังวัดโดยใชภาพเปนสื่อกลางสามารถแบงเปนประเภทตามลักษณะการ
ประยุกตใชงานและการผนวกรวมเทคโนโลยีอื่นๆดังนี้

1.2.1 การรังวัดภาพพื้นดิน (Terrestrial Photogrammetry)


การรั ง วั ด ภาพพื้ น ดิ น (Terrestrial Photogrammetry) เป น การประยุ ก ต ก ารรัง วั ด ด ว ยภาพที่ มี ก ารใช
เครื่องมือและดําเนินการรังวัดบนภาคพื้นดิน การรังวัดใชกลองที่มีขนาดเล็กลงเพื่อใหสามารถเคลื่อนยายใน
สนามไดสดวก การรังวัดภาพพื้นดินนิยมใชกับการทําแผนที่ภูมิประเทศที่ขอบเขตไมกวางขวางนัก แตภูมิประเทศ
ซับซอน เชน การทําแผนที่ของเหมืองเปด การทําแผนที่ของภูมิประเทศที่เปนเนินเขาและหุบเขา ปจจุบันเนื่อง
จากความยุงยากในเทคโนโลยีการบันทึกภาพไดแก กลองถายภาพที่มีความถูกตองสูงมีราคาแพงและใชงานได
ยาก นอกจากนี้เทคโนโลยี การรังวัดดวยกลองประมวลผลรวม (Total Station) ที่มีความสามารถในการวัดระยะ
ทางไปยังวัตถุใดโดยไมตองเขาถึงโดยใชไมใชตัวสะทอนสัญญาณ (Reflectorless EDM) สามารถทดแทนไดดี

1.2.2 การสํารวจระยะใกล (Close-range Photogrammetry)


การสํารวจระยะใกล (Close-range Photogrammetry) เปนการรังวัดดวยภาพที่ระยะระหวางกลองถาย
รูปอยูไมหางจากวัตถุที่จะรังวัดไมมากนัก โดยทั่วไปจะจํากัดในระยะ 1 ถึง 100 เมตร จะมีการใชกลองถายภาพ
พิเศษเพื่อการนี้โดยเฉพาะ แตปจจุบันดวยวิวัฒนาการของกลองถายภาพดิจิทัลที่ใชงานอยูทั่วในในงานอดิเรก
มักจะประยุกตใชงานดานโบราณสถาน โบราณวัตถุ งานดานการตรวจสอบทางอุตสาหกรรม ทางดายการแพทย
เพื่อใชหาขนาดและรูปรางของวัตถุที่ซับซอนหรือตองการประหยัดเวลาในการบันทึก

รูปภาพ 1-1 การรังวัดระยะใกลดวยกลองดิจิทัลเพื่อบันทึกรูปเหมือนเพื่อชวยในการออกแบบกอสราง (ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ 2543)

การรังวัดดวยภาพถายดิจิทัลเปนการสํารวจรังวัดดวยภาพเปนสื่อกลางในการรังวัด แตภาพที่ใชจะตอง
เปนขอมูลภาพดิจิทัลที่คอมพิวเตอรสามารถเขาใจได กระบวนการทํางานยังคงพื้นฐานจากงานรังวัดดวยภาพดัง
เดิม แตอาศัยคอมพิวเตอรในการคํานวณเปนสวนใหญ ผลลัพธที่ไดก็จะเปนในรูปดิจิทัลทั้งตัวเลขคาพิกัด แบบ
จําลองสามมิติ แบบจําลองสามมิติพรอมลวดลาย (textured three-dimension model)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-3 1.2 นิยามของการรังวัดดวยภาพตามลักษณะงาน

1.2.3 การรังวัดดวยภาพมาโคร (Macro Photogrammetry)


การรังวัดดวยภาพมาโคร (Macro Photogrammetry) เปนการรังวัดประยุกตใชกับวัตถุเล็ก มักใชในการ
ทางวิทยาศาสตรการแพทยและอุตสาหกรรม ในทางการแพทยมีการใชภาพคูสามมิติที่ไดจากกลองจุลทรรศน
(Jacobsen 1990) เพื่อตรวจสอบการผุกรอนของกระดูกหรือการวัดเพื่อการตรวจสอบชิ้นงานอุตสาหกรรม

1.2.4 การรังวัดดวยภาพสําหรับงานสถาปตยกรรม (Architectural


Photogrammetry)
การรังวัดดวยภาพสําหรับงานสถาปตยกรรมเปนการรังวัดโดยใหภาพเปนสื่อและเปนการรังวัดบนภาค
พื้นดินที่เนนการประยุกตใชงานเฉพาะงานสถาปตยกรรม ไดแกการรังวัดเพื่อหาขนาด รูปราง ของอาคารสถานที่
ตึก หรือสิ่งปลูกสราง เพื่อใชบันทึกความสวยงามของงานสถาปตยกรรม

1.2.5 การรังวัดดวยภาพจีพีเอส (GPS Photogrammetry)


การรังวัดดวยภาพจีพีเอสหมายถึงการรังวัดดวยภาพถายทางอากาศที่ทําเปน “บล็อค” โดยที่ในขณะที่
บินถายภาพมีการใชเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอสชวยในการหาตําแหนงของกลองถายภาพขณะ ที่บันทึก
ภาพดวย ทําใหการคิดคํานวณมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ทําใหจํานวณจุดบังคับภาพถายลดลงอยางมาก
ในขณะที่ใหความถูกตองของคาพารามิเตอรของบล็อคสูงเชนเดิม

รูปภาพ 1-2 เครื่องบินสําหรับการถายภาพทางอากาศและเสาอากาศรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส

1.2.6 การรังวัดดวยภาพดิจิทัล (Digital Photogrammetry)


การรังวัดดวยภาพดิจิทัล (Digital Photogrammetry) หรือ การสํารวจดวยภาพถายเชิงเลข เปนการรังวัด
ดวยภาพที่นําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและการประมวลผลภาพดิจิทัล (Digital Image Processing) มาใชใน
กระบวนการรังวัดและประมวล กระบวนการทํางานจะใชการคํานวณเชิงวิเคราะหมาใช โดยอาศัยการคํานวนเชิง
เลขเปนหลัก การนําคอมพิวเตอรซอฟตแวรมาชวยในการรังวัดสามารถลดความผิดพลาด ความเหนื่อยลาของ
มนุษยในการทํางานได แตก็ตองใชความรูความเขาใจการใชคอมพิวเตอรตลอดจนอัลกอริธึมแทน
ปจจุบันในสวนของการรังวัดดวยภาพถายทางอากาศ กลองถายภาพทางอากาศชนิดเปนดิจิทัลยังไมแพร
หลาย การรังวัดดวยภาพดิจิทัลจึงเริ่มดวยการเปลี่ยนภาพถายทางอากาศที่อยูบนฟลมเนกาตีฟหรือไดอาพอซิตีฟ
ใหเปนภาพถายเชิงเลขหรือภาพถายดิจิทัลเสียกอน สําหรับกลองถายภาพทางภาคพื้นดินซึ่งปจจุบันมีผูใชกลอง
สมัครเลนที่สามารถใชในการรังวัดดวยภาพได ดวยประสิทธิภาพของกลองดิจิทัลที่สามารถบันทึกภาพไดดวย

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-4 1.2 นิยามของการรังวัดดวยภาพตามลักษณะงาน

ความละเอียดสูง มีซอฟตแวรที่มีขีดความสามารถในการประมวลไดอยางสะดวกและซับซอน จึงมีการประยุกต


ใชการรังวัดดวยภาพดิจิทัลมากขึ้นเรื่อยๆในปจจุบัน

1.2.7 การรังวัดดวยภาพดวย softcopy (Softcopy Photogrammetry)


Softcopy หมายถึงเครื่องมือที่อยูในรูปซอฟตแวรคอมพิวเตอรซึ่งหมายความตรงขามกับ “hard-copy”
ซึ่ งเป น วัส ดุ มี ตั วตนที่ นํ า มาประกอบใชเป น เครื่องมื อ รังวัดสํ าหรับ การรังวัด ด วยภาพ การรังวัด บนภาพด ว ย
softcopy เปนคํานิยามทางเทคนิคที่นิยมกลาวถึงบอยในชวยปลายศตวรรษที่ 80 ไปจนถึงตนศตวรรษที่ 90 ซึ่ง
เปนชวงตอระหวางยุคของการประมวลผลดวยเครื่องมือที่เปนเชิงวิเคราะหกับการกาวไปสูเครื่องมือที่เปนดิจิทัล
การรังวัดบนภาพดวย softcopy เปนการรังวัดดวยภาพโดยหลักการพื้นฐานเดียวกันกับการรังวัดบนภาพ
เชิงวิเคราะห ที่นํ าเอาเทคโนโลยีคอมพิ วเตอรซอฟตแวรมาชวย เปนการรังวัด บนภาพโดยการใชเครื่อ งมือ ที่
ประกอบขึ้นดวยซอฟตแวรและคอมพิวเตอรทั้งสิ้น โดยที่จุดเริ่มตนคือตองมีภาพถายในรูปดิจิทัลเสียกอน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-5 1.3 วิวัฒนาการของการรังวัดดวยภาพ

1.3 วิวัฒนาการของการรังวัดดวยภาพ
พื้นฐานของการรังวัดดวยภาพอาจเริ่มตั้งแตการที่มนุษยรูจักหลักปรากฏการณการปรากฏของภาพ ซึ่ง
เดิมมักจะใชประโยชนในทางศิลปและการวาดภาพมากกวาที่จะใชในการรังวัด และจากนั้นเปนวิวัฒนาการ
บันทึกภาพตามลําดับเวลาดังนี้ (รวบรวมและเรียงจาก Photogrammetrie โดย Finsterwalder 1976)
1480 Leo da Vinci ศึกษาปรากฏการณของการฉายผานศูนย
1471-1528 Albrecht Dürer คิดประดิษฐเครื่องชวยเขียนภาพการฉายผานศูนย

รูปภาพ 1-3 ภาพ “Goddess and Craftsman” A Perspective Drawing Machine โดย Albrecht Dürer

1650 Gerard Desargues และ Blaise ไดพัฒนาองคความรูดาน เรขาคณิตของการฉายผานศูนย


1835 Daguerre ชาวฝรั่งเศสคนพบเทคนิคการบันทึกภาพจากกลองรูเข็ม (camera obscura) ดวยวิธี
การทางเคมี ซึ่งเปนพื้นฐานของการถายรูปดวยฟลมในปจจุบัน
1851 A.Laussedat ชาวฝรั่งเศส เป น ผู คิ ด ค น การรัง วัด ด ว ยภาพเป น ครั้งแรกซึ่ งเขาเรีย กศาสตรนี้ ว า
“Iconométrie” ซึ่งภายหลังเขาเปลี่ยนไปเรียกวา “Métrophotographie” (icon=รูป, metro=การวัด)
1858 G.F. Tournachon หรือมีอีกชื่อวา Nadar ทําการถายภาพถายทางอากาศเปนครั้งแรก

รูปภาพ 1-4 ภาพวาดแสดงการถายภาพทางอากาศครั้งแรกที่กรุงปารีสป ค.ศ.1858

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-6 1.3 วิวัฒนาการของการรังวัดดวยภาพ

1860 James Wallace Black ทําการถายภาพทางอากาศ ณ เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ดังใน


ภาพ

รูปภาพ 1-5 ภาพถายทางอากาศของ James Wallace Black ป ค.ศ.1860

1858 Maydenbauer ชาวเยอรมั น พยายามที่ จ ะถ า ยภาพคู ส ามมิ ติ สิ่ ง ปลู ก สร า งเพื่ อ ทํ า การรั ง วั ด
สถาปตยกรรม
1899 Sebastian Finsterwalder นักคณิ ตศาสตรชาวเยอรมัน ไดตีพิมพบทความตางๆเกี่ยวกับการวัด
ดวยภาพไดแก
- photogrammetric resection
- photogrammetric intersection
- analytical for two-ray intersection
- minimum sum square of vectors relating redundant conjugate rays
- practical examples of single photo resection
1901 Carl Pulfrich ไดพัฒนา stereocomparator ในนามของ ZEISS
1930 Earl Church., ศาสตราจารย จ าก Syracuse University , USA ได เ ป ด สอนวิ ช า Analytical
Photogrammetry
1932 Otto von Gruber ทําการสรางอนุพันธจากสมการการฉายผายศูนย (persective equations)
ในชวงสงครามโลกครั้งที่ สอง การแผนที่โดยเฉพาะการทําแผนที่จากการตรวจการณทางอากาศเปน
เรื่องสําคัญมากสําหรับการทําสงคราม เทคโนโลยีจึงถูกคิดคนและพัฒนาอยางรวดเร็ว นับวาเปนปจจัยที่ทําให
การสํารวจรังวัดดวยภาพมีความสําคัญในการทําแผนที่อยางมาก
1951 Helmut Schmidt ศึกษาปญหาหลายสถานีถายภาพในการเชิงวิเคราะหทางการรังวัดดวยภาพ
1960 เครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหไดถือกําเนิดขึ้น โดย Fairchild, Bendix , OMI สหรัฐอเมริกา โดย
การทํางานของ U.V. Helava

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-7 1.3 วิวัฒนาการของการรังวัดดวยภาพ

จากนั้นวิวัฒนาการของการรังวัดดวยภาพก็เพิ่มขึ้นตามลําดับ หลังจากการนําคอมพิวเตอรสวนบุคคล
(Personal Computer : PC ) เขาสูตลาดโดย IBM ทําใหการพัฒนาคอมพิวเตอรกาวไปอยางรวดเร็ว การสํารวจ
ดวยภาพถายเชิงวิเคราะหไดรับผลประโยชนจากวิวัฒนาการนี้ดวย ซึ่งเปนพื้นฐานที่สําคัญของการพัฒนาการ
สํารวจดวยภาพดิจิทัล โดยมีวิวัฒนาการที่สําคัญดังนี้ (เรียบเรียงจาก http://www.askism.com!History)
1988 Helava & Associates สาธิตการทํางานของ N-stage Comparator ที่ ใชในการวัดเพื่ อทําขาย
สามเหลี่ยมทางอากาศ
1988 Kern แสดงการแสดงภาพสามมิติโดยใชจอภาพคอมพิวเตอร
1990 Zeiss และ Intergraph นํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ PS-1 Scanner เป น สแกนเนอร สํ า หรั บ ภาพถ า ยทาง
อากาศตัวแรกของโลกและภาพหลังก็ไดนํามาออกจําหนาย
1990 ในเวลาเดียวกัน Vexcel Corp สหรัฐอเมริกาไดสาธิตสแกนเนอร ที่ออกแบบใหสแกนภาพถาย
ทางอากาศในแนวตั้ง ซึ่งตอมาไดทําขายในชื่อ Vexcel VX
1991 Helava & Associates สาธิ ต ต น แบบ Stereo-workstation ที่ ต อ มาจํ า หน า ยในนาม SOCET
SET System พรอมกันนี้ Galileo, I2S และ ISM แนะนําระบบผลิตภาพถายออโทชนิดดิจิทัล
1992 Intergraph เป ด ตั ว ImageStation ซี่ งเป น Stereoworkstation พ ร อ ม กั บ Leica เป ด ตั ว
สแกนเนอรตนแบบ DSW
1996 ในงาน ISPRS Congress ในเวียนนา ประเทศออสเตรีย ไดใชคําขวัญประจํางานประชุมวิชาการ
ในครั้งนั้นวา “Digital Photogrammetry ready for Take Off” ซึ่งเปนสัญญลักษณวาการรังวัดดวยภาพดิจิทัล
สามารถนํามาใชในอุตสาหกรรมผลิตแผนที่ไดเริ่มขึ้นแลว

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-8 1.4 ระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัล

1.4 ระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัล
ป จ จุ บั น มี ระบบรังวั ด ด ว ยภาพถ า ยได ก า วเขา สู ก ารรังวัด ด ว ยภาพดิ จิ ทั ล (digital photogrammetry)
เครื่องมื อที่ เป นแกนสําคัญ ของการประมวลผลคือ คอมพิวเตอรและซอฟตแวรสําหรับ การนี้โดยเฉพาะ ดวย
วิวัฒนาการทางการตลาดและเทคโนโลยีคอมพิวเตอรสวนบุคคล ที่นับวันที่จะมีราคาถูกลงและนับวันจะมีความ
สามารถเพิ่มขึ้นเรื่อย ยอมเปนปจจัยสนับสนุนทําใหการรังวัดดวยภาพดิจิทัลกาวหนาและแพรหลายมากยิ่งขึ้น
ระบบประมวลผลภาพถายดวยเทคนิคการรังวัดดวยภาพที่อยูในรูปแบบของซอฟตแวร (softcopy) มีผู
ผลิตรายใหญในตลาดโลกจํานวนหนึ่ง ปจจุบันมหาวิทยาลัยในยุโรป ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกาตางก็มีงานวิจัย
และสรางระบบรังวัดดวยภาพชนิด Softcopy ไวใชเอง
ซอฟต แ วรสํ า หรับ การประมวลผลภาพที่ มี เทคนิ ค สามารถนํ า มาประยุ ก ต ใช ได ก ารรังวัด ด ว ยภาพ
สามารถแบงออกเปนกลุมใหญได 4 กลุม ตามขีดความสามารถ ขอบขายการทํางาน ไดดังนี้

1.4.1 ซอฟตแวรสําหรับงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศอัตโนมัติเต็มรูปแบบ
ในเชิงพาณิชยมีบริษัทผูผลิตระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัลเปนจํานวนหนึ่งที่พัฒนาซอฟตแวรหรืออุปกรณ
เสริมบางสวนเพื่อใชในการรังวัดบนภาพถายทางอากาศโดยเฉพาะ ซอฟตแวรมีขอบขายสามารถทํางานตอบ
สนองตอความตองการในกระบวนการในงานรังวัดดวยภาพครอบคลุมทั้งหมด ซึ่งกระบวนการที่สําคัญไดแก การ
จัดวางภาพภายใน การรังวัดพิกัดภาพ การรังวัดและงานคํานวณขายสามเหลี่ยมที่ การวัดแบบจําลองระดับสูง
พรอมเครื่องมือตรวจสอบขอผิดพลาดและแกไข การผลิตภาพถายดัดแกออรโท การโมเสคภาพถายทางอากาศที่
มีคาพิกัดภาคพื้นดินใหเปนผืนใหญตอเนื่องเพื่อตัดออกเปนระวางแผนที่ดิจิทัล ในระบบที่มีขีดความสามารถสูงก็
จะสามารถวัดพิกัดภาพไดอยางอัตโนมัติทั้งบนภาพโมโน และภาพคูสามมิติ แตอยางไรก็ตามตองอาศัยสายตาผู
ปฏิบัติงานในการตรวจสอบผลลัพธและแกไขขอผิดพลาดบางสวนที่ยังปรากฏหรืออยูบนแบบจําลองสามมิติที่ได
จากาการรังวัดอัตโนมัติ ชุดซอฟตแวรเหลามีผูผลิตจํานวนหนึ่ง ไดแก
• Z/I Imaging (http://www.ziimaging.com)
• Leica/Helava (http://www.lhzsystem.com)
• Virtuozo (http://www.supresoft.com)
• Inpho, Stuttgart (http://www.inpho.de)
• Internaitonal Systemap หรือ ISM (http://www.ismcorp.com)
• ERDAS Imagine (http://www.erdas.com) รุ น ตั้ งแ ต 8.5 ขึ้ น ไป เมื่ อ ผ น วก ใช งาน ร ว ม กั บ
StereoAnalyst และ OrthoBasePro
• PCI Geomatics ตั้งแตรุน 8.0 ขึ้นไป, http://www.pcigeomatics.com
• DAT/EM (http:/www.datem.com)
• E-FOTO Project, ชุดซอฟตแวรเปดรหัสสําหรับการศึกษาวิจัยดานการสํารวจรังวัดดวยภาพ โดย
Department of Cartographic Engineering, Military Institute of Engineering, Brazil

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-9 1.4 ระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัล

1.4.2 ซอฟตแวรสําหรับงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศครอบคลุมงานบางสวน
นอกจากนั้นยังมีชุดซอฟตแวร softcopy ที่อยูในระดับราคาปานกลางอีก จะไมมีฟงกชันเชนการวัดจุด
เพื่ อการทําขายสามเหลี่ยมอัตโนมัติ และการวัดจุดระดับแบบอัตโนมัติ บางซอฟตแวรทําหนาที่คํานวณขาย
สามเหลี่ยมทางอากาศเพียงอยางเดียว บางซอฟตแวรเนนใชผลิตภาพถายออโทอยางเดียว ผูผลิตเหลานี้ไดแก
• ERDAS Imagine (http://www.erdas.com) รุน ที่ใชงานบน Unix Workstation เมื่ อผนวกใชงาน
รวมกับ OrthoMax
• ERDAS Imagine (http://www.erdas.com) รุ น ตั้ ง แต 8.4 ลงมา เมื่ อผน วกใช ง าน ร ว ม กั บ
OrthoBase และ StereoAnalyst บน Window Platform
• PCI Geomatics จนถึงรุน 7 ลงมา, http://www.pcigeomatics.com
• DVP Station, by DVP-GS Canada, http://www.dvp.ca
• Racurs, Russia, http://www.racurs.ru
• Desktop Mapping System (USA) , http://www.rwel.com
• Desktop Digital Photogrammmetry System by 3D-Mapper Pty, Australia
(http://www.3dmapper.com)
นอกจากนี้ในตลาดยังมีซอฟตแวรที่ทําหนาที่คํานวณปรับแกงานขายสามเหลี่ยมโดยเฉพาะ ที่แพร
หลายไดแกไดแก PACE-M, PAT-M, PAT-B, Visual Giant, Albany, Orima, Kblock

1.4.3 ซอฟตแวรสําหรับการสํารวจระยะไกลที่มีฟงกชันของการสํารวจรังวัดดวยภาพ
ซอฟตแวรประมวลผลภาพถายดาวเทียมที่มีฟงกชันหลายอยางใชงานรวมกับงานรังวัดดวยภาพได ผู
ผลิตซอฟตแวรจึงไดมีการสรางฟงกชันเพิ่มเติมในการจัดการภาพถายทางอากาศหรือภาพถายสําหรับงานรังวัด
ใหซอฟตแวรมีความสามารถในการจัดวางภาพภายในได สามารถคํานวณพารามิเตอรการจัดวางภาพภายนอก
โดยอาศัยการกําหนดพิกัดภาพถายคูกับพิกัดภาคพื้นดิน เมื่อมีขอมูลความสูงของภูมิประเทศในรูปแบบของแบบ
จําลองระดับก็สามารถใหกําเนิดภาพดัดแกออรโทได ภาพถายออรโทก็สามารถนํามาโมเสคเขาดวยกัน เนื่องจาก
ซอฟตแวรสําหรับการสํารวจระยะไกลมักจะมีฟงกชันนี้เปนพื้นฐานอยูแลว ซอฟตแวรสําหรับการสํารวจระยะไกล
เหลานี้ไดแก
- ENVI by Research Systems, Inc. (RSI), http://www.rsinc.com
- ER Mapper by Earth Resource Mapping Inc., http://www.ermaper.com
- Geographic Resources Analysis Support System or GRASS ( http://www.geog.uni-
hannover.de/grass/ ดาวโหลดไดฟรี)

1.4.4 ซอฟตแวรสําหรับงานรังวัดระยะใกลดวยภาพถายดิจิทัล
ซอฟตแวรนี้ออกแบบไวเพื่อการรังวัดระยะใกล สําหรับการประยุกตใชงานในการรังวัดดวยภาพดิจิทัลที่
ไดจากกลองถายภาพดิจิทัลในตลาดทั่วไป การวัดจุดจะไมมีการวัดโดยการชวยการมองเห็นดวยสามมิติ แตจะ
อาศัยการตัดกันของรังสีจํานวนมาก เนื่องจากกระบวนการถายภาพทําไดสะดวก และรังวัดไดงาย

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-10 1.4 ระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัล

ซอฟตแวรเหลานี้จะมีราคาระดับบุคคลทั่วไปซื้อหาไดกลาวคือในระดับหลายรอยเหรียญสหรัฐไปจนถึง
พันเหรียญสหรัฐ เชน
• Photomodeler,
• 3D Builder,
• ShapeQuest,
• Canoma,
• Vexcel FotoG เปนตน
ซอฟตแวรเหลานี้ถูกนําไปใชงานในดานตางๆที่แตกตางจากนิยามเดิมในทางการรังวัดดวยภาพหลาย
ประการ สวนหนึ่งไดแกการสรางแบบจําลองสามมิติเพื่อสนับสนุน ภาพยนตร การบันเทิง การโฆษณา และสันท
นาการ การทํางานมักจะใชซอฟตแวรและกลองถายดิจิทัลในทองตลาดทั่วไปบันทึกภาพ แลวสรางแบบจําลอง
สามมิติผลลัพธที่ไดจะถูกนําเขาซอฟตแวรชวยเขียนแบบ ซอฟตแวรสรางภาพสามมิติ ตางๆ
นอกจากนี้ยังมีชุดซอฟตแวรสําหรับการศึกษา ที่เปนซอฟตแวรใหเปลา ผูใชสามารถดาวนโหลดไดเอง
จากอิ น เตอร เ นตได แ ก ARPENTURE (Architectural Photogrammetry Network Tool for EdUcation and
Research) ซี่ งเป น Web-based Application พั ฒ น า ขึ้ น ด ว ย ภ า ษ า Java ส า ม า รถ ทํ า งา น ร ว ม กั บ
Photomodeler ได ARPENTURE แรกเริ่ม พั ฒ นาโดยทีม นั กวิจัยสองทีม จาก GAMSAU-CNRS และ ENSAIS
ประเทศฝรั่งเศส

1.4.5 ซอฟตแวรสําหรับงานรังวัดแบบจําลองสามมิติของเมือง
ปจจุบันความตองการแบบจําลองสามมิติของที่มีความละเอียดถูกตองทางตําแหนงสูง มีรายละเอียด
ในระดับรายอาคารและตึก มีโครงสรางการจัดเก็บเปนแบบจําลองสามมิติ สามารถนําไปใชในการวางแผนดาน
การจัดการการใชที่ดินและอาคาร ความปลอดภัยในเมือง (Urban safety) โดยเฉพาะการวางแผนโครงขายการ
สื่อสารโทรคมนาคม การรังวัดพิกัดในสามมิติของอาคาร ตึก บาน จากภาพถายทางอากาศมาตราสวนเปนทาง
เลือกที่เหมาะสมมากในปจจุบัน
ดวยเหตุนี้จึงมีการวิจัยและนํ าไปสูการพัฒ นาซอฟตแวรสําหรับ การรังวัดที่เนน ให ผลลัพ ธเปนแบบ
จําลองสามมิติของเมืองโดยเฉพาะและมีความเปนอัตโนมัติ โดยมิตองอาศัยการมองเห็นสามมิติบนภาพคูสาม
มิติและใชสายตาในการวัดจุดพิกัดสามมิติประกอบการใชมือ
การรังวัดโดยอาศัยซอฟตแวรสําหรับรังวัดแบบจําลองสามมิติของเมือง ทําไดทั้งชนิดกึ่งอัตโนมัติ โดย
การอาศัย ตนแบบ(template) ของตึกและบานไปวางบนภาพถายทางอากาศ พรอมกับการปรับการวางตัวและ
พารามิเตอร ภาพของตนแบบจะไปปรากฏบนภาพคูสามมิติถูกตองระดับหนึ่ง หลังจากนั้นซอฟตแวรจะทําการ
จัดวางตนแบบใหถูกตองพรอมกับไปจับคูภาพบนภาพคูสามมิติ
และเมื่อสภาวะอํานวย ซอฟตแวรสามารถที่จะวัดกลุมของแบบจําลองสามมิติของเมืองไดโดยอัตโนมัติ
ในกรณีนี้ก็จะทําใหการรังวัดมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ตัวอยางของชุดซอฟตแวรสําหรับการรังวัดแบบจําลองของเมือง เหลานี้ไดแก
• Cyber-City Modeler โดย CC-Modeler AG, Switzerland (http://www.cybercity.tv)
• InJect โดย Inpho GmbH, Germany (http://www.inpho.de)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-11 0

รูปภาพ 1-6 ตัวอยางแบบจําลองของเมือง (Massachuset Institure of Technology MIT )

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-12 1.5 ผลิตผลที่ไดจากงานรังวัดดวยภาพ

1.5 ผลิตผลที่ไดจากงานรังวัดดวยภาพ
ผลิตผลที่ไดจากงานรังวัดดวยภาพโดยหลักแลวก็คือคาพิกัดของวัตถุที่ตองการ เมื่อมีการแปลภาพ ขอ
มูลประกอบอื่นๆ พรอมกับงานจําแนกในสนาม ( field classification) เขาไปก็จะสามารถระบุชนิด ประเภท และ
ชื่อวัตถุลงกํากับไปกับขอมูลที่รังวัดได ความละเอียดถูกตองของคาพิกัดที่ไดขึ้นอยูกับกระบวนการ และโดย
เฉพาะมาตราสวนของภาพที่ใชเปนสําคัญ
ปจจุบันเนื่องจากกระบวนการเปนดิจิทัล ทําใหขอมูลภาพที่บันทึกอยูบนภาพสามารถนํามาใชประโยชน
ไดมากกวาเมื่อกอน โดยเฉพาะการผลิตภาพถายออโท ซึ่งแตเดิมถูกจํากัดดวยกระบวนการที่ยุงยาก ตองใช
เครื่องมือที่ซับซอนและตองทําในสภาวะของหองมืด
ผลิตผลเหลานี้ไดแก:-
• คาพิกัดของวัตถุในสามมิติ (X,Y,Z) ในรูปแบบตางๆ ทั้ง ASCII และไบนารี
• คาพิกัดของวัตถุพรอมความสัมพันธระหวางจุดสําหรับขนาด ตําแหนง และรูปรางของวัตถุ
TAB BLDG
xxx.xxx yyy.yyy zzz.zzz
xxx.xxx yyy.yyy zzz.zzz
xxx.xxx yyy.yyy zzz.zzz
xxx.xxx yyy.yyy zzz.zzz
xxx.xxx yyy.yyy zzz.zzz

รูปภาพ 1-6 ตัวอยาง รูปแบบของคาพิกัดที่วัดได

• แผนที่ลายเสน ที่เปนการแสดงผลของความสัมพันธระหวางจุดสําหรับขนาด ตําแหนง และรูปรางของ


วัตถุ

รูปภาพ 1-7 ตัวอยางของแผนที่ลายเสน บริเวณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จัดทําโดยภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-13 1.5 ผลิตผลที่ไดจากงานรังวัดดวยภาพ

• แบบจําลองระดับ คือการจัดเก็บ ประมวลผลและนําเสนอ คาระดับของจุดที่เปนความสูงภูมิประเทศ


แบบจําลองระดับสามารถนําไปใชในงานวิศวกรรมตางๆได โดยเฉพาะในยุคของการสํารวจรังวัดดวยดิ
จิทัลสามารถนําไปใชในการสรางแบบจําลองสามมิติ แบบจําลองสามมิติเสมือนจริง

รูปภาพ 1-8 แบบจําลองระดับแสดงในรูปแบบสามมิติ บน) ซอนทับดวยภาพถายทางอากาศ ลาง) แสดงดวยพื้นสีเขียวพรอมแสงเงา

• แผนที่ภาพ คือแผนที่ที่ผลิตไดจากภาพถายทางอากาศ โดยนําภาพถายทางอากาศมาทําการแกความ


ผิดเพี้ยนเนื่องจากเรขาคณิตของการถายภาพ ผลลัพธที่ไดจะเปนภาพที่มีมาตราสวนและมีความถูก
ตอง สามารถวัดพิกัด หาขนาด และรูปรางของวัตถุได เชนเดียวกับแผนที่ลายเสน แผนที่ภาพสามารถ
ผลิตไดรวดเร็วกวาแผนที่ลายเสนและมีปริมาณขอมูลบนแผนที่มากกวาโดยที่ยังไมมีการแปลความ
หมาย แตอยางไรก็ตามแผนที่ภาพตองใชเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย

รูปภาพ 1-9 แผนที่ภาพบริเวณโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จังหวัดชลบุรี

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-14 1.5 ผลิตผลที่ไดจากงานรังวัดดวยภาพ

• แบบจําลองสามมิติ คือการนําผลการรังวัดคาพิกัดในสามมิติ ในที่นี้ไดจากการรังวัดบนภาพ ในระหวาง


การรังวัดมีการคํานึงถึงการเชื่อมตอระหวางจุด เพื่อใหสามารถจัดเก็บรูปทรงของวัตถุดวย ผลลัพธที่ได
สามารถนําไปใชในการจําลองสถานการณเพื่อการฝกการบิน การวางผังเมือง การวางแผนเพื่อติดตั้ง
เครือขายวิทยุสื่อสารและสถานีเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนตน การจําลองแบบสิ่งปลูกสรางในเมือง
ปจจุบันนิยมเรียกวาแบบจําลองเมือง (City Modeling)

ก) แบบจําลองสามมิติ ข) แบบจําลองสามมิติพรอมแสงเงา
รูปภาพ 1-10 ภาพแบบจําลองสามมิติ

• แบบจําลองเสมือนจริง ในภาพเปนตัวอยางของแบบจําลองสามมิติ เปนแบบจําลองของวัตถุที่ไดจาก


การรังวัดขนาดรูป รางดวยภาพถายทางอากาศ คลายกับแบบจําลองสามมิติ แตมีการนําลวดลาย
(texture) มาประกอบเขาแบบจําลองทําใหแบบจําลองดูสมจริงยิ่งขึ้น

รูปภาพ 1-11 ภาพแบบจําลองเสมือนจริงของอาคารเรียนและปฏิบัติการ render ดวย PovRay (www.povray.org)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-15 1.6 หนวยงานทําแผนที่เกี่ยวของกับการรังวัดดวยภาพ

1.6 หนวยงานทําแผนที่เกี่ยวของกับการรังวัดดวยภาพ
การใชการรังวัดดวยภาพเพื่อทําแผนที่มีการใชมากมายและหลากหลายแนวทาง หนวยราชการใชภาพ
ถายทางอากาศทั้งทางตรงและทางออม ในที่นี้จะไดกลาวถึงหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรง
กรมแผนที่ทหารเปนหนวยงานราชการที่มีอํานาจหนาที่ในการบินถายภาพทางอากาศ มีอุปกรณที่ใชใน
การบินถายทางอากาศและประมวลผลอยางครบถวน การบินถายภาพทางอากาศเพื่อการสนับสนุนภาครัฐและ
เอกชน เพื่อการพัฒนาและฟนฟูประเทศ ภารกิจหลักของกรมแผนที่ทหารคือการผลิตแผนที่ภูมิประเทศมาตรา
สวน 1:50,000 และ 1:250,000 เพื่อภารกิจทางทหารและสนับสนุนกิจการพลเรือน
หนวยราชการะดับกระทรวง กรม กอง ของรัฐบาลก็สามารถขอรับการสนับสนุนจากรมแผนที่ทหารถา
หากมีขอมูลแผนที่พรอมที่จะใหบริการ กรณีที่มีความตองการในลักษณะอื่นก็สามารถที่จะทําขอมูลแผนที่ได ซึ่ง
อาจทําเองจากกรอบกําลังคนที่มีหรือวาจางเอกชนในการทําแผนที่ ซึ่งจะตองอยูภายใตกฎหมายวาดวยการจาง
เอกชนทําแผนที่

1.7 วิชาชีพ องคกรวิชาชีพ


การเรียนการสอน วิชาชีพ และองคกรวิชาชีพมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน สถาบันอุดมศึกษา สถาบัน
วิชาชีพทําหนาที่ผลิตบุคคลการ

1.7.1 การเรียนการสอน
การเรียนการสอนวิชาการรังวัดดวยภาพอยางเปนระบบมีทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และวิทยาลัยวิชา
วิ ช าชี พ ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย และสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาได แ ก สถาบั น เทคโนโลยี แ ห ง เอเซี ย จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย โดยภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา ภาควิชา
ภูมิศาสตรสังกัดมหาวิทยาลัยตางๆ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โรงเรียนนายสิบแผนที่แหงกองบัญชาการทหาร
สูงสุด

1.7.2 องคกรวิชาชีพระดับประเทศ
องคกรวิชาชีพในประเทศไทยที่เกี่ยวของกับการรังวัดดวยภาพถายและสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของขางเคียง
ไดแก

1.7.2.1 สมาคมสํารวจและการแผนที่แหงประเทศไทย
สมาคมการสํารวจและการแผนที่ (Surveying and Mapping Society) ไดถือกําเนิดอยางเปนทางการ
เมื่อป พ.ศ. 2542 โดยกอตั้งมาจากชมรมวิศวกรรมสํารวจ สมาคมการสํารวจและการแผนที่ตองการสงเสริม
ประสานความรวมมือใหมีการพัฒนาดานบุคคลากร ดานเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม มีการกําหนดรูปแบบ
แนวทางปฏิบัติ ความรับผิดชอบตอวิชาชีพ เพื่อใหมีการพัฒนาวิชาการดานการสํารวจและขอมูลแผนที่ ที่มีประสิ
ผล ถูกตอง และสามมารถนําไปใชไดอยางมั่นใจ เพื่อการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา
ดังที่กลาวไวในวัตถุประสงค ดังนี้
1. สงเสริม เผยแพร และสนับสนุนความสําคัญของวิชาการและวิชาชีพ ดานการสํารวจและการแผนที่

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-16 1.7 วิชาชีพ องคกรวิชาชีพ

2. เปนสื่อกลางในการติดตอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรูเอกสารการวิจัย ผลงาน ขอสังเกตและ


ประสบการณระหวางสมาชิก
3. รวมมือกับชมรม สมาคม องคการ หรือสถาบันอื่นใดทั้งในและตางประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการ
สงเสริมการศึกษา การประกอบอาชีพ และดําเนินกิจกรรมทางดานการสํารวจ และแผนที่ เพื่อให
บรรลุผลสําเร็จอันเปนประโยชนแกวงการโดยรวมทั้งทางตรงและทางออม
4. ยกระดับสถานภาพทางสังคมของสมาชิก
5. สงเสริมความสามัคคีระหวางสมาชิก
6. สงเคราะหสมาชิกในดานสวัสดิการตางๆ

1.7.2.2 สมาคมภูมิศาสตรประเทศไทย
สมาคมภูมิศาสตรแหงประเทศไทย ( Geographical Association of Thailand) ถือกําเนิดเพื่อเปนศูนย
กลางเชื่องโยงนักวิชาชีพภูมิศาสตรรวมไปจนถึงครูสอนวิชาภูมิศาสตร วัตถุประสงคของสมาคมภูมิศาสตรแหง
ประเทศไทยไดแก
1. เผยแพรความรูในวิชาการดานภูมิศาสตรอยางกวางขวางแกประชาชนชาวไทย
2. สงเสริมการศึกษา การคนควา และการวิจัยในวิชาภูมิศาสตรทุกสาขา
3. สงเสริมการแลกเปลี่ยนความรูวิชาภูมิศาสตรทั้งภายในและระหวางประเทศ
4. สงเสริมวิชาชีพทางภูมิศาสตรทุกสาขา
สมาคมภูมิศาสตรแหงประเทศไทยใช “วารสารภูมิศาสตร (Geographical Journal)” เปนสื่อกลางในการ
ติดตอระหวางสมาชิกและเผยแพรผลงานวิชาการ โดยกําหนดออกปละ 3 ฉบับ สมาคมภูมิศาสตรประเทศไทย
จัดใหมีการประชุมวิชาการประจําป โดยมีชื่อวา การประชุมวิชาการประจําปของสมาคมภูมิศาสตร

1.7.2.3 สมาคมสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร
สมาคมสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร (Remote Sensing And GIS Association of
Thailand : RESGA) เปนสมาคมวิชาชีพของกลุมนักวิชาชีพทางดานการสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศ
ภูมิศาสตรในแงของการวิจัยพื้นฐานและการประยุกตใชงาน ในดานการใชที่ดิน การเกษตร สิ่งแวดลอม แผนที่
ทรัพยากรแหลงน้ํา ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรการที่ดิน ผังเมือง การวิเคราะหพื้นที่เชิงระบบและโมเดลเชิงพื้นที่
เพื่อการพัฒนา
สมาคมสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตรมีการใชสื่อ “วารสารสมาคมสํารวจขอมูลระยะ
ไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร” เปนวารสารกลางเพื่อเผยแพรงานวิจัย ทั้งการวิจัยพื้นฐานและการประยุกต
ตลอดจนบทความทางวิชาการความกาวหนาทางเทคโนโลยีอวกาศ และศาสตรตางๆที่เกี่ยวของ

1.7.3 องคกรวิชาชีพระดับนานาชาติ
องคการวิชาชีพในระดับนานาชาติที่สําคัญและมีบทบาทในการสงเสริมพัฒนาเทคโลยีสํารวจรังวัดดวย
ภาพถาย ที่มีอิทธิพลหรือสงผลทั่วโลกไดแก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-17 1.7 วิชาชีพ องคกรวิชาชีพ

1.7.3.1 The International Society for Photogrammetry and Remote


Sensing (ISPRS)
The International Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ISPRS) เปนองคกรวิชาชีพที่
เกี่ยวเนื่องจากงานรังวัดดวยภาพ การสํารวจระยะไกล และวิทยาการสารสนเทศปริภูมิ ( spatial information
science) สมาคมก อ ตั้ งในป ค .ศ. 1910 โดยมี ชื่ อ ครั้ง แรกว า the International Society for Photogrammetry
(ISP) เทานั้น โดยมีประธานสมาคมทานแรกคือ Eduard Dolezal ชาวออสเตรีย ภายหลังจากนั้น 70 ปเนื่องจาก
ความเกี่ ย วเนื่ อ งและขอบข า ยของวิ ช าการ สมาคมจึ งได เปลี่ ย นชื่ อ ใหม เป น The International Society for
Photogrammetry and Remote Sensing (ISPRS) ในป ค.ศ. ดังที่ปรากฏในทุกวันนี้
The International Society for Photogrammetry Remote Sensing เปนหนวยงานที่ไม สังกัดรัฐบาลที่
อุทิศตนเพื่อการพัฒนาการของความรวมมือระหวางประเทศเพื่อความกาวหนาของการรังวัดดวยภาพและการ
สํารวจระยะไกลตลอดจนการประยุกตใชงาน สมาคมปฎิบัติงานโดยไมมีการแบงแยกเผาพันธุ ศาสนา ชาติ หรือ
ลัทธิการเมือง ภาษาที่ใชเปนทางการคือภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และ เยอรมัน
ความสนใจทางวิทยาการไดแก การรังวัดดวยภาพ การสํารวจระยะไกล ระบบสารสนเทศปริภูมิ (spatial
information system) และ วิทยาการที่เกี่ยวของอื่นๆซึ่งรวมถึง ภูมิศาสตร ยีออเดซี การสํารวจ วิทยาการของ
ธรรมชาติ โลก และวิศวกรรม และการปกปองและติดตามสิ่งแวดลอม นอกจากนั้นยังรวมถึงการประยุกตใชใน
การออกแบบและผลิต งานสถาปตยกรรม และการอนุรักษอนุสาวรีย การแพทยและอื่นๆ
กิจกรรมหลักของสมาคมไดแก
1. กระตุนใหมีการรวมตัวกันของสมาคมการรังวัดดวยภาพและสํารวจระยะไกลระดับประเทศและภูมิ
ภาค
2. ริเริ่มและประสานงานการวิจัยในการรังวัดดวยภาพและสํารวจระยะไกล
3. จัดใหมีการปะชุมวิชาการ (Symposia and Congresses) อยางสม่ําเสมอ
4. ทําใหมีการหมุนเวียนการวิเคราะหวิพากษวิจารณที่เปนผลมาจากการวิจัยโดยอาศัยสื่อสิ่งพิมพ the
International Archives of Phtogrammetry and Remote Sensing
5. สงเสริมใหมีการตีพิมพและแลกเปลี่ยนบทความวิชาการและวารสารที่เกี่ยวของกับการสํารวจดวย
ภาพและการสํารวจระยะไกล
6. สนับสนุนใหมีความรวมมือและประสานงานกับหนวยงานวิทยาการอื่นในระดับนานาชาติที่เกี่ยว
ของ
การจัดการและบริหารของ ISPRS ดําเนินการภายใต the ISPRS Council โดยจะประกอบดวยสมาชิกที่
ไดรับ การเลือกจากทั่วโลก ในการสงเสริมพั ฒ นาความรู ความกาวหนา ISPRS ไดจัดโครงสรางคณะทํางาน
ประกอบดวย Technical Commission หลักอยู 7 กลุมดังนี้
Commission I Sensors, Platform and Imagery
Commission II System for Data Processing, Analysis and Representation
Commission III Theory and Algorithms
Commission IV Mapping and Geographic Information Systems
Commission V Close Range Techniques and Machine Vision
Commission VI Education and Communications

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-18 1.7 วิชาชีพ องคกรวิชาชีพ

Commission VII Resources and Environment


โดยที่ แ ต ล ะ Commission ที่ ป ระกอบดว ยคณะทํ างาน (Working Group) ย อ ยต างๆ ที่ มี ส มาชิ กใน
สาขาวิทยาการเดียวกันเปนสมาชิกรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พบปะเพื่อเสนอผลงานวิชาการเปนระยะๆ ใน
รูปแบบของการประชุม(meeting), การประชุมปฏิบัติการ (workshop) การแสดงผลงาน (symposium) กอนการ
ประชุมวิชาการนานาชาติ (International Congress) ทุก 4 ป
ทุกๆ 4 ป ISPRS จะจัดใหมีการประชุมวิชาการนานาชาติ International Congress ที่เปนเวทีสําหรับ
การเสนอผลงานวิชาการ โดยช วงที่ ผานมาได ดํ าเนิ นการจัด ณ. โตเกียว (1988), วอชิงตั น (1992), เวียนนา
(1996), อั ม สเตอรดั ม (2000) และจะจั ด เป น ครั้ง ที่ 20 หรือ the ISPRS XXth Congress ที่ อิ ส ตั ล บู ล ในป คศ.
2004
ผลการนําเสนอบทความในการประชุมวิชาการในวาระตางๆจะเผยแพรในรูปแบบของเอกสารประชุม
วิ ช าการ International Archives of Photogrammetry and Remote Sensing (IAPRS) ซึ่ ง สามารถใช เ ป น
เอกสารอางอิงในการศึกษา วิจัยและพัฒนา ตลอดจนการติดตามความกาวหนาทางเทคโนโลยีการรังวัดดวย
ภาพถายเปนอยางดี

1.7.3.2 The European Organization for Experimental


Photogrammetric Research (OEEPE)
The Organisation Européen d’Etudes Photogrammétriques Expérimentales / European
Organization for Experimental Photogrammetric Research (OEEPE) เป นองคกรความรวมมือในยุโรปกอ
ตั้ ง ใน ป ค .ศ.1953 ที่ กรุ ง ป ารี ส ต าม ม ติ ของ the Council of the Organisation for European Economic
Coorperation ประกอบดวยสมาชิก 16 ชาติในยุโรป ซึ่งดังเดิมมุงเนนที่การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบงานทางดาย
การสํารวจดวยภาพถายโดยตรง แตปจจุบันไดมีการกําหนดขอบขายที่กวางขวางกวาเดิมมาก ดังปรากฎใน
OEEPE Mission Statement updated 07-09-1999 (OEEPE) ดังนี้
“เพื่อพัฒนาและปรับปรุงวิธีการ ระบบ และมาตรฐานในการบันทึกขอมูล ประมวลผล การผลิต การ
บํารุงรักษา และการประกอบ สารสนเทศปริภูมิหลักและเพื่อสงเสริมใหใชขอมู ลเหลานั้น โดยมีการเนนการ
พัฒนาวิธีทางอากาศและอวกาศในการบันทึกขอมูล วิธีการดึงขอมูลจากแหลงเหลานั้น ตลอดจนการผนวกขอ
มูลเหลานี้ขอกับสารสนเทศจากแหลงอื่นๆ”
ซึ่งตรงกับเนื้อความเดิมจาก OEEPE Mission Statement ดังนี้
“The aim of the OEEPE is to develop and improve methods, systems and standards for
the acquisition, processing, production, maintenance and dissemination of core geospatial
information and to promote applications of all such data. Special emphasis is put on the further
development of airborne and spaceborne methods for data acquisition, on methods for
information extraction from these sources and on the integration of this information with information
from other sources.”

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-19 1.7 วิชาชีพ องคกรวิชาชีพ

1.7.3.3 The American Society for Photogrammetry and Remote


Sensing (ASPRS)
The American Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ASPRS) เปนองคกรวิชาชีพใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา กอตั้งในป 1934 ประกอบดวยสมาชิกนักวิชาชีพที่เกี่ยวของกวา 7,000 คนทั่วโลก โดยมี
คํ า ขวัญ ที่ ว า “The Imaging & Geospatial Information Society” ภารกิ จ ของสมาคมกล า วไวใน Mission of
the Society ดังนี้ “เพื่อสรางความรูที่กาวหนาและเพื่อปรับปรุงความเขาในศาสตรของการทําแผนที่และเพื่อสง
เสริมการประยุกตใชงานการรังวัดดวยภาพถาย การสํารวจระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และเทคโนโลยี
สนับสนุนอื่นๆ” (ASPRS)
วารสาร the journal of Photogrammetric Engineering & Remote Sensing ซึ่ ง รู จึ ก ในนานย อ ๆว า
PE&RS เปนวารสารหลักของสมาคมที่เกี่ยวของภาพ (image) และศาสตรและเทคโนโลยีของสารสนเทศปริภูมิ
(geospatial information science and technology)

1.7.3.4 The Asian Association of Remote Sensing (AARS)


The Asian Association of Remote Sensing (AARS) ก อ ตั้ ง ในป ค.ศ. 1979 ในระหว า งการจั ด
ประชุมวิชาการ Asian Conference on Remote Sensing (ACRS) ครั้งที่ 2 ณ. กรุงปกกิ่งประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน หลังจากที่การประชุม ACRS ครั้งที่หนึ่งจัดที่ประเทศไทย เพื่อเปนเครือขายขอมูลขาวสารของวิชา
ชี พ ส ง เสริ ม ประสานงานด า นการวิ จั ย และพั ฒ นา ซึ่ ง ทํ า ให ก อ กํ า เนิ ด Asian Remote Sensing Research
Information Network (ARSRIN) ภาระกิจหลักของ ARSRIN เพื่อทําหนาที่กอตั้งและตรวจสอบ (peer review)
วารสาร the Asian Journal of Geoinformatics. วารสาร Asian Journal of Geoinformatic ออกเปนฉบับ แรก
เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2000 โดยมีขอบขายครอบคลุม การสํารวจระยะไกล การรังวัดดวยภาพ งานสารสนเทศ
ภูมิศาสตร (GIS) และ การรังวัดพิกัดโลก (GPS)
นอกจากนั้ น AARS ยั ง จั ด การประชุ ม วิ ช าการประจํ า ป ทุ ก ป ที่ มี ชื่ อ เรีย กว า Asian Conference on
Remote Sensing เพื่อเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารดาน วิชาการ การประยุกตใช ดานเทคโนโลยี ทั้ง
นี้เพื่อการสงเสริมการนําเทคโนโลยีอวกาศ การสํารวจระยะไกลไปใชในทางปฏิบัติ
ในวาระที่การประชุมวิชาการ ACRS จะมาบรรจบครบรอบ 25 ปหรือครั้งที่ 25 นี้ในป พ.ศ. 2547 หรือ
ค.ศ. 2004 นี้ ประเทศไทยจะเปนเจาภาพดําเนินการประชุมวิชาการ ACRS ครั้งที่ 25 โดยมีหนวยงานในการ
ประสานงานและดําเนินการหลักคือสํานักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


1-20 1.8 คําถามทายบท

1.8 คําถามทายบท
1. การใช ง านจี พี เ อสในงานสํ า รวจรั ง วั ด ด ว ยภาพสํ า หรั บ ภาพถ า ยทางอากาศจี พี เ อส (GPS
Photogrammetry) มีความแตกตางกับการใชงานจีพีเอสเพื่อการสํารวจรรังวัดที่ดินหรืองานวิศวกรรม
ตางๆอยางไร
2. ชุดซอฟตแวรสําหรับการประมวลผลภาพถายดิจิทัลที่มีความสมบูรณเต็มรูปแบบ มีฟงกชันใดที่สําคัญ
ที่มีความโดดเดนแตกตางไปจากชุดซอฟตแวรสําหรับการประมวลผลภาพถายดิจิทัลที่มีฟงกชันจํากัด
และมักจะมีราคาประหยัดกวามาก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2 เรขาคณิตเบื้องตน
ในบทนี้จะไดกลาวถึงเรขาคณิตเบื้องตนสําหรับงานภาพถายทางอากาศไดแกคุณลักษณะของกลองถาย
ภาพทางอากาศ เรขาคณิตของการบินถายภาพทางอากาศ หลักการแปลงพิกัดในสองมิติและสามมิติ เรขาคณิต
ของภาพถายดิ่ง เพื่อใชเปนหลักการพื้นฐานในการประมวลผลรังวัดบนภาพ

2.1 เรขาคณิตของกลองถายภาพ
เรขาคณิตพื้นฐานสําหรับงานถายภาพคือการฉายผานเมื่อลําแสงตกกระทบวัตถุและสะทอนเขาหาฉาก
รับภาพนั้น เพื่อความงายในเบื้องตนจะสมมุติใหแสงเดินทางเปนเสนตรงในอุดมคติ รังสีจากจุดใดๆของวัตถุ P
สะทอนเปนเสนตรงผานจุดรวมแสง (Nodal point) ซึ่งในเบื้องตนนี้ก็คือจุดเปดถายภาพ (Exposure Station) ซึ่ง
ตอไปจะใชเปนตัวแทนตําแหนงของภาพขณะที่กําลังบันทึก ณ เวลานั้น

P’ PP ระนาบภาพเนกาตีฟ

p”
ระนาบภาพไดอาพอซิตีฟ

P
รูปภาพ 2-1 การเดินทางของแสงผานระนาบภาพผานศูนยกลางการฉาย

เมื่อลําแสงตกกระทบระนาบภาพ (Focal Plane) ตัวฟลมที่ไวแสงก็จะบันทึกภาพ ถากลองอยูในอุดมคติ


แลวจุดที่ฉายตั้งฉากจากจุดรวมแสงไปตั้งฉากกับระนาบภาพเรียกวาจุดมุขยสําคัญ (Principle Point : PP ) ดัง
ภาพ
ในการบันทึกภาพทั่วไปภาพจะปรากฏบนระนาบเนกาตีฟ ในทางปฏิบัติสําหรับงานรังวัดดวยภาพถาย
นิยมที่จะรังวัดและแปลภาพบนระนาบภาพไดอาพอซิตีฟซึ่งเปนระนาบของภาพพอซิตีฟที่มีความสวางของภาพ
สอดคลองกับภูมิประเทศ ทําใหการรังวัดและแปลภาพทําไดสะดวกไมสับสน ดังปรากฏในภาพ 2-1

2.1.1 กลองถายภาพทางอากาศ
กลองถายภาพทางอากาศมาตราฐานจะเปนกลองที่มีพื้นที่ฉากรับภาพใหญขนาด 9 นิ้ว x 9 นิ้วหรือ
ประมาณ 23 เซนติเมตร x 23 เซนติเมตร ซึ่งเมื่อกําหนดใหขนาดของภาพคงที่เชนนี้จะทําใหคามุมการมองเห็น
ของกลอง (Field of View : FOV) เปลี่ยนไปตามความยาวของกลอง ซึ่งสามารถพิจารณาไดจากรูปตอไปนี้

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-2 2.1 เรขาคณิตของกลองถายภาพ

d
d S
S


d S

และสามารถเขียนความสัมพันธเมื่อ S คือขนาดของกรอบภาพถาย และ d คือเสนทแยงมุมหรือขนาด


ของภาพสวนที่กวางที่สุดไดดังนี้
d = S2 + S2 สมการ 2-1

d
FOV = Ω = 2 ⋅ tan −1 ( ) สมการ 2-2
2⋅ f
โดยมากกลองถายภาพทางอากาศที่ไดมาตรฐานจะมีความยาวโฟกัสตางๆ และความกวางของมุมของ
การมองเห็น (Field of View : FOV) โดยทั่วจะใช
ความกวางของมุมของการมองเห็น ชื่อที่ใชเรียก
(Field of View : FOV)
Ω < 75° Normal Angle
75°<= Ω < 100° Wide Angle
Ω >=100° Super-Wide Angle
ตาราง 2-1 ชื่อที่ใชเรียกชนิดของเลนสตามความกวางของมุมการมองเห็น (FOV)

เมื่อนํามาใชเรียกลองถายภาพทางอากาศที่มีเลนสที่ความยาวโฟกัสตางๆ สําหรับความกวางของมุม
ของการมองเห็นจะสามารถคํานวณไดจากสูตรขางตน สําหรับโดยใชสมการ 2-2 นอกจากนี้สําหรับกลองถาย
ภาพทางอากาศยังมีชื่อเรียกเฉพาะเพิ่มขึ้นอีกคือ Intermediate Angle และ Narrow Angle (Albert 1989) ดังนี้

ชนิดกลอง Super-wide Wide Intermediate Normal Narrow


Angle Angle Angle Angle Angle
ความยาวโฟกัส f (มม.) 85 153 210 305 610
FOV (Ω) 124.8° 93.5° 75.5° 56.1° 29°
ตาราง 2-2 แสดงความสัมพันธชนิดของกลอง ความยาวโฟกัส และความกวางมุมการมองเห็น (FOV)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-3 2.1 เรขาคณิตของกลองถายภาพ

2.1.1.1 กลองถายภาพทางอากาศ
เปนเวลานับรอยปการถายภาพเพื่อการสํารวจรังวัดจะทําการบันทึกภาพลงบนฟลมเนกาตีฟเสียกอน
จากนั้นจึงนํามาอัดลางเพื่อทําสําเนาบนวัสดุอื่นๆที่เหมาะสมแกการใชงานเชน ฟลมไดอาพอซิตีฟ กระดาษอัด
ภาพโบรไมด กลองถายภาพทางอากาศที่ใชกันแพรหลายจะรองรับฟลมหนากวาง 9½ นิ้ว ยาวตั้งแต 125 ฟุต ไป
จนถึง 700 ฟุต (Kodak 1998) ซึ่งสามารถบันทึกภาพไดตั้งแต 150 ไปจนถึง 880 ภาพตามลําดับ ฟลมจะบรรจุ
อยู ในฟล ม คาสเซ็ต (Film Cassettes) วางอยูส ว นบนสุด ของกล อ งถ า ยภาพ สว นชุ ด เลนส (Lens Cone) ที่ มี
ความยาวโฟกัสตางๆ สามารถถอดเปลี่ยนไดตามความตองการ
ตัวอยางของกลองที่ใชในการรังวัดที่พบบอยและเปนมาตรฐานในอุตสาหกรรมทําแผนที่ในประเทศไดแก
กลองถายภาพจากผู Z/I Imaging Inc. และ LH System LLC กลองถายภาพทางอากาศดังกลาวมีลักษณะดัง
รูป

a) Z/I Imaging RMK TOP Aerial b) RC 30 Aerial Film Camera by


Survey System by Z/I Imaging LH System LLC.

รูปภาพ 2-3 ตัวอยางกลองถายภาพทางอากาศ

ในการบินถายภาพ ในอุดมคติแลวควรจะบันทึกภาพใหไดอยูในแนวดิ่งเสมอ เพื่อใหสวนซอนดานหนา


ดานขางเปนไปตามที่วางแผนไว เพื่อใหภาพถายครอบคลุมพื้นที่ตองการ ดังนั้นจึงตองมีการรักษาเรขาคณิตของ
ภาพถายดิ่ง ซึ่งจะทําใหไดคุณภาพโดยเฉพาะพื้นที่ที่ครอบคลุมจะเปนไปตามที่ตองการ อุปกรณดังกลาวประ
ดวย Gyro ที่มีความสามารถในการับรูแนวดิ่ง ดังนั้นอุปกรณดังกลาวจะใหกลองชี้ลงไปสูพื้นผิวโลกอยูในแนวดิ่ง
ตลอดเวลาในขณะที่เครื่องบินพุงทยานไปขางหนา อุปกรณดังกลาวเรียกวา gyro-stabilizer และมีลักษณะดังใน
ภาพ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-4 2.2 การบินถายภาพ

a) ZEISS T-AS b) WILD PAV 30


รูปภาพ 2-4 อุปกรณชวยใหกลองถายภาพทางอากาศมีความเสถียรและรักษาแนวดิ่ง (gyro-stabilizer)

2.2 การบินถายภาพ
เนื่องจากในพื้นที่ที่ตองการทําแผนที่หรือทําการวัดตําแหนง ขนาด รูปราง ของวัตถุดวยวิธีการรังวัดดวย
ภาพ ขอบเขตของภูมิประเทศหรือวัตถุอาจไมสามารถบันทึกใหเห็นปรากฏไดบนภาพเพียงภาพเดียว นอกจากนี้
ความตองการในการประมวลโดยเฉพาะการวัดพิกัดวัตถุนั้นตองวัดจากภาพคูสามมิติ ซึ่งเปนการวัดจุดจุดเดียว
กันบนภูมิประเทศ และจุดนั้นตองปรากฎบนภาพทั้งสองพรอมกันจึงจะสามารถคํานวนคาพิกัดในสามมิติได ดัง
นั้นจะตองทําการบินถายภาพใหคลอบคลุมพื้นโครงการ โดยการบินเปนแถวเปนแนวอยางเปนระบบ งายตอการ
ดําเนินการ และใหภาพที่ปรากฏมีความชัดเจนสม่ําเสมอกันทุกภาพ เรขาคณิตของภาพวัตถุที่ปรากฏสามารถ
พิจารณาความละเอียดถูกตองได ภาพถายทางอากาศสําหรับการรังวัดทําแผนที่จึงมีลักษณะที่ภาพมีการซอนกัน
ทั้งในแนวบิน (flight-line) และระหวางแนวบิน

บริเวณติดตั้งกลองถายภาพทางอากาศ

รูปภาพ 2-5 ตัวอยางของเครื่องบินชนิดใบพัดสองเครื่องยนตรติดตั้งกลองถายภาพทางอากาศ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-5 2.2 การบินถายภาพ

เมื่อไดทําการวางแผนกการบินถายภาพทางอากาศแลว โดยทั่วไปจะเริ่มดําเนินการบินบันทึกภาพโดย
การเลือกแนวบินที่ริมสุดดานใดดานหนึ่งแลวทําการบินบันทึกภาพในแนวบินนั้น โดยกอนที่จะเริ่มเขาแนวบินจริง
จะตองมีการเพื่อระยะทางใหพอที่เครื่องบินจะปรับตัวใหมีความเสถียรอยูในแนวดิ่ง หรือตองมีการเบนหัวเพื่อแก
ทิศทางลมที่เขาประทะเพื่อรักษาแนวบินใหเปนตามที่วางแผน การบันทึกภาพในแตละแนวบินมักจะบันทึกภาพ
เพื่อใหเกินขอบเขตที่จะบันทึกภาพเล็กนอยเชน 2 ถึง 3 กอนถึงแนวบินในพื้นที่และในสวนตอของแนวบินกอน
ออกจากพื้นที่ในแนวบินนั้น

แนวบิน

q%

รูปภาพ 2-6 สวนซอนดานหนาและสวนซอนดานขาง

เมื่อไดทําการบันทึกภาพสิ้นสุดหนึ่งแนวบินเครื่องบินก็จะกลับลํา พรอมเขาสูในแนวบินที่ติดกันและเริ่ม
ทําการบันทึกภาพโดยมีสวนซอนดานขางกับแนวบินกอนหนานี้บางสวน เพื่อวาใหครอบคลุมภูมิประเทศและเพื่อ
เรขาคณิตของการทํางานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ (Aerial Triangulation) ใหไดผลดี การบินถายภาพเปนแนว
บินหลายแนวบินซอนกันนี้เรียกวา “บล็อค” ของการบินถายภาพทางอากาศ
หากมองจากดานบนเหนือภูมิประเทศจะเห็นลักษณะของบล็อคดังภาพในการบินถายภาพบล็อคปกติ
จะบันทึกภาพซอนซอนดานหนาที่ขนานกับแนวบินคิดเปนระยะทาง p = 60% ของระยะทางความกวางของภาพ
บนพื้นดิน และสวนซอนดานขางระหวางแนวบินเปนระยะทาง q = 20% ถึง 30%

เมื่อพิจารณาสวนขยายจะเห็นดังภาพ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-6 2.2 การบินถายภาพ

q%

s
1-q%

1-p% p%
s
รูปภาพ 2-7 สวนซอนดานหนาและสวนซอนดานขาง

หากมองจากดานขางโดยมองขวางกับแนวบินและมองเขาหาแนวบินจะเห็นดังภาพ

b
แนวบิน

1-p% p% 1-q% q%

s s
รูปภาพ 2-8 สวนซอนดานหนาและสวนซอนดานขาง

จากภาพจะเห็นไดวาเมื่อมองขวางกับแนวบิน จะเห็นระยะหางระหวางจุดเปดถายสองจุดที่อยูในแนว
บินเดียวกัน ระยะนี้เรียกวาระยะฐาน (b) ซึ่งจะเปนสัดสวนโดยตรงกับสวนซอน ระยะฐาน b สามารถคํานวณได
จาก
b = (1 − p %) ⋅ S สมการ 2-3

ดังนั้นเมื่อบินถายภาพที่มาตราสวน 1:m หากใหขนาดของภาพถายทางอากาศเปน s และ ขอบเขตของ


ภาพที่ปรากฏบนพื้นดินเปน S จะสามารถหาระยะทางสวนซอนจากสวนซอนในแนวบิน p และสวนซอนระหวาง
แนวบิน q บนพื้นดินเปนระยะทาง P และ Q ไดดังนี้

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-7 0 ตัวอยางการคํานวณ

S = s⋅m
P = p⋅S สมการ 2-4
Q = q⋅S
โดยปกติ p คือระยะทางสวนซอนดานหนามักจะใช 60% และ q คือระยะทางสวนซอนดานขางมักจะใช
20-30%

ตัวอยางการคํานวณ
กําหนดใหภาพถายมีมาตราสวน 1:15,000 บินถายดวยภาพถายขนาดมาตรฐาน 23 ซม x 23 ซม เมื่อ
สวนซอนดานหนาเปน p = 60 % และสวนซอนดานขางเปน q = 30 % จงหาระยะบนพื้นดินทางซอนดานหนา
และดานขาง
วิธีทํา
จะไดวา ขนาดของภาพถายทางอากาศเปน s = 0.23 เมตร
เลขมาตราสวนของภาพถายทางอากาศเปน m = 15,000 เมตร
∴ ระยะทางการครอบคลุมของภาพบนพื้นดิน S = s * m = 0.23 ⋅ 15,000 = 3,450 เมตร
ระยะทางบนพื้นดินของสวนซอนดานหนา P = p ⋅ S = 0.60 ⋅ 3,450 = 2,070 เมตร ตอบ
ระยะทางบนพื้นดินของสวนซอนดานขาง Q = q ⋅ S = 0.30 ⋅ 3,450 = 1,035 เมตร ตอบ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-8 2.3 ผลลิตจากการบันทึกภาพ

2.3 ผลลิตจากการบันทึกภาพ
เมื่อทําการบินถายภาพทางอากาศโดยใชกลองถายภาพทางอากาศมาแลวภาพที่บันทึกไดจะถูกนําไป
สําเนาบนวัสดุตางๆเพื่อการใชงานในรูปแบบตางๆไดหลายรูปแบบ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

2.3.1 ชนิดของภาพตามวัสดุที่บันทึกภาพ
เมื่อทําการบันทึกภาพโดยเฉพาะภาพถายทางอากาศ ฟลมที่บรรจุอยูในกลองถายภาพจะถูกนํามาเขาสู
กระบวนการลางอัด ฟลมที่ใชในกลองถายภาพจะเปนวัสดุไวแสงเคลือบอยูบนวัสดุฟลมที่มีความคงทนและ
เหนียว และยืดหดตัวนอย เมื่อทําการลางอัดแลวสารไวแสงจะเปลี่ยนสภาพมีความคงที่บันทึกภาพไวได ภาพที่
บันทึกไดจะปรากฏเปน ภาพเนกาตีฟ จึงนิยมเรียกวา ฟลมเนกาตีฟ ภาพเนกาตีฟมักจะเก็บรักษาไวในหองควบ
คุมอุณหภูมิและเก็บไวเปนมวนในกลองปดมิดชิด ทั้งนี้เพื่อความประหยัดที่จัดเก็บ ความคงทน ปองกันแสง ปอง
กันฝุน ปองกันรอยขีดขวน และเพื่อความงายตอการนํามาใชงาน เนื่องจากการบันทึกภาพบนฟลมเนกาตีฟจะ
ปรากฏเปนภาพที่มีความมืดสวางจุดภาพบนภูมิประเทศที่กลับกับความเปนจริง ประกอบกับการบินถายภาพแต
ละครั้งมีคาใชจายสูง จึงนิยมที่จะไมนําฟลมเนกาตีฟมาใชงานโดยตรง

รูปภาพ 2-9 ลักษณะการเก็บฟลมเนกาตีฟ

เมื่อตองการนํามาใชงานก็จะมีการนําฟลมเนกาตีฟมาอัดสําเนา (contact print) โดยวัสดุที่ใชจะเปน


ฟลมชนิดไดอาพอซิตีพ ผลการอัดสําเนาบนภาพฟลมไดอาพอซิตีพทําใหไดภาพถายทางอากาศในรูปแบบของ
ภาพไดอาพอซิตีฟ ที่ฟลมมีโทนสีสอดคลองกับภาพของการสะทอนแสงบนภูมิประเทศ กลาวคือทําใหภาพของ
ภูมิประเทศปรากฎในลักษณะที่ผูใชงานสามารถแปลภาพไดงาย ภาพถายทางอากาศชนิดไดอาพอซิตีพ มีคุณ
สมบัติทางกายภาพใกลเคียงกับฟลมเนกาตีฟ คือมีความเสถียรยืดหดตัวนอย ทําใหสามารถใชรังวัดบนภาพถาย

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-9 2.3 ผลลิตจากการบันทึกภาพ

ไดละเอียดถูกตองในระดับไมครอน ฟลมไดอาพอซิตีพ จึงเปนผลลัพธหลักที่นําไปใชในการประมวลผลภาพตอ


เชน การใชวัดบนเครื่องรางแผนที่สามมิติ การใชแสกนเพื่อเปลี่ยนเปนรูปดิจิทัล
ในกรณี ที่ตองการใชงานภาพถายทางอากาศที่ไมตองการความละเอียดถูกตองสูง ในการแปลภาพ
ตลอดจนการวางแผนทั่วไป ภาพจากฟลมเนกาตีพก็จะสามารใชเปนตนฉบับอัดลงบน กระดาษโบรไมด หรือ
กระดาษอัดภาพถาย ซึ่งมีราคาถูก เปนวัสดุทึบแสงที่มีภาพภูมิประเทศปรากฏ ภาพบนกระดาษโบรไมดสามารถ
ใชตาเปลาสังเกตเห็นไดงาย แตอยางไรก็ตามไมเหมาะสําหรับการรังวัดบนภาพที่ตองการความละเอียดถูกตอง
สูง ภาพถ ายทางอากาศบนกระดาษโบรไมด จ ะมี ก ารยื ด หดตั วได ม าก โดยเฉพาะสาเหตุ จากความชื้น และ
อุณหภูมิ ภาพถายทางอากาศบนกระดาษโบรไมดมีราคาถูกใชงานไดคลองตัว ดังนั้นกระดาษโบรไมดจึงเหมาะ
สําหรับการใชงานทั่วไป การรังวัดวางแผนเบื้องตน การแปลภาพดวยสายตา การใชงานในการจําแนกในสนาม
ปจจุบันการรังวัดดวยภาพเขาสูยุดดิจิทัล ดังนั้นภาพถายทางอากาศในรูปแบบตางๆนี้สามารถเปลี่ยน
เปนรูปแบบดิจิทัลไดโดยการใชสแกนเนอรหรือเครื่องกราดภาพ โดยทั่วไปหากตองการผลิตแผนที่ที่มีความ
ละเอียดถูกตองสูงและไดความละเอียดถูกตองที่เปนมาตรฐานจะตองสแกนจากภาพที่พิมพบนฟลมไดอาพซิตีฟ
หากตองการประหยัด ไมตองการความคมชัดและไมตองการความละเอียดถูกตองสูงนัก อาจสามารถสแกนจาก
ภาพบนกระดาษโบรไมด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคการใชงาน

2.3.2 ชนิดของภาพตามโทนสีที่บันทึกได
ฟลมเนกาตีฟที่บรรจุอยูในกลองถายภาพมีหลายชนิดแบงตามชนิดของสารไวแสงที่เคลือบอยูบนแผน
ฟลม สารไวแสงมีการตอบสนองตอความเขมของแสง ชวงความยาวคลื่นของแสงในยานตางๆ เชน ยานแสงสี
แดง ยานแสงสีเขียว ยานแสงสีน้ําเงิน ตลอดยานที่ตามนุษยรับรูไดที่เรียนวา แพนโครมาติก (panchormatic)
และยานชวงคลื่นอินฟราเรด ในการใชงานสามารถเลือกใชไดตามวัตถุประสงค งบประมาณ โดยทั่วไปฟลม
บันทึกภาพถายทางอากาศสามารถแบงไดเปนสามกลุมคือ
• ฟลมสี (color film) สําหรับการบันทึกภาพสีธรรมชาติ
• ฟ ล ม ขาว-ดํ า (black and white film) สํ า หรับ การบั น ทึ ก ภาพโทนสี ขาวไปจึ งถึ งดํ า ซึ่ งเป น การ
บันทึกความเขาของแสงในทุกชวงความยาวคลื่นที่ตามนุษยมองเห็นไดที่เรียกวา แพนโครมาติก
(panchromatic)
• ฟลมอินฟาเรด (infrared film) สําหรับการบันทึกภาพในชวงคลื่นแสงยานอินฟราเรด มีประโยชน
ในการตรวจสอบพื้นที่ปาไม พืชพรรณ ผลการบันทึกจะไดภาพของพืชพรรณเดนชัด เนื่องจากชวง
คลื่นของแสงอาทิตยที่ถูกปลดปลอยมาจากพืชพรรณจะมีความเขมของแสงในยานอินฟราเรดสูง
มาก
• ฟลมสําเนา (duplicationg film) เปนฟ ลมที่ออกแบบไวสําหรับการสําเนาฟลมเนกาตีฟ ในการ
สําเนาฟลมจากเนกาตีฟดวยการสําเนาแบบสัมผัสตรง (contact print) นี้จะทําไดไดภาพจากเดิม
ที่เปนเนกาตีฟมีโทนสีกลับเปนตรงกันขาม นั่นคือทําไดภาพไดอาพอซิตีฟ

2.3.3 มาตราสวนของภาพถายทางอากาศ
ในการบันทึกภาพถายทางอากาศจะมีการเลือกชนิดความยาวโฟกัสของเลนส เพื่อใหการครอบคลุมของ
ภาพแตละภาพบนภูมิประเทศและมุมเฉียงของการบันทึกภาพโดยเฉพาะที่ขอบภาพแตกตางกัน ซึ่งจะทําใหภาพ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-10 2.3 ผลลิตจากการบันทึกภาพ

ของภูมิประเทศที่ปรากฏสามารถนําไปใชงานตามวัตถุประสงคตางๆได เชนการบันทึกเพื่อใหเห็นสิ่งปลูกสรางที่มี
การบดบังกันนอย หรือการบันทึกเพื่อใหการรังวัดมีความถูกตองทางตําแหนงทางราบและทางดิ่งสูง ปรากฏ
การณนี้สามารถที่จะวิเคราะหไดจากเรขาคณิตของภาพคูสามมิติซึ่งจะไดกลาวในบทตอไป
โดยทั่วไปการบันทึกภาพที่มาตราสวนใดจะคํานึงถึงวัตถุประสงคการใชงาน โดยเฉพาะการมองเห็น การ
แปลภาพเห็นรายละเอียดที่ตองการ ความละเอียดถูกตองที่ได ในประเทศไทย โดยทั่วไปมีการบันทึกภาพที่พบ
บอยอยูสามมาตราสวน โดยมีวัตถุประสงคตางๆ ไดแก

มาตราสวน วัตถุประสงค
1:6,000 เพื่อเห็นรายละเอียดที่ ชัดเจน สามารถมองเห็นเสนจราจรบนถนน ความละเอียดถูกตองทาง
ตําแหนงสูง สําหรับงานจัดการที่ดิน งานวิศวกรรมตางๆ สามารถใชผลิตแผนที่มาตราสวน
1:1,000
1:15,000- เพื่อใหเห็นภาพรวมของเมือง เห็นอาคารสิ่งปลูกสราง สําหรับการจัดการผังเมือง สามารถใช
1:20,000 ผลิตแผนที่มาตราสวน 1:4,000
1:50,000 เพื่อใหเห็นภาพรวมกวางๆของภูมิประเทศ ใชในการวางเบื้องตนไดดี และใชในการผลิตแผนที่
ภูมิประเทศมาตราสวนเล็ก เชน สําหรับการผลิตแผนที่มาตราสวน 1:50,000

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-11 2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ

2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ
การแปลงคาพิกัดในสองมิติเปนหลักการพื้นฐานที่ชวยในการวัดพิกัดภาพถาย การแปลงคาพิกัดในสอง
มิติสามารถใชหาความสัมพันธระหวางระบบพิกัดสองระบบ ความสัมพันธระหวางระบบพิกัดทั้งสองเมื่อกําหนด
ขึ้นและเมื่อทราบคาพิกัดของจุดใดๆจํานวนหนึ่ง ที่มีคาพิกัดในทั้งสองระบบ ในขั้นตอนนี้เราเรียกวา “การหา
ความสัมพันธระหวางระบบพิกัด”
เมื่อทราบความสัมพันธระหวางระบบพิกัดทั้งสอง คาพิกัดในระบบใดระบบหนึ่งก็สามารถแปลงเปนคา
พิกัดในระบบใหม ซึ่งเราเรียกวา “การแปลงคาพิกัด (Coordinate Transformation)”

2.4.1 ความสัมพันธเบื้องตน
ความสัมพันธเบื้องตนที่เปนพื้นฐานของการความสัมพันธระหวางระบบพิกัดในระนาบราบกลาวคือ จุด
หนึ่งเมื่อพิจารณาในระบบพิกัด x-y จะมีคาพิกัดเปน (x,y) แตเมื่อพิจารณาในระบบพิกัด ξ-η จะมีคาพิกัดเปน
(ξ,η)
ดังนั้นความสัมพันธระหวางระบบพิกัดทั้งสองสามารถนิยามไดดวยความสัมพันธตางๆ ประกอบกันคือ
การยายแกน (Translation) การยอขยายมาตราสวน (Scaling) การทํามุมตอกัน (Rotation) ดังนี้

2.4.1.1 การยายแกน (Translation)


การยายแกน (Translation) คือการที่แกนทั้งสองระบบพิกัดขนานกันแตมีจุดกําเนิดตางกันเปนระยะ
ขจัดทางแกน x และ y เปน ∆x และ∆y ตามลําดับ ดังปรากฏในรูป

(ξ,η)
(x,y)
∆x
ξ
∆y
x
รูปภาพ 2-10 ความสําพันธระหวางระบบพิกัด การยายแกน (Translation)

การยายแกน (Translation) เมื่อการยายแกนตามมีคาการขจัดตามแนวแกน x และ y เปน ∆x และ


∆y ซึ่งสามารถเขียนความสัมพันธในรูปคณิตศาสตรไดเปน

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-12 2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ

ξ = x + ∆x
สมการ 2-5
η = y + ∆y

2.4.1.2 การมีมาตราสวน (Scaling)


เมื่อมาตราสวนบนทั้งสองแกนไมเทากัน แตมีศูนยกําเนิดเดียวกัน ทําใหคาพิกัดของจุดใดๆที่กําลัง
พิจารณามีคาพิกัดไมเทากัน ดังปรากฏในรูป

(ξ,η)
(x,y)

ξ
x
รูปภาพ 2-11 ความสําพันธระหวางระบบพิกัด การยอขยายมาตราสวน (Scaling)

การยอขยายมาตราสวนเมื่อมีการสเกลตามแกน x และ y เปน S x และ S y ตามลําดับจะสามารถ


เขียนความสัมพันธในรูปคณิตศาสตรไดเปน
ξ = Sx ⋅ x
สมการ 2-6
η =Sy ⋅ y

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-13 2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ

2.4.1.3 การทํามุมกัน (Rotation)


เมื่อระบบพิกัดทํามุมกันเปน θ จะไดสามารถวิเคราะหความสัมพันธดังรูป

η
(ξ,η)
(x,y)
ξ
x ⋅ sin(θ )

y ⋅ cos(θ )
x
x cos(θ )
y sin(θ )
รูปภาพ 2-12 ความสําพันธระหวางระบบพิกัด การทํามุมกัน (Rotation)

เมื่อพิจารณาจากรูป หากมุมที่ระบบพิกัดทั้งสองเปน θ จะสามารถเขียนความสัมพันธไดเปน


ξ = x ⋅ cos(θ ) + y ⋅ sin(θ )
สมการ 2-7
η = − x ⋅ sin(θ ) + y ⋅ cos(θ )

ความสัมพันธของระบบพิกัดเหลานี้สามารถผนวกเขาดวยกันได เมื่อทําการรวบรวมความสัมพันธตางๆ
เขาดวยกันในหลายลักษณะก็จะมีชื่อเรียกและคุณสมบัติที่แตกตางกันดังนี้

2.4.2 การแปลงคาพิกัดชนิดเฮลเมิรต
การแปลงคาพิกัดชนิดเฮลเมิรตเปนการแปลงคาพิกัดที่มีความอิสระของความสัมพันธเปนสี่อยางคือ
การเคลื่อนยายแกนในสองทิศทาง การทํามุมระหวางแกนเปน θ และมาตราสวนหนึ่งมาตราสวนสําหรับในทั้ง
สองแกนเปน S ทําใหสามารถเขียนความสัมพันธเปน
ξ= S ⋅ x ⋅ cos(θ ) + S ⋅ y ⋅ sin( θ) + ∆x
สมการ 2-8
η = − S ⋅ x ⋅ sin(θ ) + S ⋅ y ⋅ cos(θ ) + ∆y
โดยที่สัมประสิทธสามารถเขียนใหอยูรูปสมการที่ดูงายขึ้น โดยการใชสัมประสิทธิ์ a,b,c และ d แทน
เทอมตางๆ ดังนี้
a = S ⋅ cos(θ ) ; b = S ⋅ sin(θ ) ;
สมการ 2-9
c = ∆x ; d = ∆y
จะไดสมการอีกรูปแบบหนึ่งเปน
ξ = a⋅ x+ b⋅ y +c
สมการ 2-10
η =−b⋅ x + a ⋅ y + d

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-14 2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ

การแปลงค า พิ กั ด แบบเฮลเมิ ร ต มี ชื่ อ อื่ น ๆอี ก หลายชื่ อ เช น Similarity transformation, Euclidian
Transformation, Two-dimension Conformal Transformation

2.4.2.1 การหาคาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธ
ดังนั้นความสัมพันธระหวางระบบพิกัดสองระบบหากําหนดใหเปนความสัมพันธเปนชนิดเฮลเมิรตและ
ตองการหาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธนี้ จะตองมีคาพิกัดของจุดจํานวนหนึ่งที่มีคาพิกัดในสองระบบ โดยอาจ
พิ จ ารณาให ค าพิ กั ด ในระบบหนึ่ งเป น ค าคงที่ และค าพิ กั ด อี ก ในระบบหนึ่ งเป น ค าสั ง เกตดั งนั้ น จะสามารถ
พิจารณาไดวาปญหานี้
• มีตัวไมทราบคา 4 ตัวคือ a,b,c,d
• ตองการคาสังเกตอยางนอย 4 คา โดยที่ 1 จุดใหคาสังเกตได 2 คา ดังนั้นตองมีจุดดังกลาวอยางนอย 2
จุด โดยมีคาเปน ξ1 , η1 , ξ 2 , η 2 , ...
• สวนคาพิกัดของจุดนั้นๆในระบบพิกัด x-y ใหเปนคาคงที่ในระบบสมการ x1 , y1 , x2 , y2 ,...
สมการคาสังเกตสําหรับแตละจุดคือ
ξ i + vi = a ⋅ xi + b ⋅ y i + c
ηi + vi +1 = − b ⋅ xi + a ⋅ yi + d
ξ i +1 + vi + 2 = a ⋅ xi +1 + b ⋅ y i +1 + c สมการ 2-11
ηi +1 + vi +3 = − b ⋅ xi +1 + a ⋅ yi +1 + d
K
ซึ่งสามารถหาคําตอบไดโดยอาศัยหลักการของกําลังสองนอยที่สุด (Least Square)

2.4.3 การแปลงคาพิกัดชนิดแอฟไฟน
การแปลงคาพิกัดชนิดแอฟไฟนเปนการแปลงคาพิกัดที่มีความอิสระของความสัมพันธเปนหกอยางคือ
การเคลื่อนยายแกนในสองทิศทาง การทํามุมระหวางแกนเปน θ และมาตราสวนสองมาตราสวนสําหรับในทั้ง
สองแกนเปน Sx และSy การบิดเบี้ยวของระบบพิกัดสามารถ (Angular Affinity : ε) มีไดเล็กนอย ทําใหสามารถ
เขียนความสัมพันธเปน
ξ = S x ⋅ x ⋅ cos(θ ) + S y ⋅ y ⋅ sin(θ ) + ∆x
สมการ 2-12
η = − S x ⋅ x ⋅ sin(θ + ε ) + S y ⋅ y ⋅ cos(θ + ε ) + ∆y
โดยที่สัมประสิทธสามารถเขียนใหอยูรูปสมการที่ดูงายขึ้น โดยการใชสัมประสิทธิ์ a,b,c และ d แทน
เทอมตางๆ ดังนี้
โดยที่สัมประสิทธสามารถเขียนใหอยูรูปสมการที่ดูงายขึ้น โดยให
a = S x ⋅ cos(θ ) ; b = S y ⋅ sin(θ ) ; c = ∆x ;
สมการ 2-13
d = − S x ⋅ sin(θ + ε ) ; e = S y ⋅ cos(θ + ε ) ; f = ∆y
จะไดสมการแอฟไฟนอีกรูปแบบหนึ่งเปน
ξ = a⋅ x+ b⋅ y+c สมการ 2-14
η = d ⋅ x+e⋅ y+ f

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-15 2.4 การแปลงคาพิกัดในสองมิติ

2.4.3.1 การหาคาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธ
ดังนั้นความสัมพันธระหวางระบบพิกัดสองระบบหากําหนดใหเปนความสัมพันธเปนชนิดแอฟไฟนและ
ตองการหาสัมประสิทธิ์ของความสัมพันธนี้ จะตองมีคาพิกัดของจุดจํานวนหนึ่งที่มีคาพิกัดในสองระบบ โดยอาจ
พิ จ ารณาให ค าพิ กั ด ในระบบหนึ่ งเป น ค าคงที่ และค าพิ กั ด อี ก ในระบบหนึ่ งเป น ค าสั ง เกตดั งนั้ น จะสามารถ
พิจารณาไดวาปญหานี้
• มีตัวไมทราบคา 6 ตัวคือ a,b,c,d,e,f
• ตองการคาสังเกตอยางนอย 6 คา โดยที่ 1 จุดใหคาสังเกตได 2 คา ดังนั้นตองมีจุดดังกลาวอยางนอย 3
จุด โดยมีคาเปน ξ1 ,η1 , ξ 2 ,η 2 , ξ 3 ,η 3 , ...
• สวนคาพิกัดของจุดนั้นๆในระบบพิกัด x-y ใหเปนคาคงที่ในระบบสมการ x1 , y1 , x 2 , y 2 x3 , y 3 ,....
สมการคาสังเกตสําหรับแตละจุดคือ
ξ i + vi = a ⋅ xi + b ⋅ y i + c
η i + vi +1 = d ⋅ xi + e ⋅ y i + f
ξ i +1 + vi + 2 = a ⋅ xi +1 + b ⋅ y i +1 + c
η i +1 + vi +3 = d ⋅ xi +1 + e ⋅ y i +1 + f สมการ 2-15
ξ i + 2 + vi + 4 = a ⋅ xi + 2 + b ⋅ y i + 2 + c
η i + 2 + vi + 5 = d ⋅ xi + 2 + e ⋅ y i + 2 + f
K
ซึ่งสามารถหาคําตอบไดโดยอาศัยหลักการของกําลังสองนอยที่สุด (Least Square)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-16 2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ

2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ
การแปลงค าพิ กั ด ในสามมิ ติ จ ะคล ายคลึ งกั บ การแปลงภาพในสองมิ ติ กล าวคื อเป น การหาความ
สัมพันธระหวางระบบพิกัดฉากสองระบบ ซึ่งมีพื้นฐานเริ่มจากระบบพิกัดฉากในสามมิติ
ระบบพิกัดฉากในสามมิติที่ใชเปนระบบพิกัดฉากมือขวา กลาวคือเมื่อใชมือขวายื่นไปขางหนาขณะที่
นิวมือเหยียดชี้ตรงไปขางหนาทิศทางแรกคือทิศทางแกน x เมื่อพับนิ้วทั้งสี่ใหตั้งฉากกับฝามือนิ้วทั้งสี่จะชี้ไปในทิศ
ทางของแกน y สวนนิ้วโปงเมื่อเหยียดตรงไปตามธรรมชาติจะตั้งฉากและชี้ไปทางแกน z
การทํามุมกันระหวางสองระบบพิกัดฉากนิยามไดจากการหมุนของแกนพิกัดฉากในแตละแกน โดยการ
อาศัยหลักการของมือขวาเชนกัน เมื่อตองการพิจารณาทิศทางการหมุนรอบแกน x จะใชนิ้วมือทั้งสี่ที่ไมใชนิ้วโปง
ของมือขวาโอบลอมไปรอบแกน x ขณะที่นิ้วโปงชี้ไปในทิศทางที่ขนานกับแกน x นิ้วทั้งสี่ที่โคงกําแกน x และมีขอ
ตกลงของชื่อและทิศทางการหมุนรอบแกน x,y,z วาเปน ω,ϕ , κ ดังภาพ

ϕ
y
ω
x
รูปภาพ 2-13 ระบบพิกัดฉากสามมิติ

2.5.1 ระบบพิกัดทํามุมรอบแกน ω
เมื่อระบบพิกัดฉากสองระบบทํามุมกันดวยมุมรอบแกน x เปนมุม ω จะปรากฏดังรูป
z ′′ z ′′′

y ′′
ω
y ′′′
x ′′′
x ′′
รูปภาพ 2-14 ระบบพิกัดฉากสามมิติทํามุมกันเปนมุม ω

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-17 2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ

คาพิกัดของจุดใดๆจะเปลี่ยนไปเฉพาะออดิเนต y และ z ดัง จะสามารถแสดงความสัมพันธในรูปของ


แมทริกซ ไดดังนี้
 x ′′  1 0 0   x ′′′ 
 y ′′ = 0 cos(ω ) sin(ω )   y ′′′ สมการ 2-16
    
 z ′′  0 − sin(ω ) cos(ω )  z ′′′ 
โดยที่แมทริกซขนาด 3x3 ดังกลาวเรียกวา แมทริกซการหมุนรอบแกน x ซึ่งเปนฟงกชันของมุม ω ดัง
นั้น
1 0 0 

R (ω ) = 0 cos(ω ) sin(ω )  สมการ 2-17
0 − sin(ω ) cos(ω )

2.5.2 ระบบพิกัดทํามุมรอบแกน ϕ
เมื่อระบบพิกัดฉากสองระบบทํามุมกันดวยมุมรอบแกน x เปนมุม ϕ ดังรูป

x′ x ′′

z′
ϕ z ′′
รูปภาพ 2-15 ระบบพิกัดฉากสามมิติทํามุมกันเปนมุม ϕ

คาพิกัดของจุดใดๆจะเปลี่ยนไปเฉพาะออดิเนต y และ z ดัง จะสามารถแสดงความสัมพันธไดดังนี้

 z ′   cos(ϕ ) 0 sin(ϕ )   z ′′ 
 y′  =  0 1 0   y ′′ สมการ 2-18
  
 x ′  − sin(ϕ ) 0 cos(ϕ )  x ′′ 

ทําการจัดเรียงสมการใหมโดยใหลําดับเปน x,y และ z ตามลําดับอยางปรกติ

 x′  − sin(ϕ ) 0 cos(ϕ )  x′′


 y′  =  0 1 0   y′′ สมการ 2-19
  
 z′   cos(ϕ ) 0 sin(ϕ )   z′′ 

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-18 2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ

โดยที่แมทริกซขนาด 3x3 ดังกลาวเรียกวา แมทริกซการหมุนรอบแกน y ซึ่งเปนฟงกชันของมุม ϕ ดัง


นั้น
− sin(ϕ ) 0 cos(ϕ )
R(ϕ ) =  0 1 0  สมการ 2-20
 cos(ϕ ) 0 sin(ϕ ) 

2.5.3 ระบบพิกัดทํามุมรอบแกน κ
เมื่อระบบพิกัดฉากสองระบบทํามุมกันดวยมุมรอบแกน z เปนมุม κ ดังรูป
y y′

x
κ
z x′
z′
รูปภาพ 2-16 ระบบพิกัดฉากสามมิติเมื่อทํามุมเปนมุม κ
คาพิกัดของจุดใดๆจะเปลี่ยนไปเฉพาะออดิเนต x และ y ดัง จะสามารถแสดงความสัมพันธไดดังนี้
 x   cos(κ ) sin(κ ) 0  x ′ 
 y  = − sin(κ ) cos(κ ) 0  y ′ สมการ 2-21
    
 z   0 0 1  z ′ 
โดยที่แมทริกซขนาด 3x3 ดังกลาวเรียกวา แมทริกซการหมุนรอบแกน z ซึ่งเปนฟงกชันของมุม κ ดัง
นั้น
1 0 0 

R (κ ) = 0 cos(κ ) sin(κ )  สมการ 2-22
0 − sin(κ ) cos(κ )

2.5.4 ผลรวมของการทํามุมกับพรอมกันทั้งสามแกน
เมื่อนําความสัมพันธของการทํามุมของระบบแกนทั้งสามมารวมกัน โดยการทํามุมกันเปนไปตามลําดับ
ดังที่กลาวไวขางตน จะไดความสัมพันธดังนี้
 x ′′′   x
 y ′′′ = R(κ ) ⋅ R(ϕ ) ⋅ R(ω )  y  สมการ 2-23
   
 z ′′′   z 
หรืออาจเขียนในรูปแบบที่สั้นลงดังนี้

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-19 2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ

 x ′′′   x
 y ′′′ = R(ω , ϕ , κ )  y  สมการ 2-24
   
 z ′′′   z 
แมทริกซ R(ω,ϕ,κ) สามารถหาอินเวอรสได ก็จะสามารถหาความสัมพันธกลับกันไดดังนี้
 x  x ′′′ 
 y  = R −1 (ω , ϕ , κ )  y ′′′ สมการ 2-25
   
 z   z ′′′ 
แมทริกซของการหมุน R(ω,ϕ,κ) เปน orthogonal แมทริกซ นั่นคือ
R T =R −1
สมการ 2-26
ดังนั้นจะก็จะสามารถหาความสัมพันธกลับกันไดดังนี้ ในอีกรูปแบบหนึ่งดังนี้
 x  x ′′′ 
 y  = R T (ω , ϕ , κ )  y ′′′ สมการ 2-27
   
 z   z ′′′ 

ความสัมพันธของระบบพิกัดในสามมิตินี้เปนพื้นฐานที่สําคัญในการหาความสัมพันธระหวางพิกัดบน
ภาพถายที่อยูในตําแหนงในอากาศและมีความเอียงในทิศทางตางๆ กับระบบพิกัดภาพพื้นดิน ความสัมพันธนี้คือ
สมการสภาวะรวมเสน (Colinearity Equation) ซึ่งจะไดกลาวในลําดับถัดไป

2.5.5 ความสัมพันธในการยายศูนยกําเนิด
ความสั ม พั น ธ ในการย า ยศู น ย กํ าเนิ ด ใช ในการหาความสั ม พั น ธ ในระหว างระบบพิ กั ด ในสามมิ ติ
สามารถหาไดอยางงายดังในภาพ

z
Z

∆Z y
Y
x ∆Y
∆X
X
รูปภาพ 2-17 ความสัมพันธของการเลื่อนแกนระบบพิกัดฉากสามมิติ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-20 2.5 การแปลงคาพิกัดในสามมิติ

เมื่อเขียนเปนสมการจะได
X ∆X x
Y = ∆Y + y สมการ 2-28
Z ∆Z z

2.5.6 ความสัมพันธในการมีมาตราสวน
ความสัมพันธในการมีมาตราสวนี โดยทั่วไปจะใหเปนมาตราสวนเดียวทั้งระบบในความสัมพันธ ใน
การหาความสัมพันธในระหวางระบบพิกัดในสามมิติ สามารถแสดงใหเห็นโดยงายดังในภาพ

y
Y
x
X
รูปภาพ 2-18 ความสัมพันธของการเลื่อนแกนระบบพิกัดฉากสามมิติ
เพื่อความเสถียรในแงของการคํานวณนิยมใหมาตราสวนอยูในรูปของ Scale Factor m เมื่อเขียนเปน
สมการจะได
X x
Y = (1 + m) y สมการ 2-29
Z z

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-21 2.6 การแปลงคาพิกัดในสามมิติชนิดเจ็ดพารามิเตอร

2.6 การแปลงคาพิกัดในสามมิติชนิดเจ็ดพารามิเตอร
เมื่อรวมความสัมพันธในการแปลงระบบพิกัดในสามมิติ ที่ประกอบดวยความอิสระในเคลื่อนยายศูนย
กําเนิดในทั้งสามแกน การทํามุมกันรอบแกนทั้งสามมุมรอบแกนหมุน การมีมาตราสวน นั่นคือจะมีพาริเตอร 7
พารามิเตอร สามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้
X ∆X x
Y = ∆Y + (1 + m) R y สมการ 2-30
Z ∆Z z
การแปลงคาพิกัดในสามมิติชนิดเจ็ดพารามิเตอรนี้เรียกวา การแปลงคาพิกัดในสามมิติแบบเฮลเมิรต

2.6.1 การแกปญหาการแปลงคาพิกัดในสามมิติชนิดเจ็ดพารามิเตอร
เมื่อตองการหาคาความสัมพันธระบบพิกัดในสามมิติซึ่งจะเห็นวาเปนปญหาที่มีตัวไมทราบคาอยู 7 ตัว
ดังนั้นหากคาพิกัดในสองระบบอยางนอยสามจุด แตละจุดจะสรางสมการได 3 สมการ โดยที่ใหคาพิกัดระบบใด
ระบบหนึ่งเปนคาคงที่ ใหคาพิกัดในสามมิติอีกในระบบหนึ่งเปนคาสังเกต ดังในตาราง

คาพิกัดสามมิติระบบที่ 1 คาพิกัดสามมิติระบบที่ 2
คาสังเกต คาคงที่
( X 1 , Y1 , Z1 ) ( x1 , y1 , z1 )
( X 2 , Y2 , Z 2 ) ( x2 , y 2 , z 2 )
( X 3 , Y3 , Z 3 ) ( x3 , y 3 , z 3 )
…. ….

ดังนั้นจะสามารถสรางสมการคาสังเกตได 9 สมการ ซึ่งเกินจํานวนตัวไมทราบคาอยูสอง ดังนั้นก็จะ


สามารถแกปญหาและไดพารามิเตอรทั้งเจ็ดไดแก การเลื่อน 3 พารามิเตอร การหมุน 3 พารามิเตอร และมาตรา
สวน 1 พารามิเตอร

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-22 2.7 เรขาคณิตภาพถายดิ่ง

2.7 เรขาคณิตภาพถายดิ่ง
เพื่อใหเขาใจเรขาคณิตของการถายภาพเพื่อการรังวัดจะสามารถทําไดไดเบื้องตนดวยการทําความเขา
ใจเรชาคณิตของภาพถายเดี่ยวกรณีที่วางตัวอยูในอุดมคติเสียกอน
ภาพถายเดี่ยวที่มีวางตัวตามอุดมคติคือภาพถายที่ถูกบันทึกขณะที่แกนของกลองถายภาพตั้งฉากกับ
พื้นดิน แนวของกลองในทิศทางที่ลากผานแกนพิกัดภาพถายแกน x ขนานกับแกน X ของระบบพิกัดภาพพื้นดิน
และเชนเดียวกันแกนพิกัดภาพถายแกน y ขนานกับแกน Y ของระบบพิกัดภาคพื้นดิน คาการวางตัวเปนศูนย นั้น
คือไมมีความเอียงของกลองเลย ซึ่งแสดงไดดังรูป

Z
O (X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ)
yp

f
p (xp,yp)
xp

Z0-Z

P (X,Y,Z)

Y-Y0 Z

Z Z
X-X0

X
Y
X

เมื่อพิจารณาระนาบ X-Z จากภาพจะไดความสัมพันธระหวางพิกัดวัตถุและพิกัดบนภาพถายดังนี้


X − X 0 xp
= สมการ 2-31
Z − Z0 − f
เมื่อพิจารณาระนาบ Y-Z จะไดความสัมพันธระหวางพิกัดวัตถุและพิกัดบนภาพถายดังนี้
Y − Y 0 yp
= สมการ 2-32
Z − Z0 − f

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-23 2.7 เรขาคณิตภาพถายดิ่ง

2.7.1 ตัวอยางการคํานวณ
ภาพถายทางอากาศภาพหนึ่งไดจากกลองที่มีความยาวโฟกัส f=153.126 มม. คาการวางตัวภายนอก
เปน (4000.000 ม., 2100.000 ม., 2000.000 ม., 0.000000°, 0.000000°, 0.000000°) จงหาคาพิกัดของจุด
หนึ่งที่มีพิกัดบนภาพเปน (xp,yp) = (45.975 มม. , 23.754 มม.) ถาทราบความสูงของจุดนี้บนพื้นดินเปน 250
เมตร
วิธีทํา
เนื่องจากภาพถายถูกบันทึกในลักษณะที่เปนภาพถายดิ่งในอุดมคติ ดังนั้นพิจารณาระนาบ X-Z จะได
ความสัมพันธ

X − X 0 xp X − 4000 ( 45.975 / 1000)


= = X = 4525.425 m
Z − Z0 − f 250 − 2000 (−153.126 / 1000)

เมื่อพิจารณาระนาบ Y-Z จะไดความสัมพันธ

Y −Y0 yp Y − 2100 (23.754 / 1000)


= = Y = 2371.473 m
Z − Z0 − f 250 − 2000 (−153.126 / 1000)

ซึ่งจะเห็นไดวาคาพิกัดจุดดังกลาวเปน X,Y,Z = (4525.425, 2371.473, 250.000) เมตร ตอบ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


2-24 2.8 คําถามทายบท

2.8 คําถามทายบท
1) สํ า หรั บ ภาพถ า ยทางอากาศที่ บิ น ถ า ยด ว ยภาพถ า ยขนาดมาตรฐาน 9 นิ้ ว x 9 นิ้ ว ที่ ม าตราส ว น
1:6,000, 1:15,000 และ 1:50,000 จงคํานวณหา พื้นที่ครอบคลุมของภาพถายทางอากาศหนึ่งภาพ
ระยะฐานของจุดเปดถายภาพ ความสูงของการบินถายภาพ ของภาพถายทางอากาศทุกมาตราสวน
ตามลําดับ
2) ภาพถายทางอากาศภาพหนึ่งไดจากกลองที่มีความยาวโฟกัส f=153.105 มม. คาการวางตัวภายนอก
เปน (4000.000 ม., 2100.000 ม., 2000.000 ม., 0.000000°, 0.000000°, 0.000000°) จงหาคาพิกัด
ของจุดหนึ่งที่มีพิกัดบนภาพเปน (xp,yp) = (-45.975 มม. , -23.754 มม.) ถาทราบความสูงของจุดนี้
บนพื้นดินเปน 250 เมตร
3) ภาพถายทางอากาศภาพหนึ่งไดจากกลองที่มีความยาวโฟกัส f=305.005 มม. คาการวางตัวภายนอก
เปน (4000.000 ม., 2100.000 ม., 1200.000 ม., 0.000000°, 0.000000°, 90.000000°) จงหาคา
พิกัดของจุดหนึ่งที่มีพิกัดบนภาพเปน (xp,yp) = (57.478 มม. , 93.453 มม.) ถาทราบความสูงของ
จุดนี้บนพื้นดินเปน 160 เมตร
4) จงวิเคราะหหาแมทริกซของการหมุน R(ω,ϕ,κ)
5) จงพิสูจนวาแมทริกซของการหมุน R(ω,ϕ,κ) เปน orthogonal แมทริกซ กลาวคือ R T = R −1

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3 การวิเคราะหภาพถายเดี่ยว
ในบทนี้จะเปนการกลาวถึงการวิเคราะหเบื้องตนที่เปนพื้นฐานสําคัญในการรังวัดบนภาพถายเดี่ยว การ
วิเคราะหพื้นฐานนี้ไดแก การวิเคราะหเพื่อการวัดพิกัดภาพถาย การวิเคราะหปญ หาการวัดยอน (Resection)
การคํานวณสนับสนุนการวิเคราะหปญหาการวัดยอย ความสัมพันธเบื้องตนระหวางพิกัดภาพและพิกัดวัตถุภาค
พื้นดินในกรณีที่ภาพถายเปน “ภาพถายดิ่งในอุดมคติ”

3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย
พิกัดบนภาพเปนขอมูลเบื้องตนที่จะนําไปสูการคํานวณตางๆ พิกัดบนภาพถาย ระบบพิกัดบนภาพถาย
จะเปนระบบพิกัดฉากโดยมีจุดศูนยกลางอยูที่จุดมุขยสําคัญ แกน x ซึ่งเปนแกนแรกของระบบพิกัดโดยประมาณ
จะขนานกับแนวบิน เนื่องจากกลองถายภาพทางอากาศจะติดตั้งใหแนวแกน x ขนานกับลําตัวของเครื่องบิน

+y

จุดดัชนีขาง

ทิศทางการบิน +x

จุดดัชนีมุม

รูปภาพ 3-1 ระบบพิกัดภาพถาย

เนื่องแกนระบบกัดภาพถายไมสามารถทําเครื่องหมายลงไปโดยตรงบนภาพได จึงไดมีการทําเครื่องหมาย
อางอิงไวที่ขอบภาพ จุดอางอิงนี้เรียกวา จุดดัชนี

3.1.1 จุดดัชนี
จุดดัชนีเปนเครื่องหมายที่อยูติดกับกรอบของกลองถายภาพ โดยมีตําแหนงที่แนนอนสัมพันธกับชุด
เลนส ความสัมพันธนี้จะเกี่ยวของโดยตรงกับเรขาคณิตของการฉายผายศูนย จุดดัชนีมีลักษณะดังรูป ขึ้นอยูกับผู
ผลิตและรุนของกลองที่ใช

ก) ของกลอง WILD RC-20 ข) ของกลอง Zeiss RMK TOP

รูปภาพ 3-2 ลักษณะของจุดดชนี

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-2 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

จุดดัชนีเมื่อพิจารณาบนภาพถายทางอากาศที่ระนาบโฟกัส (focal plane) คือระนาบที่แสงตกลงบน


ภาพที่ระยะโฟกัสพอดี จุดดัชนีจะมีจํานวนและตําแหนงสวนขึ้นอยูกับกรอบกลองที่ใชเพราะจุดดัชนีก็คือรอย
พิมพของจุดดัชนีที่ปรากฏ ณ ขอบกลองในระหวางบันทึกภาพนั่นเอง สวนของภาพดานหนึ่งจะเปน Data Panel
จะเปนที่บันทึกขอมูลตางเกี่ยวกับภาพถายที่สําคัญเชน ชื่อโครงการ มาตราสวนภาพ วันและเวลาที่บันทึกภาพ
หมายเลขภาพ หมายเลขแนวบิน

3 7 4 7 3 5

6 8 2 1

2 5 1 6 4 8
ก) ของกลอง WILD RC-30 ข) ของกลอง Zeiss RMK TOP

รูปภาพ 3-3 แสดงตําแหนงของจุดดัชนี 1-8

ความสัมพันธของตําแหนงจุดดัชนีและจุดมุขยสําคัญ และจุดศูนยกลางของจุดดัชนี สามารถหาไดจาก


ใบรับรองคาวัดสอบ (Calibration Certificate) ประจํากลองนั้นๆ ซึ่งบริษัทผูผลิตจะใหมาพรอมกับกลอง ซึ่งจะ
ตองไดรับการวัดสอบอีกเปนระยะเพราะคาเหลานี้ความถูกตองสูงมากในระดับไมโครเมตร
ใบรับรองคาวัดสอบของกลองถายภาพทางอากาศไดจากบริษัทผูผลิตเมื่อสงมอบกลอง หรือ ไดจากวัด
สอบจากหนวยงานที่มีหองปฏิบัติการในการวัดสอบกลองถายภาพทางอากาศโดยเฉพาะ ซึ่งจะมีอยูในประเทศ
ทางยุโรปและอเมริกาเหนือ การวัดสอบเปนเรื่องจําเปน เพราะคาที่ไดจะมีผลตอการคํานวณพิกัดวัตถุที่ตองการ
โดยทั่วไปกลองถายภาพทางอากาศจะตองทําการตรวจสอบ บํารุงรักษา และวัดสอบทุกชวง 1-2 ป หรือกอนและ
หลังการใชงานในโครงการแผนที่ขนาดใหญ
ในใบรับรองวัดสอบจะมีคาความยาวโฟกัส คาพิกัดของจุดดัชนี เทียบกับระบบพิกัดภาพ ที่มีความ
ละเอียดถูกตองในระดับไมครอน ดังตัวอยางในภาพนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-3 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

รูปภาพ 3-4 แสดงสวนหนึ่งของใบวัดสอบของกลองถายภาพทางอากาศตัวอยาง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-4 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

3.1.2 ระบบพิกัดภาพถาย
ระบบพิกัดภาพถายจะมีศูนยกลางในอุดมคติอยูในตําแหนงจุดที่ฉายตั้งฉากจากจุดรวมแสงไปตั้งฉาก
กับระนาบภาพเรียกวาจุดมุขยสําคัญ แตในทางปฏิบัติไมเปนเชนนั้นเนื่องจากความคลาดเคลื่อนในการประกอบ
กลอง การเลื่อนขยับของชิ้นสวนของกลอง แมวาผูผลิตจะพยายามทําใหจุดมุขยสําคัญอยูในตําแหนงตามทฤษฎี
ก็ตาม จึงจําเปนตองนิยามจุดมุขยสําคัญใหอางอิงมาจากระนาบภาพโดยยึดเอาตําแหนงที่ออฟเซทจากจุดศูนย
กลางของดัชนีเปนสําคัญ
3 7 4
จุดศูนยกลางดัชนี
จุดมุขยสําคัญ

6 8

2 5 1

รูปภาพ 3-5 แสดงตําแหนงของจุดดัชนี


ความสัมพันธของจุดศูนยกลางดัชนีและจุดมุขยสําคัญนี้สามารถดูไดจากใบรับรองการวัดสอบประจํา
กลองนั้น

3.1.2 เครื่องมือสําหรับการวัดพิกัดภาพถาย
เครื่องมือวัดพิกัดภาพถาย โดยหลักการแลวประกอบขึ้นจากระนาบราบที่มีอุปกรณสําหรับวัดระยะดวย
ความละเอียดถูกตองสูงในระดับไมโครเมตร อุปกรณสําหรับวัดระยะจะมีสองชุดเพื่อวัดระยะตามแกน x และ
แกน y แกนของอุปกรณสําหรับวัดระยะตองตั้งฉากกัน สวนที่ใชในการวัดพิกัดเพื่อขยายขีดความสามารถของ
การมองเห็นของมนุษยจะเปนอุปกรณเชิงทัศนไดแกแวนขยายกําลังสูง และมีจุดกลางเปนเครื่องหมายของการ
วัด ซึ่งอาจเรียกวา ที่เล็งพิกัดภาพ แวนขยายกําลังสูงนี้จะตอติดกับแกนที่ยื่นมาจากอุปกรณสําหรับวัดระยะทั้ง
สอง การเคลื่อนที่ของที่เล็งพิกัดภาพเกิดจากการใชกลไก อุปกรณทั้งหมดสําหรับวัดพิกัดภาพถายนี้เรียกวา คอม
พาราเตอร (Comparator) ดังมีลักษณะดังรูป

ที่เล็งพิกัดภาพ

ภาพถายทางอากาศ

รูปภาพ 3-6 หลักการทํางานของคอมพาราเตอร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-5 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

สําหรับเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห (Analytical Stereoplotter) จะมีความสามารถในการวัดพิกัด


ภาพถายไดดวย ซึ่งการวัดพิกัดภาพถายบนเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหเปนหนาที่พื้นฐานอันหนึ่งในเขียนแผน
ที่เชิงวิเคราะห เครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหจะมี “แทนรับภาพ (Photo Stage)”ในลักษณะดังภาพขางลางนี้
สองแทน สําหรับภาพคูภาพสามมิติ “ภาพซายและภาพขวา” แทนรับภาพมักเปนแกวใสคุณภาพดีมาก มีความ
ผิดเพี้ยนต่ําทําหนาที่จับยึดภาพถายทางอากาศในลักษณะฟลมใส แทนรับภาพติดกับเซอรโว (servo) ที่ทําหนาที่
ขับเคลื่อนแทนรับภาพไปมาโดยคําสั่งจากเครื่องคอมพิวเตอร การเคลื่อนที่ของแทนรับภาพจะถูกวัดระยะทาง
โดยเอนโคดเดอร (encode) ซึ่งตอกับคอมพิวเตอร ดังภาพ
เอนโคดเดอรเปนอุปกรณความละเอียดสูงและเที่ยงตรงมาก สามารถวัดระยะทางไดละเอียดถูกตองถึง
ระดับไมโครเมตร ทั้งเอนโคดเดอรและเซอรโวจะทํางานรวมกัน สวนที่เล็งพิกัดจะตรึงอยูกับที่ เหนือที่เล็งคาพิกัด
จะเปนอุปกรณเชิงทัศนโดยเฉพาะ ปริซึมและเลนส สําหรับทําใหลําแสงหักเหจากบริเวณภาพที่กําลังวัดพิกัดให
มาปรากฏแกสายตาผูปฏิบัติงาน

ที่เล็งพิกัด (ตรึงอยูกับที่)

ภาพถายทางอากาศ

เซอรโวสําหรับขับเคลื่อนแทนรับภาพ

เอนโคดเดอรสําหรับวัดพิกัด

รูปภาพ 3-7 แทนรับภาพและหลักการวัดพิกัดของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห

ตัวอยางของเอนโคดเดอรและเซอรโวปรากฏดังในภาพขางลาง

a) Encoder จาก Haidenhain b) Servo (Actuator จาก Parker Automation


http://www.haidenhain.com http://www.parker.com)
รูปภาพ 3-8 แสดงอุปกรณหลักในการสรางแทนวางภาพ
สวนการวัดคาพิกัดภาพบนระบบสํารวจดวยภาพดิจิทัลหรือบน digital photogrammetric workstation
นั้น หลักการวัดคาพิกัดก็คลายคลึงกันเพียงแตวา ขณะนี้ภาพเปนภาพดิจิทัลถูกขยายขึ้นบนจอภาพ ภาพดิจิทัล

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-6 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

ไดจากการสแกนภาพถายใหเปนภาพที่คอมพิวเตอรสามารถนําไปใชประมวลผลได ดวยซอฟแวรในสวนของ
Graphical User Interface จะสามารถใหผูใชเลื่อนภาพไปมาได ขยายเขาขยายออกได สวนที่เล็งพิกัดนั้น
สามารถใชเคอรเซอรในการวัดไปบนภาพและทําการเก็บบันทึกลงบนคอมพิวเตอรเพื่อประมวลผลตอไปได

เคอรเซอรวัดพิกัด ยอ

เคอรเซอรเลื่อนภาพ ขยาย

เคอรเซอร”ชี้” จุด เลื่อนภาพซาย-ขวา

เลื่อนภาพบน-ลาง

รูปภาพ 3-9 ซอฟแวร OpenEV สําหรับการวัดพิกัดภาพ

การวัดพิกัดบนภาพดวยคอมพาราเตอร แทนรับภาพบนเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหและบน digital


photogrammetric workstation ในเบื้องตนจะเปนพิกัดเครื่อง (machine coordinate) ซึ่งหากวาในตอนเริ่มตน
ไดทําการวัดพิกัดเครื่องของจุดดัชนีอยางพอเพียง และมีคาของจุดดัชนีเหลานี้ในระบบพิกัดภาพถายที่ถูกตอง
จากใบรับรองการวัดสอบ ดวยวิธีการพิจารณาหาคาความสัมพันธของการแปลงคาพิกัดในสองมิติ จะทําให
สามารถเปลี่ยนคาพิกัดเครื่องที่วัดไดจากจุดใดๆใหเปนพิกัดภาพถาย หรือกลับกันได โดยใชพารามิเตอรในการ
แปลงคาพิกัดดังกลาว

3.1.3 การหาความสัมพันธระหวางพิกัดเครื่องวัดและพิกัดภาพ
การหาความสัมพันธระหวางพิกัดเครื่องวัดและพิกัดภาพสามารถทําไดโดยการวัดพิกัดของจุดดัชนีแลว
เปรียบเทียบกับคาพิกัดที่แทจริงซึ่งไดมาจากใบรับรองการวัดสอบ โดยทั่วไปความสัมพันธระบบพิกัดเครื่องมือวัด
พิกัดกับพิกัดภาพมักจะใชความสัมพันธเปนชนิดแอฟไฟนซึ่งมีความอิสระและพารามิเตอรหกตัว โดยใหเปนตัว
ไมทราบคาคือ a,b,c,d,e,f จาการที่จุดดัชนี 1 จุดใหคาสังเกตได 2 คาคือ ξ i ,ηi ดังนั้นตองมีจุดดังกลาวอยาง
นอย 3 จุด โดยมีคาเปน ξ1 ,η1 , ξ 2 ,η2 , ξ 3 ,η3 , ... ดังนั้นจะตองมีคาพิกัดของจุดอยางนอย 3 จุดที่มีคาพิกัดใน
สองระบบ โดยพิ จารณาใหคาพิ กัดจากใบรับรองการวัดสอบใหเปน คาคงที่ในระบบสมการ โดยใหมีคาเป น
xi , yi เนื่ อ งจากมี ค วามละเอี ย ดถู ก ต อ งสู ง และค า พิ กั ด ที่ วั ด ได จ ากเครื่ อ งเป น ค า สั ง เกต ดั ง นั้ น จะสามารถ
พิจารณาไดวาปญหานี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-7 3.1 การวัดพิกัดบนภาพถาย

จุดดัชนี คาพิกัดดัชนีจากเครื่องวัดพิกัด คาพิกัดภาพจากใบรับรองการวัดสอบ


1 ξ1 ,η1 x1 , y1
2 ξ 2 ,η 2 x2 , y2
3 ξ 3 ,η3 x3 , y3
… … …
ตาราง 3-1 คาพิกัดของจุดดัชนีสําหรับการหาความสัมพันธ

ดังนั้นจะสามารถตั้งสมการคาสังเกตสําหรับแตละจุดดัชนีไดดังนี้คือ
ξ i + vi = a ⋅ xi + b ⋅ y i + c
ηi + vi +1 = d ⋅ xi + e ⋅ yi + f
ξ i +1 + vi + 2 = a ⋅ xi +1 + b ⋅ y i +1 + c
ηi +1 + vi + 3 = d ⋅ xi +1 + e ⋅ yi +1 + f สมการ 3-1
ξ i + 2 + vi + 4 = a ⋅ xi + 2 + b ⋅ y i + 2 + c
ηi + 2 + vi + 5 = d ⋅ xi + 2 + e ⋅ yi + 2 + f
K
ซึ่งสามารถหาคําตอบไดโดยอาศัยหลักการของกําลังสองนอยที่สุด (Least Square)
เมื่อไดคาความสัมพันธของการแปลงคาพิกัดในสองมิติ ในเบื้องตนนี้จะทําใหสามารถเปลี่ยนคาพิกัด
ภาพถาย (photo coordinate) xi , yi ไดจากจุดใดๆใหเปน พิกัดเครื่องวัด (machine coordinate) ξ i ,ηi โดย
ใชพารามิเตอร a,b,c,d,e,f ดังนี้
ξ i = a ⋅ xi + b ⋅ y i + c
สมการ 3-2
ηi = d ⋅ xi + e ⋅ yi + f
เมื่ อ ต อ งการแปลงค า พิ กั ด เครื่ อ งวั ด (machine coordinate) ξ i ,ηi ให ค า พิ กั ด ภาพถ า ย (photo
coordinate) xi , yi จะสามารถใชสมการ
xi = a′ ⋅ ξ i + b′ ⋅ηi + c′
สมการ 3-3
y i = d ′ ⋅ ξ i + e′ ⋅ηi + f ′
สัมประสิทธิ์ a’,b’,c’,d’,e’,f’ สามารถคํานวณจากสัมประสิทธิ์ a,b,c,d,e,f โดยการวิเคราะหสมการของ
การแปลงคาพิกัดชนิดแอฟไฟนได โดยการแกสมการสองชั้นอยางงายเพื่อใหสมการกลับ ซึ่งใหผลลัพธเปนดังนี้
e −b − (c ⋅ e − b ⋅ f )
a′ = ; b′ = ; c′ =
a⋅e − b⋅d a⋅e − b⋅d a⋅e − b⋅d สมการ 3-4
−d a c⋅d −a⋅ f )
d′= ; e′ = ; f ′=
a⋅e −b⋅d a⋅e − b⋅d a⋅e −b⋅d

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-8 3.2 สมการสภาวะรวมเสน

3.2 สมการสภาวะรวมเสน

สมการสภาวะรวมเสนคือสมการที่แสดงความสัมพันธระหวางจุดรวมแสงของภาพ จุดพิกัดภาพถายของ
จุดใด p(x,y) และจุด บนภาคพื้ นดิน P(X,Y,Z) กลาวคื อเมื่อลําแสงตกกระทบวัตถุสะทอนขึ้นมาผานเลนสตก
กระทบไปบนระนาบรับแสงที่ระยะโฟกัสซึ่งอาจเรียกวาเปนระนาบเนกาตีฟ ภาพก็จะถูกบันทึกไวบนแผนฟลม แต

O (X0,y0,Z0,ω,ϕ,κ)
c

p(x,y)

Z λ
Y

P(X,Y,Z)
X
รูปภาพ 3-10 ความสัมพันธระหวางลําแสง วัตถุ พิกัดภาพ และภาพถาย
เพื่อใหงายตอความเขาใจและวิเคราะหจึงใชระนาบของไดอาพอซิตีฟแทน ในภาพแสดงระนาบไดพอซิตีฟ ที่
สมมาตรอยูคนละดานกับระนาบเนกาตีฟเมื่อพิจารณาจุดรวมแสงจุด O ดังนั้นอาจพิจารณาไดวาลําแสงเดินทาง
ทะลุผานระนาบพอซิตีฟไปสูจุดรวมแสง สําหรับจุดรวมแสงจุด O นั้นก็คือจุดเปดถายภาพ (exposure station)
ที่ มี ค า พิ กั ด ขณะบั น ทึ ก ภาพเป น O (X0,y0,Z0) และมี ก ารจั ด วางตั ว (orientation) ทํ า มุ ม โดยความสั ม พั น ธ
ระหวางระบบพิกัดสามิติของภาคพื้นดิน และระบบพิกัดภาพถาย เปนมุม (ω,ϕ,κ) คาพิกัดของจุดเปดถายและ
ความเอียงของภาพเทียบกับระบบพิกัดภาพพื้นดินนี้เรียกรวมกันวา คาการวางตัวของภาพภายนอก (Exterior
Orientation)

ถาใหเวกเตอร OP คือเวกเตอรที่เชื่อมตอระหวางจุด P(X,Y,Z) บนภาคพื้นดินกับจุดเปดถายภาพ O


(X0,Y0,Z0) และ เวกเตอร Op คือเวกเตอรที่เชื่อมตอระหวางจุด p(x,y) หรือรอยปรากฏของจุด P(X,Y,Z) กับจุด
เปดถายภาพ O (X0,Y0,Z0) จะไดความสัมพันธ
Op = λ OP สมการ 3-5
โดยที่ λ เปนมาตราสวนสําหรับ จุด P(X,Y,Z)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-9 3.2 สมการสภาวะรวมเสน

3.2.1 การวิเคราะหหาความสัมพันธเวกเตอรของจุดภาพและวัตถุ
เพื่อใหสามารถหาความสัมพันธระหวางเวกเตอรของจุดบนภาพและวัตถุ
สวน Op สามารถนิยามไดจาก
x 
Op =  y 

สมการ 3-6
− f 

ดังนั้นจะไดวา OP เปนเวกเตอรที่อยูบนระบบพิกัดสามมิติโดยมีระบบแกนเปนของระบบพิกัดวัตถุดังนั้น
ตองแปลงพิกัดในสามมิติใหเปนเวกเตอรที่อยูบนภาพถายโดอาศัยแมทริกซการหมุน พิกัดของภาพถายทาง
อากาศที่ปกติอยูในระนาบที่ไมขนานกับระบบพิกัดวัตถุ เชนในกรณีของภาพถายทางอากาศ ระบบพิกัดวัตถุมัก
จะเปนระบบพิกัดภาพพื้นดิน ระบบพิกัดของวัตถุสามารถแปลงใหเขาไปสูระบบพิกัด ถาพิจารณาจากแมทริกซ
ของการหมุนกอนหนานี้ กําหนดใหแมทริกซ A
A = R −1 = RT สมการ 3-7
โดยให
 a11 a12 a13 
A = a21 a22 a23  สมการ 3-8
a31 a32 a33 
ซึ่งแตละเทอมสามารถเทียบกับสมาชิกของแมทริกซ R ดังนั้นจะไดความสัมพันธ
X − X0
OP = A Y − Y 0  สมการ 3-9
 Z − Z 0 
ดังนั้นจะไดความสัมพันธระหวางพิกัดวัตถุและพิกัดภาพดังนี้
x  X − X 0
 y  = λ A Y − Y 0  สมการ 3-10
   
− c  Z − Z 0 

ลําแสงที่แสดงการเชื่อมตอระหวางจุดที่กําลังสนใจ จุดที่ปรากฏบนภาพ และจุดเปดถายในขณะที่บันทึก


ภาพ สามารถเขียนใหอยูในรูปสมการที่เรียกวา สภาวะรวมเสน Colinearity Equation ซึ่งสามารถเขียนแยกได
เปนสองกรณี ไดแกความสัมพันธของพิกัดวัตถุไปสูพิกัดบนภาพถาย และในทางกลับกันความสัมพันธของพิกัด
ภาพถายไปสูพิกัดวัตถุ ดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-10 3.2 สมการสภาวะรวมเสน

3.2.2 ความสัมพันธของพิกัดวัตถุไปสูพิกัดบนภาพถาย
เมื่อตองการคํานวณคาพิกัดภาพจากพิกัดวัตถุดังในภาพขางลางนี้ สามารถหาความสัมพันธไดดังนี้

O (X0,y0,Z0,ω,ϕ,κ)
c

p(x,y)

Z λ
Y

P(X,Y,Z)
X
รูปภาพ 3-11 ความสัมพันธระหวางลําแสง วัตถุ พิกัดภาพ และภาพถาย
จากภาพความสัมพันธจากพิกัดวัตถุไปสูพิกัดภาพถายจะไดวา
x a11 a12 a13 X − X 0
y = λ a21 a22 a23 Y − Y 0 สมการ 3-11
z a31 a32 a33 Z − Z 0
ทําการคูณแมทริกซแลวสามารถเขียนสมการไดเปน
x = λ [a11( X − X 0) + a12 (Y − Y 0) + a13( Z − Z 0) ] สมการ 3-12
y = λ [a21( X − X 0) + a22 (Y − Y 0) + a23 ( Z − Z 0) ] สมการ 3-13
− c = λ [a31( X − X 0) + a32 (Y − Y 0) + a33( Z − Z 0) ] สมการ 3-14
จะเห็นไดวาสามารถขจัด λ โดยการนําสมการสุดทายไปหารสมการกอนหนานี้ทั้งสองสมการ จะใหผล
ลัพธเปนพิกัดภาพดังนี้
[a11( X − X 0) + a12 (Y − Y 0) + a13 ( Z − Z 0) ]
x =−c สมการ 3-15
[a31( X − X 0) + a32 (Y − Y 0) + a33( Z − Z 0) ]
[a21( X − X 0) + a22 (Y − Y 0) + a23 ( Z − Z 0) ]
y =−c สมการ 3-16
[a31( X − X 0) + a32 (Y − Y 0) + a33( Z − Z 0) ]
จะเห็นไดวาเมื่อมีคาพิกัดวัตถุ P(X,Y,Z) พรอมความยาวโฟกัสกลอง c และคาการจัดวางภาพภายนอก
(X0,y0,Z0,ω,ϕ,κ) จะสามารถหาคาพิกัดของจุดที่ไปปรากฏบนภาพถายไดบนภาพถายที่มีคาพิกัดเปน p(x,y)
ได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-11 3.2 สมการสภาวะรวมเสน

3.2.3 ความสัมพันธของพิกัดภาพถายไปสูพิกัดวัตถุ
เมื่อตองการคํานวณคาพิกัดวัตถุจากพิกัดภาพถาย ดังในภาพขางลางนี้ สามารถหาความสัมพันธไดดัง
นี้

O ( X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ)
c

p(x,y)

Z λ
Y

P(X,Y,Z)
X

รูปภาพ 3-12 ความสัมพันธระหวางลําแสง วัตถุ พิกัดภาพ และภาพถาย


จากภาพความสัมพันธจากพิกัดภาพไปสูพิกัดวัตถุจะหาไดจากการยายขางสมการขางตน
 X − X0 x 
  1 −1  
Y − Y 0  = A  y  สมการ 3-17
Z − Z0  λ  − c
   
สามารถกระจายออกเปนแมทริกซดังนี้
 X − X0  a11 a21 a31  x 
  1   
Y − Y 0  =  a12 a22 a32   y  สมการ 3-18
Z − Z0  λ  a13 a23 a33   − c 
    
ทําการคูณแมทริกซแลวสามารถเขียนสมการไดเปน
1
X − X0 = [a11 x + a21 y + a31(−c) ] สมการ 3-19
λ
1
Y − Y0 = [a11 x + a22 y + a32 (−c) ] สมการ 3-20
λ
1
Z − Z0 = [a13 x + a23 y + a33 (−c) ] สมการ 3-21
λ
จะเห็นไดวาสามารถขจัด λ โดยการนําสมการสุดทายไปหารสมการกอนหนานี้ทั้งสองสมการ จะใหผล
ลัพธเปนสัดสวนของพิกัดวัตถุดังนี้
( X − X 0) [ a11 x + a21 y + a31 (−c) ]
= สมการ 3-22
( Z − Z 0) [a13 x + a23 y + a33 (−c)]

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-12 3.2 สมการสภาวะรวมเสน

(Y − Y 0) [ a12 x + a22 y + a32 (−c) ]


= สมการ 3-23
( Z − Z 0) [a13 x + a23 y + a33 (−c)]
ทําการยายขางใหเหลือเฉพาะ X และ Y จะได
[ a11 x + a21 y + a31 (−c) ]
X = X 0 + ( Z − Z 0) สมการ 3-24
[a13 x + a23 y + a33 (−c)]
[ a12 x + a22 y + a32 (−c) ]
Y = Y 0 + ( Z − Z 0) สมการ 3-25
[a13 x + a23 y + a33 (−c)]

จะเห็นไดวาเมื่อมีคาพิกัดภาพถาย p(x,y) พรอมความยาวโฟกัสกลอง c และคาการจัดวางภาพภาย


นอก (X0,y0,Z0,ω,ϕ,κ) จะสามารถหาคาพิกัดของจุดเดียวกันนี้ที่เปนตนกําเนิดของลําแสงที่เรียกวาเปนพิกัด
วัตถุ P(X,Y,Z) ไมไดทันที่ เนื่องจากเทอมทางขวาตองการคาความสูงของวัตถุ Z อยู
ดังนั้นสมการสภาวะรวมเสนเปนสมการที่สามารถคํานวณไปไดเพียงทิศทางเดียวคือจากพิกัดวัตถุมาสู
ภาพ แตเมื่อตองการคํานวณพิกัดภาพไปสูวัตถุ จะตองทราบพิกัดวัตถุ Z เสียกอน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-13 3.3 การวัดยอนสําหรับภาพถายเดี่ยว

3.3 การวัดยอนสําหรับภาพถายเดี่ยว
การวัดยอนสําหรับ ภาพถายเดี่ยว (Single Photo Resection) เป นวิธีการใชห าคาจุดวางตั วภาพนอก
(Exterior Orientation) ของภาพถายทีละภาพ โดยอาศัยหลักการของการวัดพิกัดภาพถายของจุดบังคับภาพ
ถาย (photo control point) อยางนอย 3 จุด หากวาจุดบังคับภาพถายทั้งสามนี้มีคาพิกัดซึ่งไดจากการสํารวจ
ภาคพื้นดินหรือ aerotriangulation ประกอบเขากับความสัมพันธจากสมการรวมเสน (colinearity equation)

O (X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ)

p3 (x3,y3)
p1 (x1,y1)
p2 (x2,y2)

P1 (X1,Y1,Z1)

P2 (X2,Y2,Z2)
P3 (X3,Y3,Z3)

รูปภาพ 3-13 การวัดยอนสําหรับภาพถายเดียว

สําหรับแตละรังสีที่แสดงความสัมพันธระหวางพิกัดวัตถุ พิกัดภาพถาย และ จุดรวมแสง ซึ่งประกอบไป


ดวยคาพิกัดถายและคาพิกัดวัตถุจะสามารถเขียนความสัมพันธไดในรูปของสมการรวมเสน ได 2 สมการ การ
คํานวณหาคาการวางตัวภาพนอก (X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ) ของกลองไดจํานวนตัวไมทราบคา 6 ตัว และจะสามารถ
แกสมการไดเมื่อมีจํานวนสมการพอเพียง คาพิกัดวัตถุโดยทั่วไปจะถูกวัดมาดวยความละเอียดถูกตองสูงและจะ
ใหเปนคาคงที่ในสมการ หากวามีการวัดอยางนอย 3 จุด นั้นคือการที่มีคาพิกัดภาพและพิกัดวัตถุดังนี้

จุด คาพิกัดภาพถาย คาพิกัดวัตถุ


1 x1 , y1 X1 , Y1 ,Z1
2 x2 , y2 X2 , Y2 ,Z 2
3 x3 , y3 X3 , Y3 ,Z 3
… … …
ตาราง 3-2 คาพิกัดของจุดดัชนีสําหรับการหาความสัมพันธ

ดังนั้นจะสามารถตั้งสมการคาสังเกตสําหรับแตละจุดไดดังนี้คือ
a *( Xi − X 0)+ a1,2 *(Yi−Y 0)+ a1,3 *( Zi− Z 0)
x + v = − f 1,1
i i a3,1*( Xi − X 0) + a3,2 *(Yi−Y 0) + a3,3*( Zi− Z 0)
สมการ 3-26
a2,1*( Xi− X 0)+ a2,2 *(Yi−Y 0)+ a2,3*( Zi− Z 0)
y +v = − f
i i a3,1*( Xi− X 0)+ a3,2 *(Yi−Y 0)+ a3,3*( Zi− Z 0)
สมการ 3-27

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-14 3.3 การวัดยอนสําหรับภาพถายเดี่ยว

โดยที่ I มีคาตั้งแต 1 ถึง 3 หรือมากกวา สวนสัมประสิทธิ์ a ถึง a มีคาดังนี้


1,1 3 ,3

a1,1 = cos(ϕ )*cos(κ )


a1,2 = -cos(ϕ )*sin(κ )
a1,3 = sin(ϕ )
a2,1 = cos(ω )*sin(κ ) + sin(ω )*sin(ϕ )*cos(κ )
a2,2 = cos(ω )*cos(κ ) - sin(ω )*sin(ϕ )*sin(κ ) สมการ 3-28
a1,1 = -sin(ω )*cos(ϕ )
a3,1 = sin(ω )*sin(κ )- cos(ω )*sin(ϕ )*cos(κ )
a3,1 = sin(ω )*cos(κ ) + cos(ω )*sin(ϕ )*sin(κ )
a3,3 = cos(ω )*cos(ϕ )

3.3.1 การคํานวณปรับแก
โดยวิธีกําลังสองนอยที่สุด จะสามารถแกปญหาการวัดยอนของภาพถายเดียว ดังในตัวอยางที่มีการวัด
ไปยังวัตถุ 4 จุดไดดังนี้

3.3.1.1 กําหนดให
-คาพิกัดวัตถุ จุด Pi(Xi,Yi,Zi) เปนคาคงที่ โดย 1 <= I <= 4
-คาพิกัดภาพ pi(xi,yi) ที่วัดไดใหเปนคาสังเกตุ สําหรับแตละ วัตถุตามลําดับ

3.3.1.2 วิธีการคํานวณปรับแก
จะไดเวกเตอรของคาสังเกตที่มีจํานวนคาสังเกต n = 8 ดังนี้
L = (x1 y1 x 2 y2 x 3 y3 x 4 y4) สมการ 3-29
t

คาประมาณของ exterior orientation parameter (X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ) เปน 6 unknowns (u=6)


X 0 = (X 0 0 Y 0 0 Z 0 0 ω 0 ϕ 0 κ 0 ) สมการ 3-30
t

เวกเตอรคาประมาณของคาสังเกตเปนดังนี้
x1( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 , ω 0 ,ϕ 0 , κ 0 , X1, Y 1, Z1)
y1( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 ,ϕ 0 ,κ 0 , X1, Y 1, Z1)
x 2( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 ,ϕ 0 ,κ 0 , X 2, Y 2, Z 2)
y2( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 ,ϕ 0 ,κ 0 , X 2, Y 2, Z 2)
L0 = สมการ 3-31
x 3( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 , ϕ 0 ,κ 0 , X 3, Y 3, Z 3)
y3( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 , ω 0 ,ϕ 0 , κ 0 , X 3, Y 3, Z 3)
x 4( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 ,ϕ 0 ,κ 0 , X 4, Y 4, Z 4)
y4( X 0 0 , Y 0 0 , Z 0 0 ,ω 0 ,ϕ 0 ,κ 0 , X 4, Y 4, Z 4)
แมทริกซของแบบจําลอง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-15 3.3 การวัดยอนสําหรับภาพถายเดี่ยว

0
 ∂x1 
0 0 0 0
∂x1  ∂x1   ∂x1   ∂x1   ∂x1 
0

         
∂X 0  ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ ϕ   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂y1   ∂y1   ∂y1   ∂y1   ∂y 1   ∂y1 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂x 2   ∂x 2   ∂x 2   ∂x 2   ∂x 2   ∂x 2 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂y2   ∂y2   ∂y2   ∂y2   ∂y2   ∂y2 
           
A =  ∂X 0  0  ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ  สมการ 3-32
0 0 0 0 0
 ∂x 3   ∂x 3   ∂x 3   ∂x 3   ∂x 3   ∂x 3 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂y3   ∂y3   ∂y3   ∂y3   ∂y3   ∂y3 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂x 4   ∂x 4   ∂x 4   ∂x 4   ∂x 4   ∂x 4 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
0 0 0 0 0 0
 ∂y4   ∂y4   ∂y4   ∂y4   ∂y4   ∂y4 
           
 ∂X 0   ∂Y 0   ∂Z 0   ∂ω   ∂ω   ∂κ 
สําหรับ model matrix A ใหใช numerical differential สําหรับแต member ของ A ได

∂F ( x ) dF( x ) F ( x + ∆x ) − F ( x )
≈ ≈ สมการ 3-33
∂x dx ∆x
จากนั้นทําการปรับแกดวยวิธี Least square
l = L − L0 : shortendobservation vector
N=AA t

n = At l สมการ 3-34
x = N −1n
X1 = X 0 + x
จากนั้นคํานวณหา Unknown โดยการวนซ้ํา จนกระทั่ง
X i+1 − X i ≤ ε สมการ 3-35
ก็จะไดคําตอบคือคาการจัดวางภาพภายนอก X0,Y0,Z0,ω,ϕ และ κ ของภาพที่กําลังพิจารณา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


3-16 3.4 คําถามทายบท

3.4 คําถามทายบท
1) จงพิสูจนวาสัมประสิทธิ์สําหรับสมการกลับของความสัมพันธของการแปลงคาพิกัดชนิดแอฟไฟนมี
e −b − (c ⋅ e − b ⋅ f )
สัมประสิทธิ์เปน a′ = ; b′ = c′ =
a⋅e − b⋅d a⋅e − b⋅d a⋅e − b⋅d
−d a c⋅d −a⋅ f
d′= ; e′ = ; f ′=
a⋅e −b⋅d a⋅e − b⋅d a⋅e −b⋅d

2) ที่กลาววา สําหรับสมการสภาพวะรวมเสนที่แสดง ความสัมพันธระหวางจุดเปดบันทึกภาพถายทาง


อากาศของกลอง จุดภาพใดๆบนระนาบภาพถายทางอากาศ จุดนั้นๆบนภูมิประเทศ มีความสัมพันธอยู
บนเสนตรงเดียว แตเปนความสัมพันธที่ไมสามารถคํานวณยอยกลับไปมาในทางคณิตศาสตรได และ
สามารถอธิบายความสัมพันธดังกลาวในทางกายภาพไดอยางไร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4 การรังวัดบนภาพคูสามมิติ
การมองเห็นสามมิติทําใหมองเห็นความลึก การมองเห็นสามมิตินับวาเปนความสามารถพิเศษขอหนึ่ง
ของการสํารวจรังวัดเมื่อเปรียบเทียบกับการสํารวจรังวัดดวยวิธีอื่น การมองเห็นสามมิติเปนวิธีที่ขยายขีดความ
สามารถของการวัดดวยภาพนอกจากจะเปนการบันทึกสภาพทางกายภาพของพื้นที่ หรือวัตถุเพื่อนํามาประมวล
ผลภาพภายหลังแลว การประมวลผลนี้ยังสามารถใหผูรังวัดสามารถมองเห็นแบบจําลองในสามมิติและสามารถ
วัดพิกัดในแบบจําลองสามมิติดวย
การมองเห็นสามมิติเปนการรับรูปดวยความลึก ขนาดสัมพัทธของวัตถุ การมองเห็นสามมิติจากตามนุษย
เกิดจากการปรากฏภาพเดี ยวในสองตาและรังสีจ ากวัตถุ เดี ยวกัน นั้ น ทํา มุ มตั ดกั น ที่ เรีย กวา มุ ม พาราแลกซ
(parallactic angle) การที่มองเห็นวัตถุอยูไกลคือการที่มุมพาราแลกซเล็ก ในขณะที่การมองเห็นใกลมุมพารา
แลกซจะใหญ
เมื่อภาพในธรรมชาติถูกบันทึกมาเพื่อใหมองเห็นสามมิติได ก็ตองมีเงื่อนไขของการมองเห็นสามมิติ คือ
สวนของภาพนั้นตองเปนวัตถุหรือบริเวณเดียวกัน ขณะที่บันทึกภาพมุมพาราแลกซตองไมใหญหรือเล็กเกินไป
ภาพสองภาพที่สามารถนํามามองเห็นเปนสามมิติไดดวยการใชอุปกรณชวยหรือดวยตาเปลา เรียกวา ภาพคูสาม
มิติ ( stereoscopic photo-pair)

4.1 ภาพคูสามมิติสําหรับภาพถายทางอากาศ
ภาพคูสามมิติสําหรับภาพถายทางอากาศที่จะใชในการวัดพิกัดวัตถุบนภูมิประเทศเกิดจากการบินถาย
ภาพเปนแนวอยางเปนระบบดังที่กลาวมาแลว
O1 ( X 01 , Y 01 , Z 01 , ω 1 , ϕ 1 , κ 1 ) O2 ( X 0 2 , Y 0 2 , Z 0 2 , ω 2 , ϕ 2 , κ 2 )

p1(x1,y1) p2(x2,y2)

P(X,Y,Z)

สวนซอนในแนวบินประมาณ
60 % ของขนาดภาพ

รูปภาพ 4-1 ความสัมพันธภาพคูสามมิติกับการวัดพิกัดวัตถุบนภูมิประเทศ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-2 4.2 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติเชิงทัศน

4.2 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติเชิงทัศน
เครื่องชวยมองเห็นสามมิติในเชิงทัศนหมายถึงอุปกรณที่ประกอบดวยเลนส ปริซึม และกระจกที่ประกอบ
กันเขาทําใหภาพคูสามมิตินั้นปรากฏแกสายตา ทําใหมองเห็นสามมิติ สามารถชวยในการแปลภาพและเขาใจถึง
สิ่งตางๆที่บันทึกมาประกอบกับประสพการณได โดยเฉพาะการแปลภาพ (Photo Interpretation) เครื่องชวยมอง
เห็นสามมิติเหลานี้ไดแก แวนดูสามมิติชนิดกระเปา

4.2.1 แวนดูสามมิติชนิดกระเปา (Pocket Stereoscope)


แวนดูสามมิติชนิดกระเปา (Pocket Stereoscope) ซึ่งสามารถพกพานําไปใชในสนามไดสะดวก แตหาก
วาตองมีการพับหรืองอรูป โดยเฉพาะภาพถายทางอากาศที่มีขนาดใหญ เนื่องจากสวนของภาพจากภาพคูสาม
มิติที่จะกําเนิดมาจากวัตถุหรือพื้นที่เดียวกันจะตองปรากฏอยูใตเลนสตา และมีกําลังขยายต่ํา
แวนดูสามมิติชนิดกระเปามีลักษณะดังรูป

ขาชนิดพับได
เลนสตาซาย-ขวา

รูปภาพ 4-2 แวนดูสามมิติชนิดกระเปา

4.2.2 กลองดูสามมิติ (Mirror Stereoscope)


เมื่อตองการมองเห็นสามมิติที่สะดวกสบาย สามารถทํางานแปลภาพถายทาอากาศไดอยางมีประสิทธิ
ภาพ มักจะใช กลองดูสามมิติ (Mirror Stereoscope) ซึ่งประกอบดวยกระจกสะทอนแสง ปรึซึมและเลนสตา
กําลังขยายสูง การมีกระจกสะทอนแสงทั้งสองขางที่ขาตั้ง ทําใหสามารถนําภาพถายทางอากาศขนาดมาตรฐาน
9 นิ้ว ทั้งคูมาจัดวางใตเครื่องดูสามมิติได นอกจากนี้ Mirror Stereoscope จะมีขาที่กวางมากกวาภาพถายทาง
อากาศสองรูป ทําใหผูปฏิบัติงานสามารถเลื่อนเครื่องมองสามมิติไปทั่วบนสวนซอนบนภาพคูสามมิติได

ภาพถายทางอากาศ
ภาพคูสามมิติ

กระจกสะทอน

รูปภาพ 4-3 Mirror Stereoscope โดย Wild Herrbrugg

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-3 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล
เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัลคืออุปกรณหรือเครื่องชวยในการมองเห็นภาพเปนสามมิติจากการ
ฉายภาพบนหนาจอ โดยการมองเห็นสามมิติยังคงไวในหลักการเดิมคือภาพคูสามมิติจะตองมีเงื่อนใขที่เอื้อใหตอ
การมองเห็นสามมิติได เพียงแตวาไดรับการเปลี่ยนสถานะใหเปนดิจิทัลแลว พรอมที่จะแสดงผลหนาจอ เ มื่ อ
ภาพแสดงผลที่หนาจอได ถามีเครื่องมือหรืออุป กรณ ทําใหภาพ”ซาย” ปรากฏในสายตาซาย และภาพ”ขวา”
ปรากฏตอสายตาขวาได ก็จะทําใหประสามสัมผัสของการมองเห็นรับรูภาพเปนสามมิติได อุปกรณเหลานี้มีหลัก
การทํางานไดแก

4.3.1 วิธีอนากลี๊ฟ (Anaglyph Glasses)


เปนวิธีการนําภาพคูสามมิติมาซอนทับกันดวยสีที่เปนสีคอมพลีเมนทารี (complementary) กัน สีที่
เปนคอมพลีเมนทารีกันคือสีสองสีที่เมื่อมองผานกรองแสงสีหนึ่งแลวสีเดียวกันนั้นจะไมสามารถทะละผานมาให
เห็นได ในขณะที่อีกสีหนึ่งสามารถผานมาปรากฏใหเห็นเปนสีเขมหรือดํา ตัวอยางของสีที่เปนคอมพลีเมนทารีกัน
ไดแก สีเขียวกับสีแดง สีแดงกับสีน้ําเงิน

ภาพที่ปรากฏแกตาซาย

แวนอนากลี๊ฟ
ภาพคูสามมิติ
ภาพที่ปรากฏแกตาขวา

รูปภาพ 4-4 หลักการของภาพอนากลี๊ฟ


สําหรับภาพคูสามมิติเมื่อตองการใหมองเห็นเปนสามมิติไดก็จะทําการวาดซอนกันดวยสีที่เปนคอมพลี
เมนทารีกัน โดยภาพคูสามมิติซายใหเปนเฉดของสีหนึ่ง โดยภาพคูสามมิติขวาใหเปนเฉดของอีกสีหนึ่ง เมื่อมองดู
ภาพทั้งสองจะถูกวาดซอนทับกันโดยใหเหลื่อมกันดังตัวอยางในภาพ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-4 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

รูปภาพ 4-5 ภาพอนากลี๊ฟบริเวณภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ

4.3.2 การใชแวนชัทเทิล (Shuttle-Glasses)


แวนชัทเทิล (Shuttle-Glasses) เปนแวนที่ชวยใหมองเห็นสามมิติ โดยที่แวนประกอบดวยกระจกสองจาง
ที่เปน Liquid Crystal Display (LCD) ถูกควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสเขาจังหวะ (Synchronizing) โดยการทําให
กระจกทึบแสดงหรือโปรงแสดงสลับกัน ในขณะที่จอภาพจะถูกควบคุมดวยอิเล็คทรอนิกสเชนกัน ทําใหภาพ
แสดงผลภาพซายหรือภาพขวาสลับกันดวยเทคนิคตาง เทคนิคการแสดงผลบนจอภาพที่พบบอนมีอยู 3 วิธีกลาว
คือ การสลับเสน(Line-Interlacing) การสลับเฟรม(Alternate Frame) การแบงจอ(Split-Screen) ซึ่งจะไดกลาว
ในรายละเอียดตอไป
เครื่อ งชวยในการมองเห็นสามมิติ CrystalEyes ของ Stereographics Corporation, San Rafael, CA,
USA (http://www.stereographics.com) ซึ่งประกอบดวยแวน ชัท เทิ ล และกลอ งคั่น สัญ ญาณภาพ กลอ งคั่ น
สัญญาณภาพจะมีปลั๊กพิเศษที่ตอเขากับกราฟฟกการดไดและมีปลายอีกดานหนึ่งใหปลั๊กจากจอสามารถตอเขา
มาภายหลังได ปลั๊กพิเศษดังกลางจะตอเชื่อมกับกลองคั่นสัญญาณ กลองคั่นสัญญาณสามารถสงสัญญาณผาน
ทางแสงอินฟาเรดไปยังแวนชัทเทิล แวนชัทเทิลเมื่อไดรับคําสั่งก็จะทําการเปด-ปด ทําใหตาซายและตาขวามอง
เห็นสลับกัน ในจังหวะที่สอดคลองกันกลองคั่นสัญญภาพจะบังคับการแสดงภาพใหสามารถมองเห็นสามมิติได
ซึ่งเทคนิคจะไดกลาวในลําดับตอไป

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-5 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

สวิชทสลับสามมิติ

กลองคั่นสัญญาณระหวางจอภาพ
และการดควบคุมจอภาพ

ตัวรับสงสัญญาณอินฟาเรด
ปรับจังหวะระหวาง แวนตา
แวนตา มีผลึกคริสตัลเหลว กับจอภาพ
สวิชทเปด -ปด เปดปดเปนจังหวะ

รูปภาพ 4-6 แวนชัทเทิล CrystalEyes โดย Stereographics Corp,USA

ใน ลั ก ษ ณ ะ เดี ย ว กั น กั บ ข า ง ต น แ ว น ชั ท เทิ ล Eye3D ผ ลิ ต โด ย I-Art Corporation, Taiwan


(http:/www.iart3d.com) ประกอบดวยแวนชัทเทิล อิเล็กทรอนิกสที่ควบคุมภาพอยูในรูปแบบของการดมาตร
ฐาน PCI ใชใน PC ทั่วไป ซึ่งอาจมีความไมสดวกนักสําหรับการติดตั้งเพราะตองเปดเครื่อง PC ในภาพขางลางนี้
เปนแผนภูมิการเชื่อมตออุปกรณเพื่อทําใหแวนชัทเทิลทํางานรวมกับกราฟฟคการดทั่วไปได

รูปภาพ 4-7 ตัวอยางของการเชื่อมตอแวนชัทเทิลชนิด Eye3D (http://www.iart3d.com)


ในภาพ PCI3D Upgrad Card คือการดที่มากับแวนชัทเทิล (3D Glasses) โดยที่จะตอคั่นกลางระหวาง
กราฟฟคการดปกติ (ในที่นี้คือ 3D Graphic Acceleerator Card) สัญญาณจากกราฟกสการดจะตอออกโดยใช
VGA Signal Converting Cable เขาที่ VGA-In ของ PCI3D Upgrad Card สัญญาณภาพจะผานการดนี้และถูก
ควบคุมไวได หลังจากนั้นสัญญาณจะถูกตอไปเชื่อมยังจอแสดงผลปกติ (Monitor VGA Plug และ Monitor) ใน
ขณะที่แวนชัทเทิล (3D Glasses) จะตอออกจาก VR-OUT-1 เพื่อรับกระแสไฟเลี้ยงและสัญญาณการ ”เปด-ปด”
LCD ของตาซายและตาขวา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-6 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

สําหรับหลักของการมองเห็นสามมิตินั้น เมื่อไดทําการตออุปกรณดังกลาวแลว เทคนิคการทํางานจะมี


หลักการทํางานดังนี้

4.3.2.1 การสลับเสน(Line-Interlacing)
การสลับเสน(Line-Interlacing) เปนการนําภาพคูสามมิติมาแสดงผลบนหนาจอ โดยใหเสนภาพบนจอ
แสดงผลสลับกันเปนภาพจากภาพคูซายสลับกับภาพคูขวา ดังในภาพขางลางนี้ โดยให L1 แทนเสนบนจอภาพ
แรกเสนที่ 1 R1คือแถวแรกของภาพคูขวามาปรากฏบนจอที่แถวที่ 2 สลักกันไปเชนนี้เรื่อยๆดังภาพ
เมื่อโปรแกรมเริ่มทํางานแถวที่เปนเลขคี่และเลขคูจะแสดงผลสลับกันทําพรอมกับการบังคับใหแวน
LCD ของตาซายและขวา “เปด-ปด” สลับกัน ทําใหรับรูถึงภาพสามมิติ
ขอดีของวิธีนี้คือจอภาพไมตองมีความสามารถในการแสดงผลความถี่สูงมากนัก เนื่องจากที่อยูของแถว
ภาพถูกตรึงไวประจําที่ การเขียนโปรแกรมทําไดงายเหมือนกับโปรแกรมทั่วไป การแสดงผลบนจอเปนปกติแมวา
จะมืดลงไปบาง
ขอเสียของวิธีนี้คือการสลับแถวเกิดขึ้นทั่วทั้งจอภาพ ทําใหบริเวณที่เปนเมนูใชงานและพื้นที่แสดงผล
ตางๆบนจอคอนขางมืดและไมคมชัดนักเนื่องจากแถวที่ติดกันจะแสดงผลสลับกัน นอกจากนี้จะทําใหพื้นที่ในการ
แสดงผลลดลงไปครึ่งหนึ่งเนื่องจากภาพซายหรือขวาสามารถแสดงผลไดเพียงเสนเวนเสนเทานั้น การโปรแกรม
จะตองอานภาพซาย-ขวามาทีละเสนแลวแสดงผลสลับกัน

1 L1L1 L1 L1 L1 L1 L1 L1 L1 L1 L1 L1
2
3 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1 R1
หมายเลขเสน 4
5 L2 L2 L2 L2 L2 L2 L2 L2 L2 L2 L2
บนจอภาพ 6 R2 R2 R2 R2 R2 R2 R2 R2 R2 R2 R2
7
8 L3 L3 L3 L3 L3 L3 L3 L3 L3 L3 L3
9
R3 R3 R3 R3 R3 R3 R3 R3 R3 R3 R3
L4 L4 L4 L4 L4 L4 L4 L4 L4 L4 L4

รูปภาพ 4-8 การสลับเสน (Line-Interlacing)

4.3.2.2 การสลับเฟรม(Alternate Frame)


การแบงจอ(Split-Screen) เปนเทคนิคของแสดงผลโดยใหภาพซายและภาพขวาแสดงผลสลับกัน
จอแสดงภาพและกราฟฟกสการด จะตองมีความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปสูงกวา 100 Hz หรือภาพตอวินาที นอก
จากนี้กราฟฟคสการดตองมีหนวยความจําอยางพอเพียงเพื่อใหภาพซายและขวาเขาไปอยูในบัฟเฟอรได มาตร
ฐาน OpenGL (http://www.opengl.org) ที่ใชในการสรางโปรแกรมประยุกตกราฟฟกสามารถนํามาประยุกตใช
ได แตตามมาตรฐาน OpenGL จะตองมีบัฟเฟอรสําหรับ “ความลึก” (Z-Buffer) ที่มีขนาดเทากับความละเอียด
ของจอภาพขณะนั้น ดังนั้นเมื่อพัฒนาระบบดวย OpenGL ตองใชกราฟกสการดและไดรเวอรที่มีโมดการทํางาน
Quad-Buffer ได วิธีนี้หากครบเงื่อนไขดังกลาวก็จะสามารถใหภาพสามมิติที่คมชัด จอภาพกวาง ภาพมีความคม

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-7 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

ชัด พื้นที่สวนที่มองเห็นเปนสามมิติจะเกิดเฉพาะในหนาตาง(Window)นั้นๆ พื้นที่อื่นๆบนจอจะยังสามารถใชงาน


ไดปกติเชนเดียวการใชงานวินโดสทั่วไป
ในภาพแสดงลักษณะการทํางานชนิดสลับภาพ

>100ภาพตอวินาที

รูปภาพ 4-9 การสลับเฟรม (Aternate Frame) บน StereoAnalyst โดย ERDAS Imagine (http://www.erdas.com)

4.3.2.3 การแบงจอ(Split-Screen)
การแบงจอ (Split-Screen) เปนการนําภาพมาแสดงผลบนจอ อยางละครึ่ง วิธีหนึ่งที่ทําไดงายที่เรียกวา
บน-ลาง (Above-Below) เมื่อตําแหนงของภาพสัมพันธถูกตอง อิเลกทรอนิกสก็จะทําการสลับเสน ทําใหเห็น
ภาพในจอเหลือเพียงครึ่งเดียวตรงกลาง แถวจากจุดภาพของภาพคูสามมิติจะแสดงผลสลับกันที่ตําแหนงเดียว
กันบนแถวของจอภาพที่ละเสน เขาจังหวะการเปดปดของแวนชัทเทิล วิธีนี้คอนขางแพรหลายเนื่องจากฮารดแวร
ทําไดงาย ความเร็วของจอภาพและกราฟกสการดไมตองเร็วนัก เนื่องจากจํานวนเสนของจอภาพลดลงครึ่งหนึ่ง
โดยทั่วไปสามารถใชไดกับจอภาพและกราฟกสการดที่ความเร็วระดับ 60-70 Hz ภาพจะมีความสวางพอสมควร
เหมือนการแสดงผลปรกติ

ภาพคูสามมิติ บน-ลาง

เปลี่ยน
โมด

สวนที่มองเห็นสามมิติ

รูปภาพ 4-10 การแบงครึ่งจอ จาก Chula-DPWS


การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท
4-8 4.3 เครื่องชวยมองเห็นสามมิติดิจิทัล

ขอเสียของวิธีนี้คือพื้นที่อื่นๆ ที่ไมใชกราฟฟกสโดยเฉพาะสวนที่เปนเมนูและการแสดงผลที่จะตองใช
งานจะสลั บ กั น จนอ า นไม อ อก และจะต อ งมี ก ารสลั บ การทํ า งานเพื่ อ ให ก ลั บ มาอยู ใ นรู ป แบบการ
ทํางาน(mode)ปรกติ ดังนั้นระหวางการทํางานตองสลับรูปแบบการทํางานไปมา แตปญหานี้แกไขไดโดยการใช
กราฟกสการดชนิดตอไดสองจอภาพพรอมกัน หรือใชกราฟกสการดสองกราฟกสการดตอกับจอภาพสองจอภาพ
โดยใหจอภาพหนึ่งแสดงผลสําหรับสลับภาพเพื่อการวัดสามมิติเพียงอยางเดียว แลวใหอีกจอภาพหนึ่งแสดงผล
การรังวัดในรูปของตัวอักษรเพียงอยางเดียว

4.3.3 การใชจอโพลาไรซ (Polarized Screen)


อีกวิธีการหนึ่งที่จําใหภาพซายและขวาใหปรากฏแกสายตาได โดยการใชอุปกรณโปรงแสงบังหนาจอ
มิเตอร อุปกรณโปรงแสงมีความสามารถในการเปลี่ยนสถานะใหภาพคูสามมิติผานออกมาปรากฏกับสายตา
สลับไปมาอยางรวดเร็ว อุปกรณโปรงแสงดังกลาวเปนหนากากโพลาไรซ (Polarized Mask) จะสามารถเปลี่ยน
สถานะสลับไปมาในการทําใหแสงซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาผานได คือองคประกอบของเคลื่อนแมเหล็กไฟฟาใน
แนวตั้งและในแนวนอน การเปลี่ยนสถานะจะเขาจังหวะกับการสลับภาพซาย-ขวาของจอมอนิเตอรควบคุมดวย
กราฟฟกสการด ดังภาพ

รูปภาพ 4-11 จอโพลาไรซ (Polarized Screen) รุน Zscreen 2000 โดย Stereographic Inc.
ในขณะเดียวกันผูปฏิบัติงานจะสวมใสแวนตาที่กระจกเปนกระจกโพราไรซที่ยอมใหองคประกอบใน
แกนนอนและดิ่งเฉพาะตาขางซายหรือขวาเชนเดียวกัน ดังนั้นเมื่อรอบการทํางานของการสลับภาพซาย-ขวาและ
จอสลับเปลี่ยนสภาวะโพลาไรซ ผูปฏิบัติงานก็จะมองเห็นเปนสามมิติได
ข อ ดี ข องวิ ธี คื อ แว น ตาจะมี น้ํ า หนั ก เบา สวมใส ทํ า งานได ส บาย แว น มี ร าคาถู ก เนื่ อ งจากไม มี
อิเล็กทรอนิกสใดๆ สามารถดูพรอมกันหลายๆคนได
ขอเสียคือราคาหนากากโพลาไรซและอิเล็กทรอนิกสควบคุมมีราคาแพง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-9 4.4 การคํานวณพิกัดวัตถุจากคูภาพสามมิติ

4.4 การคํานวณพิกัดวัตถุจากคูภาพสามมิติ
เมื่อสามารถมองเห็นสามมิติได สามารถที่จะแปลภาพเขาใจถึงสถานการณบนแบบจําลอง การวัดพิกัด
บนภาพคูสามมิติก็ทําไดโดยการวัดบนจุดจุดเดียวกันบนวัตถุที่ปรากฏบนภาพทั้งสอง คาพิกัดที่ไดในเบื้องตนจะ
เปนคาพิกัดเครื่องมือวัดเทานั้น ซึ่งจะสามารถเปลี่ยนเปนพิกัดภาพโดยการหาความสัมพันธของการแปลงคา
พิกัดกอนหนานี้ ซึ่งในขั้นตอนนี้เรียกวา การวิเคราะหการจัดวางภาพภายใน (Interior Orientation)
คาพิกัดภาพที่ไดจะสามารถนําไปใชคํานวณคาพิกัดของวัตถุนั้นไดในระบบพิกัดของวัตถุในทั้งทางราบ
และทางดิ่ง เชนในกรณีของภาพถายทางอากาศ ระบบพิกัดที่ใชอาจเปนระบบพิกัดภาคพื้นดิน
การในการหาคาพิกัดของวัตถุใดๆที่ปรากฏอยูในสวนซอนของภาพโดยการคํานวนจากคาพิกัดภาพ
ของจุดจุดเดียวกันบนภาพคูสามมิติ เรียกวา Two-photo Intersection เปนวิธี โดยที่คาการจัดวางตัวภายนอก
(Exterior Orientation Parameters) ของภาพทั้งสองตองทราบมากอน แนวทางหนึ่งโดยการใชการคํานวณที่ใช
ในที่นี้คือการใชคณิตศาสตรของภาพถายคูที่มีสมการถภาวะรวมเสนสองเสนที่ตัดกันที่จุดบนวัตถุ สมการที่ได
จากความสัมพันธของพิกัดวัตถุและพิกัดภาพถายบนภาพทั้งสองมาชวยในการคํานวณหาคาดังกลาว

O1(X01,Y01,Z01,ω1,ϕ1,κ1) O2(X02,Y02,Z02,ω2,ϕ2,κ2)

p1(x1,y1)
p2(x2,y2)

P(X,Y,Z)

รูปภาพ 4-12 เรขาคณิตของ Two-photo Intersection

จ า ก ภ า พ ข า ง บ น นี้ ค า Exterior Orientation parameters ข อ ง ทั้ ง ส อ ง ภ า พ คื อ O1


(X01,Y01,Z01,ω1,ϕ1,κ1) และ O2 (X02,Y02,Z02,ω2,ϕ2,κ2) สําหรับ “ภาพซ าย” และ ”ภาพขวา” ตาม
ลํ า ดั บ ให เป น พารามิ เตอร ที่ ท ราบค า และมี ค า พิ กั ด ของจุ ด ใดๆที่ วั ด ได ใ นรู ป ของ photo coordinate เป น
p1(x1,y1) และ p2(x2,y2) ตามลําดับ คาพิกัดของภาพถาย p1(x1,y1) และ p2(x2,y2) นี้อาจวัดไมไดโดยตรง
แตจะวัดในระบบพิกัดของเครื่องมือที่ใชวัดแลวแปลงเปนคาพิกัดภาพถาย เชนการใชการแปลงคาพิกัดแบบ
affine transformation แนวลําแสงที่ผาน perspective center จุดภาพนั้นๆบนภาพถาย ผานไปถึงตัววัตถุเอง
ให พิ กั ด ของจุ ด ที่ กํ า ลั ง พิ จารณ านั้ น เป น P(X,Y,Z) เป น Unknowns เมื่ อ ใช Least-square adjustment
computation จะสามารถใหคําตอบดังกลาวได แบบจําลองคณิตศาสตรของ เสนรังสีทั้งสองสามารถเขียนไดดัง
นี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-10 4.4 การคํานวณพิกัดวัตถุจากคูภาพสามมิติ

a1′,1 *( X − X 01) + a1′, 2 *(Y −Y 01) + a1,3 *( Z − Z 01)


x1 + v1 = − f
a3′ ,1 *( X − X 01) + a3′ , 2 *(Y −Y 01) + a3′,3 *( Z − Z 01)
สมการ 4-1
a ′2,1 *( X − X 01) + a 2′ , 2 *(Y −Y 01) + a 2′ ,3 *( Z − Z 01)
y1 + v 2 = − f
a3′,1 *( X − X 01) + a3′ , 2 *(Y −Y 01) + a3′,3 *( Z − Z 01)
สมการ 4-2
a1′′,1 * ( X − X 02) + a1′′, 2 * (Y − Y 02) + a1′′,3 * ( Z − Z 02)
x 2 + v3 = − f
a3′′,1 * ( X − X 02) + a3′′, 2 * (Y − Y 02) + a3′′,3 * ( Z − Z 02)
สมการ 4-3
a ′2′,1 * ( X − X 02) + a ′2′, 2 * (Y − Y 02) + a ′2′,3 * ( Z − Z 02)
y 2 + v4 = − f
a3′′,1 * (i − X 02) + a3′′, 2 * (Y − Y 02) + a3′′,3 * ( Z − Z 02)
สมการ 4-4

โดยที่ สั ม ประสิ ท ธิ์ a′ ถึ ง


1,1 a3′ ,3 ซึ่ ง เป น ฟ ง ก ชั น ของ (ω1,ϕ1,κ1) สํ า หรับ ภาพคู ส ามมิ ติ ภ าพซ า ย และ
สัมประสิทธิ์ a′′ ถึง a′′ ซึ่งเปนฟงกชันของ (ω2,ϕ2,κ2) สําหรับภาพคูสามมิติภาพขวา มีคาดังนี้
1,1 3, 3

a1′,1 = cos(ϕ1)*cos(κ 1) a1′′,1 = cos(ϕ 2)*cos(κ 2)


a1′, 2 = -cos(ϕ1)*sin(κ 1) a1′′, 2 = -cos(ϕ 2)*sin(κ 2)
a1′,3 = sin(ϕ1) a1′′,3 = sin(ϕ 2)
a 2′ ,1 = cos(ω1)*sin(κ 1) + sin(ω1)*sin(ϕ1)*cos(κ 1) a 2′′,1 = cos(ω 2)*sin(κ 2) + sin(ω 2)*sin(ϕ 2)*cos(κ 2)
a 2′ , 2 = cos(ω1)*cos(κ 1) - sin(ω1)*sin(ϕ1)*sin(κ 1) a 2′′, 2 = cos(ω 2)*cos(κ 2) - sin(ω 2)*sin(ϕ 2)*sin(κ 2) สมการ 4-5
a 2′ ,3 = -sin(ω1)*cos(ϕ1) a 2′′,3 = -sin(ω 2)*cos(ϕ 2)
a3′,1 = sin(ω1)*sin(κ 1)- cos(ω1)*sin(ϕ1)*cos(κ 1) a3′′,1 = sin(ω 2)*sin(κ 2)- cos(ω 2)*sin(ϕ 2)*cos(κ 2)
a3′, 2 = sin(ω1)*cos(κ 1) + cos(ω1)*sin(ϕ1)*sin(κ 1) a3′′, 2 = sin(ω 2)*cos(κ 2) + cos(ω 2)*sin(ϕ 2)*sin(κ 2)
a3′,3 = cos(ω1)*cos(ϕ1) a3′′,3 = cos(ω 2)*cos(ϕ 2)

4.4.1 วิธีการแกปญหาโดยใชวิธีกําลังสองนอยที่สุด
ปญหา Two Photo Intersection สามารถหาตําตอบไดโดยการใชวิธีกําลังสองนอยที่สุดดังนี้

4.4.1.1 กําหนดให
-คาการจัดวางภาพภายนอกของรูปทั้งสองกําหนดใหเปน
สําหรับภาพซาย O1(X01,Y01,Z01,ω1,ϕ1,κ1) และ
สําหรับภาพขวา O2(X02,Y02,Z02,ω2,ϕ2,κ2) ซึ่งใหเปนคาคงที่ในระบบสมการ
-คาพิกัด photo coordinate ของจุด P(X,Y,Z) บนรูปถาย ”ซาย” เปน p1(x1,y1) และ “ขวา” เปน
p2(x2,y2)

4.4.1.2 ตองการหา
คาพิกัด P(X,Y,Z) ซึ่งเปน 3 Unknowns (u=3)
X = (X Y Z) สมการ 4-6
t

4.4.1.3 วิธีการ
คํานวณปรับแกโดยวิธี Least square เวกเตอรของคาสังเกตเปน L โดยมีขนาด n=4
L = (x1 y1 x 2 y2) สมการ 4-7
t

คาประมาณของพิกัด P(X,Y,Z)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-11 4.4 การคํานวณพิกัดวัตถุจากคูภาพสามมิติ

(
X0 = X0 Y 0 Z0 )
t
สมการ 4-8
เวกเตอรของคาประมาณของคาสังเกต
F1( X 01, Y 01, Z 01,ω 1,ϕ 1, κ 1, X 0 , Y 0 , Z 0 )
F 2( X 01, Y 01, Z 01, ω1,ϕ 1, κ 1, X 0 , Y 0 , Z 0 )
L0 = สมการ 4-9
F 3( X 02, Y 02, Z 02,ω 2,ϕ 2,κ 2, X 0 , Y 0 , Z 0 )
F 4( X 02, Y 02, Z 02,ω 2,ϕ 2,κ 2, X 0 , Y 0 , Z 0 )
จะไดแมทริกซแบบจําลองเปน
0 0 0
 ∂F1   ∂F1   ∂F1 
     
 ∂X   ∂Y   ∂Z 
0 0 0
 ∂F 2   ∂F 2   ∂F 2 
      สมการ
 ∂X   ∂Y   ∂Z 
A=
 ∂F 3 
0
 ∂F 3 
0
 ∂F 3 
0
4-10
     
 ∂X   ∂Y   ∂Z 
0 0 0
 ∂F 4   ∂F 4   ∂F 4 
     
 ∂X   ∂Y   ∂Z 
สําหรับ model matrix A อาจใช numerical differential หรือใชวิธีการหาอนุพันธของ model matrix A
สําหรับแต member ของ A ก็ได
หากใชวิธีเชิงเลข (numerical method) อยางงายทําไดดังนี้
∂F ( x ) dF( x ) F ( x + ∆x ) − F ( x )
≈ ≈ สมการ 4-11
∂x dx ∆x
แตอยางไรก็ตามตองระวังการเลือกใช ∆x จะตองไมใหญเกินไปจนทําใหความละเอียดถูกตองของผล
คําตอบไมพอ หรือเล็กเกินไป จนหาคําตอบไมได หรือสภาวะทางเชิงเลขไมเสถียร ความไมเสถียรดังกลาวเกิด
จากตัวหารมีคานอยมาก จนใกลศูนย

จากนั้นทําการคํานวณปรับแกดวยวิธี Least square


l = L − L0 : shortendobservation vector
N=AA t

n = At l สมการ 4-12
x = N −1n
X1 = X 0 + x

จากนั้นคํานวณหา Unknown โดยการวนซ้ํา จนกระทั่ง


X i+1 − X i ≤ ε สมการ 4-13

ก็จะไดคําตอบคือคาการพิกัดวัตถุ P(X,Y,Z) ของภาพที่กําลังพิจารณาจากเวกเตอร X รอบสุดทายของ


การคํานวณ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-12 4.5 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห

4.5 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห
หนาที่หลักของเครื่องเขียนแผนเชิงวิเคราะหคือการมองเห็นสามมิติ การวัดจุดพิกัดในสามมิติ การเลื่อน
พิกัดในแบบจําลองไปในทิศทางตางๆพรอมๆกับการเลื่อน “แทนรับภาพ” ของภาพคูสามมิติซายและภาพคูสาม
มิติขวาอยางสัมพันธกัน ซึ่งโดยหลักการสามารถอธิบายไดดังภาพ

จอแสดงผล
Z และภาพ
Y
X เซอรโวและ
yp’ yp”
เอนโคเดอร
xp’ xp”
แกน x”
x’ x”
ระบบ เซอรโวและ
มอง
เห็น เอนโคเดอร
x’ y” แกน y”

มือหมุนแกน X มือหมุนแกน Y แทนรับภาพ


และภาพถาย
จานหมุนแกน Z
รูปภาพ 4-13 หลักการทํางานของของเครื่องเขียนแผนที่สามมิติเชิงวิเคราะห

จากภาพจะเห็นวาเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหประกอบดวย “แทนวางภาพ (Photo Stage)” ซึ่งเปน


กระจกใสเนื้อดี ความผิดเพี้ยนต่ํา ติดตั้งใหทํางานสัมพันธกับชุดขับเคลื่อนที่ประกอบดวยเซอรโว(Servo) และ
เอนโคเดอร(Encoder)ทํ าให แ ทน วางภาพสามารถเคลื่อ นที่ ไปมาในระนาบทั้งสองแกนโดยการควบคุ ม จาก
คอมพิวเตอรได ใตหรือบนแทนรับภาพจะมีชุดสองสวางทําใหภาพปรากฏแกสายตาของผูปฏิบัติงานไดโดย
อาศัย “ระบบมองดู (Viewing System)” เนื่องจากภาพที่ใชจะเปนภาพที่โปรงใสเชน ไดอาพอซิตีฟ ภาพที่ปรากฏ
จะหักเหเขาสูสายตาผูปฏิบัติโดยปริซึมและเลนสตางๆทีประกอบกันเปนระบบมองดู
ที่จุดศูนยของระบบมองดูทั้งสองจะมีจุดที่ใชเปนเครื่องหมายในการวัด ซึ่งสําหรับการมองเห็นในสาม
มิ ติ นี้ เรี ย กว า จุ ด ลอย (floating mark) การเคลื่ อ นไหวของแท น รั บ ภาพทั้ ง สองจะสามารถกํ า หนดได จ าก
คอมพิวเตอร และคาพิกัด ณ ตําแหนงที่จุดลอยปรากฏอยูบนภาพจะเปนคาลําดับคูลําดับ (x’,y’) และ (x”,y”) ซึ่ง
จะถูกสงผานเขาไปในคอมพิวเตอรควบคุม
ที่ผูปฏิบัติจะมีอุปกรณเอนโคดเดอรที่เปนชนิดหมุน (Rotary Encoder) สามตัว โรตารีเปนอุปกรณเชิง
ทัศน-อิเล็กทรอนิกสที่เปลี่ยนการหมุนเปนรหัสเชิงเลขได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-13 4.5 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห

รูปภาพ 4-14 แสดงเอนโคดเดอรชนิดหมุนโดย Haidenhain (http://www.haidenhain.com)

ทําใหผูปฏิบัติงานสามารถที่จะบังคับจุดลอยใหเคลื่อนที่ไปในอากาศ โดยการหมุนเอนโคดเดอร X
และ Y ซึ่งถูกสรางใหอยูในรูปของ ”มือหมุน (Hand-wheel)” ติดตั้งในระดับที่ความสูงเดียวกับโตะทํางานใหผู
ปฏิบัติสามาระใชมือซายและมือขวาจับและหมุนไดสะดวก สวนเอนโคดเดอรสําหรับการบังคับจุดลอยในอากาศ
ในทิศทางดิ่งคือ Z ถูกสรางใหอยูในรูปของ “จานเทา (Foot-disk)” วางอยูบนพื้น ซึ่งผูใชสามารถที่จะใชเทาใน
การบั งคั บจานเทาให ห มุ นไปมาในทิศทางที่ให จุดลอยใหขึ้น ลงไปแตะภู มิป ระเทศในแบบจําลอง โดยการที่
คอมพิวเตอรนําเอาสัญญาณไฟฟาจากจานเทาไปประมวลผลแลวไปขยับแทนรับภาพทั้งสองอยางเปนระบบ จึง
ทําใหผูปฏิบัติงานมองเห็นจุดลอยขึ้นลงดังกลาว
ในการรังวัดจุดบนภูมิประเทศจะเริ่มดวยการที่วัดคาพิกัดของจุดดัชนีของภาพเพื่อใชหาการจัดวางภาย
ใน (Interior Orientation) แลวผูปฏิบัติทําการบังคับจุดลอยใหไปแตะภูมิประเทศตามที่ตองการ โดยการทํางาน
ประสานรวมกันระหวางคาพิกัดภาพคูสามมิติซาย(x’,y’)และขวา(x”,y”) คาพิกัดในแบบจําลองที่ผูปฏิบัติบังคับ
(X,Y,Z) และประกอบกับการที่คาการจัดวางภาพภายนอกทราบแลวของภาพทั้งสอง คาการจัดวางภาพภายนอก
ในทางปฏิบัติหามาไดจากการประมวลผลขายสามเหลี่ยมทางอากาศกอนหนานี้แลว
หลังจากที่ผูปฏิบัติงานไดสั่งคําสั่งใหคอมพิวเตอรคํานวณผลลัพธคาพิกัดของวัตถุที่วัดได คาพิกัดก็จะ
ถูกนํามาแสดงผลบนจอภาพเพื่อใหผูปฏิบัติงานไดรับทราบและตรวจสอบความถูกตอง ในอีกทางหนึ่งคาพิกัด
วัตถุก็ถูกบันทึกลงบนหนวยความจําคอมพิวเตอรเพื่อจัดเก็บไวประมวลผลตอไป

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-14 4.6 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

ในภาพต อ ไปเป น ตั ว อย า งของเครื่ อ งเขี ย นแผนที่ ส ามมิ ติ เชิ ง วิ เคราะห ผลิ ต โดย Leica-Helava
SystemGroup Inc. รุน SD-3000

จอภาพ
แทนรับภาพซาย-ขวา (ซอนกัน) (Display)
Photo Stage (L-R)

ระบบมองเห็น
Viewing System

มือหมุน
Hand-Wheel

จานเทา
(Foot-Disk)

รูปภาพ 4-15 เครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห Leica SD-3000

4.6 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล
เครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัลจะเปน สวนหนึ่งของ Digital Photogrammetric Workstation ที่ทําหนาที่ใน
การเก็บขอมูลพิกัดสามมิติจากภาพคูสามมิติ หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัลจะมีหลักการเดียวกันกับ
เครื่องเขียนแผนที่สามมิติเชิงวิเคราะห แตมีความแตกตางที่ใชภาพดิจิทัลและใชคอมพิวเตอรกราฟฟกสในการ
แสดงผลภาพหน า จอ ในการมองเห็ น สามมิ ติ ก็ จ ะใช เครื่ อ งช ว ยมองเห็ น สามมิ ติ (Stereoscopic Viewing
System) ซึ่ ง จะเป น อุ ป กรณ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส เช น แว น สลั บ ภาพ (Shuttle-glasses) หรื อ จอภาพโพลาไรซ
(Polarized Screen) ซึ่ ง จะได ก ล า วในรายละเอี ย ดในลํ า ดั บ ถั ด ไป ด ว ยความสามารถของ Graphical User
Interface (GUI) ทําหนาที่แสดงภาพ ยอและขยาย ตลอดจนขยับภาพไปมาบนจอภาพ
ผูผลิตซอฟแวรสําหรับงานสํารวจดวยภาพดิจิทัลบางผูผลิต ยังมีแนวความคิดในการใชเอนโคดเดอร
ชนิดหมุนเพื่อใหผูปฏิบัติงานเคลื่อนที่จุดลอยไปตามจุดตางๆบนภาพไดสะดวกและอยางคุนเคย สําหรับการใช
งานที่ไมใชการผลิตแผนที่ปริมาณมาก ก็อาจออกแบบใหใชอุปกรณงายๆที่ใชกับคอมพิวเตอรอยูแลวเชน วีล
เมาส (Wheel-mouse) หรือ แทรคบอลล (Trackball) ซึ่งจะถูกโปรแกรมใหการเคลื่อนที่บนระนาบใหเปนเปนการ
เคลื่อนที่ X-Y สวนการหมุนวีล (Wheel) ใหสัมพันธกับคาพิกัดวัตถุ Z

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-15 4.6 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

วีลเมาสและแทรคบอลลมีลักษณะการทํางานดังภาพ

ข) Track-Ball ของ LogiCAD


http://www.logicad3d.com
ก) Wheel Mouse ใชใน Chula DPWS
รูปภาพ 4-16 แสดงอุปกรณชี้ ที่สามารถนํามาใชในระบบรังวัดดวยภาพดิจิทัลได

ที่ ภ าควิ ช าวิ ศ วกรรมสํ า รวจได มี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย ในการสร า งระบบต น แบบ Chulalongkorn Digital
Photogrammetric Workstation (Chula-DPWS) ซึ่ งประกอบด ว ยซอฟแวรเขี ย นขึ้ น ภาษา Visual Basic และ
C/C++ ระบบสามารถที่ จ ะแสดงภาพคู ส ามมิ ติ บ นจอภาพ ทํ า งานรว มกั บ แว น ชั ท เทิ ช “Eye3D” โดย I-Art
Corporation การทํางานของ Chula-DPWS ทํางานในโมดของการแบงจอครึ่งบน-ลาง ซอฟแวรวิ่งอยูบนระบบ
ปฏิ บั ติ ก าร Microsoft Window 95/98/NT ซึ่ ง หากว า ระบบปฏิ บั ติ เช น Microsoft Window 98 สนั บ สนุ น การ
ทํางานในโมด Dual-Screen จะทําใหทํางานสดวกขึ้น เนื่องจากการทํางานในโมด Dual-Screen สามารถแยก
การแสดงผลสวนที่เปนภาพสามิติออกจากสวนที่แสดงผลและใชงานทั่วไปได ดังภาพ

รูปภาพ 4-17 องคประกอบของ Chula DPWS

Chula-DPWSสามารถที่ จะปรับ พาราแลกซ ได ทั้ งทางแกน X และY โดยการใช ปุ ม ฟ งก ชั น ต า งๆ โดย
เฉพาะการปรับพาราแลกซทาง X เพื่อใหจุดลอยไป “แตะ” สัมผัสพื้นผิวของภูมิประเทศในแบบจําลอง สามารถใช

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-16 4.6 หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

วีลเมาสไดสะดวก ขณะนี้ผลการวิจัยพัฒนาอยูในขั้นที่ผูปฏิบัติสามารถวัดพิกัดของวัตถุบนภาพคูสามมิติในรูป
ของคาพิกัดเครื่องมือและนําผลการรังวัดไปคํานวณคาพิกัดวัตถุกับชุดซอฟแวร “Resect” และ “Intersect” ซึ่ง
เปนโมดูลยอยของ Chula-DPWS
ในภาพขางลางแสดงใหเห็นหนาจอของ Chula-DPWS และการใชงานโดยการใชฟงกชันคียตางๆ

ภาพซาย
Shift/Ctrl เพิ่มอัตราเรงใน
การเคลื่อนที่บนแบบจําลอง

จุดลอย
เคลื่อนจุดลอยบนแบบจําลอง X-Y

PgUp,Pg เคลื่อนจุด
พิกัดของอิมเมจ ลอยขึ้นลงแนวดิ่ง
ขจัด x-parallax

Num8/Num2
ขจัด Y-parallax
NumLock=ON

เคลื่อนจุดลอย
ภาพขวา ขึ้นลงในแนวดิ่ง
ขจัดx-parallax

จุดลอย

เคลื่อนจุดลอยบนแบบ
พิกัดของอิมเมจ จําลอง X-Y โดยการกด
ปุมนี้พรอมเคลื่อนเมาส

รูปภาพ 4-18 โปรแกรมชวยจัดภาพและวัดในสามมิติใน Chula-DPWS และการใชงาน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-17 4.7 อัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห

4.7 อัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห
เมื่อมีภาพคูสามมิติติดตั้งบนเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหหรือเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัลโดยการนําภาพ
ขึ้นมาแสดงผลบนหนาจอ เมื่อเริ่มตนภาพคูสามมิติจะมีพารามิเตอรของการจัดวางตัวภาพในและภาพนอกจาก
วิธีการรังวัดดวยภาพพื้นฐานกอนหนานี้
เมื่อผูรังวัดตองการที่จะวัดจุดใดๆบนภูมิประเทศก็จะทําการหมุนเอนโคเดอรในรูปของมือหมุน (Hand-
wheel) ซายและขวาเพื่อเปลี่ยนแปลงพิกัดทางราบตามแกน X และ Y พรอมกับการหมุนเอนโคเดอรในรูปของ
จานเทา(Foot-disk) สําหรับเลื่อนจุดลอยขึ้นลงจนกระทั่ง จุดลอยลงไป ”แตะ” ภูมิประเทศ เปนภาพปรากฏ ใน
ระหวางนี้จะเกิดกระบวนการวนซ้ําของการคํานวณดังนี้

4.7.1 เมื่อเริ่มตน
ทั้งภาพซายและขวาไดทําการวางภาพภายในไปแลว โดยการวัดพิกัดของจุดดัชนีแลวเทียบกับพิกัดของ
ดัชนีที่ควรจะเปน ทําการหาความสัมพันธซึ่งโดยทั่วไปมักจะใช affine transformation โดยที่ทั้งภาพซายและ
ภาพขวาจะมีคาพารามิเตอรอยางละหนึ่งชุดแยกอิสระตอกัน โดยกําหนดใหพารามิเตอรมีดังนี้
ภาพคูสามมิติ คาพารามิเตอรการวางตัวภายใน คาพารามิเตอรการวางตัวภายนอก
ภาพซาย a1 , b1 , c1 , d1 , e1 , f1 X 0 1 , Y 0 1 , Z 0 1 ,ϖ 1 , ϕ 1 , κ 1
ภาพขวา a2 , b2 , c2 , d2 , e2 , f2 X 0 2 , Y 0 2 , Z 0 2 ,ϖ 2 , ϕ 2 , κ 2

สวนคาพิกัดของจุดที่ตองการหาคาพิกัดวัตถุวัดไดเปนพิกัดเครื่องมือ (ξ 1 , η1 ) สําหรับภาพซายและ
(ξ 2 , η 2 ) สําหรับในภาพขวาซึ่งในเบื้องตนนี้ใหคาพิกัดเปนพิกัดเครื่องมือวัดซึ่งอาจเปนพิกัดของแทนรับภาพใน
เครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหหรือพิกัดบนภาพดิจิทัล

4.7.2 สิ่งที่ตองคํานวณหา
สิ่งที่ตองการคํานวณหาคือคาพิกัดของวัตถุที่ โดยที่อาศัยสายตาในการวางจุดบนภาพซายและภาพขวา
โดยการบังคับแทนวางภาพซายและขวาไปพรอมๆกัน จนทายที่จะเห็นจุด จุดลอยลงไปแตะภูมิประเทศบนภาพ
ทั้งสอง จากนั้นซอฟแวรจะทําการคํานวณคาพิกัดของวัตถุ P(X,Y,Z) ได

4.7.3 ขั้นตอนการทํางานSolution:

4.7.3.1 สมมุติคาความสูง
เมื่อเริ่มตนซอฟแวรจะทําการสุมคาความสูงของจุดที่รังวัดปจจุบันเสียกอนหรืออาจจะใชคาระดับจากการ
วัดครั้งลาสุด นั่นคือ
Z = ζ const. สมการ 4-14

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-18 4.7 อัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห

4.7.3.2 แปลงพิกัดเครื่องวัดใหเปนพิกัดภาพ
ขณะที่ผูปฏิบัติพยายามที่จะนําจุดลอยซายไปแตะจุดที่ตองการวัดบนภาพซาย (ξ1 ,η1 ) ซึ่งจะ
สามารถคํานวณใหเปนพิกัดภาพถายเพื่อนําไปใชกับสมการสถาวะรวมเสนดังนี้
xp1 = a1 ⋅ξ + b1 ⋅η + c1 สมการ 4-15
yp1 = d1 ⋅ ξ + e1 ⋅η + f1
คาพิกัดภาพของวัตถุที่ตองการรังวัดขณะนี้ี่เปน ( xp1 , yp1 )

4.7.3.3 คํานวณพิกัดวัตถุ P( X , Y , Z ) จากภาพซาย


เมื่อพิจารณาภาพซายเมื่อมีคาการวางตัวภาพนอก X 01 , Y 01 , Z 01 ,ϖ 1 , ϕ 1 , κ 1 และคาพิกัดภาพ
( xp1 , yp1 ) พรอมกับคาความสูงประมาณที่ไดขณะนี้คือ Z = ζ จะสามารคํานวณพิกัดวัตถุ P( X , Y , Z )
 r111 ⋅ xpๅ + r121 ⋅ ypๅ + r 311 ⋅ (− f )  สมการ 4-16
X = X 0ๅ + (Z 0ๅ − ζ)  
 r 31 ⋅ xp + r 32 ⋅ yp + r 33 ⋅ (− f ) 
 1 ๅ 1 ๅ 1 
 r 211 ⋅ xpๅ + r 221 ⋅ ypๅ + r 231 ⋅ (− f ) 
Y = Y 0ๅ 1 + (Z 0ๅ − ζ)  
 r 31 ⋅ xp + r 32 ⋅ yp + r 33 ⋅ (− f ) 
 1 ๅ 1 ๅ 1 
Z =ζ

โดยที่ r111 , r121 , r131 , r 211 , r 221 , r 231 , r 311 , r 321 , r 331 คือสมาชิกของเมตริกซของการ
หมุนที่เปนฟงกชันของ ϖ 1 ,ϕ 1 , κ 1 และ f คือความยาวโฟกัสของกลอง

4.7.3.4 คํานวณคาพิกัดภาพ (xp 2 , yp 2 ) บนภาพขวา


คาพิกัดภาพ (xp 2 , yp 2 ) บนภาพขวาสามารถคํานวณไดจากสมการสภาวะรวมเสนโดยเมื่อมี
 r112 ⋅ ( X − X 0 2 ) + r 212 ⋅ (Y − Y 0 2 ) + r 312 ⋅ ( Z − Z 0 2 )  สมการ 4-17
xp 2 = (− f ) ⋅  
 r13 2 ⋅ ( X − X 0 2 ) + r 23 2 ⋅ (Y − Y 0 2 ) + r 33 2 ⋅ ( Z − Z 0 2 ) 
 r12 2 ⋅ ( X − X 0 2 ) + r 23 2 ⋅ (Y − Y 0 2 ) + r 32 2 ⋅ ( Z − Z 0 2 ) 
yp 2 = (− f ) ⋅  
 r13 2 ⋅ ( X − X 0 2 ) + r 23 2 ⋅ (Y − Y 0 2 ) + r 33 2 ⋅ ( Z − Z 0 2 ) 

โดยที่ r112 , r122 , r132 , r 212 , r 222 , r 232 , r 312 , r 322 , r 332 คื อ สมาชิ ก ของเมตริ ก ซ ข องการ
หมุนที่เปนฟงกชันของ ϖ 2 , ϕ 2 , κ 2 และ f คือความยาวโฟกัสของกลอง

4.7.3.5 คํานวณคาพิกัดเครื่องมือ (ξ 2 ,η2 ) จากคาพิกัดภาพ (xp 2 , yp 2 ) บนภาพขวา


คํานวณคาพิกัดเครื่องมือ (ξ 2 ,η2 ) บนภาพขวาจากพิกัดภาพ ( xp1 , yp1 ) โดยการใชคาการจัดวาง
ภาพภายในการแปลงไปขางหนาเปน a2 , b2 , c2 , d2 , e2 , f2 และมีคาสัมประสิทธิ์การแปลงกลับที่สอดคลองกัน
เปน a 2′ , b 2′ , c 2′ , d 2′ , e 2′ , f 2′
ดังนั้นคาพิกัดเครื่องมือของจุดบนภาพขวาคํานวณไดจาก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-19 4.8 อัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

ξ 2 = a 2′ ⋅ xp 2 + b 2′ ⋅ yp 2 + c 2′ สมการ 4-18
η 2 = d 2′ ⋅ xp 2 + e 2′ ⋅ yp 2 + f 2′

4.7.3.6 ขยับแทนรับภาพขวา
เมื่ อ ได ค า พิ กั ด ภาพที่ ค วรจะเป น สํ า หรั บ ภาพขวา (ξ 2 , η 2 ) คอมพิ ว เตอร ที่ ใ ช ใ นการบั ง คั บ หรื อ
คอมพิวเตอรกราฟฟคจะขยับแทนรับภาพขวาจนกระทั่งพิกัด (ξ 2 , η 2 ) เขามาอยูกึ่งกลางในการมองเห็น นั้นคื่อ
จุดลอยหรือจุดวัดสําหรับภาพขวามือ

4.7.3.7 ทําการวนซ้ํา
เนื่องจากในเบื้องตนเปนสมมุติความความสูงของจุด P ใหเปน Z = ζ const. จึงตองมีการวนซ้ํา
ของการพยายามลงจุดรังวัดใหแตะภูมิประเทศที่จุด P อีกโดยการเปลี่ยนคาระดับของจุด P โดยที่ผูปฏิบัติมีความ
สังเกตวาเมื่อปรับคาระดับ Z ไปในทิศทางใด จุดลอยจะลงไปแตะภูมิประเทศใกลขึ้นไปเรื่อยๆ การคํานวณที่
กลาวมาเบื้องตนก็จะเกิดซ้ํา
เมื่ อ ผู วั ด รู สึ ก ว า จุ ด ลอยแตะที่ ภู มิ ป ระเทศพอดี ค า พิ กั ด เครื่ อ งมื อ (ξ1 ,η1 ) สํ า หรั บ ภาพซ า ยและ
(ξ 2 ,η2 ) สําหรับในภาพขวา ที่ไดสุดทายนี้สามารถนําไปคํานวนหาพิกัดภาพดวยคาพารามิเตอรการวางตัวภาพ
ในและคาพิกัดของวัตถุที่ถูกตองระบบพิกัดภาพพื้นดินโดยคาพารามิเตอรการวางตัวภาพนอกของภาพซายและ
ขวาดวยวิธี Two-photo Intersection เปนตน

4.8 อัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล
การแสดงภาพในรู ป แบบสามมิ ติ แ ละการรั ง วั ด ในแบบจํ า ลองสามมิ ติ เป น หน า ที่ ห นึ่ ง ของ Digital
Photogrammetric Workstation เทานั้น ในสวนของการวัดบนคูภาพสามิติ เมื่อมีภาพคูสามมิติในรูปแบบดิจิทัล
แสดงภาพขึ้นมาบนจอแสดงผล หลักการของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัลจะมีหลักการเดียวกันกับเครื่องเขียนแผนที่
สามมิติเชิงวิเคราะห แตมีความแตกตางที่สําคัญคือการวัดคาพิกัดบนภาพในเบื้องตนจะไดพิกัดเครื่องมือวัดที่มี
หนวยเปน จุดภาพ (Pixel) ในเชิงการวัดบนภาพดิจิทัลสามารถที่จะวัดไดเล็กกวาจุดภาพ (sub-pixel) นอกจาก
นั้นความละเอียดของภาพดิจิทัลขึ้นอยูกับวิธีการที่สแกนมาดวย ถาเปนภาพถายทางอากาศที่สแกนมาดวย
“สแกนเนอรสําหรับงานรังวัดดวยภาพ” สามารถวัดไดละเอียดถูกตองถึง “หนึ่งในสามของจุดภาพ” และโดยทั่วไป
จะสแกนภาพถายทางอากาศที่ความละเอียดจุดภาพ 10-30 ไมครอน และในการขั้นตอนการวัดคาพิกัดสามมิติ
บนเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัลควรขยายภาพใหใหญพอที่จะวัดไดละเอียดกวาจุดภาพ ในขั้นตอนการคํานวณซึ่งจะ
มีการหาองคประกอบการจัดภาพภาพใน ก็จะทํามีคาสัมประสิทธิ์การแปลงคาพิกัดทําใหคาพิกัดที่วัดไดเปนจุด
ภาพสามารถคํานวณกลับเปนคาพิกัดของจุดภาพที่จะวัดมีหนวยเปนหนวยการวัดปกติไดเชนเดียวกับที่ปรากฏ
ในอัลกอริธึมของเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

4.9 การเปรียบเทียบเครื่องเขียนแผนที่
ดังนั้นในตารางขางลางนี้จะเปนการเปรียบเทียบหนาที่ตางๆระหวางองคประกอบในเครื่องเขียนแผนที่
เชิงวิเคราะหและเครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-20 0

หนาที่หรือองค เครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะห เครื่องเขียนแผนที่ดิจิทัล


ประกอบที่ใช
ภาพคูสามมิติ ภาพไดอาพอซิตีฟบนฟลม ภาพดิจิทัล
แทนรับภาพ กระจกใส Graphical User Interface
การวัดคาพิกัด เอ น โค ด เด อ ร ล ะ เอี ย ด ถู ก ต อ ง ถึ ง ซอฟแวรเคอรเซอร ปรับเปลี่ยนได
ไมโครเมตร
ความละเอี ย ดถู ก ขึ้น อยูกับความละเอี ยดถูกตองของกลไล ขึ้นอยูกับความละเอียดของภาพดิจิทัล ถา
ตอง และอุ ป กรณ เชิ ง ทั ศ น ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปอยู ใ น เป น ภาพถ า ยทางอากาศที่ ส แกนมาด ว ย
ระดับดีกวา 5 ไมครอน “สแกนเนอร สํ า หรั บ งานรั ง วั ด ด ว ยภาพ”
สามารถวั ด ได ล ะเอี ย ดถูก ต องถึง “หนึ่ งใน
สามของจุดภาพ”
โดยทั่ ว ไป จะสแกนภาพถ า ยทางอกาศที่
ความละเอียดจุดภาพ 10-30 ไมครอน
หนวยของคาพิกัด ไมครอน จุ ด ภาพ (pixel) แต ส ามารถวั ด ได เล็ ก กว า
จุดภาพ (sub-pixel)
การเลื่อนภาพ เซอรโวขับ เคลื่อ นทํ า งานประสานกั บ เอน สโครลบาร (Scroll Bar) หรื อ ฟ ง ก ชั น คี ย
โคดเดอร ตางๆ สามารถโปรแกรมได
ระบบการมองเห็ น ไฟสองสวาง ปริซึม และเลนส พรอมกลไก แวน ชัท เทิ ล ทํ างานประสานกั บ กราฟฟ ก ส
สามมิติ การยอ-ขยาย การด
พิกัดของวัตถุที่ได -จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร -จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร
-แสดงผลบนจอ -แสดงผลบนจอ
-ตอตรงพล็อตลงบนโตะเขียนแผนที่ -ติ ด ต อ เข า กั บ ซ อ ฟ แ ว ร ส า ร ส น เท ศ
-ตอเขาซอฟแวรอื่นๆไดบางแตจํากัด เนื่อง ภู มิ ศ าสตร (GIS) หรื อ ซอฟแวร ช ว ยเขี ย น
จากเปนอุปกรณอิเลกโทร-เมคคานิกส ทํา แบบ (CAD) ในอย า งดี เนื่ อ งจากเป น การ
ไดยุงยาก สื่ อ สารระหว า งซอฟแวร บ นคอมพิ ว เตอร
ดวยกัน
พื้นที่ที่ตองการใช ต อ งมี พื้ น ที่ ก ว า งพอสมควร 3-5 ตาราง โตะทํางานสําหรับคอมพิวเตอรกราฟฟกส
เมตร สํ า หรั บ เครื่ อ งมื อ ที่ เ ป น กลไกวั ด และจอภาพขนาดใหญ 15-21 นิ้วเพื่อความ
ละเอียด ไวตอสิ่งแวดลอม สะดวก
ราคา ราคาแพงเนื่องจากเปนกลไกความละเอียด ราคาแปรเปลี่ยนตามความตองการของผูใช
สู ง และต องมี การค วบ คุ ม ด วยไฟ ฟ า โดยทั่วไปเปนมูลคาของซอฟแวรอยางเดียว
อิเล็กทรอนิกส
ตาราง 4-1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของเครื่องเขียนแผนที่

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-21 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ
ความละเอียดของการวัดคูบนภาพคูสามมิติสามารถหาไดจากหลักของการแพรของความผิด
พลาด โดยจะเปนการวิเคราะหหาความละเอียดถูกตองของตัวไมทราบคา P(X,Y,Z) ในปญหา Two-photo
Intersection เปนวิธี โดยที่คาการจัดวางตัวภายนอก (Exterior Orientation Parameters) ของภาพทั้งสอง
ตองทราบมากอนใหเปนคาคงคี่ คาพิกัดภาพถายที่วัดไดจากภาพทั้งสองก็จะใชคาสังเกตุโดยใหมีความ
ความละเอียดถูกตองอยูรูปของคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อคํานวณไปสูคาน้ําหนักในระบบสมการของการ
แกปญหาดวยกําลังสองนอยที่สุด ความละเอียดถูกตองของคาการจัดวางตัวภาพนอกของภาพคูสามมิติ
อาจไดมาจากการคํานวณปรับแกกอนหนานี้ ดังนั้นจะอยูในรูปของ Variance-Covariance แมทริกซ ซึ่งจะ
เห็นไดวาคอนขางยุงยาก และในความเปนจริงเมื่อนําไปประยุกตใชก็มีสภาวะของระบบที่ไมตรงกับขณะที่
วิเคราะห

4.10.1 การวิเคราะหความละเอียดถูกตองจากภาพถายดิ่งในอุดมคติ
วิธีหนึ่งของการวิเคราะหความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติที่สะดวกและพอเพียง
ตอการใชงานคือการวิเคราะหความละเอียดถูกตองโดยประมาณจากภาพถายดิ่งในอุดมคติ และใหแกน
พิกัดภาพถายของภาพคูสามมิติทั้งสองจัดวางในลักษณะใหแกน x ขนานกับแกน X ของระบบพิกัดวัตถุ ดัง
นั้นจะทําใหการวิเคราะหความละเอียดถูกตองของคาพิกัดวัตถุที่ไดเปนดังนี้
px = x2-x1
x1 x 1′ x 2
f
O1 b O2

P(X,Y,Z)

X − X 01 X − X 02
รูปภาพ 4-19 ความสัมพันธระหวางพิกัดวัตถุและพิกัดภาพ บนภาพถายดิ่งในอุดมคติ

เมื่อพิจารณาสามเหลี่ยม O1O2 P จะไดวา


X − X 01 H สมการ 4-19
=
x1 f
ทําการยายขางตัวแปรตางๆเพื่อหาคา X

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-22 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

X = X 01 +
H
⋅ x1
สมการ 4-20
f
ทําการดิฟเฟอเรนทิเอต X เทียบกับ x1
dX =
H
⋅ dx1
สมการ 4-21
f
ถาคาความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดภาพทางแกน x เปน σ x จะหาคาความละเอียดถูกตอง
ของพิกัดวัตถุทางแกน X σ X โดย
σ = σ
H สมการ 4-22
X x1
f

เชนเดียวกัน สําหรับแกน Y แลวทําการดิฟเฟอเรนทิเอต จะไดวา


dY =
H
⋅ dy1
สมการ 4-23
f
ซึ่งถาคาความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดภาพทางแกน x เปน σ y จะหาคาความละเอียดถูกตอง
σ y โดย

σ = σ
H สมการ 4-24
Y y
f
สําหรับการหาคาความละเอียดถูกตองทางดานระดับสามารถวิเคราะหไดจากคาพาราแลกซทางแกน x
จะไดวา
px = x2 − x1 สมการ 4-25
เมื่อลากเสนชวยที่ขนานกับ O1 x1 ผานจุด O2 ที่ปรากฏดังรูปใหเปน O2 x1′ โดยที่
x1′ = x1 สมการ 4-26
จะเห็นไดวาสามเหลี่ยม ∆O 2 x 1′ x 2 คลายกับสามเหลี่ยม ∆PO 1O 2 ดังนั้น
H f
=
สมการ 4-27
b px
แทนคาพาราแลกซ x พรอมกับยาย b ไปทางดานขวา จะได
b⋅ f สมการ 4-28
H=
px
ทําการหาอนุพันธของ H เทียบกับ px
b⋅ f สมการ 4-29
dH = − dpx
px 2
px สามารถเขียนในอีกรูปแบบหนึ่งจากสมการ 4-27ดังนี้
b⋅ f สมการ 4-30
px =
H
แทนคา px 2 จาก px ที่ไดจากสมการสมการ 4-30 จะได
b⋅ f สมการ 4-31
dH = − 2
dpx
 b⋅ f 
 
 H 

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-23 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

ทําใหงายขึ้นเปน
H2 สมการ 4-32
dH = − dpx
b⋅ f
ดังนั้นหากใหความละเอียดถูกตองของการวัดพาราแลกซบนภาพเปน σ px จะสามารถคํานวณหาคา
ความละเอียดถูกตองของการวัดระดับเปน σ H โดยที่

H2 สมการ 4-33
σH = σ px
b⋅ f

ความละเอียดถูกตองของการวัดพาราแลกซ σ px วิเคราะหจากจากสมการของการวัดพาราแลกซ โดย


เพื่อใหงายและสอดคลองกับความเปนจริง ใหการวัดบนภาพมีความละเอียดถูกตองเทากันทางดานแกน x ทั้ง
บนภาพซายและขวานั่นคือ
σ x =σ x =σ x
1 2
สมการ 4-34
จะไดคาความถูกตองของการวัดพาราแลกซจากกฏของการแพรของความผิดพลาดและการวิเคราะหสม
การ 4-25เปน
σ px
2
= σ x2 + σ x2 = 2 ⋅ σ x2
2 2
สมการ 4-35
จากสมการ 4-35ดังนั้นคาประมาณของความถูกตองของการวัดพาราแลกซเปน
σ px = ≈ 1.4 ⋅ σ x สมการ 4-36

4.10.2 การวิเคราะหความละเอียดถูกตองจากระบบงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศ
แตอยางไรก็ตามคาความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดทางดิ่งนั้น ในทางปฏิบัติพบวาความละเอียด
ถูกตองขึ้นอยูกับขีดความสามารถของระบบงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศโดยเฉพาะความสูงบินถายถาพ
เปนปจจัยหลัก ทั้งนี้โดยมีสมมุติฐานที่วาระบบการบันทึกภาพดวยกลองถายภาพทางอากาศใหผลการรังวัดที่มี
ความละเอียดถูกตองสูงสุด ระบบการบันทึกภาพและประมวลผลที่ใหผลการรังวัดเชนนั้นประกอบดวยเลนสและ
กลไกในการจับยึดฟลมใหเรียบเปนระนาบ กระบวนการบันทึกดวยฟลมและอัดลางตลอดจนการสําเนา และขีด
ความสามารถในการประมวลผลที่มีการรังวัดสนามประกอบ การรังวัดบนภาพถายในกระบวนการขยายจุด
บังคับภาพถาย และทายที่สุดการวัดบนภาพคูสามมิติที่ตองอาศัยความชํานาญของผูรังวัดในการวางจุดลง
สัมผัสพื้นผิวภูมิประเทศ
ดังนั้นจึงไดมีผูทําการวิจัยหาความสัมพันธทางคณิตศาสตรเพื่อใชในการประมาณความละเอียดถูกตอง
ของการวัดพิกัดทางดิ่งบนแบบจําลองสามมิติ ซึ่งนําไปสูการหาความสัมพันธชนิดเปนสูตรเอมพิริกัล (empirical
formular) ดังตอไปนี้
K.Kraus ประมาณความละเอี ย ดถู ก ต อ งของการวั ด ค า พิ กั ด ทางดิ่ ง กรณี ที่ เป น จุ ด ให สั ญ ญาณ
(Signalised Points) สําหรับกลองถายภาพ Normal Angle – Wide Angle เปน
σ Z = 0.06 0 00 × H สมการ 4-37
ความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดทางดิ่งสําหรับกลองถายภาพ Super Wide Angle เปน
σ Z = 0.08 0 00 × H สมการ 4-38

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-24 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

สําหรับจุดทั่วๆไป และระบบงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศที่เปนมาตรฐาน ความละเอียดถูกตอง


ของการวัดคาพิกัดทางดิ่งบนจุดที่เดนชัด และผูรังวัดมีความชํานาญ สามารถประมาณไดจากความสูงบินเฉลี่ย
เหนือภูมิประเทศ และเพื่อความปลอดภัยหากนําไปใชในการออกแบบระบบงาน อาจเลือกใชคาที่ใหญ โดย
ประมาณความละเอียดถูกตองของคาระดับที่วัดไดไดจาก

σ Z = 0.15 0 00 × H สมการ 4-39

4.10.3 ความละเอียดถูกตองของวัดพิกัดภาพเพื่อใชในการคํานวณพิกัดวัตถุ
คาความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพถายทางอากาศ ขึ้นอยูกับความละเอียดถูกตองของเครื่องมือ
วัดพิกัด โดยเฉพาะความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดทั้งสองแกน σ x ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพของคา x-
parallax คุณภาพของภาพ ความชํานาญของผูปฏิบัติงาน ตลอดจนลักษณะของวัตถุที่จะวัด
จากประสพการและการวิจัย ในเบื้องตนคาความละเอียดถูกตองของการวัดพิกัดของวัตถุบนภาพแบง
เปนตามคุณภาพของจุดวัตถุที่พิจารณา อาจใชคาดังตอไปนี้

ประเภทของจุดที่รังวัด ความละเอียดถูกตองในการวัดพิกัดภาพถาย
(ไมครอน)
จุดดัชนีบนภาพถายทางอากาศ 5-10
จุดบังคับภาพชนิดใหสัญญาณ 10
จุดที่เดนชัดในภูมิประเทศ 10-15
รั้ว ขอบตึก 20-30
รอยตัดของถนน
รอยตอของพืชและคอนกรีต

4.10.4 การนําผลการวิเคราะหความละเอียดถูกตองไปใชออกแบบระบบงาน
ความละเอียดถูกตองสําหรับการวัดบนภาพคูสามมิติสําหรับทั้งทางราบและทางดิ่ง นอกจากจะใชในการ
ประมาณคาความละเอียดถูกตองที่จะคาดหวังไดจากการรังวัดคาพิกัดวัตถุแลว ในทางกลับกันยังสามารถที่จะ
นําไปประยุกตใชในการออกแบบวา หากความสามารถในการรังวัดบนภาพที่ทําไดนั้นมีความละเอียดถูกตองเปน
เทาใด จะตองทําการรังวัดจุดบังคับภาพพื้นดินดวยความละเอียดเทาใดดังภาพขางลางนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-25 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

O 1(X 01,Y 01,Z 01,ω1,ϕ1,κ1) O 2(X 02,Y 02, Z 02,ω2,ϕ2,κ2)

p1(x1,y1) p2(x2,y2)

ประมาณคาความ กําหนดความละเอียด
ถูกตองของการวัด ถูกตองของการรังวัด
P(X,Y,Z)
พิกัดวัตถุ พิกัดภาคพื้นดิน

รูปภาพ 4-20 ความสัมพันธระหวางความคลาดเคลื่อนของการวัดบนภาพคูสามมิติกับความคลาดเคลื่อนของวัตถุบนพื้นดิน

เพื่อใหเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น จึงใครขอยกตัวอยางการคิดคํานวณเพื่อใชในการหาขอสรุปความละเอียด
ถูกตองของระบบและความละเอียดถูกตองของการทํางานในภาคพื้นดินในการรังวัดคาพิกัดหมุดควบคุมภาพ
ถายดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 4.1 การประมาณคาความละเอียดถูกตองการวัดพิกัดวัตถุดวยเรขาคณิต


ในการรังวัดบนภาพถายทางอากาศที่มาตราสวน 1:15,000 สวนซอนดานหนาเปน 60% สวนซอนดาน
ข า งเป น 25% ภาพได จ ากกล อ งถ า ยภาพความยาวโฟกั ส เป น 153 มิ ล ลิ เมตร ทํ า การวั ด จุ ด รัง วั ด ชนิ ด ให
สัญญาณ (Signalized Control Point) ที่ปรากฏบนภาพถายทางอากาศอยางชัดเจน และคาดวามีความละเอียด
ถูกตองของการวัดพิกัดภาพเปน 10 ไมครอน จงหาความละเอียดถูกตองของพิกัดวัตถุบนพื้นดินที่คาดวาจะได
จากการรังวัดนี้
วิธีทํา
จากความสัมพันธใน สมการ 4-22
มาตราสวนภาพถายเปน m = 15,000
ความสูงบินคิดเปน H = f ⋅ m = 0.153 × 15,000 = 2,295 เมตร
ระยะฐานบินคิดเปน b = (1 − 0.4) ⋅ s ⋅ m = 0.4 × 0.23 × 15,000 = 1,380 เมตร

ความละเอียดถูกตองของการวัดภาพถายในทางแกน x หรือ y σ x = σ y = 10 ไมครอน

H
เนื่องจาก เลขมาตราสวนของภาพถายคือ m = = 15,000
f
H
ความละเอียดถูกตองของพิกัดวัตถุในทางราบคิดเปน σ X = σ x = m ⋅σ x
f
∴ σ X = 15,000 ⋅ (10 ⋅ 10 −6 ) = 0.15 เมตร ตอบ
สําหรับความละเอียดถูกตองของพิกัดวัตถุในทางดิ่ง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-26 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

คํานวณความละเอียดถูกตองของการวัด x-parallax ไดจาก σ px = ≈ 1.4 ⋅ σ x


∴ σ px = (1.4) ⋅ 10 = 14 ไมครอน
H2
ความละเอียดถูกตองของพิกัดวัตถุในทางดิ่งคิดเปน σ H = σ px
b⋅ f
(2295) 2
∴σ H = × (14 × 10 −6 ) = 0.35 เมตร ตอบ
1389 × 0.153

ดังนั้นความละเอียดถูกตองบนพื้นดินจากความสัมพันธทางเรขาคณิตในสมการ 4-22คิดเปนความคลาด
เคลื่อนบนภาคพื้นดินสําหรับทางราบ 7.5 เซนติเมตร สําหรับทางดิ่งคิดเปน 35 เซนติเมตร ตอบ
นอกจากนี้การประมาณคาความละเอียดถูกตองของการวัดจุดระดับยังสามารถคํานวนไดจากความสูง
บินเพียงอยางเดียว ดังในตัวอยางขางลางนี้

ตัวอยาง 4.2 การประมาณคาความละเอียดถูกตองของวัดจุดระดับจากสูตรเอมพิริกัล


ในการรังวัดบนภาพถายทางอากาศ เมื่อพิจารณาคาพิกัดของจุดเปดถายของภาพหนึ่งมีคา (3709.139,
2100.536, 2258.708) เมตร การบินออกแบบไวออกแบบไวที่มาตราสวน 1:13,000 สวนซอนดานหนาเปน 60%
สวนซอนดานขางเปน 25% ภาพไดจากกลองถายภาพความยาวโฟกัสเปน 154.006 มิลลิเมตร ความสูงเฉลี่ย
ของภูมิประเทศบริเวณภาพดังกลาวเปน 206.7 เมตร ทําการวัดจุดรังวัดจุดบนภูมิประเทศที่มีความชัดเจน ชี้ชัด
ไดงายบนภาพคูสามมิติของภาพถายทางอากาศ จงหาความละเอียดถูกตองของการวัดคาระดับของพิกัดวัตถุบน
พื้นดินที่คาดวาจะไดจากการรังวัดนี้ โดยใชการคํานวณจากการวิเคราะหขีดความสามารถของการวัดดวยภาพ
ถายทางอากาศเทานั้น
วิธีทํา
จากงานการวิจัยขีดความสามารถระบบงานรังวัดดวยภาพมาตรฐานและจากประสพการจะได
จุดรังวัดทั่วๆไป ความละเอียดถูกตองของการวัดคาพิกัดทางดิ่งกรณี ประมาณสูตรเอมพิริกัล
σ Z = 0.15 0 00 × H
∴ ความละเอียดถูกตองของการวัดคาระดับของพิกัดวัตถุบนพื้นดินที่คาดวาจะได
0.15
σZ = × (2258.708 − 206.7) = 0.31 เมตร ตอบ
1000

จะเห็นไดวาจากการประมาณคาความละเอียดถูกตองของการวัดจุดระดับโดยประมาณจากเรขาคณิต
เมื่อความละเอียดถูกตองการวัดพิกัดภาพเปน 10 ไมครอน เปรียบเทียบกับคํานวณจากสูตรเอมพิริกัล จะไดเห็น
วามีความแตกตางกัน 6 เซนติเมตรซึ่งแตกตางกันเล็กนอยเมื่อเทียบกับระดับความละเอียดถูกตองที่คํานวณได
คิดเปน 31 เซนติเมตร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-27 4.10 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

ตัวอยาง 4.3 การประยุกตใชงาน

จากการประมาณคาความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติที่จะใหผลลัพธทายสุดเกี่ยวของ
กับคาพิกัดวัตถุบนภาคพื้นดิน คาความละเอียดถูกตองที่ไดยังสามารถนําไปใชในการออกแบบงานรังวัดสําหรับ
การรังวัดจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดิน โดยคิดในทางกลับกัน
ในการรังวัดบนภาพถายทางอากาศที่มาตราสวน 1:15,000 ใชจุดธรรมชาติที่เดนชัดเปนจุดบังคับภาพ
ถายที่อาจเรียกวาเปนวิธีการ Post-marking
จากตัวอยางการคํานวณหาคาพารามิเตอรของการจัดวางภาพภายนอก โดยใหความละเอียดถูกตองที่
คาดหวังไดของการวัดจุดธรรมชาติบนภาพเปน 10 ไมครอน ดังนั้น จะไดวาความละเอียดถูกตองของจุดบังคับ
ภาพถายเปน 15 เซนติเมตร สวนความละเอียดถูกตองของการวัดจุดระดับหรือคาความสูงจะละเอียดถูกตองเปน
0.31 เซนติเมตร
ประกอบกับสมมุติฐานในการรังวัดควบคุมเพื่อนําผลลัพธไปสนับสนุนงานรังวัดชั้นรองลงมา โดยทั่วๆไป
จะตองทําการรังวัดดวยความละเอียดถูกตองที่สูงกวา และโดยทั่วไป อาจละเอียดถูกตองดีกวา 1 ถึง 2 เทา หรือ
เมื่อคิ ดคํ านวณอัตราสวนความละเอียดถูกตองระหวางความละเอียดถูกตองที่คาดหวังในสัดสวนกับ ความ
ละเอียดถูกตองของงานควบคุม คิดเปน 1 2 ถึง 1 3 เทา

∴ ในกรณีขางตนภาคพื้นดินจะตองมีการรังวัดคาพิกัดจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดินดวยความละเอียดถูก
ตองดีกวา ±5 เซนติเมตร ถึง ±7.5 เซนติเมตร สําหรับการรังวัดทางราบ และความละเอียดถูกตองการรังวัด
ดีกวา 10 เซนติเมตร สําหรับการรังวัดทางดิ่ง ตอบ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


4-28 4.11 คําถามทายบท

4.11 คําถามทายบท
1) ถาวัดคาพิกัดของจุดใดบนภาพถายทางอากาศดวยความละเอียดถูกตอง 20 ไมครอน บนภาพหนึ่งที่มี
มาตราสวน 1:6,000 ไดจากกลองที่มี f=153 มม. และถาเปนการวัดบนภาพคูสามมิติจะเปนภาพมี
สวนซอนปรกติคือ 60 % จงหาความละเอียดถูกตองทางทฤษฎีของคาพิกัดทั้งทางราบและดิ่งที่ควรจะ
ได ตามหลักการของการแพรของความผิดพลาด โดยอาศัยสมการดิฟเฟอเรนเชียลเทานั้น
2) เชนเดียวกับขอ 1 ) แตหากวาเปนกลองที่มี f=305 มม. จงหาความละเอียดถูกตองทางทฤษฎีของคา
พิกัดทั้งทางรางและดิ่งที่ควรจะได
3) ในกรณีใชในการวัดพิกัดในเมืองเชนกรุงเทพที่มีตึกสูง ภาพที่ไดจากกลองไหนจะมีปญหาเรื่องการบด
บังของตึกสูงมากกวา จงวาดภาพประกอบ ขอสังเกตภาพทั้งสองมีมาตราสวนเทากันนั่นคือ 1:6000 จึง
มีพื้นที่ครอบคลุมเทากัน แตมีความสูงขณะที่บินถายตางกัน
4) จงเปรียบเทียบความเหมาะสมของกลองถายภาพความยาวโฟกัส 153 มม. และ 305 มม. วาอยางไดมี
ความเหมาะสมแกการทําแผนที่ในกรุงเทพ เมื่อคํานึงถึง การบดบังของตึกสูง และความละเอียดถูกตอง
ที่ไดโดยเฉพาะทางดิ่ง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5 ขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
ขายสามเหลี่ยมทางอากาศเปนกระบวนการในเพิ่มจํานวนจุดควบคุมภาพถาย (Photo Control Point)
ใน บล็อคของภาพถาย การเพิ่มจํานวนจุดควบคุมนิยมเรียกวา การขยายจุดควบคุม (Photo control extension)
จุดควบคุมภาพถายคือจุดใดบนภาพถายที่มีลักษณะเดนชัด สามารถชี้ชัดทางตําแหนงไดอยางชัดเจนบนภาพ
และในสนาม เมื่อลงไปในสนามจุดดังกลาวก็จะสามารถคนหาไดงาย เนื่องจากมีความเดนชัด จุดควบคุมภาพ
ถายสวนหนึ่งจะทราบคาพิกัดในระบบพิกัดของวัตถุหรือระบบพิกัดภาคพื้นดินเปนอยางดี และอีกสวนหนึ่งซึ่งเปน
ส ว นมากจะไม ท ราบค า พิ กั ด ในระบบพิ กั ด วั ต ถุ ห รื อ ระบบพิ กั ด ภาคพื้ น ดิ น หลั ง การคํ า นวณปรั บ แก ท าง
คณิตศาสตรจะไดคาพิกัดของจุดควบคุมภาพถายที่มีความละเอียดถูกตองเชื่อถือได สามารถนําไปใชในงานสวน
อื่นๆในการรังดวยภาพได
งานหลักในการประมวลในการรังวัดดวยภาพที่พบบอยที่สุดไดแก การวัดพิกัดบนภาพคูสามมิติเพื่อเขียน
แผนที่ลายเสนหรือวัดคาพิกัดวัตถุดวยความละเอียดถูกตองสูง และการใหกําเนิดภาพถายดัดแกออรโทเพื่อนําไป
ผลิตแผนที่ภาพ ในกระบวนการเหลานี้จําเปนตองรูคาการจัดวางภาพภายนอกเสียกอน
ในบทนี้ จะได กลาวถึงหลักการของข ายสามเหลี่ยมทางอากาศ ที่ ประยุกตใชกับ บล็อ คภาพถายทาง
อากาศ ซึ่งจะเปนบล็อคของภาพถายดิ่งที่มีแกนของกลองถายรูปขนานไปทิศทางเดียวกัน การจัดเรียงรูปเปนแนว
บินอยางมีระบบ การคํานวณปรับแกที่กลาวถึงก็จะเปนวิธีที่นิยมใชในปจจุบันที่ใหความละเอียดถูกตองและ
ความเชื่อมั่นสูงสุดนั่นคือวิธีการปรับแกของบล็อคลําแสง(Bundle Block Adjustment)
แม วาจะกลาวถึงแต ห ลั กการของขายสามเหลี่ยมทางอากาศ แต ในหลั กการแลวก็ จะสามารถนํ าไป
ประยุกตกับบล็อคของการรังวังดวยภาพถายอื่นไดเชนกันหากเงื่อนไขในการังวัดและแบบจําลองครบถวน

5.1 จุดควบคุมภาพถาย
จุดควบคุมภาพถายคือจุดที่ปรากฏหรือจุดที่บงบอกไดจากสิ่งแวดลอมที่ปรากฏ บนภาพถายที่มีลักษณะ
เดนชัด สามารถชี้ชัดทางตําแหนงไดอยางชัดเจนบนภาพ และเมื่อลงไปในสนามจุดดังกลาวก็จะสามารถคนหา
ไดงายบนวัตถุหรือภูมิประเทศ
ตัวอยางของจุดควบคุมภาพถาย (Photo Control Point) ซึ่งในงานขายสามเหลี่ยมจะมีทั้งหมุดที่ทราบคา
พิกัดภาคพื้นดินและไมทราบคาพิกัดภาคพื้นดิน มีความเดนชัดดังตัวอยาง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-2 5.1 จุดควบคุมภาพถาย

ก) จุดควบคุมภาพถาย เปนจุดที่มีการ ข) จุดควบคุมภาพถาย ไดจากสิ่งปลูกสราง :


เตรียมการลวงหนากอนบันทําภาพ แนวตัดกันของขอบสะพานดานทิศเหนือกับ
แนวกึ่งกลางของสะพานคนเดิน
รูปภาพ 5-2 จุดควบคุมภาพถาย
ในกรณีที่ตองการใหผลของการคํานวณปรับแกของงานขายสามเหลี่ยมใหมีคุณ ภาพดีขึ้นและมีความ
ละเอียดถูกตองสูงขึ้นนาเชื่อถือ ซึ่งจะสงผลทําใหผลิตผลแผนที่มีความละเอียดถูกตองสูงขึ้นตามไปดวย ในพื้นที่
ที่ตองการทําแผนที่อาจมีการจัดทําจุดควบคุมภาพถายชนิดที่เปนเปาลวงหนา (Premarking Target) หรือเปา
ชนิดใหสัญญาณ (Signalized Target) ซึ่งเปนการเตรียมเปาในสนามดวยวัสดุที่ทําใหมีความคมชัดตัดกับสภาพ
แวดลอม เปามีรูปรางที่เดนชัดในภูมิประเทศ มีสวนที่เปนเปาพยานซึ่งเปนเปาประกอบที่ชี้ชัดไดงายจากภาพ
และตัวเปาเองก็ออกแบบใหมีขนาดใหญพอที่จุดลอยในเครื่องเขียนแผนที่สามมิติสามารถไปแตะหรือสัมผัสได
ชัด เจน ในกรณี นี้ เป า จะปรากฏบนภาพถ า ยมี ข นาด 40-60 ไมครอนที่ ม าตราส วนภาพถา ยนั้ น หรือ ในกรณี
ประมวลผลดวยภาพดิจิทัล ก็จะคํานึงวาเมื่อสแกนไปแลว ภาพดิจิทัลของเปาจะปรากฏบนภาพดิจิทัลมีขนาด 5-
10 จุดภาพ เปาลวงหนาตองสรางใหเสร็จและมีการเฝาระวังจนกวาจะมีการบินผานเพื่อบันทึกภาพ

ก) จุดเปาลวงหนาและเปาพยานชนิด 4 ขา ข) ตําแหนงของเปาลวงหนาตองมีการ
รังวัดคาพิกัดภาคพื้นดิน
รูปภาพ 5-1 จุดเปาลวงหนา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-3 5.1 จุดควบคุมภาพถาย

5.1.1 ชนิดของจุดบังคับภาพถายทางอากาศ
ในบล็อคของภาพถายทางอากาศ ชนิดของจุดบังคับภาพถายทางอากาศสามารถจําแนกไดตามลักษณะ
ที่ไปปรากฏบนภาพถายทางอากาศและบทบาทในการคํานวณปรับแก ซึ่งจะไดกลาวในภายหลังวาการคํานวณ
ปรับแกชนิดบล็อคของลําแสงเปนการใชสมการรวมเสน ดังนั้นชนิดจุดบังคับภาพถายแบงออกเปนสามประเภท
ตามหนาที่ดังนี้

5.1.1.1 จุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดิน (Ground Control Point)


จุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดิน (Ground Control Point) เปนจุดบังคับภาพถายที่เห็นเดนชัดบนภาพ
ถายและชี้ชัดไดบนภาคพื้นดิน จุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินมีคาพิกัดในทั้งสามมิติ มีการไปรังวัดในสนามดวย
เครื่องมือและวิธีการที่ใหความละเอียดถูกตองสูงในระดับที่สามารถนํามาควบคุมงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
ในแงของการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยม คาพิกัดของจุดควบคุมภาคพื้นดินจะนําไปใชเปนคาคงที่ใน
สมการ ดังนั้นการวัดคาพิกัดภาพถายบนภาพที่เปนของจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินจะใหสมการเพิ่มขึ้น 2 สม
การเสมอ โดยที่จะไมทําใหเกิดตัวไมทราบคาเพิ่มขึ้น
[a11p ( X g − X 0) + a12p (Yg − Y 0) + a13p ( Z g − Z 0) ]
x i + vx i = − f สมการ 5-1
[a31p ( X g − X 0) + a32p (Yg − Y 0) + a33p ( Z g − Z 0) ]
[a21p ( X g − X 0) + a22p (Yg − Y 0) + a23p ( Z g − Z 0) ]
yi + vyi = − f สมการ 5-2
[a31p ( X g − X 0) + a32p (Yg − Y 0) + a33p ( Z g − Z 0) ]
โดยที่ x i , yi คื อ คา พิ กัด ภาพถา ยจุ ด ควบคุ ม ภาพถ ายภาคพื้ น ดิ น ที่ ป รากฏบนภาพหนึ่ งภาพ และ
X g , Yg , Z g เปนคาพิกัดของจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินใดที่เปนคาคงที่ p คือดัชนีลําดับของภาพถาย

ในทางปฏิบัติหากวาจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดิน ปรากฏบนภาพถายมากวา 2 ภาพยิ่งเปนผลดี เนื่อง


จากทําใหสามารถวัดคาพิกัดภาพถายไดเพิ่มขึ้น ซึ่งจะทําใหสามารถสรางสมการคาสังเกตเพิ่มขึ้นไดอีก 2 สม
การตอการวัดคาพิกัดบนภาพที่เพิ่มขึ้นหนึ่งภาพเสมอ การมีจํานวนสมการคาสังเกตเพิ่มขึ้นจะทําให ผลการ
คํานวณปรับแกมีความละเอียดถูกตองและนาเชื่อถือมากขึ้นไปดวย

5.1.1.2 จุดควบคุมภาพถายระดับ (Levelling Control Point)


จุดควบคุมภาพถายระดับ (Levelling Control Point) เปนจุดบังคับภาพถายที่เห็นเดนชัดบนภาพถาย
และชี้ชัดไดบนภาคพื้นดิน จุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินมีแตคาพิกัดในแนวดิ่ง คาระดับมีการไปรังวัดในสนาม
ดวยเครื่องมือและวิธีการที่ใหความละเอียดถูกตองสูงในระดับที่สามารถนํามาควบคุมงานขายสามเหลี่ยมทาง
อากาศได ซึ่งโดยทั่วไปหากเปนการใชการเดินระดับ ก็นับวาทําไดงายและสะดวกกวาจุดควบคุมภาพถายภาค
พื้นดินที่เปนชนิดมีพิกัดครบในทั้งสามแกน
ดังนั้น จุดควบคุมภาพถายระดับ ควรจะเลือกเปนจุดที่อยูบนภูมิประเทศที่คอนขางราบเรียบ เนื่องจากวา
เปนการชี้ชัดสําหรับการใชงานระดับเพียงอยางเดียว หากผูที่ทําการรังวัดวัดคลาดเคลื่อนทางตําแหนงไปบาง ก็
จะทําใหผลลัพธของการคํานวณปรับแกไมไดรับผลกระทบ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-4 5.1 จุดควบคุมภาพถาย

จุดควบคุมภาพถายระดับ ไดรับความนิยมลดลงเนื่องจากการรังวัดคาพิกัดในสนามดวยการรังวัดดาว
เทียมจีพีเอสมีความสะดวก รวดเร็วและประหยัดคาใชจาย

5.1.1.3 จุดผาน (Pass Point)


จุดผานคือจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินที่มีการชี้ชัดตําแหนงบนภาพถาย แตไมจําเปนตองลงไปคนหา
และรังวัดคาพิกัดในสนาม จุดผานจะตองปรากฏบนภาพถายอยางนอยสองรูปขึ้นไป โดยที่ตําแหนงของจุดผาน
จะตองปรากฏอยูบนสวนซอนดานหนาของภาพถายทางอากาศ หรือกลาวไดวาตองอยูในสวนซอนที่อยูในแนว
บิน โดยที่การเลือกจุดผานใหมหนึ่งจุดจะทําใหเกิดตัวไมทราบคาในการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยมทาง
อากาศเพิ่ม ขึ้น 3 ตั ว ค าพิ กัดที่วัดไดบ นภาพอยางน อยสองภาพจะเปน คาสังเกตที่ ทํ าใหคาพิ กัดไมท ราบค า
คํานวณออกมาได หลังการคํานวณปรับแกจุดผานจะมีคาพิกัดในทั้งสามมิติ ที่สามารถนําไปใชงานตอไปได
ดังนั้นในแงของการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยม เมื่อมีการเลือกจุดผานมาหนึ่งจุดจะทําใหเกิดตัวไม
ทราบคาเพิ่มขึ้น 3 ตัว ในขณะที่หากทําการรังวัดคาพิกัดภาพถายบนภาพ 2 ภาพ ก็จะสามารถสรางสมการคา
สังเกตไดดังนี้
สมการคาสังเกตสําหรับภาพที่แรก
[a11p ( X t − X 0 p ) + a12p (Yt − Y 0 p ) + a13p ( Z t − Z 0 p ) ]
x i + vx i = − f สมการ 5-3
[a31p ( X t − X 0 p ) + a32p (Yt − Y 0 p ) + a33p ( Z t − Z 0 p ) ]
[a21p ( X t − X 0 p ) + a22p (Yt − Y 0 p ) + a23p ( Z t − Z 0 p ) ]
yi + vyi = − f สมการ 5-4
[a31p ( X t − X 0 p ) + a32p (Yt − Y 0 p ) + a33p ( Z t − Z 0 p ) ]
โดยที่ x i , yi คือคาพิกัดภาพถายของจุดผานที่ปรากฏบนภาพหนึ่งภาพ และ X t , Yt , Z t เปนคาพิกัด
ของจุดผานที่ใหเปนตัวไมทราบคาในระบบสมการ และ ดัชนี i คือดัชนีของจุดการรังวัดพิกัดภาพถายแตละภาพ
ดัชนี p คือดัชนีลําดับของภาพถาย
เชนเดียวกันสําหรับสมการคาสังเกตของภาพที่ถัดไป
[a11p+1 ( X t − X 0 p+1 ) + a12p+1 (Yt − Y 0 p+1 ) + a13p+1 ( Z t − Z 0 p+1 ) ] สมการ
x i +1 + vx i +1 = − f p +1 p +1 p +1 p +1 p +1 p +1
[a31 ( X t − X 0 ) + a32 (Yt − Y 0 ) + a33 ( Z t − Z 0 ) ] 5-5
p +1 p +1 p +1 p +1 p +1
[a21 ( X t − X 0 ) + a22 (Yt − Y 0 ) + a23 ( Z t − Z 0 ) ] p +1
สมการ
yi +1 + vyi +1 = − f p +1 p +1 p +1 p +1 p +1
[a31 ( X t − X 0 ) + a32 (Yt − Y 0 ) + a33 ( Z t − Z 0 ) ]
p
5-6
โดยที่ x i +1 , yi +1 คือคาพิกัดภาพถายของจุดผานที่ปรากฏบนภาพในลําดับถัดมา และ X t , Yt , Z t เปน
คาพิกัดของจุดผานที่ใหเปนตัวไมทราบคาในระบบสมการเปนตัวเดียวกับที่กําหนดในสมการคาสังเกต สมการ
5-1และสมการ 5-1 กอนหนานี้ ดังนั้นจํานวนตัวไมทราบคาจึงไมเพิ่มขึ้น และ ดัชนี i คือดัชนีของจุดการรังวัด
พิกัดภาพถายแตละภาพ ดัชนี p คือดัชนีลําดับของภาพถาย
ซึ่งจะเห็นวาในการวัดอยางนอยที่สุด สองจุดบนภาพสองภาพนี้จะทําใหเกิดสมการคาสังเกตขึ้น 4 สม
การ จํานวนสมการจะเกินจํานวนตัวไมทราบคา 3 ตัว อยู 1 สมการเสมอ
ในทางปฏิบัติหากวาจุดผาน ปรากฏบนภาพถายมากวา 2 ภาพจะตองทําการรังวัดเพิ่มตอไป ในการวัด
จุดผานเดิมนี้บนภาพตอไป ซึ่งจะทําใหสามารถสรางสมการคาสังเกตเพิ่มขึ้นไดอีก 2 สมการตอการวัดคาพิกัด
บนภาพที่เพิ่มขึ้นหนึ่งภาพเสมอ โดยที่ตัวไมทราบคาจะไมเพิ่มขึ้นอีก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-5 5.1 จุดควบคุมภาพถาย

การมีจํานวนสมการคาสังเกตเพิ่มขึ้นจะทําใหผลการคํานวณปรับแกมีความละเอียดถูกตองและนาเชื่อ
ถือมากขึ้นไป ตามหลักของสถิติและการคํานวณปรับแก

5.1.1.4 จุดโยงยึด (Tie Point)


จุดโยงยึดคือจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินที่มีการชี้ชัดตําแหนงบนภาพถาย แตไมจําเปนตองลงไปคน
หาและรังวัดคาพิกัดในสนาม จุดโยงยึดจะตองปรากฏบนภาพถายอยางนอยสองรูปขึ้นไป โดยที่ตําแหนงของ
จุดผานจะตองปรากฏอยูบนสวนซอนดานขางระหวางแนวบิน นอกเหนือจากความแตกตางในการปรากฏบน
ภาพถายในบล็อคของภาพถายทางอากาศแลว จุดโยงยึดจะมีคุณสมบัติและบทบาทในการคํานวณปรับแกเชน
เดียวกับจุดผานทุกประการ ดังนั้นในแงของการรังวัดและการคํานวณปรับแกสามารถนําหลักการของจุดผานมา
ประยุกตใชได

5.1.2 ตําแหนงของจุดควบคุมภาพถาย
ผลจากการวิจัยในการหาตําแหนงและความเหมาะสมของ จุดผานและจุดโยง ทําใหสามารถกําหนด
ตําแหนงและจํานวนของจุดควบคุมภาพถายในการรังวัดเพื่อคํานวณขายสามเหลี่ยมทางอากาศในภาพดังนี้

จุดควบคุมภาคพื้นดิน จุดผาน จุดโยงยึด


รูปภาพ 5-3 ชนิดของจุดควบคุมภาพถายตามนิยาม

จะเห็นไดวา
1) จุ ด ควบคุ ม ภาคพื้ น ดิ น ส ว นใหญ จ ะอยู ต ามขอบพื้ น ที่ โ ดยรอบของของบล็ อ คและบางส ว นใน
กลาง-บล็อค ซึ่งหลักการและเหตุผลจะไดกลาวในหัวขอ 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน ใน
ลําดับตอไป
2) จุดผาน จะตองกําหนดใหมีอยางนอย 6 จุดกระจายอยูบนสวนซอนดานหนาในแนวบินเดียวกันดัง
ภาพ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-6 5.1 จุดควบคุมภาพถาย

3) จุดโยงยึด จะตองกําหนดใหมีทุกแบบจําลอง ของสวนซอนดานขาง หรือ อาจใหเวนไดทุกๆหนึ่งแบบ


จําลอง
หากยึดขอกําหนดดังกลาว ในภาพก็จะพบวามีจุดผานและจุดโยงยึดจํานวนมากอยูในสวนซอนดานขางระหวาง
แนวบิน จากการวิเคราะหผานมาจะเห็นวาการที่ทําใหเกิดจุดผานหรือจุดโยงยึด จะทําใหเกิดตัวไมทราบคาเพิ่ม
ขึ้นทีละ 3 ตัว ดังนั้นหากในการเลือกจุดผานและจุดโยงยึดที่อยูใกลกัน ควรจะหลีกเลี่ยงโดยการกําหนดจุดเหลา
นั้นใหเปนจุดเดียวกัน ซึ่งจะทําใหนอกจากจํานวนตัวไมทราบคาลดลงแลว ยังทําใหสัดสวนของตัวไมทราบคาตอ
คาสังเกตลดลงอีกดวย ซึ่งจะทําใหผลการคํานวณปรับแกมีความละเอียดถูกตองและนาเชื่อถือมากขึ้น

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-7 5.2 วิธีการระบุคาการจัดวางภาพภายนอก

5.2 วิธีการระบุคาการจัดวางภาพภายนอก
การระบุคาการจัดวางภาพภายนอกของภาพถายสามารถระบุดวยคาพารามิเตอรที่บอกตําแหนงของจุด
เปดถายภาพและความเอียงของกลอง X 0,Y 0, Z 0, ω , ϕ , κ แลว ยังสามารถระบุโดยนัยได โดยการระบุ
จุดควบคุมภาพถายในรูปของตําแหนงทั้งบนภาพและบนวัตถุหรือบนพื้นดินในกรณีภาพถายทางอากาศ ในภาพ
ขางลางแสดงการระบุการจัดวางภาพภายนอกนอกที่เทียบเทากัน เนื่องจากคาพารามิเตอรการจัดวางภาพภาย
นอกมี 6 พารามิเตอร ในภาพทางขวามีจุดควบคุมภาพถายสามจุดซึ่งโดยวิธี การวัดยอนของภาพถายเดี่ยว
(Single Photo Resection) จะสามารถใชคํานวณยอนกลับไปหาพารามิเตอรการจัดวางภาพภายนอกได

Z
( x 2 , y 2 ) ⇔ ( X 2 ,Y 2 , Z 2 )
ω
Y
( x 1 , y 1 ) ⇔ ( X 1 ,Y 1 , Z 1 )

ϕ
κ
X 0,Y 0, Z 0 X ( x 3 , y 3 ) ⇔ ( X 3 ,Y 3 , Z 3 )

ก) คาพารามิเตอรการจัดภาพภายนอก ข) จุดควบคุมภาพภาพถาย 3 จุด

รูปภาพ 5-4 วิธีการระบุคาการจัดวางภาพนอกของภาพถาย


การระบุคาการจัดวางภาพภายนอกดวยวิธีจุดควบคุมภาพถายอยางนอย 3 จุดมีขอดีคือคาที่ไดสามารถ
นําไปใชกับซอฟแวรหรือเครื่องมือใดก็ได โดยแตละซอฟแวรหรือเครื่องมือก็จะทําการแกปญหา ดวยวิธี Single
Photo Resection ก็จะไดคาพารามิเตอรการจัดภาพภายนอก สวนการระบุคาการจัดวางภาพภายนอกดวยการ
ระบุคาพารามิเตอรการจัดภาพภายนอกโดยตรง มักจะมีปญหาในนิยามของแมทริกซของการหมุนเชนลําดับของ
พารามิเตอร ω , ϕ , κ ซึ่งทําใหคาพารามิเตอรการจัดภาพภายนอกไมสามารถใชรวมกันได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-8 5.3 เทคนิคการคํานวณขายสามเหลี่ยมแบบลําแสงเปนบล็อค

5.3 เทคนิคการคํานวณขายสามเหลี่ยมแบบลําแสงเปนบล็อค
ในสวนนี้จะเปนการวิเคราะหทฤษฏีของเทคนิคงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ และแสดงแนวความคิด
ของขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
การที่จะหาคาพารามิเตอรการจัดภาพภายนอกของภาพในเบื้องตนไดกลาวมาแลวในหลักการของการ
วัดยอนบนภาพถายเดี่ยว แตในทางปฏิบัติโดยเฉพาะการรังวัดดวยภาพถายทางอากาศที่บล็อคของภาพถายทาง
อากาศครอบคลุมพื้นที่กวางขวาง ทําใหวิธีการวัดยอนบนภาพถายเดี่ยวไมมีประสิทธิภาพและสิ้นเปลือง ไมนิยม
ทําเชนนั้นเนื่องจาก
1) ตองมีการรังวัดจุดควบคุมภาพพื้นดินใหปรากฏบนทุกภาพถายอยางนอยสามจุด โดยเฉพาะ
ในกรณีของภาพถายทางอากาศ ทําใหสิ้นเปลืองคาใชจาย
2) ไมมีการใชประโยชนของการที่ภาพถายทางอากาศในบล็อคมีสวนซอนกันอยางเปนระบบ ดวย
พื้นที่สวนซอน 60%-80% ซึ่งสามารถที่จะวัดพิกัดของภาพถายของจุดที่ไมตองลงไปรังวัดใน
สนาม แตปรากฏบนภาพถายมากกวาสองรูปขึ้นไป จุดเหลานี้ก็คือ จุดผาน (Pass Point) และ
จุดโยงยึด (Tie Point)
ดังนั้นหากตองการแกปญหาสิ่งเหลานี้ จะสามารถทําไดโดยการแกปญหาของบล็อคภาพถายทางอากาศ
ทั้งบล็อคดังนี้

5.3.1 การพิจารณาคูภาพที่อยูติดกัน
เมื่อพิจารณาภาพคูสามมิติสองภาพที่ไดจากการบันทึกในแนวบินเดียวกันซึ่งโดยปรกติเปนคูภาพที่มีสวน
ซอนดานหนาประมาณ 60% ในทฤษฎีของการจัดวางภาพสัมพันธ(Relative Orientation) Wolf,1983 ซึ่งกลาว
ถึงการที่ ภาพคูสามมิติในอากาศสามารถนํามาสัมพันธกันในลักษณะที่รังสีของแสงที่มาจากจุดจุดเดียวกันบน
ภาพคูสามมิติ จะตัดกันในทุกๆลําแสงที่เกิดจากจุดอื่นๆที่ปรากฏบนภาพ หรือรูจักกันในนามของทฤษฎีของสถา
วะรวมระนาบ (Coplanarity Condition) ความสัมพันธระหวางภาพคูสามมิตินี้สามารถทําไดโดยพารามิเตอร
ของกลองฉายที่เปนอิสระตอกัน 5 พารามิเตอร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-9 5.3 เทคนิคการคํานวณขายสามเหลี่ยมแบบลําแสงเปนบล็อค

Z
Z
κ
κ
Y
Y
ϕ
ϕ ω
ω X
X 0,Y 0, Z 0 X X 0,Y 0, Z 0

รูปภาพ 5-5 วิธีการระบุคาการจัดวางภาพนอกของภาพถาย


นั่นหมายความวาสถาวะรวมระนาบสามารถสรางความสัมพันธทางคณิตศาตรไดโดยการวัดจุดที่ปรากฏ
บนภาพทั้งสองอยางนอย 3 จุดซึ่งจะใหสมการคาสังเกต 6 สมการ ซึ่งมากพอที่จะคํานวณหาพารามิเตอร 5
พารามิเตอรนั้นได การวัดบนสวนซอนระหวางภาพจะวัดมากวานั้น เพื่อใหเกิดความละเอียดถูกตองสูงและ
เชื่อถือได โดยทั่วไปจากการวิจัยและทดสอบในทางปฏิบัติพบวาควรใชจุดในการจัดความสัมพันธใช 6
จุดกระจายทั่วทั้งสวนซอนของภาพคูสามมิติ
ดังนั้นอยางนอยที่สุดจะมีการรังวัดจุดที่เดนชัดบนภาพคูสามมิติอยางนอย 3 จุดโดยวัดบนทั้งสองภาพ
เพื่อใหภาพทั้งสองสามารถโดยโยงยึดกันได จุดเหลานี้ซึ่งภายหลังนี้เรียกวา จุดผาน (Pass Point) ถาเปนจุด
ที่วัดบนภาพที่มีสวนซอนในแนวบิน (Overlap) และจุดโยงยึด (Tie Point) เมื่อเปนวัดในสวนซอนที่อยู
ระหวางแนวบิน (Sidelap)

5.3.2 การพิจารณาบล็อคของภาพถายทางอากาศ
เมื่อภาพถายโยงยึดกันในสามมิติแตละระบบพิกัดยังเปนของตนเอง ดังนั้นจะตองทําการจัดวางแบบ
จําลองใหสัมพันธกับระบบพิกัดภาคพื้นดิน ในการหาความสัมพันธระหวางแบบจําลองสามมิติในอากาศกับ
ระบบพิกัดภาพพื้นดินสามารถทําไดโดยใชความสัมพันธแบบเฮลเมิรตชนิดสามมิติ หรือที่เรียกวา การแปลงคา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-10 5.3 เทคนิคการคํานวณขายสามเหลี่ยมแบบลําแสงเปนบล็อค

พิกัดสามมิติชนิด 7 พารามิเตอร โดยแบบจําลองจะมีความอิสระในการ เปลี่ยนแปลงมาตราสวนได 1 มาตรา


สวน เคลื่อนยายจุดกําเนิดแกนพิกัดไดทั้งสามแกน และ การทํามุมกันระหวางระบบพิกัดดวยมุมรอบแกนสาม
แกนทั้งสามมุม เมื่อทําการเปรียบเทียบพิกัดของแบบจําลองที่เกิดจากการโยงยึดของบล็อคภาพถายมีพิกัดเปน
พิกัดของแบบจําลองลอยอิสระอยูในอากาศ เมื่อนําคาพิกัดของแบบจําลองในสามมิติมาเปรียบเทียบกับพิกัด
ภาคพื้นดิน 3 จุด ก็จะสามารถสรางสมการได 9 สมการ ซึ่งจะพอเพียงและเกินตอการที่จะแกปญหาเพื่อหาคา
พารามิเตอรทั้ง 7 คา ซึ่งในทางปฏิบัติจะใชมากกวานั้นเพื่อใหเกิดความละเอียดถูกตองสูงและเชื่อถือได
ดังนั้นเพื่อหาความสัมพันธระหวางระบบพิกัดพื้นดินและระบบพิกัดในแบบจําลองจําเปนตองมีจุดบังคับ
ภาคพื้ น ดิ น (Ground Control Point) ซึ่ ง เป น จุ ด ที่ เห็ น เด น ชุ ด ในภาพถ า ย ชี้ ชั ด ในสนามได อ ย า งชั ด เจนทาง
ตําแหนงทั้งราบหรือทางดิ่งหรือในทั้งสามแกนทั้งหมดพรอมกัน จุดบังคับภาคพื้นดินเปนจุดที่มีคาพิกัดในระบบ
พิกัดภาคพื้นดิน มีความละเอียดถูกตองสูงเนื่องจากตองนําไปในการบังคับการคํานวณขายสามเหลี่ยม ซึ่งใน
ทางปฏิบัติตองไปรังวัดในสนาม โดยเทคนิคการสํารวจปกติเชนการทําวงรอบ เปนวิธีหนึ่งที่สามารถทําได แตใน
ปจจุบันนิยมทําสํารวจดวยดาวเทียมจีพีเอสมากวา เพราะมีความสะดวก มีความอิสระในการเลือกวางจุด มี
ความละเอียดถูกตองสูง และเชื่อถือได นอกจากนี้เครื่องมือสํารวจดวยดาวเทียมจีพีเอสจะมีราคาถูกและใชงาน
ไดสดวกขึ้นเรื่อยๆ

5.3.3 รูปแบบของโครงขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
การขยายจุดควบคุมภาพถายดวยวิธีขายสามเหลี่ยมเปนการนําคาจุดควบคุมภาพถายที่ไดจากงานรังวัด
ภาคพื้นดินดวยความละเอียดถูกตองสูงมาใชในการคํานวณเพื่อทําการจัดวางแบบจําลองของบล็อคในอากาศให
สัมพันธกับระบบพิกัดภาพพื้นดิน จุดบังคับภาพถายชนิดจุดควบคุมภาคพื้นดินสามารถที่จะใชสรางสมการคา
สังเกตสําหรับสมการรวมเสนได 2 สมการ โดยใหคาพิกัดที่รังวัดมาดวยความละเอียดถูกตองสูงเปนคาคงที่ ดัง
นั้นหมายความวาทุกครั้งที่มีจุดควบคุมพื้นดินจะใหคาสังเกตุเพิ่มขึ้นเสมอ และไมทําใหระบบสมการมีจํานวนไม
ทราบคาเพิ่มขึ้น

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-11 5.3 เทคนิคการคํานวณขายสามเหลี่ยมแบบลําแสงเปนบล็อค

ω ω ω

ϕ ϕ ϕ
κ κ κ
X 0 ,Y 0 , Z 0 X 0 ,Y 0 , Z 0 X 0 ,Y 0 , Z 0

ω ω ω

ϕ ϕ ϕ
κ κ κ
X 0 ,Y 0 , Z 0 X 0 ,Y 0 , Z 0 X 0 ,Y 0 , Z 0

จุดผาน-จุดโยงยึด

จุดควบคุมพื้นดิน

รูปภาพ 5-6 ขายสามเหลี่ยมที่เกิดเรขาคณิตของทางเดินของลําแสง


อีกสวนหนึ่งเปนการวัดจุดโยงยึดและการวัดจุดผาน สามารถสังเกตเห็นไดชัดบนภาพแตไมจําเปนตองไป
รังวัดภาคพื้นดิน การวัดคาพิกัดบนภาพถายหรือภาพดิจิทัลที่เปนจุดที่วัดบนสวนซอนจะใหสมการคาสังเกต 2
คาและสมการ 2 สมการซึ่งจะเปนสมการที่ไดรวมอยางนอย 4 สมการ อยางไรก็ตามจุดผานและจุดโยงยึดเปนจุด
ที่ยังไมทราบคาพิกัดดังนั้นตองมีการกําหนดใหตัวไมทราบคาเกิดขึ้นใหม 3 ตัวตอจุดโยงยึดหรือจุดผาน เมื่อจุด
ผานจุดโยงยึดพบในภาพเพียงสองภาพจะมีสมการเกินมา 1 สมการ ดังนั้นจุดผานหรือจุดโยงยึดจะตองปรากฏ
อยูบนภาพอยางนอยสองภาพขึ้นไป จึงจะสามารถหาคําตอบได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-12 5.4 การแกปญหาขายสามเหลี่ยม

5.4 การแกปญหาขายสามเหลี่ยม
ความสัมพันธของลําแสงที่โยงยึดภาพดวยจุดโยงยึด จุดผาน และจุดควบคุมภาคพื้นดิน นําไปสูการสราง
ระบบสมการรวมเสนสําหรับแตละลําแสง เมื่อมีจํานวนคาสังเกตุพอเพียงก็จะสามารถทําใหคํานวณคาพิกัดของ
จุดผาน-จุดโยงยึดออกมาได คาการจัดภาพภายนอกของทุกรูปก็ใหเปนตัวไมทราบคาก็จะสามารถหาคําตอบได

เมื่อพิจารณาปญหาของขายสามเหลี่ยมจะเห็นไดวา จํานวนตัวไมทราบคาจะวิเคราะหไดดังนี้
1) ภาพถายทางอากาศทุกรูปจะตองหาคาการจัดวางภาพนอก 6 คา หากมี i รูป จะมีตัวไมทราบคาในบ
ล็อค 6 ⋅ i ตัว
2) การวัดจุดโยงยึดหรือจุดผาน p จุดที่ปรากฏบนภาคพื้นดิน ซึ่งจะทําใหมีตัวไมทราบคาเกิดขึ้นใหมโดย
ที่จะนับเฉพาะที่เกิดขึ้นใหมบนภาคพื้นดิน ดังนั้นจะมีตัวไมทราบคา 3 ⋅ p

เมื่อพิจารณาจํานวนคาสังเกตจะวิเคราะหไดดังนี้
1) หากมีการวัดจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดิน g จุด โดยที่แตละจุดนั้นปรากฏบนภาพถายอยางนอยหนึ่ง
ภาพ ถาใหแตละจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดินปรากฏบนภาพ ngi ในการวัดจุดบังคับภาพถายภาคพื้น
ดินบนภาพหนึ่งภาพจะไดคาสังเกตเพิ่มขึ้น 2 คา หากมีการวัดบนภาพในแตละภาพในบล็อค ng นั้น
คือคือคาสังเกตจะมี 2 ⋅ ng
2) สําหรับจุดโยงยึด/จุดผาน แตละจุดตองปรากฏบนภาพอยางนอย 2 ภาพขึ้นไป ถาใหแตละจุดบังคับ
ภาพถายภาคพื้นดินปรากฏบนภาพ n pj เมื่อนับการวัดพิกัดภาพ บนทุกเปนจํานวนทั้งสิ้น n p จะไดคา
สังเกต 2 ⋅ n p คา
ดังนั้นตัวไมทราบคาในบล็อคทั้งสิ้น คิดเปน
u = 6 ⋅ i + 3⋅ p สมการ 5-7
โดยที่ จํานวนคาสังเกตคิดเปน
n = 2 ⋅ ng + 2 ⋅ n p
g
ng =∑ ngi for each ngi ≥ 1
i =1
สมการ 5-8
p
n p = ∑ n ip for each n ip ≥ 2
j =i

สมการเปนอิสระตอกันทั้งหมด ดวยวิธีกําลังสองนอยที่สุดจะแกปญหาไดก็ตอเมื่อ
u≥n สมการ 5-9

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-13 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ
ในตัวอยางนี้เปนการสมมุติใหมีบล็อคของภาพถายที่เล็กที่สุดที่เปนไปไดคือ 2 ภาพ และมีการวัดจุด
ผาน 3 จุด และมีคาพิกัดภาคพื้นดิน 3 จุดดังรูป

G1
G3
T1

G2

รูปภาพ 5-7 ตําแหนงของจุดบังคับภาพถายในขายสามเหลี่ยมทางอากาศที่เล็กที่สุด


ซึ่งจะเห็นไดวาการวัดไปยังจุดภาคพื้นดินซึ่งมีคาดังนี้

จุดภาคพื้นดิน คาพิกัด บทบาทในปญหา


G1 X G1 , YG1 , Z G1
G2 X G 2 , YG 2 , Z G 2 เปนคาคงที่
G3 X G 3 , YG 3 , Z G 3
T1 X T 1 , YT 1 , Z T 1 เปนตัวไมทราบคา
ตาราง 5-1 คาพิกัดของจุดภาคพื้นดินและบทบาท
เมื่อพิจารณาคารังวัดที่จะเปนคาสังเกต ในภาพทําการแยกภาพใหเห็นการวัดบนภาพ โดยใหสัญลักษณของการ
วัดพิกัดภาพไปยังจุด G1 เปน G1’ ในขณะที่การวัดจุด G1 เดียวกันนี้ไดคาพิกัดภาพบนภาพขวาเปน G2” เชน
เดียวกันกับจุด G2,G3,T1,T2,T3 ดังตารางขางลางนี้

G1’ G1”

G3” T1” G3”


T1’
G2’ G2’

ก) การวัดพิกัดภาพบนภาพซาย ข) การวัดพิกัดภาพบนภาพขวา
รูปภาพ 5-8 การวัดพิกัดภาพบนภาพคูสามมิติ

ซึ่งจะเห็นไดวามีคาสังเกตตางๆเนื่องจากการวัดบนภาพซายและภาพขวาไปยังจุดตางๆ ดังนี้
จุดบังคับภาพถาย คาพิกัดภาพซาย คาพิกัดภาพขวา
G1 ( xG′ 1, y G′ 1 ) ( xG′′ 1, y G′′ 1 )
G2 ( xG′ 2, y G′ 2 ) ( xG′′ 2, y G′′ 2 )

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-14 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

G3 ( x G′ 3, y G′ 3 ) ( x G′′ 3, y G′′ 3 )

T1 ( xT′ 1, yT′ 1 ) ( xT′′1, yT′′1 )

5.1.1 การแกปญหาดวยวิธีกําลังสองนอยที่สุด

5.5.1.1 เวกเตอรของคาสังเกต
สวนของเวกเตอรของคาสังเกตที่เปนการวัดไปยังจุดบังคับภาคพื้นดิน เปนการวัดบนภาพซายเปน
LG′ = xG′ 1 yG′ 1 xG′ 2 yG′ 2 xG′ 3 yG′ 3 xG′ 4 yG′ 4 สมการ 5-10
สวนของเวกเตอรของคาสังเกตที่เปนการวัดไปยังจุดบังคับภาคพื้นดิน เปนการวัดบนภาพขวาเปน
LG′′ = xG′′1 yG′′1 xG′′ 2 yG′′ 2 xG′′ 3 yG′′ 3 xG′′ 4 yG′′ 4 สมการ 5-11
สวนของเวกเตอรของคาสังเกตที่เปนการวัดไปยังจุดผาน เปนการวัดบนภาพซายเปน
LT′ = xT′ 1 yT′ 1 สมการ 5-12
สวนของเวกเตอรของคาสังเกตที่เปนการวัดไปยังจุดผาน เปนการวัดบนภาพขวาเปน
LT′′ = xT′′1 yT′′1 สมการ 5-13
ดังนั้นจะไดเวกเตอรของคาสังเกตทั้งหมดเปน
L = LG′ LG′′ LT′ LT′′ สมการ 5-14

5.5.1.2 เวกเตอรของตัวไมทราบคา
เวกเตอรของตัวไมทราบคาของภาพซาย
X ' = X 0' Y 0' Z0' ω' ϕ' κ ' สมการ 5-15
เวกเตอรของตัวไมทราบคาของภาพขวา
X" = X 0" Y 0" Z0" ω" ϕ" κ" สมการ 5-16
เวกเตอรของตัวไมทราบคาของจุดผาน T1
X T = X T1 YT1 ZT1 สมการ 5-17
เวกเตอรของตัวไมทราบคา
X = X' X" XT สมการ 5-18

5.5.1.3 สมการคาสังเกต
สมการคาสังเกตเปนความสัมพันธที่ไดสมการรวมเสนแทนคาของตัวไมทราบคาที่ใชเปนคาเริ่มตน ซึ่งจะ
ถูกปรับปรุงในรอบของการวนซ้ําลําดับถัดไป
สําหรับคาสังเกตที่วัดไปบนจุดบังคับพื้นดิน แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่บนภาพซาย เมื่อหาคา
อนุพันธบางสวนเทียบกับตัวไมทราบคาตางๆ ไดดังนี้
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพซายไปยังจุด G1
xG′ 1 = x( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , X G1 , YG1 , ZG1 ) สมการ 5-19
yG′ 1 = y( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , XG1, YG1, ZG1) สมการ 5-20

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-15 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพซายไปยังจุด G2
xG′ 2 = x( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , X G2 , YG2 , ZG2 ) สมการ 5-21
yG′ 2 = y( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , XG2 , YG2 , ZG2 ) สมการ 5-22
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพซายไปยังจุด G3
xG′ 3 = x( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , X G3 , YG3 , ZG3 ) สมการ 5-23
yG′ 3 = y( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , XG3, YG3, ZG3) สมการ 5-24

-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพขวาไปยังจุด G1
xG′′1 = x( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", X G1 , YG1 , ZG1 ) สมการ 5-25
yG′′1 = y( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", XG1, YG1, ZG1) สมการ 5-26
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพขวาไปยังจุด G2
xG′′ 2 = x( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", X G2 , YG2 , ZG2 ) สมการ 5-27
yG′′ 2 = y( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", XG2 , YG2 , ZG2 ) สมการ 5-28
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพขวาไปยังจุด G3
xG′′3 = x( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", X G3 , YG3 , ZG3 ) สมการ 5-29
yG′′ 3 = y( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", XG3, YG3, ZG3 ) สมการ 5-30

หลังจากนี้จะเปนการวัดไปบนจุดผานหรือจุดโยงยึดที่ทุกจุด ที่ปรากฏบนพื้นดินจะเปนตัวไมทราบคา คา


สังเกตไปยังแตละจุดโยงยึดตองปรากฏอยางนอยสองภาพ จึงจะสามารถหาคําตอบได
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพซายไปยังจุดผาน T1
xT′ 1 = x( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , X T1 , YT1 , ZT1 ) สมการ 5-31
yT′ 1 = y( X 0' , Y 0' , Z0' , ω' , ϕ' , κ ' , XT1, YT1, ZT1) สมการ 5-32
-คาสังเกตจากการวัดพิกัดภาพบนภาพขวาไปยังจุดผาน T1
xT′′1 = x( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", X T1 , YT1 , ZT1 ) สมการ 5-33
yT′′1 = y( X 0", Y 0", Z0", ω", ϕ", κ", X T1 , YT1 , ZT1 ) สมการ 5-34

5.5.1.4 แมทริกซแบบจําลอง
แมทริกซของแบบจําลองไดจากการนําอนุพันธของคาสังเกตมาจัดรูป โดยใหในแนวคอลัมนเปนกลุม
ของกลุมตัวไมทราบคาการจัดวางภาพภายนอกเรียงตามลําดับแลวตามดวยตัวไมทราบคาของจุดผานหรือจุด
โยงยึด
ดั ง นั้ น ใ น ก ร ณี ข อ ง ป ญ ห า นี้ จ ะ ทํ า ก า ร ห า อ นุ พั น ธ เรี ย ง ต า ม ลํ า ดั บ ตั ว แ ป ร ดั ง นี้
X 0′, Y 0′, Z 0′, ω ′, ϕ ′, κ ′ , X 0′′, Y 0′′, Z 0′′, ω ′′, ϕ ′′, κ ′′ , XT1, YT1, ZT1 ไปตามลําดับ
ดังนั้นเมื่อพิจารณา การวัดพิกัดภาพบนภาพซายกับตัวไมทราบคาการจัดวางภาพซายจะไดสวนของ
แมทริกดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-16 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

∂xG′ 1 ∂xG′ 1 ∂xG′ 1 ∂xG′ 1 ∂xG′ 1 ∂xG′ 1


∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '
∂yG′ 1 ∂yG′ 1 ∂yG′ 1 ∂yG′ 1 ∂yG′ 1 ∂yG′ 1
∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '
∂xG′ 2 ∂xG′ 2 ∂xG′ 2 ∂xG′ 2 ∂xG′ 2 ∂xG′ 2
∂X 0' ∂Z0' ∂ω'
∂Y 0' ∂ϕ' ∂κ '
A11= สมการ 5-35
∂yG′ 2 ∂yG′ 2
∂yG′ 2 ∂yG′ 2 ∂yG′ 2 ∂yG′ 2
∂X 0' ∂Z0' ∂ω'
∂Y 0' ∂ϕ' ∂κ '
∂xG′ 3 ∂xG′ 3
∂xG′ 3 ∂xG′ 3 ∂xG′ 3 ∂xG′ 3
∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '
∂yG′ 3 ∂yG′ 3 ∂yG′ 3 ∂yG′ 3 ∂yG′ 3 ∂yG′ 3
∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '

แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่วัดบนภาพซาย เมื่อหาคาอนุพันธบางสวนเทียบกับตัวไมทราบคาคือ
คาการจัดวางภาพภายนอกของภาพขวาจะไมเกี่ยวของกัน ไดดังนี้
A12= 0 สมการ 5-36
แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่บนวัดภาพซายของจุดควบคุมภาคพื้นดิน เมื่อหาคาอนุพันธบางสวน
เทียบกับตัวไมทราบคาของจุดผานใหม T1 จะไมเกี่ยวของกัน ไดดังนี้
A13= 0 สมการ 5-37

แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่วัดบนภาพขวา เมื่อหาคาอนุพันธบางสวนเทียบกับตัวไมทราบคาคือ
คาการจัดภาพภายนอกของภาพซายจะไมเกี่ยวของกัน ไดดังนี้
A21= 0 สมการ 5-38
แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่บนภาพขวา เมื่อหาคาอนุพันธบางสวนเทียบกับตัวไมทราบคาของ
คาจัดวางภาพภายนอกของภาพขวา ไดดังนี้
∂xG′′1 ∂xG′′1 ∂xG′′1 ∂xG′′1 ∂xG′′1 ∂xG′′1
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
∂yG′′1 ∂yG′′1 ∂yG′′1 ∂yG′′1 ∂yG′′1 ∂yG′′1
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
∂xG′′ 2 ∂xG′′ 2 ∂xG′′ 2 ∂xG′′ 2 ∂xG′′ 2 ∂xG′′ 2
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0"∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
A22= สมการ 5-39
∂yG′′ 2 ∂yG′′ 2 ∂yG′′ 2
∂yG′′ 2 ∂yG′′ 2 ∂yG′′ 2
∂X 0" ∂Y 0" ∂ω" ∂ϕ"
∂Z" ' ∂κ"
∂xG′′ 3 ∂xG′′ 3 ∂xG′′ 3
∂xG′′ 3 ∂xG′′ 3 ∂xG′′ 3
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
∂yG′′ 3 ∂yG′′ 3 ∂yG′′ 3 ∂yG′′ 3 ∂yG′′ 3 ∂yG′′ 3
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่บนวัดภาพขวาของจุดควบคุมภาคพื้นดิน เมื่อหาคาอนุพันธบางสวน
เทียบกับตัวไมทราบคาของจุดผานใหม T1 จะไมเกี่ยวของกัน ไดดังนี้
A23= 0 สมการ 5-40

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-17 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

สําหรับคาสังเกตที่วัดไปบนจุดผาน T1
แมทริกซแบบจําลองของคาสังเกตที่วัดบนภาพซายวัดไปบนจุดผาน เปนคาอนุพันธบางสวนเทียบกับตัว
ไมทราบคาของจุดใหม
-แมทริกซอนุพันธบางสวนของการวัดจุดผาน T1 บนภาพซายเทียบกับตัวไมทราบคาของการจัดวางภาพ
ภายนอกของของภาพซาย จะได
∂xT′ 1 ∂xT′ 1 ∂xT′ 1 ∂xT′ 1 ∂xT′ 1 ∂xT′ 1
∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '
A31= สมการ 5-41
∂yT′ 1 ∂yT′ 1 ∂yT′ 1 ∂yT′ 1 ∂yT′ 1 ∂yT′ 1
∂X 0' ∂Y 0' ∂Z0' ∂ω' ∂ϕ' ∂κ '
-แมทริกซอนุพันธบางสวนของการวัดจุดผาน T1 บนภาพซายเทียบกับตัวไมทราบคาของการจัดวางภาพ
ภายนอกของของภาพขวา จะไมเกี่ยวของกัน จะได
A32= 0 สมการ 5-42

-แมทริกซอนุพันธบางสวนของการวัดจุดผาน T1 บนภาพซายเทียบกับตัวไมทราบคาของจุดผาน T1
∂xT′ 1 ∂xT′ 1 ∂xT′ 1
∂X ∂YT1 ∂ZT1
A33= T1 สมการ 5-43
∂yT′ 1 ∂yT′ 1 ∂yT′ 1
∂X T1 ∂YT1 ∂ZT1

-แมทริกซอนุพันธของการวัดจุดผาน T1 บนภาพขวาเทียบกับตัวไมทราบคาของการจัดวางภาพซาย จะ
ไมมีความเกี่ยวของกัน ดังนี้
A41= 0 สมการ 5-44

-แมทริกซอนุพันธบางสวนของการวัดจุดผาน T1 บนภาพขวาเทียบกับตัวไมทราบคาของการจัดวาง
ภาพขวาจะไดดังนี้
∂xT′′1 ∂xT′′1 ∂xT′′1 ∂xT′′1 ∂xT′′1 ∂xT′′1
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
A42= สมการ 5-45
∂yT′′1 ∂yT′′1 ∂yT′′1 ∂yT′′1 ∂yT′′1 ∂yT′′1
∂X 0" ∂Y 0" ∂Z0" ∂ω" ∂ϕ" ∂κ"
-แมทริกซอนุพันธบางสวนของการวัดจุดผาน T1 บนภาพขวาเทียบกับตัวไมทราบคาของคาพิกัดภาคพื้น
ดินของจุดผาน T1
∂xT′′1 ∂xT′′1 ∂xT′′1
∂X ∂YT1 ∂ZT1
A33= T1 สมการ 5-46
∂yT′′1 ∂yT′′1 ∂yT′′1
∂X T1 ∂YT1 ∂ZT1

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-18 5.5 ตัวอยางการสรางระบบสมการ

เมื่อประกอบแมทริกซยอยเขากันเปนแมทริกซแบบจําลองของระบบจะไดเปน
A11 A12 A13
A21 A22 A23
A= สมการ 5-47
A31 A32 A33
A41 A42 A43
ซึ่งจะเห็นมีมีลักษณะเปนบล็อคสี่เหลี่ยมของแมทริกซยอย ซึ่งในทางปฏิบัติสามารถหาวิธีที่
เหมาะสมในการแกปญหา หากมีระบบสมการใหญ โดยทําใหการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรนอยที่สุด โดย
การนําเอาประโยชนของโครงสรางที่แนนอน และมีแมทริกซยอยบางแมทริกซเปนศูนยอยางเปนระบบ ดัง
ในสมการตอไปนี้
A11 0 0
0 A22 0
A= สมการ 5-48
A31 0 A33
0 A42 A43

5.1.2 ผลคําตอบ
ปญหาสามารถคํานวณไดโดยวิธีกําลังสองนอยที่สุด เมื่อไมมีความผิดพลาด และระบบสมการลู
เขาแลว จะไดคําตอบของระบบสมการเปนไปตามการจัดลําดับของตัวไมทราบคาที่กําหนดไวตั้งแตตอน
ตน ไดแก คาการจุดวางภาพภายนอกสําหรับแตละภาพ 6 คาเรียงไปตามลําดับ หลังจากนั้นจะตามดวย
และคาพิกัดภาคพื้นดินของจุดผาน ซึ่งในที่นี้คือ T1 ตามที่ตองการ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-19 5.6 การออกแบบความละเอียดถูกตองของจุดควบคุมภาคพื้นดิน

5.6 การออกแบบความละเอียดถูกตองของจุดควบคุมภาคพื้นดิน
การออกแบบความละเอียดถูกตองของจุดควบคุมภาพพื้นดินสามารถทําไดโดยการประมาณคา
ความละเอียดถูกตองที่คาดหวังไดจากการวัดบนภาพคูสามมิติ ดวยเรขาคณิตดังกลาว
สําหรับความละเอียดถูกตองทางดิ่งในทางปฏิบัติ นิยมใช
σ Z = 0.15 0 00 × H สมการ 5-49
เมื่อยอมรับวาการวัดบนภาพมีความละเอียดถูกตองดังนี้
ชนิดบังคับภาพถาย ความละเอียดถูกตองในการวัดพิกัดภาพ σ x
(ไมครอน)
จุดเปาลวงหนา 5
จุดที่เดนชัดในภูมิประเทศ 10
จุดเจาะบนไดอาพอซิตีฟ 10-30
ตาราง 5-2 ความละเอียดถูกตองของการวัดพิกัดภาพ
เมื่อกําหนดใหภาพมีสวนซอนปกติ 60 % และมีความละเอียดถูกตองในการวัดพิกัดจุดบังคับภาพถายเปน
σ x = σ y = 10µm สมการ 5-50

ดังนั้นความละเอียดถูกตองในการวัดพาราแลกซ
σ px = 2 σ x ≈ 14 µm สมการ 5-51

จะไดตารางแสดงความละเอียดถูกตองที่คาดหวังไดของจุดบนภาพพื้นดิน
PhotoScale Focal Len Extent Baseline FlyingH SX,SY theor.SZ pract. SZ
(mm) (m) (m) (m) (m) (m) (m)
50000 153 11500 4600 7650 0.50 1.16 1.15
50000 305 11500 4600 15250 0.50 2.32 2.29
25000 153 5750 2300 3825 0.25 0.58 0.57
25000 305 5750 2300 7625 0.25 1.16 1.14
15000 153 3450 1380 2295 0.15 0.35 0.34
15000 305 3450 1380 4575 0.15 0.70 0.69
6000 153 1380 552 918 0.06 0.14 0.14
6000 305 1380 552 1830 0.06 0.28 0.27
ตาราง 5-3 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ
โดยที่ Sx และ Sy หมายถึง ความละเอียดถูกตองของคาพิกัดวัตถุในทางราบ จากสมมุติฐานภาพดิ่ง
ในอุดมคติ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-20 5.6 การออกแบบความละเอียดถูกตองของจุดควบคุมภาคพื้นดิน

Theor.Sz หมายถึง ความละเอียดถูกตองของคาพิกัดวัตถุในทางดิ่ง จากสมมุติฐานภาพ


ดิ่งในอุดมคติ
Pract.SZ หมายถึง ความละเอียดถูกตองของคาพิกัดวัตถุในทางดิ่งที่ไดในทางปฏิบัติ

ตัวอยาง
สมมุติใหเปนการบินถายภาพที่มาตราสวน 1:15,000 ดวยกลองถายภาพทางอากาศความยาวโฟกัส
153 มม. ตองการรังวัดจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดิน ดวยเหตุผลของความสามารถในการวัด เครื่องมือวัดพิกัด
จุดภาพ และ ชนิดจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดิน ใหความละเอียดถูกตองในการวัดเปน 10 ไมครอนเชนเดียวกับ
ขางตน
จะไดความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติจะไดดังนี้ ความละเอียดถูกตองทางราบเปน
0.15 เมตร ความละเอียดถูกตองทางดิ่งตามทฤษฎีเปน 0.35 เมตร ความละเอียดถูกตองทางดิ่งในทางปฏิบัติ
เปน 0.34 เมตร
หากใชสมมุติฐานที่วาหากตองการรังวัดควบคุม การรังวัดจะตองมีความละเอียดถูกตองกวาหนึ่งระดับ
ซึ่งเพื่อความประหยัดและใหไดผลดีพอสมควรอาจเลือกใช การรังวัดควบคุมที่มีความละเอียดถูกตองสูงกวาหนึ่ง
ในสาม กลาวคือ
การรังวัดควบคุมสําหรับทางราบจะตองใชวิธีและเครื่องมือที่ใหความละเอียดถูกตองถึง 0.05 เมตร และ
ความละเอียดถูกตองทางดิ่งถึง 0.12 เมตร จึงจะพอเพียง เปนตน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-21 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน
จุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดินมีความสําคัญตอความสําเร็จของงานรังวัดดวยภาพอยางยิ่ง จุดพิกัดภาคพื้น
ดินเปนจุดพิกัดที่รังวัดความละเอียดถูกตองสูงในสนาม เปนจุดที่เห็นเดนชัดทั้งในภูมิประเทศและในภาพถาย คา
ความถูกตองพิกัดของจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดินจะถูกถายทอดเขาไปในระบบสมการของการคํานวณปรับแก
ในบล็อคของภาพถาย ความผิดพลาดของจุดควบคุมภาพพื้นดินจะแพรเขาไปในผลลัพธ หากมีจํานวนจุดพิกัด
ควบคุมภาคพื้นดินมากก็จะทําใหผลลัพธมีความถูกตองนาเชื่อถือ นอกจากนั้นเรขาคณิตของบล็อคยังมีความ
สําคัญตอความละเอียดถูกตองที่จะได ตําแหนงที่ตั้งของจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดินก็มีความสําคัญเชนกัน นอก
เหนือจากความละเอียดถูกตองที่ตองคงไวดวยเหตุผลใน 5.6การออกแบบความละเอียดถูกตองของจุดควบคุม
ภาคพื้นดิน ดังนั้นการเลือกการจัดวางตําแหนงและจํานวนของจุดพิกัดภาพพื้นดินจึงเปนเรื่องสําคัญ
ตําแหนงการจัดวางจุดบังคับภาคพื้นดินและจํานวนที่เหมาะสม คือจํานวนไมมากเกินไปจนทําใหเกิด
คาใชจายที่ไมจําเปน ในขณะเดียวกันใหผลลัพธการคํานวณปรับแกที่มีความละเอียดถูกตองสูงพอสมควร การที่
จะหาตําแหนงการจัดวางจุดบังคับภาคพื้นดินและจํานวนที่เหมาะสมสามารถทําไดโดยการสรางสนามทดสอบที่
มีจุดบังคับภาพพื้นดินอยางหนาแนน แลวทําการคํานวณปรับแก เปรียบเทียบผลลัพธของ “จุดตรวจสอบ” กับคา
พิกัดที่ไดจากการรังวัดภาคพื้นดินที่มีความละเอียดถูกตองสูงกวา หลังจากนั้นทําการคํานวณใหมโดยการลด
จํานวนการจัดวางจุดบังคับภาคพื้นดินลง แลวทําการคํานวณเปรียบเทียบกับ จุดตรวจสอบ ซึ่งจะสามารถนําไปสู
ขอสรุปของ ตําแหนงการจัดวางจุดบังคับภาคพื้นดินและจํานวนที่เหมาะสมที่สุดได
ตอไปนี้เปนรูปแบบการจัดวางจุดพิกัดภาพพื้นดินที่เหมาะสม สําหรับรูปแบบของบล็อคภาพถายทาง
อากาศดั งนี้ต าม Photogrammetric Guide (Kreiling 1989) แบ งเป น 3 ชนิ ด คือ บล็อ คปกติ บล็อ คความถู ก
ตองสูง บล็อคมีแถบคลุม นอกจากนี้ในปจจุบันความกาวหนาทางเทคโนโลยีการรังวัดดวยดาวเทียมยังมีการนํา
เทคโนโลยีรังวังดวยดาวเทียมมาใชดวย จึงมีการประยุกตใชที่เรียกวา บล็อคจีพีเอส อีกดวย

5.7.1 บล็อคปกติ (Typical Block)


บล็อคปกติคือบล็อคของภาพถายทางอากาศที่บินถายภาพดวยสวนซอน 60% และมีสวนซอนดานขาง
20-30 % ตําแหนงการจัดวางจุดบังคับภาคพื้นดินและจํานวนที่เหมาะสมจะมีลักษณะดังนี้

ทุกสวนซอน
4b

4-6 b

4-6 b z x,y,z
รูปภาพ 5-9 ตําแหนงและจํานวนจุดบังคับภาพถายสําหรับบล็อกปกติ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-22 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

จะเห็นไดวาสําหรับบล็อคปกติรอบๆบล็อคจะตองมีจุดควบคุมภาคพื้นดินทุกๆระยะ 4 ถึง 6 เทาของ


ระยะฐานบิน (b)
ระหวางสวนซอนดานขางทุกๆสวนซอนระหวางแนวบินจะตองมี จุดควบคุมภาคพื้นดิน ทุกๆระยะ 4 b
จุดควบคุมภาคพื้นดินที่ปรากฏบนสวนซอนดานขางนี้เปนจุดอยางนอยมีคาระดับก็พอเพียง ซึ่งดวยวิธีการรังวัด
สนามโดยการใชกลองสํารวจจะสามารถชวยใหงานสนามนอยลงได
แต ใ นป จ จุ บั น มี ก ารใช ก ารรั ง วั ด ด ว ยดาวเที ย มที่ มี ค วามละเอี ย ดถู ก ต อ งที่ จ ะใช บั ง คั บ งานข า ย
สามเหลี่ยมได จึงนิยมที่จะใชจุดควบคุมภาคพื้นดินที่สวนซอนดานขางเปนจุดพิกัดที่มีคาพิกัดทั้งสามแกน แต
อยางไรก็ตามการใชคาพิกัดจากงานรังวัดดาวเทียมตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางคาระดับแบบออรโท
เมตริกกับคาระดับเหนือทรงรี ซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป
ดังนั้นสําหรับ บล็อคปรกติที่มีการใชการรังวัดดาวเทียมจีพีเอสที่ใหคาพิกัดพรอมกันในทั้งทางราบและ
ทางดิ่งดวยความละเอียดถูกตองสูง ในแตละบล็อคจึงอาจกําหนดตําแหนงของจุดควบคุมภาพถายที่ไดจากการ
รังวัดดาวเทียมจีพีเอสดังภาพ

ทุกสวนซอน

4b GPS
รูปภาพ 5-10 ตําแหนงและจํานวนจุดบังคับภาพถายสําหรับบล็อกปกติโดยการใชการรังวัดจีพีเอส

5.7.2 บล็อคความถูกตองสูง (High-Accuracy Block)


บล็คอความละเอียดถูกตองสูงหมายถึงบล็อคของภาพถายทางอากาศที่มีสวนซอนดานหนาเปน 60%
และสวนซอนดานขางเปน 60 % ซึ่งการทําเชนนี้จะทําใหภาพถายมีการยึดแนนมากขึ้นโดยเฉพาะระหวางแนว
บินดังรูป

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-23 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

4b

4-6 b

4-6 b z x,y,z
รูปภาพ 5-11 ตําแหนงและจํานวนจุดบังคับภาพถายสําหรับบล็อกความถูกตองสูง
จะเห็นไดวาสําหรับบล็อคความถูกตองสูง รอบๆบล็อคจะตองมีจุดควบคุมภาคพื้นดินทุกๆระยะ 4 ถึง 6
เทาของระยะฐานบิน (b) เชนเดียวกับบล็อคปกติ
แตภายในบล็อคระหวางสวนซอนดานขางจะตองมี จุดควบคุมภาคพื้นดิน ทุกๆระยะ 4 b โดยที่สวนซอน
ระหวางแนวบินจะสามารถเวนไปไดทุกๆ 4 ถึง 6 b จุดควบคุมภาคพื้นดินที่ปรากฏบนสวนซอนดานขางนี้เปนจุด
อยางนอยมีคาระดับก็พอเพียง
การที่ภายในบล็อคมีจุดควบคุมภาคพื้นดินบนสวนซอนดานขางเปนระยะหาง 4 – 6 b ก็จะทําใหงาน
สนามลดลงไปไดมากโดยเฉพาะบล็อคที่มีขนาดใหญ แตอยางไรก็ตามสําหรับบล็อคความถูกตองสูง ตองสิ้น
เปลืองคาใชจายในการบินถายภาพและบันทึกภาพมากขึ้น เมื่อจํานวนแนวบินเพิ่มขึ้น ก็จะทําใหมีงานสํานักงาน
เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะการวัดจุดผานและจุดโยงยึด
บล็อคความถูกตองสูง ควรจะใหผลลัพธที่นาเชื่อถือสูงมาก และใหความละเอียดถูกตองของคาพิกัดจุด
ผานจุดโยงยึดดีขึ้น และจํานวนจุดผานและจุดโยงยึดจะมีมากขึ้นดวย

5.7.3 บล็อคมีแถบคุม (Block with Control Strips)


บล็อคของภาพถายทางอากาศที่มีแถบคุมหมายถึงบล็อคของภาพถายทางอากาศคลายกับ ”บล็อคปกติ”
แตมีการบินถายเพิ่มเติมโดยการบินขวางซอนทับกับแนวบินของบล็อคปกติ แนวบินที่ขวางซอนทับโดยทั่วไปจะ
ใหหางกัน 4 b แนวบินที่ขวางซอนทับนี้เรียกวา แถบคุม (Control Strip)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-24 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

4b

4-6 b

4-6 b
z x,y,z
รูปภาพ 5-12 ตําแหนงและจํานวนจุดบังคับภาพถายสําหรับบล็อกมีแถบคุม

จะเห็นวาบล็อคมีแถบคลุมจะมีจํานวนแนวบินไมตางจากบล็อคปกติมากนัก ในขณะที่สามารถลดงาน
สนามลงไปไดมาก โดยที่ไมตองรังวัดจุดควบคุมพื้นดินที่สวนซอนดานขางทุกสวนซอน แตอยางไรก็ตามงานวัด
จุดผานและจุดโยงยึดจะมากขึ้นดวย ในภูมิประเทศที่ทุรกันดารยากตอการเขาถึง วิธีนี้นาจะเปนทางเลือกที่ดีวิธี
หนึ่ง เนื่องจากสามารถหลีกเหลี่ยงการเขาถึงจุดจํานวนมากในภูมิประเทศที่ทุรกันดาร

5.7.4 บล็อคจีพีเอส (GPS Block)


บล็อคจีพีเอสหมายถึงบล็อคปกติที่มีสวนซอนดานหนา 60% และสวนซอนดานขาง 30% มีการใชเครื่อง
เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสเพื่อใชหาพิกัดของจุดเปดถายขณะที่บินถายภาพ คาพิกัดของจุดเปดถายภาพที่รังวัด
ดวยจีพีเอสนํามาคํานวณปรับแกเขากับระบบสมการ ทําใหการคํานวณปรับแกมีความเชื่อไดสูง เปรียบเสมือนมี
”จุดควบคุมภาพถายภาคอากาศ” กํากับภาพถายทุกรูป ทําใหสามารถลดจํานวนจุดควบคุมภาคพื้นดิน
แตอยางไรก็ตามคาพิกัดที่ไดจากการรับสัญญาณจีพีเอสเปนคาพิกัดของเสาอากาศรับสัญญาณจีพีเอส
ซึ่งมักจะติดตั้งบนหลังคาของอากาศยาน ดังนั้นจึงตองมีการหาคาออฟเซ็ตระยะหางระหวางเสาอากาศรับ
สัญญาณจีพีเอสและจุดเปดถายภาพของกลองถายภาพทางอากาศ วิธีหนึ่งที่มีความละเอียดถูกตองสูงและนา
เชื่อคือการใชวิธีการวัดโดยใชกลองธีโอโดไลท กลองรังวัดอิเล็กทรอนิกสหรือกลองสถานีรวมประกอบกับเปา
ปริซึมในการวัดทิศทางราบมุมดิ่งและระยะเอียง เพื่อใชในการคํานวณคาออฟเซ็ต คาออฟเซ็ตจะบรรยายดวยคา
ตางของพิกัดเสาอากาศรับสัญญาณจีพีเอสและจุดเปดถายภาพของกลองถายภาพทางอากาศในแนวกัน x ที่ให
ขนานกับกึ่งกลางแกนลําตัวเครื่องบิน กึ่งกลางแกนลําตัวเครื่องบินอาจนิยามดวยจุดปลายสุดยอดสวนหัวและ
ปลายสุดยอดของสวนท ายของลําตัวเครื่องบิน แกนดิ่ งหรือแกน z มักจะใชแนวแกนที่ตั้งไดฉากกับ พื้ นห อง
โดยสารเครื่องบินเปนแกนอางอิง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-25 5.7 การจัดวางจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

เสาอากาศจีพีเอส

จุดเปดถายของกลอง
หัวเครื่องบิน หางเครื่องบิน

รูปภาพ 5-14 แสดงวิธีการใชกลองสถานีรวมหาคาออฟเซ็ต (โครงการแผนทีทรัพยากรฯ กระทรวงเกษตรฯ)

จากงานวิจัยที่มหาวิทยาลัย Hannover พบวาเมื่อใชจุดควบคุมภาพพื้นดินที่มุมของบล็อคเพียง 1 ถึง 4


จุดก็พอเพียง ผลการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยมดวยวิธีบล็อคลําแสงรวมกับคาพิกัดจุดเปดถายภาพที่ไดจาก
การรังวัดดาวเทียมจีพีเอสบนเครื่องบิน จะไดผลลัพธเทียบเทากับบล็อคปกติ (Lee 1996) บล็อคปกติคือบล็อค
ของภาพถายที่กลาวมาแลวใน5.7.1 บล็อคปกติ (Typical Block)
เมื่อบล็อคจีพีเอสตองการจุดควบคุมภาพพื้นดินที่มุมของบล็อคเพียง 1 ถึง 4 จุด จึงสามารถที่จะเพิ่มคุณ
ภาพของขา ยสามเหลี่ ย ม ความละเอี ย ดถูก ต อ งและความเชื่ อมั่ น ได โดยการใชจุ ค ควบคุ ม ภาพถายชนิ ด ให
สัญญาณ (Signalized Control Point) ซึ่งอยูในขอบเขตที่ทําไดเนื่องจากมีจํานวนนอย และมีความคุมคาที่จะทํา
มาก จุดควบคุมภาคพื้นดินสําหรับบล็อคจีพีเอสจึงนิยมที่จะทําเปนจุคควบคุมภาพถายชนิดใหสัญญาณ นอก
จากนี้การใชจุดควบคุมมากกวา 3 จุด จะชวยใหสามารถแปลงพื้นหลักฐานอางอิงทางระดับจากระบบความสูง
บนทรงรีใหเปนระบบความสูงเหนือพื้นผิวยีออยดไดอีกดวย

X0,Y0,Z0 จาก GPS on board GCP จาก GPS

รูปภาพ 5-13 ตําแหนงและจํานวนจุดบังคับภาพถายสําหรับบล็อกจึพีเอส

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-26 5.8 ขั้นตอนการวัดสําหรับงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ

5.8 ขั้นตอนการวัดสําหรับงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
บล็อคปกติมักจะหมายถึงการบินถายภาพทางอากาศดวยภาพถายทางอากาศขนาดมาตราฐาน โดยมี
สวนซอนของแตละภาพที่อยูในแนวบินเดียวกันเปน 60% ของความกวางของภาพ และมีสวนซอนดานขาง
ระหวางสองแนวบินที่อยูติดกันเปน 30% เมื่อตองการรังวัดเพื่อทําขายสามเหลี่ยมทางอากาศจะตองมีขั้นตอน
การรังวัดดังนี้

5.8.1 การวัดจุดผาน (Pass Points)


จุดผานจะตองถูกวัดอยางนอย 6 จุดบนสวนซอนระหวางภาพในแนวบินหรือทุกๆแบบจําลอง จุดโยงยึด
เปนจุดที่เดนชัดในภูมิประเทศและปรากฎชัดบนภาพถายและไมทราบคาพิกัดมากอน ซึ่งหลังจากการปรับแกแล
วจะไดคาพิกัดภาพพื้นดินในทั้งสามมิติโดยที่ไมตองไปรังวัดในสนามซึ่งเปนวัตถุประสงคหลักของการทําขาย
สามเหลี่ยมทางอากาศ ในภาพแสดงใหเห็นถึงการวัดจุดผานในบล็อค

ทุกสวนซอนหนา

Pass Point

รูปภาพ 5-15 การวัดจุดผาน


ดังนั้นทุกภาพจะปรากฏจุดผานอยางนอย 9 จุดบนแตละภาพภายหลังการวัดและคํานวณปรับแกขาย
สามเหลี่ยม สําหรับภาพแรกและภาพสุดทายในแนวบินอาจมีจุดผานเพียง 6 จุดก็ไดเนื่องจากไมมีสวนซอนกับ
ภาพอื่นๆในแนวบินเดียวกัน จุดผานทั้ง 9 จุดบนทุกๆภาพจะถูกคํานวณในขั้นตอนของการคํานวณปรับแกในขาย
สามเหลี่ยม ผลลัพธที่ไดสามารถนําไปใชในการคํานวณพิกัดชองจุดใดๆในบนสวนซอนของภาพคูสามมิติ การ
เขียนแผนที่และการผลิตภาพถายออโท

5.8.2 การวัดจุดโยงยึด (Tie Point)


จุดโยงยึด คือจุดที่เดนชัดบนภาพที่ปรากฏอยูระหวาง “แบบจําลอง(model)” ที่มีสวนซอนกันระหวางสอง
แนวบินที่ติดกัน ทุกๆหนึ่งหรือสองแบบจําลองจะตองมีการวัดจุดโยงยึดหนึ่งจุด จุดโยงยึดเปนจุดที่เดนชัดบน
ภาพถายแตไมจําเปนตองเดนชัดบนภาคพื้นดินและไมทราบคาพิกัดมากอน ในภาพแสดงการวัดจุดโยงยึดใน
บล็อค

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-27 5.8 ขั้นตอนการวัดสําหรับงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ

ทุกสวนซอนของแบบจําลอง

Tie Point

รูปภาพ 5-16 การวัดจุดโยงยึด


ซึ่งหลังจากการปรับแกแลวจะไดคาพิกัดภาพพื้นดินในทั้งสามมิติโดยที่ไมตองไปรังวัดในสนามซึ่งเปน
วัตถุประสงคหลักของการทําขายสามเหลี่ยมทางอากาศ เนื่องจากมีบอยครั้งที่จุดโยงยึดและจุดผานปรากฎอยู
ใกลกัน ควรที่จะใชจุดเหลานี้เปนจุดเดียวกันเพราะจะทําใหผลลัพธมีความนาเชื่อถือมากขึ้นเนื่องจากการสัดสวน
การเพิ่มขึ้นของคาสังเกตกับตัวไมทราบคา

5.8.3 การวัดจุดบังคับภาคพื้นดินชนิดจุดระดับ (Levelling GCP)


การวัดจุดบังคับภาคพื้นดินชนิดจุดระดับ (Levelling GCP) เปนการวัดบนภาพถายของจุดบังคับภาพ
ถายชนิดที่เปนจุดที่มีการรังภาคพื้นดินที่ใชคาระดับเพียงอยางเดียว จุดนี้ที่ปรากฏชัดเจนบนภาพถายในสวนซอน
ดานขางระหวางแนวบิน สําหรับบล็อคปรกติทุกๆสวนซอนดานขางจะตองมีจุดบังคับภาคพื้นดินชนิดระดับเทา
นั้นอยูหางเปนระยะสี่เทาของความยาวของระยะหางระหวางจุดเปดถายของสองรูปที่อยูติดกันในแนวบินเดียว
กัน นั่นคือทุกๆ 4b จุดระดับควรเปนจุดที่อยูบนพื้นที่คอนขางราบเรียบ ซึ่งหากเปนการรังวัดในแบบจําลองสาม
มิติเชนบนเครื่องเขียนแผนที่สามมิติ ก็อาจใชจุดที่ไมเดนชัดทางตําแหนง แตอาศัยเครื่องชวยมองสามมิตินําจุด
ลงไป”แตะ” ก็พอเพียง เพราะมีอุปกรณชวยมองสามมิติได

บนทุกๆสวนซอนดานขาง

4b Levelling GCP

รูปภาพ 5-17 การวัดจุดโยงยึด

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-28 5.9 ขอควรระวังและขอสังเกต

แต ใ นป จ จุ บั น การวั ด ข า ยสามเหลี่ ย มมั ก ทํ า บนภาพดิ จิ ต อลในจอคอมพิ ว เตอร ด ว ย softcopy


photogrammetry และจะเปนการวัดคาพิกัดภาพบนภาพโดยตรงทีละภาพ และรวมไปจนถึงการวัดจุดโยงยึด
แบบอัตโนมัติโดยอาศัยหลักการประมวลผลภาพ จึงจําเปนตองเลือกจุดที่เดนชัดและพิสูจนทราบไดในทั้งทาง
ราบและทางดิ่ง เพื่อใหสามารถชี้ตําแหนงและวัดซ้ําไดในหลายๆภาพ นอกจากนี้ในกรณีที่คาความสูงนี้รังวัดมา
จากระบบ GPS ซึ่งใหคาพิกัดในทั้งสามแกน ก็สามารถนํามาใชในการทําจุดโยงยึดไดเชนกัน โดยที่คาพิกัดใน
สามมิติก็สามารถนํามาใชงานไดและทําใหการคํานวณปรับแกมีความละเอียดถูกตองสูงขึ้น

5.8.4 การวัดจุดบังคับภาพถาย (Ground Control Point)


การวัดจุดบังคับภาพถาย (Ground Control Point) จุดบังคับภาพถายชนิดเต็มเปนจุดที่มีคาพิกัดแลวใน
ทั้งทางราบและทางดิ่ง เป นจุดรังวัดที่ปรากฏชัดเจนบนภาพถายและมั กปรากฏอยูรอบๆ บล็อค เพื่ อความ
ประหยัดจะมีการกําหนดจุดใหนอยที่สุด แตก็ใหความละเอียดถูกตองในการคํานวณอยูในเกณฑพอเพียง จุด
บังคับภาพถายชนิดเต็มเปนจุดที่เดนชัด และมีคาพิกัดไดจากการรังวัดที่มีความละเอียดถูกตองสูงเชนการรังวัด
ภาคพื้นดินดวยงานวงรอบ หรืองาน GPS โดยเฉพาะงาน GPS ใหความละเอียดถูกตองสูง สดวกและรวดเร็ว

4b

Levelling GCP l GCP


4b

รูปภาพ 5-18 การวัดจุดพิกัดควบคุมภาคพื้นดิน

5.9 ขอควรระวังและขอสังเกต
จุดบังคับภาพถายทั้งชนิดเต็มและจุดระดับ ปจจุบันนิยมรังวัดดวยระบบ GPS ซึ่งใหความละเอียดถูก
ตองสูงและรวดเร็ว แตมีขอควรระวังคือ การอางอิงความสูงที่ไดจากการรังวัดคาพิกัดดวยระบบ GPS จะเปน
ความสู ง เหนื อ รูป ทรงรี (Ellipsoidal Height) ซึ่ ง หากว า เป น งานรั ง วั ด ด ว ยภาพถ า ยเพื่ อ งานแผนที่ ห รือ งาน
วิศวกรรมอื่นๆ ความสูงที่ใชคือความสูงแบบออโธเมตริก (Orthometric Height) ที่คาตางของความสูงนี้จะสอด
คลองกับการไหลของน้ํา ดังนั้นหากจะใชความสูงจากงาน GPS จึงตองมีกระบวนการแปลงจากความสูงเหนือ
ยีออยใหเปนความสูงแบบออโธเมตริกเสียกอน แลวจึงจะนํามาใชในการบังคับและการคํานวณขายสามเหลี่ยม

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-29 5.9 ขอควรระวังและขอสังเกต

ได ถู ก ต อ งตามวั ต ถุ ป ระสงค ความสู ง แบบออโทเมตริ ก สามารถสร า งขึ้ น และคํ า นวณได จ ากงานระดั บ
(differential levelling)
การวัดจุดที่อยูบนสวนซอนของภาพทั้งในแนวบินเดียวกันและระหวางแนวบิน ในการเลือกจุดผาน จุดโยง
ยึดภาพและจุดบังคับภาพตางๆนั้น การเลือกจุดที่ซ้ํากันไดจะทําใหความละเอียดถูกตองสูงขึ้นและความนาเชื่อ
ถือสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะการวัดบนจุดใหมที่ไมทราบคาพิกัดทําใหเกิดตัวไมทราบคา 3 ตัว ในขณะที่การวัดจุดพิกัด
บนภาพถายแตละภาพทําใหเกิดคาสังเกต 2 คา ดังนั้นการวัดซ้ําบนจุดเดิมในรูปที่มีสวนซอนกันยิ่งทําใหคาเกิน
(redundancy) เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-30 5.10 การวัดสอบตนเอง (Self-Calibration)

5.10 การวัดสอบตนเอง (Self-Calibration)


การวัด สอบตนเองคื อ การคํ า นวณปรับ แก ขา ยสามเหลี่ ย มที่ มี ก ารจําลองแบบทั้ งที่ เป น ระบบเพื่ อ ให
Systematic Parameter และไมเปนระบบที่ใชความชํานาญเพื่อใหได Empirical Parameter ที่มีนัยสําคัญ ตอ
การคํานวณปรับแกของแบบจําลอง ทําใหความคลาดเคลื่อนตางๆลดลง อันเนื่องจากบางสวนถูกจําลองแบบให
อยูในรูปของพารามิเตอรทางคณิ ตศาสตรตางๆ ตัวอยางของความคลาดเคลื่อนที่อาจจําลองใหอยูในรูปของ
พารามิเตอรตางๆไดแก
1) ความคลาดผิดเพี้ยนของเลนส
2) คาการจัดภาพภายใน ความยาวโฟกัส f ความคลาดเคลื่อนของจุดมุขยสําคัญ x 0 , y0
3) การยืดหดของฟลมในทิศทางตางๆ ที่ไมเทากันเนื่องจากกลไกการหมุนฟลม กระบวนการลางและอั
รูป
4) ความผิดปกติของชั้นบรรยากาศขณะบันทึกภาพ
5) ความผิดพลาดที่เปนระบบตางๆ
เปนตน ความคลาดเคลื่อนเหลานี้ แมวาบางสวนจะเกิดขึ้นจนปรากฏทางกายภาพเชน ความคลาดผิดเพี้ยนของ
เลนส ความยาวโฟกัส f ความคลาดเคลื่อนของจุดมุขยสําคัญ x 0 , y0 จะไดรับการวัดสอบในหองปฏิบัติการ
วัดสอบ มาแลว แตในทางปฏิบัติสภาวะที่ใชงานจริงมิไดสอดคลองกับสภาวะในหองปฏิบัติการวัดสอบ ซึ่งเปน
สมมุติฐานวาจะทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนตามที่ไดจําลองแบบขึ้นมา
ในสภาวะจริง เชน ขณะบินถายภาพมักจะทําใหหองโดยสารเครื่องบินมีอุณหภูมิและความดันปกติ
เพื่ อใหผูป ฏิ บั ติกาถายภาพ ตน หน และนักบิ น สามารถทํางานไดสะดวก แตในขณะที่ภ าพนอกเครื่องบิ น มี
อุณหภูมิต่ําและความดันต่ํากวามาก จึงอาจทําใหกลองและเลนสอยูในสภาวะแวดลอมที่แตกตางกันภาพในกับ
ภาพนอกหองโดยสารเครื่องบิน กลองถายภาพทางอากาศจะไดรับความดันของอากาศที่เปลี่ยนไปและตองปรับ
ตัวใหเขากับอุณหภูมิสองดานที่แตกตางกันมาก ดังนั้นก็อาจจะทําใหพารามิเตอรตางๆที่ไดจากการวัดสอบใน
หองปฏิบัติการไมสอดคลองกับความเปนจริง นอกจากนั้นยังมีคาความคลาดเคลื่อนที่เปนระบบอื่นๆ ที่ไดจาก
ความชํานาญของนักวิจัย
ดังนั้นในการประยุกตใชการวัดสอบตนเองกับบล็อคของขายสามเหลี่ยมทางอากาศจะทําใหมีพารา
มิ เตอรเพิ่ ม ขึ้น การจํ าลองแบบที่ นิ ย มใช ได แ ก ก ารใช โฟลิ โนเมี ย ลดี ก รีต างๆ ดั งนั้ น การคํ านวณปรับ แก ข า ย
สามเหลี่ยมดวยการวัดสอบตนเองมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือการคํานวณปรับแกชนิดมีพารามิเตอรเพิ่ม (Addition
Parameters) ซึ่งพารามิเตอรที่ไดจากการจําลองแบบที่เปนระบบหรือดวยความชํานาญจะตองไดรับการทดสอบ
ทางสถิติวามีนัยสําคัญ จึงจะนํามาใชได นอกจากนี้การใชเทคนิคการวัดสอบตนเอง ตองใช ความรูความเขาใจ
ผนวกกับความชํานาญ จึงจะไดผลดี นอกจากนั้นการมีพารามิเตอรที่เปนตัวไมทราบคาการคํานวณปรับแกจะ
ตองมีคาสังเกตเพิ่มขึ้นตามไปดวย
การประยุกตใชงานเทคนิคการวัดสอบตนเองที่ไดผลดีอีกในลักษณะหนึ่งคือการใชกับกลองถายภาพที่
เปนชนิดไมมีองคประกอบการจัดภาพภายในหรือกลองถายภาพที่ไมใชทําขึ้นเพื่อการรังวัดโดยเฉพาะ (Non-
metric Camera) ตัวอยางหนึ่งในแกการใชกลองดิจิทัลที่หาไดทั่วไปในทองตลอด การประยุกตใชการวัดสอบตน
เองจะแสดงไดเห็นดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-31 5.10 การวัดสอบตนเอง (Self-Calibration)

Habrouk และคณะไดศึกษากลองถายภาพดิจิทัล Fuji DS-100 ที่มีจํานวณจุดภาพ 720x488 จุดภาพ


ไดทําการปรับแกใหชนิดไมมีและมีคาการจัดวางภาพภายใน f และ x 0 , y0 โดยทําการทดลองบันทึกสนาม
ทดสอบในที่มาตราสวน 1:50 และ 1:300 พบวา เมื่อมีการปรับแกโดยการประยุกตใชงานเทคนิคการวัดสอบตน
เอง ทําใหคาความละเอียดถูกตองของระบบดีขึ้นอยางเห็นไดชัด (El-Habrouk et.al. 1996) ดังในตารางขางลาง
นี้
มาตราสวน 1:50 มาตราสวน 1:300
แบบจําลอง
σ x ( µm) σ y ( µm ) σ x ( µm) σ y ( µm )
ไมมีพารามิเตอรเพิ่ม 78 61 61 43
มีพารามิเตอร f และ x 0 , y0 11 11 4 4

ซอฟแวรที่มีความสามารถในการประยุกตใชการวัดสอบตนเอง จะตองเปดโอกาสใหผูใชเลือกพารา
มิเตอรไดอยางเหมาะสม ตามคุณลักษณะที่ตองการและตามความชํานาญ ซอฟแวรจะตองมีเอกสารบรรยาย
แบบจําลองตางๆที่มีใหใชเหลานี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-32 5.11 การคํานวณปรับแกดวยวิธีแบบจําลองอิสระ

5.11 การคํานวณปรับแกดวยวิธีแบบจําลองอิสระ
การคํานวณปรับแกดวยวิธีแบบจําลองอิสระ (Independent Model Adjustment) เปนวิธีการคํานวณ
ปรับแกที่นิยมมากในชวงที่ผานมา เนื่องจากความแพรหลายของเครื่องมือวัดพิกัดสามมิติในแบบจําลองสามมิติ
โดยที่ยังไมตองจัดวางภาพใหมีระบบพิกัดสอดคลองกับระบบพิกัดภาคพื้นดิน กระบวนการจะประกอบดวยการ
นําภาพคูสามมิติมาที่ละคูภาพ นําภาพคูสามมิติมาจัดวางภาพใหสัมพันธกัน ทําการวัดพิกัดในแบบจําลองสาม
มิติอิสระในระบบพิกัดของแบบจําลองเอง เมื่อมีการวัดจุดผานและจุดโยงยึด ตลอดจนมีการวัดจุดควบคุมภาค
พื้นดินอยางพอเพียง ดังแสดงใหเห็นในภาพ

รูปภาพ 5-19 ความสัมพันธแบบจําลองอิสระกับระบบพิกัดภาคพื้นดิน


โดยการใชแบบจําลองในการปรับแกคือการแปลงคาพิกัดในสามมิติชนิดเจ็ดพารามิเตอร โดยที่สมการคา
สังเกตเปน สําหรับจุดผานและจุดโดยยึดเปน ดังนี้
xi ∆Xm Xj
yi = ∆Ym + (1 + Λ m ) R(Ω m , Φ m , Κ m ) Yj สมการ 5-52
zi ∆Z m Zj
โดยที่ x i , yi , zi คือคาสังเกตไดจาการวัดพิกัดบนแบบจําลองอิสระที่จุดที่ i
∆Xm , ∆Ym , ∆Z m คือตัวไมทราบคาของแบบจําลองที่ m
Λ m คือมาตราสวนของแบบจําลองที่ m
R(Ψm , Φ m , Κ m ) คือแมทริกซของการหมุนของแบบจําลองที่ m
X j , Yj , Z j คือตัวไมทราบคาของจุดผาน-จุดโยงยึดที่ j
สวนสมการคาสังเกตของจุดควบคุมภาพพื้นดินเปนดังนี้
xi ∆Xm Xg
yi = ∆Ym + (1 + Λ m ) R(Ω m , Φ m , Κ m ) Yg สมการ 5-53
zi ∆Z m Zg
โดยที่ x i , yi , zi คือคาสังเกตไดจาการวัดพิกัดบนแบบจําลองอิสระที่จุดที่ i
∆Xm , ∆Ym , ∆Z m คือตัวไมทราบคาของแบบจําลองที่ m
Λ m คือมาตราสวนของแบบจําลองที่ m
R(Ω m , Φ m , Κ m ) คือแมทริกซของการหมุนของแบบจําลองที่ m

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-33 5.11 การคํานวณปรับแกดวยวิธีแบบจําลองอิสระ

X g , Yg , Z g คือคาพิกัดของจุดควบคุมภาคพื้นดินที่ g ซึ่งใหเปนคาคงที่ในสมการ
ผลการคํานวณปรับแก ทุกแบบจําลองจะไดมาตราสวน Λ m และแมทริกซของการหมุน R(Ω m , Φ m , Κ m ) รวม
ไปถึงคาพิกัดจุดควบคุมภาพถายที่เปนของจุดผานและจุดโยงยึด X j , Yj , Z j ดวย ซึ่งจะเปนขยายจุดบังคับภาพ
ถายตามวัตถุประสงคของการทําขายสามเหลี่ยมทางอากาศเชนกัน
จะเห็นไดวาวิธีนี้มีการวัดพิกัดในสามมิติบนแบบจําลองสามมิติดวยเครื่องเขียนแผนที่เชิงทัศน-กล ซึ่ง
ความผิดพลาดของการจัดวางภาพแบบสัมพัทธ ความผิดพลาดของกลไก-ทัศนูปกรณในการวัดจะมีผลตอคา
พิกัดที่จะนําไปคํานวณปรับแก เมื่อเปรียบเทียบกับการคํานวณปรับแกแบบบล็อคลําแสดงเปนการวัดโดยตรงบน
ภาพถายแลวนําผลลลัพธไปคํานวณปรับแกโดยตรง
ดังนั้นการคํานวณปรับแกบล็อคของภาพถายดวยการปรับแกแบบบล็อคของลําแสงจะใหความถูกตองนา
เชื่อถือดีกวาวิธีการปรับแกโดยใชแบบจําลองอิสระ ตลอดจนวิวัฒ นาการของการรังวัดดวยภาพดิจิทัล ดวย
Softcopy Photogrammetry ที่สามารถใชซอฟแวรงายๆก็สามารถวัดคาพิกัดภาพถายได การคํานวณปรับแก
แบบบล็อคของลําแสงจึงกลายเปนวิธีมาตรฐานที่ใชในปจจุบัน

5.11.1 การเปรียบเทียบระหวางการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยม
ในตารางขางลางนี้จะเปนการเปรียบเทียบระหวางการคํานวณปรับแกขายสามเหลี่ยมดวยวิธีแบบจําลอง
อิสระและวิธีบล็อคของลําแสง

คุณลักษณะ วิธีแบบจําลองอิสระ วิธีบล็อคของลําแสง


เครื่องมือวัด เครื่องเขียนแผนที่เชิงทัศน-กล คอมพาราเตอร หรื อ วั ด บนภาพ
ดิจิตอล
คาสังเกต คาพิกัดสามมิติในแบบจําลองที่ยัง คาพิกัดภาพถาย
ไม มี ก ารจัด วางในระบบพิ กั ด วัต ถุ
เปนคาพิกัดในสามมิติตามมาตรา
ส ว นของแบบจํ า ลองที่ จั ด ภาพ
สั ม พั น ธ แ บ บ สั ม พั ท ธ (relative
orientation)
แบบจําลอง การแปลงคาพิกัดสามมิติชนิด เจ็ด สมการรวมเสน
พารามิเตอร
ความละเอียดถูกตอง ความผิดพลาดของการจัดวางภาพ มีแตความผิดพลาดจากเครื่องมื อ
แบบสั ม พั ท ธ ความผิ ด พลาดของ วัดคาพิกัด ในกรณีที่ใชภาพดิจิทัล
กลไก-ทัศนูปกรณ ภาพจะตองถูกสแกนมาดวยความ
ละเอียดถูกตอง

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-34 5.12 วิวัฒนาการของงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ

5.12 วิวัฒนาการของงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ
อันเนื่องมาจากการที่งานรังวัดดวยภาพมักจะเกี่ยวของกับการทําแผนที่ที่ครอบคลุมพื้นที่กวางขวางมาก
จึงจําเปนตองมีการบินถายภาพเปนบล็อค ในยุดเริ่มตนของการใชการรังวัดดวยภาพมาใชในการทําแผนที่นั้น
เป น การใช เครื่ อ งมื อ ที่ เรี ย กว า โต ะ รั ง วั ด ภาพถ า ย (Table Photogrammetry) ซึ่ ง ประกอบด ว ยกล อ งฉาย
(Projector) ที่สามารถบรรจุฟลมเขาไปได มีองคประกอบการจัดภายในเชนเดียวกับกลองถายภาพเชนความยาว
โฟกัส มีระบบสองสวาง ทําใหภาพฉายปรากฏบนโตะดวยแสงสีตางๆเพื่อใหสามารถมองเห็นสามมิติไดดวยวิธีอ
นากลี๊ฟ กลองฉายสามารถจัดใหสัมพันธกันจนเกิดแบบจําลองสามมิติ แบบจําลองสามมิติจะสามารถปรับใหมี
ระบบพิกัดเดียวกับระบบพิกัดภาคพื้นดินไดเมื่อมีตนรางแผนที่ที่มีตําแหนงของจุดบังคับภาพถายภาคพื้นดิน
ปรากฏอยูบนนั้น เครื่องมือจะมีความอิสระที่สามารถจัดแบบจําลองใหหมุนและยอขยายจนกระทั้ง ภาพของจุด
บังคับภาพถายปรากฏบนแผนที่ตนรางบนโตะรังวัดภาพถาย เมื่อมีกลองฉายหลายๆตัวประกอบกันไปเรื่อยๆก็จะ
สามารถสรางแบบจําลองสามมิติที่ตอเนื่องขนาดใหญเปนแถบเชนเดียวกับ การบินบันทึกภาพเปนแนวบิน ใน
มาตราสวนที่ตองการได ตัวอยางของการทํางานในลักษณะดังกลาวจะเห็นไดจาก โตะรังวัดดวยภาพ ชนิดหลาย
กลองฉาย Balplex (Bausch and Lomb) ดังภาพขางลางนี้

รูปภาพ 5-20 การทําขายสามเหลี่ยมบนโตะรังวัดดวยภาพถายดวยหลายกลองฉาย


จากนั้นวิวัฒนาการของเครื่องคํานวณไฟฟาและ เครื่องคอมพิวเตอรทําใหสามารถคํานวณปรับแกเพื่อ
ขยายโครงขายสามเหลี่ยมทางอากาศได โดยในชวงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 อันมีการใชคาพิกัดสามมิติจาก
แบบจําลองสามมิติอิสระมาใชในการคํานวณปรับแก จนถึงในชวงปลายของศตวรรษที่ 20 ก็จะมีเครื่องมือวัด
พิกัดภาพถายไดโดยตรง ผนวกกับความสามารถในการคํานวณดวยคอมพิวเตอร ทําใหการคํานวณปรับแก
ดวยบล็อคลําแสงไดรับความนิยม ซึ่งเปนวิธีการที่เปนมาตรฐานในปจจุบัน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-35 5.12 วิวัฒนาการของงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศ

ในตารางตอไปนี้แสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการของงานขายสามเหลี่ยมทางอากาศโดยสรุป

วิธีการ ปที่ ความละเอียดถูก ความบะเอียดถูกตองของ จํานวนจุดบังคับภาพ


เริ่ม ตองของ บล็อคσ0 จุดตรวจสอบอิสระ σx,y,z ถายภาคพื้นดินที่ตองใช
Strip Interpolation 1960 20 µm 100 µm ทุกๆ 5 แบบจําลองตอ
แนวบิน
Model block 1970 10 µm 20 µm ทุกๆ 5 แบบจําลอง
adjustment
Bundle block 1970 8 µm 10 µm ทุกๆ 5 แบบจําลอง
adjustment
Using additional 1980 5 µm 8 µm ทุกๆ 5 แบบจําลอง
parameter
GPS-support 1992 5 µm 8 µm เพียง 4 จุดที่มุมบล็อค
bundle block
Adjustment
GPS/INS flight 2000 5 µm 8 µm หนึ่งจุดหรือไมตองใช
? เลย
ตาราง 5-4 วิวัฒนาการของขายสามเหลี่ยมทางอากาศ (Konecny 1994)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


5-36 5.13 คําถามทายบท

5.13 คําถามทายบท
1) ในการเตรียมแบบจําลองความสูงเพื่อใชในการทําภาพถายโอโทบริเวณความกวาง 10 กม. x15 กม.
โดยใชภาพถาย มาตราสวน 1:5000 ดวยกลองความยาวโฟกัส 305 มม. บล็อคของภาถายเปนบล็อค
ปกติ จงคํานวณหาวา
1.1) ตองใชภาพถายกี่แถวๆละกี่ภาพ สําหรับบล็อคปรกติ
1.2) จงออกแบบจุดควบคุมภาพถายภาคพื้นดินเพื่อใชในการขยายหมุดควบคุมภาพดวยวิธีขายสามเหลี่ยม
ทางอากาศ โดยจะตองหา ตําแหนงและจํานวนหมุดที่ตองการ, ความละเอียดถูกตอง วิธีการการรังวัด
ภาคพื้นดินที่ใช
1.3) ใหสเกตชภาพของบหล็อคที่ออกแบบได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6 แบบจําลองระดับ

6.1 บทนํา
แบบจําลองระดับ (Digital Elevation Model: DEM) คือกระบวนการรังวัดความสูงที่เปนตัวแทนของ
ภูมิประเทศ แบบจําลองระดับสูงมีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอความถูกตองทางตําแหนงของภาพถายดัดแกออ
โทที่จะผลิตได เนื่องจากคาระดับสูงที่เรียกออกมาใชในระหวางการคํานวนความคลาดเคลื่อนบนภาพถายทาง
อากาศเนื่องจากความสูงต่ําของภูมิประเทศ (Relief Displacement) ดังนั้นจึงตองมีการกําหนดวิธีการรังวัด วิธี
การประมวลผล และวิธีการจัดเก็บใหรัดกุม เพื่อใหไดแผนที่ภาพออโทที่มีความถูกตองทางตําแหนงเชนเดียวกับ
แผนที่ในรูปแบบอื่นตามที่มุงหวัง
การรังวัดดวยภาพโดยเฉพาะการวัดบนภาพคูสามมิติสามารถใหผลลัพธเปนคาพิกัดของภูมิประเทศ
พรอมคาระดับ การวัดบนภาพคูสามมิติเปนวิธีหนึ่งที่สามารถใหขอมูลนําไปสรางแบบจําลองระดับไดเปนอยางดี
เพราะสามารถวัดบนภูมิประเทศในขอบเขตที่กวางขวาง ไมจําเปนตองเขาถึงจุดที่ตองรังวัด ผลลัพธใหความ
ละเอียดถูกตองสูง
โดยทั่วไปแบบจําลองระดับสูงจะเปนตัวแทนของภูมิประเทศ บริเวณที่มีสิ่งปลูกสรางหรือมีตนไมทึบ
หนาแนน อาจเปนอุปสรรคตอการวัดระดับจากภาพถายได ปจจุบันเนื่องจากขีดความสามารถในการประมวลผล
ทางคอมพิวเตอรกราฟฟกและการประยุกใชงานที่หลากหลายขึ้น การวัดความสูงสิ่งปลูกสรางและพุมไมนาสนใจ
และสามารถนํา ไปใช ป ระโยชน ได เราเรีย กแบบจํ าลองในลักษณะนี้ วา แบบจําลองพื้ น ผิ ว (Digital Surface
Model : DSM) ตัวอยางของความสัมพันธระหวางสองแบบจําลองสามาระแสดงไดดังภาพ

แบบจําลองพื้นผิว Digital Surface Model : DSM


แบบจําลองระดับ Digital Elevation Model: DEM
ภูมิประเทศ Topography

รูปภาพ 6-1 การวัดความสูงภูมิประเทศจากภาพคูสามมิติ

6.2 เทคโนโลยีการรังวัดคาระดับ
การสรางแบบจําลองระดับสามารถเลือกใชเทคโนโลยีไดหลายแบบในการสราง ตามความตองการของ
ความละเอียดถูกตอง ความกวางขวางของอาณาบริเวณที่ตองทํางาน ในกราฟตอไปนี้เปนภาพรวมของการขีด
ความสามารถของเทคโนโลยี ในการใชเพื่อสรางแบบจําลองระดับ

การสํารวจรังวัดดวย ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-2 6.2 เทคโนโลยีการรังวัดคาระดับ

ขอบเขตการรังวัด

ระดับโลก
Radar
ภาพถายดาวเทียม Interferometry
ระดับภูมิภาค รายละเอียดสูง
เลเซอร
สแกนเนอร
รังวัดดวยภาพถาย
ระดับทองถิ่น รังวัดภาคพื้นดิน ความละเอียด
ถูกตองของคา
ระดับ (เมตร)

0.01 0.10 1 10 100

รูปภาพ 6-2 เทคโนโลยีการวัดแบบจําลองระดับ

ในภาพจะเห็นวา
1) การรังวัดภาคพื้นดิน (Terrestrial Survey) จะใหความละเอียดถูกตองสูงสุดในระดับเซนติเมตรถึง
เมตร แตขอบเขตการทํางานจํากัดเฉพาะในระดับทองถิ่น เนื่องจากการที่ตองเขาถึงในพื้นที่ที่ตอง
ไปรังวัดโดยตรง ขีดจํากัดของการมองเห็นดวยอุปกรณเชิงทัศนของกลองรังวัด ระยะทางที่จํากัด
ของการวัดระยะดวย EDM
2) การรั ง วั ด ภาพ (Photogrammetry) สามารถให ผ ลการั ง วั ด ที่ ค วามละเอี ย ดถู ก ต อ งในระดั บ
เดซิเมตรถึงเมตร สามารถใชงานไดดีในพื้นที่กวางขวางขึ้นถึงระดับภูมิภาค การสํารวจรังวัดมี
ความสะดวกไมตองเขาถึงโดยตรง แตก็จํากัดดวยเครื่องมือ ภาพถายทางอากาศ และวิธีการที่ซับ
ซอน
3) เลเซอรสแกนเนอร (Laser-Scanner) เปนเทคโนโลยีใหมที่กําลังแขงขันโดยตรงกับการรังวัดดวย
ภาพ เนื่องจากเปนใชเลเซอรติดตั้งในแนวดิ่งบนเครื่องบิน พรอมอุปกรณนําหนที่มีความละเอียด
ถูกตองสูงผสมผสานระหวาง GPS และ IMU (Initial Measurement Unit) ทําใหสามารถรังวัดได
ละเอียดถูกตองถึง 10-30 เซนติเมตร สามารถทําไดทั้งกลางวันและกลางคืน เนื่องจากกระบวน
การเปนดิจิทัลทั้งสิ้น ดังนั้นรอบเวลาของการทํางานตั้งแตบินเก็บขอมูลจนนําขอมูลประมวลผลจึง
เปนไปไดอยางรวดเร็ว
4) ภาพถายดาวเทียมรายละเอียดสูง (High-resolution Satellite Imager) เปนเทคโนโลยีใหม ที่เอก
ชนเปนผูลงทุนดําเนินการ นอกจากจะใหภาพถายดาวเทียมความละเอียดสูงแลว ยังสามารถใช
ผลิตแบบจําลองระดับดวยความละเอียดถูกระดับเมตรไดอีกดวย
5) เรดาห ดวยเทคนิค Interferometery สามารถที่จะใชวัดความสูงของภูมิประเทศได ขอดีของเรดาห
คือการที่เปนระบบ Active สามารถทะลุทะลวงสภาวะอากาศที่ปดหรือมีเมฆ ได ทําใหผลการวัด
ได ตัวอยางของแบบจําลองความสูงนี้คือแบบจําลองระดับใหมครอบคลุมพื้นผิวโลกที่บินถายดวย

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-3 6.2 เทคโนโลยีการรังวัดคาระดับ

Space Shuttle ใน Shuttle Radar Topography Mission ที่ จ ะให แ บบจํ า ลองระดั บ ที่ ค วาม
ละเอียดบนพื้นผิวโลก 30 เมตรและคาระดับมีความถูกตองถึง 10-25 เมตร ซึ่งนับวาเปนครั้งแรก
ของมนุษยชาติที่มีการกวาดพื้วโลกเพื่อการรังวัดระดับในครั้งเดียวภายในระยะเวลาเพียง 11 วัน
นอกจากนั้นยังมีระบบเรดาหที่ติดตั้งบนดาวเทียมและเครื่องบิน ระบบเรดาหบนเครื่องบินสามารถ
ใหความละเอียดถูกตองของระดับถึงเมตร แตก็จะจํากัดเฉพาะการทํางานในพื้นที่ที่เล็กลงมา

เมื่อใชวิธีการรังวัดดวยภาพถายทางอากาศ การรังวัดคาระดับบนภูมิประเทศไดจากการวัดจุดจุดเดียว
กันที่ปรากฏบนภาพถายทางอากาศทั้งสองรูปของแบบจําลองสามมิติ ดวยวิธีนี้ภาพคูสามมิติทีละคูจะถูกเลือก
เขามาเพื่อทําการรังวัดจุดความสูงบนภูมิประเทศ

O 1 ( X 01 ,Y 01 , Z 01 , ω1 , ϕ1 , κ 1 ) O 1 ( X 0 2 ,Y 0 2 , Z 0 2 , ω 2 , ϕ 2 , κ 2 )

p1(x1,y1) p2(x2,y2)

P(X,Y,Z)

รูปภาพ 6-3 การวัดความสูงภูมิประเทศจากภาพคูสามมิติ


การรังวัดสามารถทําไดทั้งบนเครื่องรางแผนที่สามมิติแบบวิเคราะห ( Analytical Stereoplotter ) ซึ่งจะ
ตอเชื่อมตรงกับคอมพิวเตอรเพื่อบันทึกคาจุดพิกัดพรอมคาระดับสูงเพื่อประมวลผลตอไป การวัดบนเครื่องราง
แผนที่สามมิติแบบวิเคราะหถือวาเปนวิธีวัดที่ใหผลลัพธมีความละเอียดถูกตองสูงสุดที่จะทําไดในเทคโนโลยีการ
รังวัดดวยภาพ แตการรังวัดโดยใชสายตาประกอบกับเครื่องมือที่เปนเชิงทัศนผูปฏิบัติงานตองมีความชํานาญ
และมีความอดทนในการทํางาน
อีกทางเลือกหนึ่งที่เปน อัตโนมัติและรวดเร็วกวาโดยวิธีการทาง Digital Photogrammetry จุดระดั บ
ความสูงบนภาพคูสามมิติจะถูกวัดโดยอัตโนมัติอยางรวดเร็ว โดยอาศัยเทคนิคการประมวลผลภาพที่เรียกวา การ
จั บ คู ภ าพ ( image matching ) เทคนิ ค การจั บ คู ภ าพอาจเป น วิ ธี Least-square matching หรื อ image
correlation ผูป ฏิ บั ติงานก็ต อ งรูและเขาใจหลั กการประมวลผลภาพดิจิทั ลเพื่ อ ให ผ ลลัพ ธอ อกมาตามความ
ตองการ ผลการวัดดวยซอฟแวรอัตโนมัติโดยทั่วไปก็จะใหผลไดดีเทียบเทากับการวัดดวยสายตามนุษยบนเครื่อง
รางแผนที่สามมิติแบบวิเคราะห เมื่อเงื่อนไขการเตรียมขอมูลใหคอมพิวเตอรประมวลผลนั้นมีคุณภาพดี และให
พารามิเตอรสําหรับการประมวลผลภาพไดเหมาะสม โดยสรุปคือ
-ภาพถูกแสกนดวย Precise Scanner ที่มีความถูกตองทางตําแหนงสูงเทียบเทากับภาพตนฉบับ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-4 6.3 เกณฑความถูกตองของจุดคาระดับ

-ภาพถูกแสกนดวย Precise Scanner ดวยความละเอียดสูงในชวง 10 ถึง 30 ไมครอน


-ภาพถูกแสกนดวย Precise Scanner ที่ใหภาพมีความคมชัดเทียบเทากับภาพตนฉบับ
-ใชพารามิเตอรสําหรับการประมวลผลภาพไดเหมาะสมกับชนิดของ texture
-อัลกอริธึมที่ใชในการจับคูภาพ
การรังวัดจุดความสูงจะเปนการรังวัดความสูงที่เปนตัวแทนของภูมิประเทศเทานั้น ในภูมิประเทศที่มี
การเปลี่ยนแปลงความสูงอยางเฉียบพลันเชน รองน้ํา สันเขา สันเขื่อน ขอบบริเวณพื้นน้ํา จะตองมีการวัดเพิ่ม
เติมพรอมระบุขอมูลวาเปน break-line ขอมูล break-line จะตองจัดเก็บกํากับไปพรอมกับจุดที่รังวัดนั้นๆ เพื่อวา
ซอฟแวรประมวลผลจะไดรับรูและนําไปคิดคํานวณได เพื่อวาแบบจําลองระดับที่ผลิตไดจะมีความถูกตองสอด
คลองกับภูมิสัณฐาน (geomorphology) ของภูมิประเทศใหมากที่สุด

6.3 เกณฑความถูกตองของจุดคาระดับ
ระยะหางของจุดระดับขึ้นอยูกับความละเอียดถูกตองของแผนที่ที่ตองการสรางและความลาดชันของ
ภูมิประเทศเปนสําคัญ ความลาดชันของภูมิประเทศตามมาตรฐานของเยอรมันและในประเทศยุโรปมักกําหนด
เปน 3 ระดับคือ ที่ราบ เนินเขา และภูเขาสูงชัน ตามความลาดชัน (α) ที่กําหนดเปนองศา ดังในตารางขางลางนี้
หากวามีความตองการความละเอียดสําหรับการทําแผนที่ในครั้งนี้เปน 3 ระดับตามความลาดชันของภูมิประเทศ
ประกอบกับหลักการของภูมิศาสตรในการเขียนเสนชั้นความสูง สําหรับแผนที่มาตราสวน 1:5000 และ 1:10000
ดวย Ideal equi-distance formula ของ Imhof (1965) จะไดวา

มาตราสวนของแผนที่
ชนิดของภูมิประเทศ
1:5,000 1:10,000
ราบเรียบ α < 10° 1 เมตร 2 เมตร
เนินเขา α < 25° 2 เมตร 5 เมตร
ภูเขาสูงชัน α < 45° 5 เมตร 10 เมตร
ตาราง 6-1 แสดง Ideal Equidistance สําหรับเสนชั้นความสูง (Imhof 1965)

เมื่อพิจารณาเกณฑความถูกตองของงานที่ไดจากการรังวัดดวยภาพถายทางอากาศมาตราสวนใดๆ
หากสมมุติฐานของการวัดบนภาพดวยความละเอียดถูกตอง σ xp ถึง 10 ไมครอน จะสามารถคํานวณความ
ละเอียดถูกตองของคาพิกัดวัตถุที่ไดจากการวัดบนภาพสามมิติในทางทฤษฎีดังตารางขางลางนี้ โดยใชความ
สัมพันธ
H
σX = σ xp สมการ 6-1
f
H
σ Y = σ yp สมการ 6-2
f
โดยที่ σ X คือ คาความถูกตองของพิ กัดวัตถุ ทางแกน X, H คือความสูงบิ น เหนือภูมิประเทศ, f คือ
ความยาวโฟกัส, σ xp คือคาความถูกตองของการวัดพิกัดภาพถาย เชนเดียวกันกับทางดานแกน Y

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-5 6.3 เกณฑความถูกตองของจุดคาระดับ

 H2  สมการ 6-3
σ H =  σ px
 f ⋅b 
โดยที่ความถูกตองของการวัดพาราแลกซเปน
σ px = 2σ xp สมการ 6-4

โดยที่ σ H คือ คาความถูกตองของพิกัดวัตถุทางแกนดิ่ง, b คือระยะฐานบินถายซึ่งขึ้นอยูกับซอนของ


ภาพและมาตราสวนของภาพถาย, σ px คือคาความถูกตองของการวัดระยะเหลื่อม (parallax measurement)
สวนความถูกตองทางตําแหนงทางดิ่งในทางปฏิบัติสามารถคํานวณไดจาก
σ H = 0.15 0 00 H สมการ 6-5

โดยที่ σ H คือ คาความถูกตองของพิกัดวัตถุทางแกนดิ่ง, H คือความสูงบินถายภาพ


ในตารางขางลางจะเปนตัวอยางของการออกแบบเพื่อการรังวัดแบบจําลองระดับสําหรับภาพถายทาง
อากาศบินถายที่มาตราสวน 1:25,000 เมื่อทําการคํานวณเปรียบเทียบจะไดความละเอียดถูกตองของการวัดบน
คูภาพสามมิติดังปรากฏในตารางขางลางนี้

ความยาว พื้นที่ครอบ เสนฐาน (b) ความสูงบิน ความถูกตอง ความถูกตอง ความถูก


โฟกัส (mm) คลุม (m) (m) ทางราบ ทางดิ่ง ตองทางดิ่ง
(kmxkm) (ทฤษฎี) (ทฤษฎี) (ปฏิบัติ)
(m) (m) (m)
153 5.75 x 5.75 2300 3800 0.25 0.58 0.57
305 5.75 x 5.75 2300 7625 0.25 1.17 1.14
ตาราง 6-2 ความละเอียดถูกตองของการวัดบนภาพคูสามมิติ

คาความละเอียดถูกตองตามตารางนี้จะใชไดกับจุดบนพื้นดินที่สามารถชี้ชัดไดบนภาพอยางชัดเจน แต
สําหรับจุดความสูงบนภูมิประเทศโดยทั่วๆไปนั้นก็จะมีความถูกตองนอยกวา และเมื่อพิจารณาวาจุดความสูงบน
ภูมิประเทศนั้นเปน “รายละเอียดแผนที่“ ทีตางจากจุดบังคับภาพหรือจุดที่ชี้ชัดไดทั่วไป ดังนั้นจึงสามารถกําหนด
ความถูกตองทางดิ่งของคาระดับสําหรับ “รายละเอียดทั่วไปบนแผนที่“ สําหรับแตละภูมิประเทศดังนี้
ชนิดภูมิประเทศ มาตราสวน 1:5,000 มาตราสวน 1:10,000
(เมตร) (เมตร)
ราบเรียบ α>10° 1 2
เนินเขา α>25° 2 5
ภูเขาสูงชัน α>45° 5 10
ตาราง 6-3 ความละเอียดถูกตองทางดิ่งสําหรับ "รายละเอียดของแผนที่" ทั่วไป

จะเห็นไดวาความละเอียดถูกตองจากงานรังวัดดวยภาพที่มาตราสวน 1:25,000 ขางตน มีความละเอียด


ถูกตองพอเพียงสําหรับงานผลิตแผนที่ที่มาตราสวน 1:5,000 และ 1:10,000

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-6 6.4 ความละเอียดถูกตองของแบบจําลองระดับจากภาพดิจิทัล

6.4 ความละเอียดถูกตองของแบบจําลองระดับจากภาพดิจิทัล
โดยทั่วไปความละเอียดในการสแกนภาพดิจิทัลขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงาน โดยทั่วไปเปน
ยอมรับ กั น แล ว วา ภาพถ า ยทางอากาศมี ค วามสามารถในการบั น ทึ ก รายละเอี ย ดได ถึ ง 40 ถึ ง 50 คู เส น ต อ
มิลลิเมตร (line-pair/mm หรือ lp/mm) ซึ่งหากใชคา 50 lp/mm เปนเกณฑก็จะไดวาขนาดของวัตถุที่ละเอียดที่
สุดที่ภาพถายทางอากาศจะสามารถบันทึกไดเปน 10 ไมครอน จากการวัดดวยเครื่องเขียนแผนที่เชิงวิเคราะหที่
ถือวาใหความละเอียดถูกตองสูงสุด ก็สามารถที่จะวัดพิกัดภาพถายไดละเอียดถูกตองถึง 10 ไมครอนเชนกัน
เมื่อใชสมมุติฐานที่วาภาพถายทางอากาศสามารถวัดไดดวยความละเอียดในระดับ sub-pixel โดยที่
เปนยอมรับกันทั่วไปวาเราสามารถวัดละเอียดถึง 1/3 จุดภาพ เมื่อประกอบกับขอเท็จจริงของขนาดของวัตถุที่
ละเอียดที่สุดที่ภาพถายทางอากาศจะสามารถบันทึกไดและความสามารถสามารถที่จะวัดพิกัดภาพถาย ดังนั้นก็
อาจจะอนุมานไดวาการสแกนภาพถายทางอากาศสามารถสแกนไดตั้งแต 10 ถึง 30 ไมครอน
จากการวิจัยของ OEEPE โดยการสแกนภาพถายทางอากาศใหเปนดิจิทัลดวยความละเอียด15 และ
30 ไมครอน แลวทําการวัดเพื่อทําขายสามเหลี่ยมทางอากาศดวยซอฟแวรอัตโนมัติ พบวาการทําขายสามเหลี่ยม
บนภาพที่สแกนดวยความละเอียด 15 ไมครอนใหผลความถูกตองดานตําแหนงหลังการปรับแกแลวประมาณ 20
% ดีกวาบนภาพที่สแกนดวยความละเอียด 30 ไมครอน (Rottensteiner 1996)
ในการผลิ ต แบบจํ า ลองระดั บ สู ง ด ว ยซอฟแวร จั บ คู ภ าพของงานวิ จั ย OEEPE Automatic DEM
Extraction ระหวางป 1996-2000 กลุมนักวิจัยจาก Institute for Photogrammetry, University of Stuttgart ได
ทําการทดสอบภาพชุด Vaihingen โดยการสแกนที่ 15 และ 30 ไมครอน แลวทําการใหกําเนิดแบบจําลองระดับ
สูงโดยการจับคูภาพพบวา ภาพถายที่สแกนดวยความละเอียด 15 ไมครอน ใหแบบจําลองระดับสูงที่มีความถูก
ตองทางระดับที่ดีกวาเพียง 10 % เทานั้น ซึ่งก็ใหผลสอดคลองกับนักวิจัยจากกลุมอื่นในทวีปยุโรปเชนกัน
จากการวิจัยเดียวกันนี้พบวาความละเอียดถูกตองจากการใชการวัดโดยซอฟแวรอัตโนมัติเพื่อสราง
แบบจําลองระดับไดความถูกตองเปน
σ H = 0.12 0 00 H สมการ 6-6

โดยที่ σ H คือความถูกตองของคาระดับเฉลี่ย และ H คือความสูงที่บินถายในภูมิประเทศ (Fritsch


1998)
ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบความถูกตองการวัดระดับกับบนเครื่องมือวัดทางงานสํารวจดวยภาพทั่วไปจะไดเปน
σ H = 0.15 0 00 H สมการ 6-7

ซึ่งสูงกวาเล็กนอย

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-7 6.5 ระยะหางของจุดระดับ

6.5 ระยะหางของจุดระดับ
จากขอพิจารณาขางตนดวยขีดความสามารถในการวัดดวยภาพถายทางอากาศและขอกําหนดในการ
เขียนแผนที่ตามหลักวิชาภูมิศาสตร จะสามารถคํานวณระยะหางของจุดบนภูมิประเทศเพื่อใหไดแบบจําลอง
ความสูงที่มีความละเอียดถูกตองและมีระยะหางที่จะตองวัดความสูงที่เหมาะสมดังนี้

εH
α
S
รูปภาพ 6-4 ภูมิประเทศ ความผิดพลาดของคาระดับ และระยะที่ตองสุมเก็บ

จากรูปให คือความลาดชันของภูมิประเทศ คือความคลาดเคลื่อนของคาระดับที่ยอมรับได คือระยะ


บนภูมิประเทศที่ตองสุมเก็บคาระดับเพื่อมิใหคาความคลาดเคลื่อนของคาระดับเกินเกณฑที่ยอมให ซึ่งสามารถ
เขียนเปนสูตรดังนี้
εH
tan(α ) = สมการ 6-8
S

ตัวอยางเชน สําหรับภูมิประเทศที่มีความลาดชัน α < 10° และใหความคลาดเคลื่อนทางระดับที่ยอม


ไดเปน 2 เมตร จะไดความสัมพันธตามรูปดังนั้
2 สมการ 6-9
tan(10°) =
S
ยายขางและหาคําตอบจะได
2
S= สมการ
tan(10°)
6-10
S = 11.3 m
เชนเดียวกัน นี้ นําไปประยุกตใชกับงานรังวัดดวยภาพถายทางอากาศสําหรับแผนที่ที่มีมาตราสวน
1:5,000 และ 1:25,000 ซึ่งจะสามารถสรุปผลการพิจารณาระยะหางระหวางจุดระดับความสูงที่ตองวัดบนแบบ
จําลองเพื่อใหไดความละเอียดถูกตองของแผนที่ที่ตองการไดดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-8 6.5 ระยะหางของจุดระดับ

มาตราสวน 1:5,000 มาตราสวน 1:10,000


ความถูกตอง ระยะหางระหวาง ความถูกตอง ระยะหางระหวาง
ชนิดภูมิประเทศ
ทางดิ่ง จุดระดับ ทางดิ่ง จุดระดับ
(เมตร) (เมตร) (เมตร) (เมตร)
ราบเรียบ α<10° 1 5 2 10
เนินเขา α<25° 2 4 5 11
ภูเขาสูงชัน α<45° 5 5 10 11
ตาราง 6-4 ความละเอียดถูกตองของคาระดับสําหรับ "รายละเอียดของแผนที่" และระยะหางระหวางจุดระดับ

ซึ่งจะเห็นไดวาคาเฉลี่ยของระยะหางระหวางจุดระดับที่ตองทําการรังวัดเพื่อสรางแบบจําลองระดับตอง
มี ช ว งความห า งระหว า งจุ ด บนภู มิ ป ระเทศเป น 4 เมตร และ 10 เมตร สํ า หรับ การผลิ ต แผนที่ ที่ ม าตราส ว น
1:5,000 และ 1:10,000 ตามลําดับ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-9 6.6 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับ

6.6 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับ
การจัดแบบจําลองระดับทําไดแบบขึ้นอยูกับวิธีการรังวัด สภาพภูมิประเทศ ปริมาณขอมูลที่ตองการจัด
เก็บและประมวลผล วิธีการแสดงผลแบบจําลอง

6.6.1 แบบจําลองระดับแบบแอสกี (ASCII)


การเก็บคาระดับแบบแอสกีเปนการใชระหัส ASCII ในการจัดเก็บ โดยรูปแบบที่งายที่สุดคือการระบุคา
พิกัดของความสูง ตามดวยคาความสูงเอง แบบจําลองระดับแบบแอสกี จํากัดการใชงานเฉพาะแบบจําลอง
ขนาดเล็ก แตก็มีความงาย สามารถใช Text Editor ไดเปดดูหรือแกไขก็ได บางครั้งอาจมีขอมูลเชิงอรรถาธิบาย
อื่นๆ ประกอบมาดวย รูปแบบมักจะเปนหนึ่งจุดความสูงตอหนึ่งบรรทัดขอมูล ดังตัวอยางในภาพ
DGM - FILE : 372301 DATUM : 13.03.1997
1 3534000.00 5794000.00 1 136.12 -6.45 -5.98 8.77 52.42
2 3534000.00 5794012.50 1 134.71 -5.09 -6.50 8.23 42.25
3 3534000.00 5794025.00 1 133.64 -5.85 -6.07 8.41 48.82
4 3534000.00 5794037.50 1 132.12 -5.07 -10.97 12.04 27.37
5 3534000.00 5794050.00 1 130.86 -2.41 -9.40 9.70 15.87
.
.
.
.
25106 3536000.00 5795937.50 1 72.18 0.58 -1.13 1.27 369.81
25107 3536000.00 5795950.00 1 72.04 0.29 -0.70 0.76 375.00
25108 3536000.00 5795962.50 1 71.98 0.11 -0.50 0.51 386.21
25109 3536000.00 5795975.00 1 71.89 0.20 -0.46 0.50 373.89
25110 3536000.00 5795987.50 1 71.82 -0.02 -0.52 0.52 2.45
25111 3536000.00 5796000.00 1 71.71 -0.03 -0.56 0.56 3.41

รูปภาพ 6-5 สวนหนึ่งของขอมูล จากไฟล 372301.dgm ตอนตนและตอนทายสุด

ในภาพแสดงใหเห็นถึงแบบจําลองระดับ DGM-5 (Digital Elevation Moel 5) ของประเทศเยอรมันนี


จัดเก็บในรูแบบอัสกี โดยคอลัมนแรกเปนหมายเลขจุด คอลัมนที่ 2 และ 3 เปนคาพิกัดทางราบของจุด คอลัมนที่
5 เปนคาระดับ สวนคอลัมนอื่นๆเปนขอมูลอรรถาธิบายเพิ่มเติม

6.6.2 แบบจําลองระดับแบบจุด
แบบจําลองระดับแบบจุดในที่นี้หมายถึง แบบจําลองที่มีการเก็บคาพิกัดของจุดความสูงแตละจุดพรอม
คาระดับประจําจุดนั้น ซึ่งขอมูลในลักษณะนี้สามารถใชประโยชนจาก ขอมูลชนิดหนึ่งที่เปนมาตรฐานในระบบ
สารสนเทศนภูมิศาสตรได นั่นคือขอมูลประเภทจุด (Point) โดยที่จะตองมีฟลดของคาระดับเปนขอมูลอรรถธิบาย
เพิ่มเติม หากแสดงดวยภาพจะแสดงดังรูป

( xi , yi , H i )
( xi , yi , H i )
( xi , yi , H i )

( xi , yi , H i )
( xi , yi , H i ) ( xi , yi , H i )
( x i , yi , H i )
( xi , yi , H i ) ( x , y , H ) ( xi , yi , H i )
i i i
( xi , yi , H i )
( xi , yi , H i ) ( xi , yi , H i ) ( xi , yi , H i )
รูปภาพ 6-6 แบบจําลองระดับแบบจุด

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-10 6.6 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับ

โดยทั่วไปการสุมเก็บคาระดับจะหนาแนนขึ้นบริเวณที่การเปลี่ยนแปลงความสูง หรือเปนภูมิประเทศสูง
ชันและซับซอน

6.6.3 แบบจําลองระดับแบบแรสเตอรหรือกริด
แบบจําลองระดับแบบแรสเตอรหรือกริด คือแบบจําลองระดับที่จัดเก็บจุดระดับเปนแถวเปนแนวอยางมี
ระบบ โดยตําแหนงที่จัดเก็บจะมีตําแหนงแนนอนเปนระยะหางที่เทาๆกันที่เรียกวาเปน แรสเตอรหรือกริด ระยะ
หางของจุดคาระดับเทาๆกัน พื้นที่ที่จัดเก็บก็จะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหรือสี่เหลี่ยมจตุรัส ดวยวิธีนี้สามารถหลีก
เลี่ยงการบันทึกคาพิกัดไดเปนจํานวนมาก โดยการบันทึกเฉพาะคาพิกัดของจุดระดับที่มุมดานใดดานหนึ่งกับคา
พิ กั ด ของจุ ด ระดั บ ที่ อ ยู ใ นด า นตรงข า ม ซึ่ ง เป น เทคนิ ค ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ใน การระบุ ค า พิ กั ด โลก
(Georeferencing) ทุกจุดก็จะมีคาระดับ ซึ่งนิยมที่จะเขาเปนรหัสไบนารี ที่คอมพิวเตอรเขาใจได
ตัวอยางของแบบจําลองระดับแบบแรสเตอรหรือกริด

X1,Y1

H 0, 0 H 0,1 H 0,2
H1, 0 H1,1

X2,Y2

รูปภาพ 6-7 แบบจําลองระดับแบบแรสเตอร

ค า ระดั บ ชนิ ด ไบนารีส ามารถเลื อ กได จ ากช ว งความสู ง ที่ ต อ งการเที ย บกั บ หน ว ยของการจุ ด เก็ บ ใน
คอมพิวเตอร ตัวอยางของชนิดขอมูลในคอมพิวเตอรที่นํามาใชในการจัดเก็บคาระดับมีดังนี้
ชนิดขอมูล ขนาด (ไบต) รูปแบบของ ชวงความสูง
บิท
Signed Integer 2 15+1 − 32768 ≤ H ≤ +32767
(Short )
Unsigned 2 16 0 ≤ H ≤ +65535
Integer
Single 4 24+8 1.17549435 × 10 −38 ≤ H ≤ 3.40282347 × 10 +38
Precision Float
ตาราง 6-5 ชนิดขอมูลในคอมพิวเตอรสําหรับการจัดเก็บ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-11 6.6 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับ

ดังนั้นการเลือกชนิดขอมูลสําหรับคาระดับมีความจําเปน เนื่องจากจะทําใหการจัดเก็บประหยัด สามารถ


เรียกใชไดรวดเร็ว ดวยเหตุผลของการที่คาระดับมีความละเอียดถูกตองที่จํากัดดวยวิธีการรังวัดและสภาพทาง
กายภาพของจุดความสูงที่มีความไมแนนอนในการกําหนดตําแหนงอยูแลวในธรรมชาติ เชนสถานการณที่จุด
ความสูงอยูบนพื้นดินมีหญาปกคลุมและพื้นผิวขรุขระ
ในการจัดเก็บคาระดับที่ไดจากการรังวัดดวยภาพ สามารถที่จะปดเศษจุดทศนิยมของคาระดับซึ่งไมมีนัย
สําคัญตอความละเอียดถูกตองทิ้งได ดวยวิธีนี้จะตองมีการกําหนด สเกลแฟคเตอร (Scale Factor) ขึ้นมา โดย
นําสเกลแฟคเตอรไปคูณคาระดับ ดังตัวอยางขางลางนี้
ในตารางตอไปนี้เปนคาระดับคาหนึ่ง เมื่อพิจารณาความละเอียดถูกตองสามารถจัดเก็บดวยชนิดขอมูล
Signed Integer หรือ Unsigned Integer ดังนี้
ตัวอยางคาระดับ ความละเอียดถูกตอง สเกลแฟคเตอร คาระดับที่จัดเก็บ
10.256 เมตร เซนติเมตร 100 1026
10.256 เมตร เดซิเมตร 10 103
ตาราง 6-6 ตัวอยางของคาระดับจัดเก็บโดยคํานึงถึงความละเอียดถูกตอง

นอกจากการพิจารณาความละเอียดถูกตองที่มีนัยสําคัญเพื่อนําไปสูการเลือกสเกลแฟคเตอรแลวยังตอง
คํานึงถึงชวงต่ําสุดและสูงสุดที่ขอมูลชนิดนั้นๆจะจัดเก็บได
ซึ่งจะเห็นไดวาสําหรับขอมูลแรสเตอรหากขนาดของขอมูลที่จะใชในการจัดเก็บคาระดับตางกันสองเทา
ปริมาณขอที่ตองจัดเก็บจะเพิ่มขึ้นเปนสี่เทา นอกจากนี้จะเห็นไดวาวิธีการจัดเก็บคาระดับแบบแรสเตอรมีหลัก
การเดียวกับการจัดเก็บภาพดิจิทัล เพียงแตคาที่ประจําแตละจุดภาพเปนคาระดับ ดังนั้นจึงสามารถนํารูปแบบ
การจัดเก็บภาพดิจิทัลมาประยุกตใชได รูปแบบการจัดเก็บภาพดิจิทัลก็ตองมีความสามารถที่จะจัดการกับอาง
อิงพิกัดโลก (Georeferencing) ไดดวย ตัวอยางของรูปแบบการจัดเก็บนี้ไดแก GeoTIFF หรือรูปแบบอื่นๆที่ออก
แบบไวจัดเก็บแบบจําลองระดับโดยเฉพาะไดแก USGS SDTS/DEM

6.6.4 แบบจําลองระดับแบบขายสามเหลี่ยมไมปรกติ
แบบจําลองระดับแบบขายสามเหลี่ยมไมปกติ (Triangular Irregular Network: TIN) เปนบันทึกคาระดับ
ที่มีการระบุความสัมพันธระหวางจุดระดับที่อยูใกลกันทีละสามจุด แบบจําลองระดับแบบขายสามเหลี่ยมไมปกติ
จะประกอบดวยสามเหลี่ยมขนาดตางๆที่ปรับตัวไปตามภูมิประเทศ โครงสรางคอนขางซับซอน ดังในภาพ

p2 ( x2 , y2 )

∆1 p3 ( x3 , y3 )
p1 ( x1 , y1 )

รูปภาพ 6-8 โครงสรางขอมูลของ TIN


การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท
6-12 6.6 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับ

รูปแบบหนึ่งของการจัดเก็บ TIN คือมีโครงสรางตารางของรูปสามเหลี่ยมดังนี้


รูปสามเหลี่ยม จุดมุม
∆1 p1 , p2 , p3
∆2 p1 , p2 , p4
∆3 p2 , p3 , p4

∆n p p , pq , pr
ในตารางจะเห็นวามีรูปสามเหลี่ยม n รูป ที่ประกอบดวยจุดมุมเพียง 3 มุมที่จัดเก็บเฉพาะระหัสเทานั้น
คาระหัสของชื่อจุดมุมของสามเหลี่ยมตางๆจะเชื่อมโยงไปยังคาพิกัดในอีกตารางหนึ่ง ดังนี้
จุดมุม จุดมุม คาระดับ
p1 ( x1 , y1 ) H1
p2 ( x2 , y2 ) H2
p3 ( x3 , y3 ) H3
… ... ...
pm ( x m , ym ) Hm
จากตารางจะเห็นวาเปนตารางคาพิกัดของจุดมุมของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งมีทั้งสิ้น m จุด ที่ตารางนี้ก็จะเก็บ
คาระดับไวดวย
ในทางปฏิบัติแบบจําลอง TIN ไดจากการวัดระดับบนภูมิประเทศสุมไปตามพื้นที่ที่มีความสูงเปลี่ยน
แปลงอยางมีนัยสําคัญในภูมิประเทศ ซอฟแวรจะทําการอานคาพิกัดและคาระดับของจุดสุมที่รังวัดไดแลวสราง
รูป สามเหลี่ ย มที่ มี ลั ก ษณะ ดี กล า วคื อ สามเหลี่ ย มจะต อ งไม ป า นจนเกิ น ไป ซึ่ ง หมายความว า จุ ด ยอดของ
สามเหลี่ยมอยูไกลกันมาก จะทําใหเมื่อตองคํานวณความลาดชัดจากรูปสามเหลี่ยมนั้นใหผลลัพธที่ไมสอดคลอง
กับภูมิประเทศได

6.6.5 แบบจําลองระดับแบบเวกเตอร
แบบจําลองระดับโดยใชเวกเตอร เปนแบบจําลองระดับที่ผูใชแผนที่คุนเคยเปนอยางดี แตรูจักและใชงาน
ในรูปแบบอื่นๆ นั่นคือการใชเสนชั้นความสูงบนแผนที่ แบบจําลองระดับแบบเวกเตอรคือการจัดเก็บเวกเตอรที่
ลากผ า นจุ ด ระดั บ ที่ มี ค วามสู ง เท า ๆกั น (Iso-height) ดั ง นั้ น แบบจํ า ลองระดั บ โดยใช เวกเตอรจ ะได จ ากการ
วิเคราะหแบบจําลองระดับอื่นๆเชน แบบจําลองระดับแบบจุดสุม หรือแบบจําลองระดับ TIN
ภาพขางลางแสดงตัวอยางของแบบจําลองระดับแบบเวกเตอรที่สามารถใชโครงสรางขอมูลสารสนเทศ
ภู มิ ศ าสตรสํ า หรับ ข อ มู ล เวกเตอรทั่ ว ไปในการจั ด เก็ บ พรอ มกั บ มี ข อ มู ล อรรถธิ บ ายสํ า หรั บ ระดั บ ในที่ นี้ คื อ
H1,H2,H3 และ H4 ตามลําดับ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-13 6.7 การประมวลผลแบบจําลอง

H4
H3

H2
H4

H1

รูปภาพ 6-9 แบบจําลองระดับแบบเวกเตอร

6.7 การประมวลผลแบบจําลอง
การประมวลผลแบบจําลองระดับสามารถนําไปใชในการวิเคราะหทางภูมิศาสตรกายภาพ การไหลของ
น้ําในทางอุทกศาสตร การพังทลายของดินในทางปฐพี ความอุดมสมบูรณของพืชพรรณในทางการเกษตรและปา
ไม
นอกจากนี้ผลลัพธการประมวลแบบจําลองระดับสามารถนําไปแสดงผลในรูปแบบตางๆ เพื่อชวยใน
การตัดสินใจ และวิเคราะหได ผลการประมวลผลไดแก

6.7.1 การหาความลาดชันและทิศทางความลาดชันจากแบบจําลองแรสเตอร
กรณีที่เปนขอมูลแบบแรสเตอรความชันจะตองระบุทิศทางของความชันวเปนความชันตามแนวแกน x
หรือ y หากขอมูลแรสเตอร เปนดังภาพ

H 0, 0 H 0,1 H 0,2 α 0, 0 α 0,1 α 0,2


H1, 0 H1,1 H1,2 α 1, 0 α 1,1
H 2, 0 H 2,1 H 2,2

รูปภาพ 6-10 แรสเตอรของคาความลาดชัน

หากใหระยะหางของแรสเตอรเปน S ความชันตามแนวแกน x จะหาไดจาก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-14 6.7 การประมวลผลแบบจําลอง

( H 0, 0 + H 0,1 + H 0,2 + H1, 0 + H1,1 + H1,2 + H 2, 0 + H 2,1 + H 2,2 ) สมการ 6-11


a=
9
(− H 0, 0 + H 0,2 − H1, 0 + H1,2 − H 2, 0 + H 2,2 )
b=
9
( H + H 0,1 + H 0,2 − H 2, 0 − H 2,1 − H 2,2 )
c = 0, 0
9
ความลาดชันหาไดจาก
α i, j = a 2 + b 2 สมการ 6-12

ทิศทางความลาดชันหาไดจาก
c
κ = tan −1 ( ) สมการ 6-13
b

6.7.2 การประมาณคาระดับดวยวิธี IDW


การประมาณคาระดับเปนวิธีการหาคาระดับที่ตําแหนงใดๆบนแบบจําลองระดับ การประมาณคาความ
สูงดวยวิธี Inverse Distance Weighting (IDW) สามารถใชไดกับแบบจําลองระดับที่เปนจุดสุม แรสเตอร หรือ
TIN เนื่องจากเปนวิธีที่อาศัยสมมุติฐานที่วา ณ จุดใดๆที่กําลังพิจารณาหาคาระดับ จากจุดขางเคียงที่อยูรายลอม
ที่อยูใกลที่สุด ดังนั้นในการประยุกตใชจะตองมีการระบุดวยวาจํานวนจุดที่อยูใกลที่สุดที่จะนํามาพิจารณามีกี่จุด
เชน n จุด จากนั้นทําการคํานวณระยะทางจากจุดที่ตําแหนงที่กําลังพิจารณาไปยังจุดที่อยูใกลที่สุดจํานวน n จุด
ระยะทางที่ไดจะถูกนํามาหาคาเฉลี่ยที่ถวงน้ําหนัก โดยที่นําหนักจะเปนสวนกลับของระยะทางหรือกําลังสองของ
ระยะทางก็ได ดังในภาพนี้

Pj +1
Pj
Pi d j +1
dj
d j +2

Pj + 2
รูปภาพ 6-11 การประมาณคาระดับ จากจุดที่อยูใกลที่สุด เมื่อกําหนดใหจุดทีใชเปน n=3

ขั้นตอนการคํานวณมีดังนี้ ในขั้นแรกตองหาระยะทางระหวางจุด Pi ที่เปนจุดที่ตองการทราบคาระดับ


ไปยังจุด Pj ใดที่อยูใกลที่สุด ในเบื้องตนตองหาระยะทางระหวาง Pi ไปยัง Pj กําหนดใหเปน d j จะได

d j = ( x j − xi ) 2 − ( y j − yi ) 2 สมการ 6-15

และคาน้ําหนักที่ใชเปน w j จะคํานวณไดจาก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-15 6.7 การประมวลผลแบบจําลอง

1 สมการ 6-16
wj =
( x2 − x1 ) 2 + ( y2 − y1 ) 2

เมื่อกําหนดให แตละจุด Pj มีคาระดับเปน H j ดังนั้นคาระดับเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (IDW) H จะได

1 n 
H=  ∑ ( wij ⋅ H j )  สมการ 6-17
n  
∑ ij
w
j =1
 j =1 

กรณีใชกําลังสองของระยะทางกําหนดใหเปนน้ําหนัก w j จะคํานวณไดจาก
1 สมการ 6-18
wj =
( x2 − x1 ) + ( y2 − y1 ) 2
2

ดังนั้นคาระดับเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (IDW) H จะคํานวณไดจากสมการขางตนนี้

6.7.3 การวิเคราะห TIN


TIN เปนโครงสรางแบบจําลองระดับที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถแสดงแทนพื้นผิวภูมิประเทศไดทุกรูป
แบบ โดยเฉพาะพื้นที่ที่สลับซับซอน การกระจายของคาระดับไมสม่ําเสมอ นอกจากนั้นโครงสรางของ TIN ยังเอื้อ
อํานวยใหสามารถคํานวณคาระดับประมาณ (Height Interpolation) คาความลาดชัน(Slope) และทิศทางความ
ลาดชัน (Aspect) ที่จุดใดๆบนภูมิประเทศไดอยางสดวกและแมนยํา

6.7.3.1 การคํานวณความสูงที่จุดใด
หากการคํานวณความสูงที่จุดใด ( x, y) จาก TIN ที่มีอยูไดโดยการวิเคราะหหาสามเหลี่ยมใดๆที่จุด
( x, y) อยู ภ ายในรู ป สามเหลี่ ย มนั้ น ป ญ หาการหาจุ ด ใดในรู ป หลายเหลี่ ย มเป น ป ญ หามาตรฐานในทาง
Computer Graphic ที่มีวิธีการทําไดชัดเจน ดังรูป

( x , y)

∆i p2 ( x2 , y2 , H2 )

( x, y, H )

p1 ( x1 , y1 , H1 ) p3 ( x3 , y3 , H 3 )

รูปภาพ 6-12 โครงสรางขอมูลของ TIN

จากสมการระนาบ นําเอาคาพิกัดและคาระดับของจุดยอดของสามเหลี่ยม มาเขียนเปนสมการได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-16 6.7 การประมวลผลแบบจําลอง

H1 = ax1 + b ⋅ y1 + c สมการ 6-19


H 2 = ax2 + b ⋅ y2 + c
H 3 = ax3 + b ⋅ y3 + c
ซึ่งเปนสมการ 3 สมการที่มี 3 ตัวแปรที่สามารถคํานวณหาสัมประสิทธิ์ a, b, c ได ดังนั้นคาระดับที่จุด
( x, y)
H = ax + b ⋅ y + c สมการ 6-20

6.7.3.2 การหาความลาดชันและทิศทางความลาดชัน
หากการคํ านวณความลาดชันและทิศทางความลาดชัน ที่จุดใด ( x, y) จาก TIN ที่มี อยูไดโดยการ
วิเคราะหหาสามเหลี่ยมใดๆที่จุดใดที่ตองการ ซึ่งในพื้นที่ของสามเหลี่ยมนั้นจะมีความลาดชันและทิศทางความ
ลาดชัดไปทิศทางเดียวกันทั้งสิ้น ดังรูป

r
g
p2 ( x2 , y2 , H 2 )
( x , y)
r
∆i
n
ζ

p1 ( x1 , y1 , H1 ) p3 ( x3 , y3 , H 3 )

รูปภาพ 6-13 ความลาดชันและทิศทางความลาดชันของ TIN

จากรู ป สามเหลี่ ย ม จะสามารถเขี ย นสมการระนาบได จ ากการนํ า จุ ด ยอดทั้ ง สามมาคํ า นวณหา


สัมประสิทธิ์ a, b, c ดังนั้
H =a⋅ x + b⋅ y + c
สมการ 6-21
a⋅ x + b⋅ y − H + c=0
r
จากทฤษฎีทางเรขาคณิตและเวกเตอร จะไดเวกเตอร n ซึ่งตั้งฉากกับระนาบใน สมการ 6-21
r r r r
n = ai + bj − k สมการ 6-22
a
r
n= b
−1
r
สวนเวกเตอรในแนวดิ่ง g นิยามไดจาก
0 สมการ 6-23
r
g= 0
1
r r
จะไดมุมที่เวกเตอร n ทํากับ g เปน มุม ζ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-17 6.7 การประมวลผลแบบจําลอง

v r
n•g
ζ= rr สมการ 6-24
ng
r
ดังนั้น ความลาดชัน α ของระนาบสามเหลี่ยมดังกลาวเปน
α =π − ζ สมการ 6-25
r
สวน ทิศทางของความลาดชันไดจากการฉายเวกเตอร n ลงบนระนาบ x-y แลวคํานวณมุมอซิมัทดังนี้
b
κ = tan −1 ( ) สมการ 6-26
a

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-18 6.8 การควบคุมคุณภาพ

6.8 การควบคุมคุณภาพ
เมื่อทําการผลิตแบบจําลองความสูงจากการวัดจุดความสูงบนภาพจําลองสามมิติแลว จะตองมีการ
ตรวจสอบคุณภาพดวยสายตาอีกครั้ง ซึ่งจําเปนมากสําหรับการวัดดวยวิธีทาง digital photogrammetry บอย
ครั้งที่ซอฟแวรวัดจุดที่ผิดไปจากวัตถุประสงคที่ตองการวัด ไดแก จุดที่เปนขอบหรือมุมที่เปนแสงเงาของวัตถุบน
ภูมิประเทศ จุดที่ปรากฏอยูบนสวนบนของวัตถุที่มีความสูงผิดไปจากบนภูมิประเทศโดยตรงเชน ยอดตนไม หลัง
คาของบานและอาคาร จุดเหลานี้สามารถตรวจดูความถูกตองดวยสายตาเปลาและใชเครื่องมือชวย โดยเฉพาะ
การใชเครื่องชวยมองสามมิติในการมองจุดที่วาดซอนทับบนแบบจําลองระดับสูง เมื่อพบจุดที่ผิดพลาดแลวจะทํา
การลบจุดเหลานี้ทิ้งไป พรอมกันนี้จะไดมีการวัดลงไปทดแทนเสียใหม โดยที่จัดที่วัดใหมนี้จะอยูบนภูมิประเทศที่
ถูกตอง ทั้งนี้เพื่อใหระยะหางของจุดระดับไมหางกันจนเกินเกณฑที่ตั้งไว
นอกจากนั้นการใชวิธีทางสถิติมาชวยก็สามารถที่จะตรวจหาความผิดพลาดของการวัดจุดระดับได เชน
สมมุติฐานที่วาโดยทั่วไปการเปลี่ยนแปลงความสูงในภูมิประเทศอยางเฉียบพลันนั้นไมมี เชนอาจใชอัลกอริธึมใน
การประมวลผลทางสถิติพรอมกับการสังเกตคาความสูงที่มีสถิติผิดปรกติ
แบบจําลองระดับที่ไดจากการวัดในเบื้องตนจะเปนจุดระดับสูงที่กระจายทั่วภูมิประเทศ การเปลี่ยนรูป
แบบการจั ด เก็ บ แบบจํ า ลองระดั บ ในรู ป แบบอื่ น ๆ ได แ ก การสร า งเป น เส น ชั้ น ความสู ง การสร า ง
ขายสามเหลี่ยมรูปรางไมปรกติ (Triangular Irregular Network : TIN) การสร า งแบบจํ า ลองสามมิ ติ ( 3-D
modeling ) ตลอดจนการแสดงผลแบบจําลองเสมือนจริงสามมิติ (virtual reality model) ก็จะชวยตรวจสอบ
ความถูกตองของแบบจําลองระดับสูงที่วัดไดเชนกัน โดยการสังเกตุความไมสอดคลองกันของภูมิสัณฐานและรูป
รางที่ผิดปรกติดอื่นๆ เชนบริเวณที่มีเสนชั้นความสูงหนาแนนมาก บริเวณที่มีสันหรือของไมตรงกับภาพถายทาง
อากาศตามภูมิประเทศ
เมื่อไดแบบจําลองระดับจากแตละคูภาพสามมิติแลว จะตองทําการนํามาตอชนกับแบบจําลองระดับที่
อยูติดกัน ระหวางรอยตอจะตองตอกันไดสนิท แตหากมีความเหลื่อมล้ําทางดานความสูง คาแยงก็จะตองไมเกิน
เกณฑความถูกตองทางดิ่งที่กําหนดให เมื่อพิจารณาแลววาแบบจําลองทั้งสองจะสามารถตอกันได จะตองมีการ
ผนวกแบบจําลองระดับเขาเปนผืนเดียวกัน คาระดับที่เปนของจุดจุดเดียวกันจะตองทําการเฉลี่ยเขาหากัน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-19 6.8 การควบคุมคุณภาพ

6.8.1 การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment)


แนวทางหนึ่งในการประเมินคุณภาพของแบบจําลองระดับเชิงเลข คือการนําสุมเอาคาระดับบนแบบ
จําลองแลวนําไปเปรียบเทียบกับคาระดับที่รังวัดดวยความละเอียดถูกตองสูงกวา ตามมาตรฐาน USGS 1997
(http://mapping.usgs.gov/www/gi/DEM/standard_dem.html) กํ า หนดให จุ ด ที่ เด น ชั ด ในภู มิ ป ระเทศทาง
ระดับ 28 จุดกระจายอยางทั่วถึงบนแบบจําลองใชในการวิเคราะห โดยที่ 8 จุดตองเปนจุดที่อยูขอบของแบบ
จําลอง สวนอีก 20 จุด ใหเปนจุดที่อยูภายในแบบจําลอง ดังภาพ

จุดภายในแบบจําลอง จุดภายนอกแบบจําลอง
รูปภาพ 6-14 ตําแหนงของจุดตรวจสอบระดับตามมาตรฐาน USGS (1997)

เมื่อมีคาระดับทีไดจากแบบจําลอง H i และที่ไดจากการรังวัด Ĥi ที่มีความละเอียดถูกตองสูงกวาก็จะ


สามารถประเมินความละเอียดถูกตองไดจากคา Root Mean Square Error (RMSE) เมื่อใชจุดทดสอบทั้งสิ้น 28
จุด ไดดังนี้
28

∑ (H i − Hˆ i )2
สมการ 6-27
Quality = RMSE = i =1
28

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-20 6.9 การแปลงรูปแบบแบบจําลองระดับสูง

6.9 การแปลงรูปแบบแบบจําลองระดับสูง
แบบจําลองระดั บ ที่ ได จากการวัด ในเบื้ องตน จะเป น จุดระดั บ สูงที่ก ระจายทั่ วภู มิ ป ระเทศพรอ มคํ า
อรรถาธิบายสําหรับคุณลักษณะของภูมิสัณฐาน สามารถจัดเก็บลงในรูปแบบขอมูลที่เปนจุดในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตรไดทันที

6.9.1 แบบจําลองระดับชนิดขายสามเหลี่ยมรูปรางไมปรกติ (Triangular Irregular


Network: TIN)
ผลลัพธที่ไดจากการวัดบนภาพคูสามมิติและไดรับการตรวจสอบแลววาถูกตองอยูในเกณฑ ซึ่งอยูในรูป
ของจุดความสูงที่กระจายไปทั่วภูมิประเทศ แตละจุดที่ประกอบไปดวยคาพิกัดและคาระดับ พรอมกันนี้อาจจะมี
คําบรรยายแสดงสถานะสําหรับภูมิสัณฐาน (geomorphology) จะถูกแปลงเปนขายสามเหลี่ยมรูปรางไมปรกติ
(Triangular Irregular Network: TIN) ซึ่งจะยังคงความสอดคลองไดดีกับภูมิสัณ ฐานของภูมิประเทศในพื้นที่
นั้นๆ TIN สรางขึ้นโดยการกําหนดดวยของรูปสามเหลี่ยมขึ้นจายจุดมุมที่เปนจุดความสูงที่ไดจากการวัดสุมมา
ขางตน โดยที่สามเหลี่ยมที่จะประกอบเปน TIN ไดตองเปนสามเหลี่ยมมีคุณ ภาพ “ดี” โดยที่ TIN นั้นจะมีจุด
ความสูงมีตําแหนงสุมไปตามภูมิประเทศ บริเวณที่ราบก็จะมีรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ ในขณะที่ในพื้นที่สูงชันก็
จะมีสามเหลี่ยมขนาดเล็กลดลงไปเรื่อยๆ ในบริเวณที่ความสูงเปลี่ยนแปลงอยางเฉียบพลันรูปสามเหลี่ยมก็จะไม
มีการพาดผานแนวสันหรือรองเหลานั้น แตจะมีขอบดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมเปนสวนของแนวสันหรือ
รองเอง ดังนั้นการประมวลผลและจัดเก็บแบบจําลองระดับในรูปแบบของ TIN จะตองใหผลลัพธที่มีความสอด
คลองดีกับภูมิสัณฐานของภูมิประเทศใหมากที่สุด
แบบจํ า ลองระดั บ สู งในรูป ของ TIN มั ก จะถู ก จั ด เก็ บ เป น รูป แบบที่ แ ต ล ะซอฟแวรคิ ด ค น ขึ้ น มาเอง
(proprietary format ) เนื่องจากยังไมมีมาตรฐานสําหรับโครงสรางขอมูล TIN กรณี ที่ไมมีรูปแบบสําหรับ TIN
โดยเฉพาะก็อาจใชรูปแบบรูป ขอมูลเวกเตอรเชนเดียวกับขอมูลชนิดรูปหลายเหลี่ยม (polygon) พรอมกับขอมูล
ของจุดที่มีคาระดับกํากับ

6.9.2 แบบจําลองระดับชนิดเสนชั้นความสูง
TIN ที่ไดจะถูกนํามาสรางเวกเตอรของเสนชั้นความสูง เมื่อมีสมมุติฐานที่คาความถูกตองของการังวัด
คาระดับเปน 2 ถึง 5 เมตร ดังขอพิจารณากอนหนานี้ จะสามารถกําหนดใหระยะหางเสนชั้นความสูงเปน 2.5
เมตร แตอยางไรก็ตามเวกเตอรของเสนชั้นความสูงที่สรางจากซอฟแวรโดยการจํากัดระยะหางเสนชั้นความสูง
เปนคาคงที่นั้น อาจทําใหความถูกตองของภูมิสัณฐานของแบบจําลองระดับในรูปแบบของเสนชั้นความสูงเทียบ
กับภูมิประเทศจริงลดลงไปบาง แตอยางไรก็ตามเสนชั้นความสูงก็ยังมีประโยชนในแงของความคุนเคยในการ
ชวยอานและแปลความหมายภูมิประเทศบนแผนที่
แบบจําลองระดับสูงในรูปของเสนชั้นความสูงจะถูกจัดเก็บเปนขอมูลเวกเตอรเชนเดียวกับขอมูลชนิด
เสนในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรทั่วไป โดยมีคาประจําเสนชั้นความสูงกํากับอยูบนเสนชั้นความสูงแตละเสน

6.9.3 แบบจําลองระดับสูงชนิดแรสเตอร
ในอีกทางหนึ่งแบบจําลองระดับที่มีระยะหางเทาๆกันและจัดเก็บเปนแถวเปนแนวแบบแรสเตอรจะถูก
สรางขึ้นจาก TIN ดวยเชนกัน ระยะหางของแรสเตอรสามารถกําหนดไดจากระยะหางระหวางจุดที่ตองทําการ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-21 6.9 การแปลงรูปแบบแบบจําลองระดับสูง

รังวัดเพื่อใหแบบจําลองระดับสูงมีความถูกตองอยูในเกณฑที่กลาวมาแลวขางตน แตโดยสมมุติฐานที่วา โดยการ


ประมาณคาจากรูปสามเหลี่ยม โดยเชนเดียวกับเสนชั้นความสูง

6.9.3.1 การจัดเก็บคาระดับความสูงในรูปแบบแรสเตอร
การจัดเก็บความสูงในรูปแบบของราสเตอรที่จุดความสูงมีตําแหนงที่เปนระบบ มีระยะหาง
ระหวางแรสเตอรที่แนนอน ดังนั้นเราสามารถกําหนดพิกัดบนพื้นโลกของแตละจุดภาพบนราสเตอรไดเพียงแต
กําหนดคาพิกัดพื้นโลกของมุมซายบนสุดและคาพิกัดพื้นโลกของมุมซายลางสุดของแรสเตอร พรอมกับขอมูลของ
จํานวนแถวและสดมภของแรสเตอร เพียงเทานี้ก็จะสามารถคํานวณตําแหนงของจุดพิกัดโลกของแรสเตอรใดๆก็
ได ในการทําเชนนี้เรียกวา georeferecing
การจัดเก็บขอมูลแบบแรสเตอรสําหรับขอมูลแบบจําลองระดับสูงที่เปนแรสเตอร โดยเฉพาะตัวคาระดับ
กอนการจัดเก็บจะตองมีการคํานึงถึงความละเอียดถูกตองและขนาดขอมูลที่จัดเก็บ โดยขนาดของขอมูลที่จัด
เก็บควรจะจัดเก็บใหมีขนาดเล็กที่สุดและเขากันไดกับหนวยการจัดเก็บบนคอมพิวเตอร หนวยการจัดเก็บหนึ่งที่
ใชบอยก็คือ signed interger หรือ short ซึ่งมีคาอยูระหวาง –32,768 ถึง +32,767 ซึ่งใชไดดีกับภูมิประเทศที่มี
ความสูงเปนลบไดดวย
ความละเอี ย ดถู ก ต อ งของค า ระดั บ สํ า หรั บ ภู มิ ป ระเทศมั ก อยู ในเกณฑ เป น เมตร เดซิ เมตร หรื อ
เซนติเมตร มักจะเปนตัวเลขจุดทศนิยม (floating point) ซึ่งโดยตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บเปน 4 ไบตสําหรับ
ชนิด single precision หรือ 8 ไบตสําหรับ double precision ซึ่งทําใหเนื้อที่ในการจัดเก็บใหญ ขั้นกวาการจัด
เก็บดวยตัวเลขจํานวนเต็ม 2 ไบตเปน 4 เทาและ 8 เทาตามลําดับ
ในกรณีที่คาระดับเปนเลขจุดทศนิยมและตองการเปลี่ยนใหเปนตัวเลขจํานวนเต็ม หากวาเกณฑความ
ถูกตองเปน เดซิเมตร หรือ เซนติเมตร ก็สามารถใชตัวคูณ 10 หรือ 100 เปนตัวคูณกอนจัดเก็บลง และเปนตัว
หารเมื่ออานเขามาประมวลผล โดยมีสมมุติฐานที่วาตัวเลขหลังหลักเดซิเมตรหรือหลังหลักเซนติเมตรไมมีนัย
สําคัญในการจัดเก็บ
รูปแบบการจัดเก็บตองเปนรูปแบบที่เปนมาตรฐานที่เปนกลางยอมรับ โดยหากรูปแบบเปนที่ยอมรับได
สําหรับผูผลิตซอฟแวรสวนใหญการจัดเก็บคงคลังระยะยาวจะทําใหขอมูลที่มูลคาสูงมีหนทางที่จะอานออกมา
อยางถูกตองไดเสมอ จากการเลือกใชรูปแบบการจัดเก็บที่ผูผลิตซอฟแวรใหการยอมรับคือผลในทางปฏิบัติที่
ซอฟแวรสวนใหญรูจักรูปแบบการจัดเก็บตามมาตรฐาน USGS SDTS เปนอยางดีและสามารถอานหรือเขียนขอ
มู ล ในรู ป แบบ SDTS ได โ ดยตรง รู ป แบบของ USGS สํ า หรั บ แบบจํ า ลองระดั บ ได แ ก USGS/DEM หรื อ
USGS/GeoTIFF อีกรูปแบบหนึ่งที่แพรหลายในงานภูมิสารสนเทศคือ GeoTIFF ก็สามารถนํามาใชในการจัดเก็บ
เชนกัน

6.9.3.2 การจัดเก็บคาระดับความสูงในรูปแบบแรสเตอรสําหรับประเทศไทย
เมื่อพิจารณาความละเอียดถูกตองทางดิ่งที่ไดจากการใชภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1:15,000
และการวัดบนภาพที่มีความถูกตองในระดับ 10 ไมครอน จะไดวาความถูกตองทางระดับเปน 0.58 เมตร สําหรับ
จุดที่ เด น ชัน บนภู มิ ป ระเทศ ก็ อาจจะอนุ ม านไดวาการจัด เก็ บ ค าระดั บ ความสูงที่ วัดได ค วรจะจั ดก็ บ ที่ ค วาม
ละเอียดถูกตองถึง “เดซิเมตร”

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-22 6.10 การแบงขอมูลแบบจําลองระดับเปนระวางแผนที่

เมื่อพิจารณาภูมิศาสตรของประเทศไทยก็จะพบวา คาต่ําสุดของภูมิประเทศอาจอยูที่ใตทองน้ําที่มีคา
ติดลบ ในเบื้องตนนี้ใหสมมุติวาเปน –500 เมตร ในขณะที่จุดสูงสุดในประเทศคือที่ยอดดอยอินทนนทมีคาความ
สูงประมาณ 2,400 เมตร ดังนั้นคาระดับที่จัดเก็บก็จะอยูในชวง –5,000 ถึง 24,000 หนวยความสูง โดยมีตัวคูณ
10 กํากับอยู
เมื่อพิจารณาหนวยของการจัดเก็บพบวา signed integer ขนาด 16 บิทหรือ 2 ไบต ซึ่งมีชวงการจัดเก็บ
ตั้งแต –32,768 ถึง +32,767 มีความเหมาะสมที่สุด เพราะมีชวงการจัดเก็บครอบคลุมชวงหนวยความสูงที่จะ
ตองใชในการจัดเก็บคาระดับทั้งประเทศ Signed integer จะทําใหคานัยสําคัญของความถูกตองของคาระดับคง
ไวถูกรักษาไวในขณะที่ตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บนอยที่สุด
หากกําหนดใหประเทศไทยมีเนื้อที่ 515,559 ตารางกิโลเมตร จะสามารถเปรียบเทียบเนื้อที่ตองใชใน
การจัดเก็บแบบจําลองระดับที่ระยะหางของแรสเตอรตางๆ ดังนี้โดยใหคาระดับที่จัดเก็บเปนจํานวนเต็มขนาด 2
ไบต
ตัวอยาง
หากตองการใหระยะหางจุดระดับเปน 1 เมตร จะสามารถคํานวณจุดความสูงทั่วประเทศและปริมาณ
ขอมูลที่ตองจัดเก็บดังนั้
515559 × 1000 × 1000
จํานวนจุดระดับทั่วประเทศคิดเปน × 2 = 515.6 × 10 9 จุด
1× 1
หรือคิดเปน 515.6 × 1000 × 10 = 516 พันลานจุด
6

หากคิดเปนปริมาณขอมูล คิดเปน 2 × 515.5 × 10 9 =1031 × 10 9 ตอบ

ดังนั้นหากพิจารณแบบจําลองระดับสูงสําหรับประเทศไทยที่ระยะหางระหวางจุดระดับ 1, 10, 100,


และ 1000 เมตร จะไดจํานวนจุดระดับและปริมาณขอมูลแรสเตอรที่ตองจัดเก็บดังตารางนี้
ระยะหางระหวางจุดระดับ จํานวนจุดระดับ ปริมาณขอมูลแรสเตอร
1 เมตร 516 พันลานจุด 1031 GB
10 เมตร 5.2 พันลานจุด 10.3 GB
100 เมตร 51 ลานจุด 103 MB
1000 เมตร 0.515 ลานจุด 1.03 MB

6.10 การแบงขอมูลแบบจําลองระดับเปนระวางแผนที่
เมื่อสรางแบบจําลองระดับในรูปแบบตางๆแลว จะตองทําแบงขอมูลออกเปนสวนๆ เพื่อใหงายตอการ
จัดเก็บ การบํารุงรักษา การนํามาใชงานบนคอมพิวเตอร โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขีดความสามารถใน
การบรรจุขอมูลและหนวยความจําที่จํากัด ดังนั้นจึงตองทําการแบงแบบจําลองระดับออกเปนระวางแผนที่ โดย
ใหหนวยที่เล็กที่สุดของระวางมีขอบเขตภูมิศาสตรซอนทับลงพอดีกับการแบงระวางตามแผนที่ภูมิประเทศของ
กรมแผนที่ทหารชุด L7018 ซึ่งมีขนาดระวางเปนสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัสขนาดกวาง 15 ลิปดาและยาว 15 ลิปดา
สําหรับขอมูลระดับบางประเภทโดยเฉพาะขอมูลที่เปนจุดสุม หากพบวาแบงเปนระวางตามแผนที่ภูมิประเทศ
ขนาด 15 ลิปดาแลวขอมูลมีนอยเกินไป ซึ่งจะสงผลทําใหตองมีการบริหารการจัดเก็บแฟมขอมูลเปนจํานวนมาก

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-23 6.11 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับสูง

ก็อาจพิจารณาใหขนาดระวางมีขนาดใหญ ขึ้นเปนจํานวนเทาของ 15 ลิปดาหรือจํานวนเทาของระวางแผนที่


มาตราสวน 1:50,000 ไดตามความเหมาะสม

6.11 รูปแบบการจัดเก็บแบบจําลองระดับสูง
สําหรับรูปแบบในการจัดเก็บนั้นใหใชรูปแบบในการจัดเก็บที่เปนมาตราฐานที่เปนกลางยอม
รับไดสําหรับผูผลิตซอฟแวรสวนใหญ มาตรฐานหนึ่งที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวางคือ Spatial Transfer
Data Standard : STDS ซึ่ ง เป น รู ป แบบกลางที่ ห น ว ยงานทํ า แผนที่ ข องสหรัฐ อเมริ ก า the U.S. Geological
Survey แ ล ะ Federal Geodetic Data Committee (FGDC) ต ล อ ด จ น อ งค ม าต รฐ าน ส าก ล (ISO) โด ย
Technical Committee TC211 ส งเสริม ให ใช โดยที่ โฮมเพจของ U.S. Geological Survey จะมี เอกสาร คู มื อ
ซอฟแวรไลบรารี พรอมซอฟแวรเพื่อใชในการเขาถึงขอมูล อยางครบถวน
รูปแบบการจัดเก็บ SDTS ถูกออกแบบมาใหเปนรูปแบบสําหรับจัดเก็บขอมูล GIS ทุกรูปแบบไดแก
point, line polygon raster พรอม attribute ดวยเหตุนี้ในการจัดเก็บคงคลังระยะยาวจะทําใหขอมูลที่มูลคาสูงมี
หนทางที่จะอานออกมาอยางถูกตองไดเสมอ จากการเลือกใชรูปแบบการจัดเก็บที่ผูผลิตซอฟแวรใหการยอมรับ
คือผลในทางปฏิบัติที่ซอฟแวรสวนใหญ รูจักรูปแบบการจัดเก็บตามมาตรฐาน USGS SDTS เปนอยางดีและ
สามารถอานหรือเขียนขอมูลในรูปแบบ SDTS ไดโดยตรง ตัวอยางของซอฟแวรที่สามารถอานขอมูลปริภูมิในรูป
แบบนี้ที่สําคัญไดแก AutoCAD, Intergraph MGE, GeoMedia, ArcView, Arc/Info, Mapinfo, ERDAS, ENVI
เมื่อมีการจัดเก็บในรูปแบบมาตรฐานที่แพรหลายตามแบบ USGS แลวยังสามารถที่จะใช Software
dlgv32 : Software for viewing USGS digital cartographic data ซี่งใชไดกับ Window 95/NT เปนซอฟแวรที่
ใช เรีย กดู USGS Digital Line Graphi Optional (DLG-O), Digital Raster Graphic (DRG) data และ Spatial
Data Transfer Standard (SDTS)
ดังนั้นผลิตผลจากการสรางแบบจําลองระดับและรูปแบบการจัดเก็บเปนดังนี้

ผลิตผลแบบจําลองระดับ ชนิดของขอมูล รูปแบบการจัดเก็บ


แบบจําลองระดับชนิดเปนจุดสุม จุดสุมพรอมคาระดับและคํา USGS SDTS with Vector Profile
ที่มีระยะหางบนภูมิประเทศไม อรรถธิบายสําหรับภูมิสัณฐาน
เกินมาตรฐานในการทําแผนที่
ภูมิประเทศ
ขายสามเหลี่ยมรูปรางไมปรกติ เวกเตอรของรูปหลายเหลี่ยม USGS SDTS with Vector Profile
(TIN) ทีมีคุณภาพ “ดี” ไดจาก
การสรางความสัมพันธจากแบบ
จําลองระดับชนิดเปนจุดสุม
เสนชั้นความสูง เวกเตอรพรอมอรรถาธิบายของ USGS SDTS with Vector Profile
คาเสนชั้นความสูง
แรสเตอรของระดับทุกระยะหาง แรสเตอร USGS SDTS DEM หรือ SDTS GeoTIFF
ที่เทาๆกัน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-24 6.12 แบบจําลองระดับที่มีอยูในอินเตอรเนต

6.12 แบบจําลองระดับที่มีอยูในอินเตอรเนต
อันเนื่องมากระแสโลกาภิวัฒนทําใหเกิดการติดตอคมนาคม เกิดกระแสสังคมและเศรษฐกิจเชื่อมตอ
โยงใยไปทั่วทุกมุมโลก ทําใหมีหนวยงาน หรือองคกรที่มีความตองการในการวิเคราะหขอมูลภูมิศาสตรในระดับ
โลก ในโลกของอินเตอรเนตจึงมีขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรใหใชเปลาอยูจํานวนหนึ่ง
ในจํานวนนั้นก็คือแบบจําลองระดับในระดับความละเอียดตางๆดังในตารางนี้
ชื่ อ แบบ จํ า ลอง ผูผลิต ความละเอียดจุด ความละเอียดถูกตอง พื้นที่ครอบคลุม
ระดับ ภาพ ทางดิ่ง
ETOPO5 USGS 5 arc minutes ทั่วโลก รวมถึงความ
พื้นน้ํา
TERRAIN BASE NGDC 5 arc minutes ทั่วโลก รวมถึงความ
พื้นน้ํา
GTOPO30 USGS et.al. 30 arc seconds เฉพาะแผนดิน

GLOBE CEOS 30 arc seconds ±300 เมตร (vary) ทั่วโลก รวมถึงความ


พื้นน้ํา
SRTM (C-Band) NASA/JPL/NIMA 30 เมตร (US) ±5-15 เมตร 80% ของแผนดิน
90 เมตร (World)
SRTM (X-Band) NASA/JPL/DLR/ASI 12.5 เมตร ±1-10 เมตร เ ป น แ ถ บ ๆ ไ ม
สมบูรณ
ตัวอยางของแบบจําลองระดับสําหรับประเทศไทยและภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใด จากชุดขอมูล
GLOBE (the Global Land One-km Base Elevation (GLOBE) Project) โ ด ย the Committee on Earth
Observation Satellites (CEOS) ที่มีความละเอียดจุดภาพ 5 arc minutes หรือ ประมาณ 1 กิโลเมตร แสดงได
ดังภาพ

ก) แสดงคาระดับดวยระดับสี ข) แสดงคาระดับดวยระดับสีเทา
รูปภาพ 6-15 แบบจําลองระดับชุดขอมูล GLOBE

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


6-25 6.13 คําถามทายบท

6.13 คําถามทายบท
!ตองการสรางแบบจําลองระดับของเกาะแหงหนึ่ง ใหมีแบบจําลองระดับแบบแรสเตอร โดยจากการตรวจสอบ
ในแผนที่เดิมเพื่อวางแผนพบวา คาระดับมีชวงตั้งแต –15 เมตร จนถึง 500 เมตร เกาะมีอาณาบริเวณจากตะวัน
ตกไปตะวันออก 22 กิโลเมตร และจากใตไปเหนือ 48 กิโลเมตร
1. หากวาตองการจัดเก็บดวยความละเอียดของคาความสูงเปนจํานวนเต็มของเมตร ควรใช Data Type อะไร
จึงจะเหมาะสม
2. จากขอขางตน ทานเลือก DataType ดังกลาวเพราะเหตุใด
3. ชวงของการจัดเก็บดวย DataType ดังกลาวเปนอยางไร
4. หากใช Ground sample distance (GSD) ที่ 2 เมตร จะมีจุดความสูงทั่วทั้งพื้นที่กวางยาวกี่จุดภาพ และ
คิดเปนทั้งหมดกี่จุดภาพ
5. ขอมูลแบบจําลองความสูงดังกลาวคิดเปนกี่เมกกะไบต หากบรรจุแบบจําลองความสูงไว บน CD-ROM จะ
ตองใชอยางนอยกี่แผน ( ให CD-ROM หนึ่งแผนจุได 600 Mb)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7 การประมวลผลภาพ (Digital Image Processing)
การประมวลผลภาพคือการเปลี่ยนแปลงนําเขาภาพเขาสูคอมพิวเตอรดวยอาศัยเครื่องมืออิเล็กทรอนิคส
การนําผลจากการประมวลผลภาพดิจิทัลสามารถนําไปใชไดในสองแนวทางคือ ในทางหนึ่งเพื่อปรับปรุงขอมูล
ภาพสําหรับ ใหมนุ ษ ยแปลความหมายที่ ดีขึ้น หรืออีกแนวทางหนึ่งก็เพื่ อทําใหการรับ รูม องเห็ นของสมองกล
(machine perception) ดีขึ้นและเปนอัตโนมัติ

7.1 กระบวนการดิจิไตซ
กระบวนการดิจิไตซภาพเปนกระบวนทางกายภาพที่ทําการบันทึกอนุภาคแสงดวยอุปกรณอิเล็กทรอ
นิคส กรณีที่เปนภาพที่บันทึกไดจากธรรมชาติลงสูตัวรับรู (sensor) โดยตรง ตัวตรวจจับเปนอุปกรณทําหนาที่
เปลี่ยนความแรงของคลื่นแมเหล็กไฟฟาใหเปนสัญญาไฟฟาเพื่อเปลี่ยนใหเปนสัญญาณไฟฟาซึ่งในตอนแรกจะ
เป น สั ญ ญาณที่ ต อ เนื่ อ ง (analog) ด ว ยกระบวนการควอนไตซ (quantize) และการสุ ม เก็ บ (resampling) ที่
คอมพิวเตอรสามารถนําไปประมวลผลได

แหลงกําเนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา

รังสี อุปกรรวมแสง

ตัวรับรู
วัตถุ
รูปภาพ 7-1 แบบจําลองการบันทีกภาพดิจิทัล
ตัวอยางในทางปฏิบัติที่สอดคลองกับแบบจําลองขางตนนี้ไดแก การใชกลองดิจิทัลบันทึกภาพ โดยที่
แหลงกําเนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาคือดวงอาทิตย แสงอาทิตยสะทอนวัตถุแลวผานเลนสกลองตกลงไปบนระนาบ
ตัวรับรู ตัวรับรูเปนอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสที่ไวตอแสงที่เรียกวา Charge-Couple Device (CCD) ตัวอยางของ
แบบจํ า ลองการบั น ทึ ก ภาพดิ จิ ทั ล ที่ เห็ น ได ชั ด ที่ สุ ด ได แ ก การที่ ก ล อ งถ า ยภาพดิ จิ ทั ล ต อ เชื่ อ มคอมพิ ว เตอร
อิเล็กทรอนิกสทําการดิจิไตซภาพแลวบันทึกลงในหนวยความจํา

7.1.1 การควอนไตซ (Quantization) และการสุมเก็บ (Resamping)


การควอนไตซคือการแบงระดับสัญญาณที่บันทึกไดใหเปนขั้นแลวทําการจัดเก็บ สวนการสุมเก็บหมาย
ถึงการแบงสัญญาณที่ตกลงบนระนาบของเซนเซอรใหเปนสวนๆ โดยทั่วไประนาบของเซนเซอรประกอบดวย
เซลลเล็กเปนแถวเปนสดมภอยางเปนระเบียบ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-2 7.1 กระบวนการดิจิไตซ

ในภาพขางลางนี้แสดงกระบวนการควอนไตซ (quantize) และการสุมเก็บ(resampling)

ระดับความแรงสัญญาณในการควอนไตซ ระดับสัญญาณจริง
ระดับสัญญาณที่บันทึก
3
2
1
ระยะทางบนตัวรับรู
0
หนึ่งหนวยระยะทางของสุมเก็บ
รูปภาพ 7-2 แบบจําลองการบันทึกภาพดิจิทัล

โดยสมมติใหเปนภาพตัดขวางของสัญ ญาณที่ตกบนระนาบรับภาพของตัวตรวจจับ การควอนไตซ


กําหนดใหเปน 4 ระดับจาก 0 ถึง 3 และใหระยะทางของการสุมเก็บ เปนไปตามขนาดในรูป จะเห็น วาระดับ
สัญญาณที่ควรจะบันทึกลงในคอมพิวเตอรคือที่จุดมีสัญญลักษณรูป ∆ แตเมื่อกําหนดความละเอียดของการ
ควอนไตซและระยะทางการสุมเก็บดังกลาวทําใหบันทึกระดับสัญญาณไดเฉพาะตําแหนงที่มีสัญญลักษณ Ο
(วงกลม) ในการนี้จะมีความไมเที่ยงตรงของสัญญาณที่บันทึกไดและเมื่อนําไปประมวลผลตอก็จะมีความเคลื่อน
เกิดขึ้น
หากตองการใหสัญญาณที่จะบันทึกมีความเที่ยงตรงเหมือนตนฉบับมากขึ้น ก็สามารถทําไดโดยการ
เพิ่มระดับของการควอนไตซหรือเพิ่มความละเอียดของการสุมเก็บหรือทําทั้งสองอยางพรอมกัน แตขอจํากัดใน
การดังกลาวก็คือ จะทําใหไดขอมูลปริมาณมาก ขอจํากัดของเทคโนโลยีในการสรางเซนเซอรดังกลาว ดังนั้นการ
เพิ่มระดับของการควอนไตซและเพิ่มความละเอียดของการสุมเก็บตองมีการเลือกใชใหเหมาะสมตามสถาน
การณที่เอื้ออํานวย

7.1.2 การแสดงภาพ (Picture Representation)


เมื่อตัวรับรูทําการสุมเก็บและควอนไตซ โดยทั่วไปคาสัญญาณที่ไดจะเปลี่ยนเปนรหัสที่คอมพิวเตอรเขา
ใจได ภาพที่ไดจะจัดเก็บเปนระบบเปนแถวและสดมภ ดังนั้นอาจพิจารณาภาพดิจิทัลเปนฟงกชันของสองตัวแปร
ที่มีคาของฟงกชันเปนคารหัสของสัญญาณไฟฟาที่บันทึกได ตําแหนงใดบนภาพสามารถระบุดวยตัวแปรทั้งสอง

(0,0) j

i DN

(i,j)

รูปภาพ 7-3 การแสดงภาพดิจิทัลและการอางอิง


การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท
7-3 7.1 กระบวนการดิจิไตซ

ภาพดิจิตอลมักจะใหระบบพิกัดเปนระบบพิกัดฉากที่อางอิงโดยแถว (Row) และ สดมภ (Column) ตําแหนงบน


ซายสุดของภาพกําหนดการอางอิงไดเปนตําแหนงเริ่มตนคือ (0,0) คาพิกัดทางดานสดมภเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆทาง
ขวามือ ในขณะเดียวกันตําแหนงที่อยูใตลงมาจากตําแหนงเริ่มตนเปนพิกัดทางดานแถว ซึ่งจะเห็นวาระบบพิกัด
ภาพดิจิทัลเปนระบบพิกัดมือขวา ที่มีแกนดานสดมภสอดคลองกับแกน x ระบบพิกัดฉากในทางคณิตศาสตร แต
พิกัดในอีกแกนหนึ่งคือแกน y จะกลับกับแกนดานแถวของภาพดิจิทัล ดังปรากฏในภาพ

7.1.3 ความละเอียดของจุดภาพทางเรขาคณิต
ขนาดจุ ด ภาพที่ มี ก ารสุ ม สั ญ ญาณขึ้ น มาเพื่ อ ทํ า การจั ด เก็ บ จะเป น ความละเอี ย ดของจุ ด ภาพทาง
เรขาคณิ ต ยิ่ งมี ก ารสุ ม สั ญ ญาณที่ ระยะที่ ห างน อ ยยิ่ งจะมี ค วามละเอีย ดและมี ค วามเที่ ย งตรงในการแปลง
สัญญาณมาก
ในภาพขางลางเปนการเปรียบเทียบภาพถายดัดแกออโทใหกําเนิดที่ความละเอียด 1,2,4 และ 8 เมตร
ตามลําดับ

ก) ความละเอียดจุดภาพ 1 เมตร ข) ความละเอียดจุดภาพ 2 เมตร

ค) ความละเอียดจุดภาพ 6 เมตร ง) ความละเอียดจุดภาพ 8 เมตร


รูปภาพ 7-4 ความละเอียดของจุดภาพกับการสามารถในการตรวจจับวัตถุ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-4 7.1 กระบวนการดิจิไตซ

7.1.4 ความละเอียดของจุดภาพทางเรดิโอเมตรี
ความละเอียดของจุดภาพทางเรดิโดมิตรี เกี่ยวของกับปริมาณของมูลที่จัดเก็บในแตละจุดภาพวาบันทึก
มา หรือจัดเก็บดวยปริมาณมากนอยเพียงใด
ในภาพขางลางเปนการเปรียบเทียบภาพถายขาวดําเดิม 8 บิทหรือ 256 ระดับสีเทา ทําการควอนไตส
ความลึกเรดิโอเมตรีใหเหลือ 64, 16, 4 และ 2 ระดับตามลําดับ ดังแสดงในภาพ ก) ถึง จ)ตามลําดับ สวนภาพ
ฉ) เป น ควอนไตซ ให เหลื อ เพี ย ง 1 บิ ท เช น เดี ย วกั บ ภาพ จ) แต ใช เทคนิ ค การดิ ท เทอรริง (dithering) ช ว ย ก็
สามารถที่จะคงไวซึ่งขอมูลบางสวน

ก) ความลึกของเรดิโอเมตรี 8 บิท (256 ระดับ) ข) ความลึกของเรดิโอเมตรี 6 บิท (64 ระดับ)

ค) ความลึกของเรดิโอเมตรี 4 บิท (16 ระดับ) ง) ความลึกของเรดิโอเมตรี 2 บิท (4 ระดับ)

จ) ความลึกของเรดิโอเมตรี 1 บิท (2 ระดับ) ฉ) ความลึกของเรดิโอเมตรี 1 บิท (2 ระดับ)


ควอนไตซดวยดิทเทอรริงเทคนิค
รูปภาพ 7-5 ความละเอียดของจุดภาพกับการสามารถในการตรวจจับวัตถุ
จะเห็นไดวายิ่งมีจํานวนความลึกทางเรดิโอเมตรีมากขอมูลภาพจะถูกรักษาไวใกลเคียงกับภาพตนฉบับ
แตการมีจํานวนระดับความลึกมากจะทําใหปริมาณเนื้อที่ในการจัดเก็บขอมูลมากขึ้นไปดวย

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-5 7.2 ชนิดของภาพดิจิทัล

7.2 ชนิดของภาพดิจิทัล
การบันทึกภาพโดยทั่วไปเรามักจะหมายถึงการที่เราบันทึกภาพในธรรมชาติซึ่งสวนใหญตนกําเนิดของ
พลังงานที่สะทอนจากวัตถุมาสูตัวรับรูคือแสงอาทิตย ความสามารถของตัวรับรูจะทําใหไดภาพดิจิทัลที่มีคุณ
ลักษณะที่แตกตางกัน ภาพดิจิทัลหากแบงเปนชนิดตามระดับและชวงความถี่ของแมเหล็กไฟฟาที่รับรูไดมีดังนี้

7.2.1 ภาพสองระดับสี (Bi-level Image)


ภาพสองระดับสีคือภาพที่แตละจุดภาพมีคาระดับการควอนไตซสัญญาณเพียงสองระดับ ซึ่งโดยทั่วไป
คาระดับสัญญาณสองระดับจะแทนดวยคา “0” หรือ “1” ที่สามารถจัดเก็บไดอยางประหยัดในหนวยความจํา
คอมพิวเตอรดวยขอมูลชนิด “บิท” ดังนั้นเมื่อจัดเก็บแบบอัดแนน หนวยความจําหนึ่งไบตจะใชบันทึกรหัสของจุด
ภาพได 8 จุดภาพ

รูปภาพ 7-6 ภาพสองระดับสี

ในอีกแนวคิดหนึ่ง เนื่องจากหนวยความจําระดับไบตสามารถจัดการบริหารไดงาย ในบางซอฟแวรจึง


นิยมที่จะเขารหัสของสัญญาณสองระดับดวย คา “0” หรือ “255” ซึ่งทําใหหนวยความจําหนึ่งไบตสามารถบันทึก
รหัสสีจุดภาพไดหนึ่งจุดภาพ
ภาพสีสองระดับสวนใหญไมไดจากการบันทึกจากธรรมชาติโดยตรง ภาพสีสองระดับมักไดจากการ
ประมวลผลภาพในขั้นกลาง เพื่อนําไปประมวลผลตอ ตัวอยางหนึ่งของภาพสีสองระดับไดแกภาพของเสนชั้น
ความสูง ที่ไดจากกระบวนการทําใหเปนสอง (Binarization)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-6 7.2 ชนิดของภาพดิจิทัล

7.2.2 ภาพระดับสีเทา (Grey-level Image)


ภาพระดับสีเทาคือภาพที่แตละจุดภาพมีคาระดับสัญญาณที่ไดจากการควอนไตซตามระดับความแรง
ของสัญญาณ ในการแสดงผลมักจะใหคาระดับสัญญาณแทนดวยระดับของสีเทา โดยมักจะยึดในหลักการวา
เมื่อระดับความแรงสัญญาณคอยก็จะแสดงดวยสีเทาออน เมื่อสัญญาณแรงขึ้นก็จะแสดงดวยสีเทาที่สวางขึ้น
โดยที่สัญญาณที่เบาที่สุดจะใหเปน 0 และสัญญาณที่แรงที่สุดจะใหรหัสเปน 255 ซึ่งระดับของสัญญาณจะมีทั้ง

รูปภาพ 7-7 ตัวอยางภาพระดับสีเทา


สิ้น 256 ระดับ ระดับสัญญาณ 256 สามารถจัดเก็บในหนวยความจําไดอยางเหมาะสมและสามารถใชในการ
ประมวลไดอยางมีประสิทธิภาพ การที่มีระดับสัญญาณเปน 256 ระดับที่สามารถแทนดวยหนวยความจําขนาด
8 บิท อาจเรียกไดวามีภาพมีความลึกเรดิโอเมตริก (Radiometric Depth ) เปน 8 บิท ซึ่งเปนคุณลักษณะของ
ภาพระดับสีเทาสวนใหญ เมื่อไมไดระบุเปนอยางอื่นภาพระดับสีเทามักจะหมายถึงภาพระดับสีเทาที่มีความลึก
เรดิโอเมตริก 8 บิท
ในปจจุบัน การควอนไซตระดับสัญญาณ 256 ระดับดูเหมือนวาจะนอยเกินไป โดยเฉพาะเหตุผลของ
ความตองในการบันทึกภาพในงานสํารวจรับรูระยะไกลเพื่อการสํารวจทรัพยากร ขีดความสามารถของตัวรับรูที่
เพิ่มขึ้น ความสามารถในการคํานวณและจัดเก็บมีมากขึ้น นอกจากนี้ความตองการในการแปลภาพและการ
ประมวลผลที่ซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหมีการบันทึกภาพระดับสีเทามากกวา 256 ระดับ โดยการเพิ่มจํานวนบิท
ของการควอนไตซและการจัดเก็บในหนวยความจําคอมพิวเตอร ดังจะเห็นไดจากในตารางนี้
ความลึกเรดิโอเมตริก ระดับสัญญาณ
(Radiometric Depth ) บิท
8 256
9 512
10 1024
11 2048
12 4096
ตาราง 7-1 ความลึกเรดิโอเมตริกและระดับสัญญาณที่สามารถเขารหัสได

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-7 7.2 ชนิดของภาพดิจิทัล

7.2.3 ภาพสีจริง (True-Color Image)


ภาพสีจริงหมายถึงภาพที่มีจุดภาพแตละจุดภาพแสดงสีดวยรหัสที่สามารถแทนสีที่ใกลเคียงกับสีที่
ควอนไตซไดไกลเคียงที่สุด ในแตละจุดภาพจากภาพสีจริงจะแทนดวยรหัสสีที่เปนองคประกอบสีพื้นฐานทั้งสาม
คือสีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน ที่เรียกใหสั้นและยอๆวา RGB โดยที่แตละองคประกอบสีจะทําการควอนไตซ 256
ระดับที่มีคาตั้งแต 0 จนถึง 255 จากการผนวกระดับ 256 ระดับสีของสีองคประกอบพื้นฐานทําใหไดสีตางๆ
16,777,216 ระดับ เมื่อนับจํานวนบิทของแตละจุดภาพจะไดเปน 24 บิท ดังนั้นจึงเรียกภาพสีชนิดนี้อีกชื่อหนึ่ง
วา ภาพสี 24 บิท จํานวนสี 16,777,216 ระดับที่สามารถเขารหัสไดดวย 24 บิทหรือ 3 ไบตถือไดวาสามารถแทน
สีตางๆในธรรมชาติเทาที่ตามนุษยจะสามารถแยกแยะไดทั้งหมด

255,255,224 64,216,223

255,152,143

รูปภาพ 7-8 ภาพสีจริงและการเขารหัสจุดภาพ

ในทางปฏิบัติการควอนไตซและการจัดเก็บสีแตละจุดภาพจะแทนดวยรหัสแตละองคประกอบสีดวย
หนึ่งไบต ดังนั้นจุดภาพสีแตละจุดภาพจะประกอบดวยขอมูล 3 ไบตขององคประกอบสีพื้นฐานทั้งสามสี

7.2.4 ภาพสีดัชนี (Index-Color Image)


ภาพสีดัชนีคือภาพสีที่แตสีในแตละจุดภาพจะแทนดวยดัชนีสี ดัชนีสีสามารถคนคืนรหัสสีจาก “ถาดสี (
Color Palette ) ” Color Palette คือตารางแสดงความสัมพันธที่บอกถึงดัชนีสีและรหัสของสีที่เปนสีองคประกอบ
ทั้งสาม
ดัชนี สีแดง สีเขียว สีน้ําเงิน
0 255 0 0
1 0 255 0
2 0 0 255
3 255 128 128
… … … …
ตาราง 7-2 ตัวอยางถาดสี (Color Pallette)

เนื่องจากการที่จํานวนสี 16,777,216 สีที่เกิดจากความเป นไปไดของการสลับเปลี่ยนรหัส 24 บิ ทมี


จํานวนมาก ในการประยุก ต ใชงานสํ าหรับ บางวัต ถุป ระสงค ที่ ต องการคุ ณ ภาพไม สู งนั ก และต องการความ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-8 7.2 ชนิดของภาพดิจิทัล

ประหยัดในการจัดเก็บ มักจะทําการลดจํานวนสีใหนอยลงโดยมีหลักการที่วาสายตาสามารถแยกแยะสีไดจํากัด
ที่ระดับหนึ่ง และจํานวนบิทที่ใชเขารหัสสําหรับแตละจุดภาพก็จะมีจํานวนนอยกวา 24 บิทมากเชน 8 บิท
ในตารางขางลางแสดงจํานวนดัชนีสีที่มีไดสูงสุดสําหรับแตละความกวางของบิทสําหรับดัชนีสี
ความกวางของบิท จํานวนสีที่มีได
สําหรับดัชนีสี (บิท)
8 256
12 4096
15 32768
16 65536
18 262144
ตาราง 7-3 ตัวอยางแสดงความกวางของบิทสําหรับดัชนีและจํานวนสีที่มีได

ในภาพถัดไปแสดงคุณภาพของภาพสีดัชนีเทียบกับภาพสีจริง โดยมีภาพ ก) เปนภาพชนิด 8


บิทกับภาพสีจริง 24 บิทที่ไดจากกระบวนการควอนไตซลดจํานวนสีจริงใหเหลือเพียง 256 ระดับ สวนภาพ ข) ทํา
การควอนไตซสีเหลือเพียง 64 สี ในภาพ ค) เหลือสีเพียง 16 สี และในภาพ ง) เหลือเพียง 8 สี ซึ่งจะเห็นไดวา
“ความเสมือนจริง” ลดลงไปเรื่อยๆตามจํานวนสีที่เหลืออยู

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-9 7.3 แหลงที่มาของภาพดิจิทัล

ก) ภาพสีจริงดั้งเดิม 16 ลานสี (24บิท) ข) ควอนไตซเหลือ 256 สี (8 บิท)

ค) ควอนไตซเหลือ 16 สี (4 บิท) ง) ควอนไตซเหลือ 8 สี (3 บิท)


รูปภาพ 7-9 เปรียบเทียบภาพสีจริงที่ทําการควอนไตซลดจํานวนสีลง

7.3 แหลงที่มาของภาพดิจิทัล
ในการรังวัดดวยภาพและการประมวลผลภาพเพื่อการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ อาจแบงชนิดของภาพ
ดิจิทัลตามลักษณะวิธีที่ไดมาดังนี้

7.3.1 ภาพถายทางอากาศ
ภาพถ า ยทางอากาศมั ก ได จ ากการสแกนโดยใช ส แกนเนอรที่ มี ค วามละเอี ย ดถู ก ต อ งสู ง (Precise
Photogrammetric Scanner) ผลลัพธที่ไดจากสแกนเนอรจะมีทั้งภาพที่เปนภาพระดับสีเทาและภาพสี เนื่องจาก
ปจจุบันกลองถายภาพทางอากาศชนิดเปนดิจิทัลยังไมแพรหลาย ภาพถายทางอากาศที่เปนดิจิทัลยังตองไดจาก
การสแกนภาพ
ความละเอียดในการสแกนภาพถายทางอากาศขึ้นอยูกับ ความสามารถในการบันทึกรายละเอียดของ
ภาพถายทางอากาศ ขีดความสามารถในการประมวลผลภาพ และวัตถุประสงคเปนสําคัญ โดยทั่วไปจะทําการ
สแกนภาพถายสําหรับงานรังวัดดวยภาพที่ความละเอียด 10 ถึง 30 ไมครอน

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-10 7.3 แหลงที่มาของภาพดิจิทัล

เนื่องจากแตละจุดภาพบนภาพถายทางอากาศเกิดจากการที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่อยูในรูปแสงสวาง
จากดวงอาทิตยตกกระทบวัตถุแลวสะทอนไปสูฟลมบันทึกภาพ ทําใหเรียกคารหัสสีของแตละจุดภาพวาเปน
ความสวางจุดภาพ (Pixel Brightness) หรือคาของจุดภาพ (Pixel Value) ก็เรียก

7.3.2 ภาพถายดิจิทัลจากการสํารวจระยะไกล
ในทางการสํารวจระยะไกลซึ่งเปนการบันทึกคาการตอบสนองของคลื่นแมเหล็กไฟฟาสะทอนจากวัตถุ
บนพื้ นผิวโลกมายังตัวตรวจจับ คาที่วัดไดเมื่อมี การปรับแกที่ถูกตอง จะไดคาทางกายภาพของวัตถุภ าพใต
สภาวะขณะที่บันทึกภาพ ตัวตรวจจับจะถูกออกแบบใหรับรูความถี่ในยานตางๆเพื่อใชในการจําแนก แตเพื่อ
ความสะดวกในทางเทคนิค ผลลัพธที่ไดจากการสํารวจโลกในทางสํารวจระยะไกลจะเปนลักษณะเปน array ที่
เปนการจัดเรียงเปนแถวเปนแนวอยางเปนระบบ สอดคลองกับตําแหนงของผืนแผนดิน (ground pad) บนพื้นผิว
โลก ซึ่งรูจักกันโดยทั่วไปวา “ขอมูลภาพดาวเทียม” โดยที่แตละจุดภาพจะมีคาของการตอบสนองคลื่นแมเหล็กไฟ
ฟาในหนวยที่เรียกวา Digital Number หรือ DN

7.3.3 ภาพดิจิทัลที่ไดจากกลองถายภาพดิจิทัล
ภาพถายที่ไดจากกลองถายภาพดิจิทัลเปนภาพที่สามารถพบไดบอย เนื่องจากความแพรหลายของกลอง
ดิจิทัลที่มีขายในทองตลาดอยูทั่วๆไป ภาพดิจิทัลเกิดจากตัวรับรู ชนิด Charge Couple Device (CCD) บันทึก
คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เดินทางจากวัตถุผานเลนสรวมแสง ตกกระทบระนาบรับภาพ แลวถูกบันทึกลงในหนวย
ความจําคอมพิวเตอร
แมวากลองถายภาพโดยทั่วไปไมไดออกแบบมาเพื่อใหใชในการรังวัด แตดวยกรรมวิธีทางคณิตศาสตร
และหลักการรังวัดดวยภาพ จะสามารถวิเคราะหหาพารามิเตอรขององคประกอบการจัดภาพภายในกลองได แม
วาองคประกอบการจัดภาพภายในของกลองเหลานี้จะไมสูงมากนัก แตก็สามารถนําผลที่ไดไปประยุกตใชได
หลายประการ ความละเอียดถูกตองที่ไดจากกลองเหลานี้อยูในเกณฑ 1:5,000 ถึง 1:30,000

7.3.4 ภาพดิจิทัลที่ไดจากการสแกน
ภาพดิจิทัลที่ไดจากการสแกน หมายถึงภาพดิจิทัลที่ไดจากสแกนเนอรที่เปนอุปกรณทําหนาที่อานภาพใน
รูปของฮารดกอปป ( Hard-copy )

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-11 7.4 สแกนเนอร

7.4 สแกนเนอร
สแกนเนอรเปนอุปกรณสําหรับเปลี่ยนภาพบนวัสดุหรือสิ่งพิมพใหเปนรูปแบบดิจิทัลที่สามารถนําไปจัด
เก็บในคอมพิวเตอรและอานออกมาเพื่อการประมวลผลได การจัดเก็บภาพในรูปแบบดิจิทัลทําใหเกิดแนวความ
คิดในการใชงาน การจัดเก็บ การใหบริการที่สดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
สแกนเนอรสําหรับการใชงานโดยทั่วไปและที่พบบอยอาจแบงเปนกลุมได 3 กลุมตามวัตถุประสงค ดัง
นี้

7.4.1 สแกนเนอรสําหรับงานสิ่งพิมพ
สแกนเนอรสํ าหรับ งานสิ่ งพิ ม พ (Destop Publishing Scanner หรือ DTP Scanner) เป น สแกนเนอรที่
แพรหลายมากที่สุด เพราะราคาถูก ซื้อหาไดในตลาดทั่วไป สแกนเนอรนอกจากจะใชงานในกิจกรรมสิ่งพิมพแลว
ในงานอดิเรกและงานสํานักงานทั่วๆไป ก็สามารถนํามาใชในการเปลี่ยนเอกสารที่อยูในรูปฮารดกอปปใหเปน
ภาพดิจิทัล ที่สามารถนะเขาในคอมพิวเตอรเพื่อไปใชกับ Word Processor หรืองานสรางเวปไซต การทํารายงาน
เอกสารตางๆ
สแกนเนอรประเภทนี้มักจะมีขนาดเล็กขนาดเทากับกระดาษขนาดมาตรฐาน A4 คุณภาพแตกตางกันไป
ตามราคา มีราคาตั้งแตหลายพันบาทไปจนถึงหมื่นบาท ความถูกตองทางดานเรขาคณิตมักจะไมมีการพิจารณา
มากนัก สวนใหญผูใชสนใจคอนขางมากกับความเที่ยงตรงของสี หรือบางครั้งมีความสนใจที่ความสดใสของสี
ความละเอียดในการสแกนจะอยูระหวาง 150 ถึง 300 dpi (Dot per Inch)

7.4.2 สแกนเนอรสําหรับงานแผนที่และคอมพิวเตอรชวยเขียนแบบ
สแกนเนอรสําหรับงานแผนที่และคอมพิวเตอรชวยเขียนแบบ เปนสแกนเนอรที่มีขนาดใหญที่สามารถ
สแกนตนฉบับขนาด A3-A0 มีความละเอียดถูกตองในระดับที่ใชงานดานชวยเขียนแบบได นอกจากนั้นมักจะ
ออกแบบใหใชกับงานสแกนแผนที่ได ความละเอียดถูกตองดานตําแหนงจึงเปนเรื่องที่สําคัญเนื่องจาก ภาพดิจิ
ทัลที่ไดจะตองถูกวัดบนภาพภายหลัง โดยทั่วไปสแกนเนอรประเภทนี้จะมีความสามารถในการสแกนดวยความ
ละเอียด 300-700 dpi
เนื่องจากเปนสแกนเนอรขนาดใหญ เพื่อใหประหยัดเนื้อที่ในสํานักงาน จึงมักจะมีโครงสรางเปนชนิด
Drum Type

7.4.3 สแกนเนอรสําหรับงานรังวัดดวยภาพ
สแกนเนอรสําหรับงานรังวัดดวยภาพเปนสแกนเนอรที่มีความละเอียดถูกตองสูง สแกนเนอรถูกออกแบ
มาใหเพื่อใชงานกับการรังวัดดวยภาพโดยเฉพาะ ดังนั้นสแกนเนอรจะมีความเที่ยงตรงดานตําแหนงในระดับ
ไมครอน มีความสามารถในการสแกนดวยความละเอียดตั้งแต 7 ถึง 30 ไมครอน สแกนเนอรจะถูกออกแบบให
สามารถรองรับภาพถายทางอากาศมาตรฐาน ความกวางและยาว 9 นิ้วได แทนรับภาพจะเปนชนิด แบนราบ
(Flat-bed type) เทานั้น เพื่อหลีกเลี่ยงความคลาดเคลื่อนทางตําแหนงของจุดภาพเนื่องจากความโคงงอของ
ฟลมขณะที่กําลังสแกน

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-12 7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ

7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ
การสแกนภาพถายทางอากาศเปนกระบวนการเปลี่ยนภาพในรูป Hardcopy ใหเปนขอมูลดิจิทัลที่
สามารถบันทึกลงสื่อจัดเก็บ เพื่อใหคอมพิวเตอรนําไปประมวลผลได ผลของการสแกนจะตองคงไวซึ่งความถูก
ตองทางตําแหนงของจุดภาพ โทนสี โดยเฉพาะการสแกนภาพถายทางอากาศที่เปนเนกาตีฟและไดอาพอซิตีพ ที่
มีความละเอียดถูกตองทางตําแหนงระดับไมครอน และมีความสามารถในการบันทึกรายละเอียดที่บรรยายดวย
resolving power ถึ ง 50 คู เส น ต อ มิ ล ลิ เมตร ซึ่ งเมื่ อ เที ย บเป น ระยะห า งของเส น แทนความละเอี ย ดเป น 10
ไมครอน (ASPRS 2001)

ก) Z/I PhotoScan ข) Leica DSW 500


รูปภาพ 7-10 ตัวอยางของ Photogrammetric Scanner

ในปจจุบันโดยเฉลี่ยเครื่องสแกนเนอรสําหรับการรังวัดดวยภาพควรมีขีดความสามารถในการสแกนที่
เหมาะสมสําหรับการถายทอดขอมูลจาก Hardcopy ใหเปนดิจิทัลที่เที่ยงตรงตามความตองการในการรังวัดดวย
ภาพ ตามที่ปรากฏในตารางขางลางนี้ รายละเอียดจากการประเมินคุณภาพของสแกนเนอรสําหรับการรังวัดดวย
ภาพปรากฏใน Balavias 1998

ลักษณะทั่วไปของสแกนเนอร เปนชนิด Flat-bed มีความแทนรองรับภาพกวางพอสําหรับภาพถาย


ทางอากาศขนาดมาตรฐาน
ลักษณะของเซนเซอร เปนชนิด Linear array CCD หรือ Frame array CCD ที่ตอบสนองตอ
ช ว งคลื่ น ในช ว ง panchromatic หรื อ ช ว งคลื่ น สี แ ดง-เขี ย ว-น้ํ า เงิ น
พรอมกันทั้งสามสี
การสแกนภาพ เปนการกวาดผานสามครั้งโดยแตละครั้งมีการใชฟลเตอรสําหรับชวง
คลื่นสีแดง-เขียว-น้ําเงิน โดยมีกลไกที่แมนยําทําใหสีทั้งสามซอนทับกัน
สนิท หรือเปนการกวาดผานเพียงครั้งเดียวหากเซนเซอรสามารถรับรูสี
ทั้งสามสําหรับแตละจุดภาพสําหรับการกวาดผานครั้งเดียว
ความละเอียดในการสแกนเชิงทัศน ละเอียดตั้งแต 7 ไมครอนหรือละเอียดกวา
Optical scan resolution

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-13 7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ

ความละเอียดถูกตองทางตําแหนง ไมเกิน 2 ไมครอน


Geometric resolution
ความละเอียดถูกตองทางเรดิโอเมตรี ± 1 Digital Number หรือนอยกวา
Radiometric Accuracy
ชวงของเรดิโอเมตรี 0.05 D ถึง 2.5 D
Radiometric Range
ความเร็วในการสแกน ขึ้นอยูกับจํานวนจุดภาพและขนาดของ CCD ความละเอียดของจุด
ภาพที่ตองการสแกน เทคโนโลยีการเชื่อมตอระหวางสแกนเนอรกับ
คอมพิวเตอร เทคโนโลยีฮารดดิส โดยเฉลี่ยอัตราเร็วในการสแกนเร็ว
กวา 20 นาที
รูปแบบการจัดเก็บ TIFF, GeoTIFF
ตาราง 7-4 แสดงคุณสมบัติโดยเฉลี่ยของสแกนเนอรสําหรับการรังวัดดวยภาพ

ขอสังเกตประการหนึ่งจากตารางขางตน รูปแบบการจัดเก็บในสแกนเนอรสวนใหญ มักจะมีรูปแบบ


TIFF และ GeoTIFF ใหเลือกเปนสวนใหญ ซึ่งจะทําใหผูใชสะดวก ซอฟแวรประมวลสวนใหญรูจัก แตก็มีบางผู
ผลิตใชรูปแบบการจัดเก็บที่กําหนดขึ้นเองเชน Zeiss Intergraph ที่เรียกวา COT ไฟล ซึ่งสามารถใช remote
sensing software เชน ENVI อานเขาแลวใชเทคนิค “Save As…” แปลงเปนรูปแบบการจัดเก็บที่ตองการได
สําหรับการสแกนที่ตองการความรวดเร็วและอัตโนมัติ ผูใชสามารถเลือกใชเครื่องปอนฟลมมวน (Roll-
film feeder) ซึ่งจะประกอบดวยตัวปอนฟลม ตัวมวนเก็บ และอิเล็กทรอนิกสควบคุม ทํางานรวมกับซอฟแวรบน
คอมพิวเตอรควบคุมการเลื่อนฟลมไปที่ละกรอบภาพแลวทําการสแกนใหอัตโนมัติ แตอยางไรก็ตามเครื่องปอน
ฟลมมวนจะใชไดเฉพาะกับฟลมเนกาตีฟเทานั้น ซึ่งปรกติจะไมจําหนายหรือแจกจายใหกับผูใชทั่วไป

รูปภาพ 7-11 Roll-film Feeder สําหรับการสแกนฟลมมวน Z/I PhotoScan (http://www.ziimaging.com)

เนื่องจากราคาเครื่องสแกนเนอรสําหรับการรังวัดดวยภาพยังมีราคาสูงมากแมวาราคาจะมีแนวโนมลด
ลงเรื่อยๆแตก็ไมมากนัก เนื่องจากเปนตลาดเฉพาะและตองใชความชํานาญการพิเศษในการออกแบบและสราง

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-14 7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ

ดังนั้นการจัดหาเครื่องสแกนเนอรสําหรับการรังวัดดวยภาพสําหรับผูใชทั่วไปยังทําไดยาก แตผูใชสามารถขอใช
บริการจากหนวยงานราชการเชน กรมแผนที่ทหาร และเอกชนไดหลายแหง

7.5.1 คาแสกนภาพถายทางอากาศ
อัตราคาบริการสแกนภาพถายทางอากาศในทองตลาดปจจุบันนับไดวามีราคาคอนขางสูง กลาวคือ
สําหรับภาพขาวดํา 800 บาท สําหรับภาพสี 1,500 บาท ซึ่งสูงเทียบเทากับคาบริการในประเทศทางยุโรป เชน
Institute for Photogrammetry and Engineering Survey, University of Hannover ( Hannover 1998 ) คิ ด
อัตราคาบริการสแกนภาพถายทางอากาศพรอมสื่อบันทึกขอมูล สําหรับภาพขาวดํา 50 ดอยชมารค สําหรับภาพ
สี 100 ดอยชมารค โดยไมระบุความละเอียดของการสแกน คาบริการที่เหมาะสมสําหรับการสแกนภาพถายทาง
อากาศในประเทศไทยอาจประมาณไดจากภาคผนวก ก. ซึ่งจะเห็นไดวาอัตราคาบริการสแกนภาพถายทาง
อากาศควรจะเปน 405 และ 675 บาทสําหรับภาพขาวดําและสีตามลําดับ นั่นคือต่ํากวาปจจุบันถึงครึ่งหนึ่ง
ในการคิ ด ราคาประมาณ การสํ า หรั บ ค า บริ ก ารสแกนภาพถ า ยทางอากาศ ใช ส มมุ ติ ฐ าน
Photogrammetric Scanner ที่มีมูลคา 8,000,000 บาท มีอายุการใชงาน 5 ป และ1 ปมี 52 สัปดาห สัปดาหละ
5 วันทํางาน หรือ 1 เดือนมี 20 วันทํางาน วันทํางานละ 8 ชั่วโมง และสมมุติใหสแกนเนอรมีการใชงานเต็มเวลา
100% กําหนดความละเอียดในการสแกนเฉลี่ยที่ 20 ไมครอน ซึ่งสามารถใชงานไดดีทั้งงานวัดพิกัดรายจุด การ
ผลิตภาพถายออรโท และการแปลภาพ สําหรับความตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บสําหรับภาพถายทางอากาศ
หนึ่งภาพคิดเปน - 132. เมกะไบตสําหรับภาพขาวดํา และเปน - 397. เมกะไบตสําหรับภาพสี เมื่อสแกนภาพ
แลวจัดเก็บโดยไมบีบอัด ในการคิดคาบริการในตอนทายสุด ไดประเมินใหการบริการสแกนภาพถายทางอากาศ
เปนการบริการที่ตองใชความชํานาญการพิเศษจึงคิดกําไรใหเปนหนึ่งเทาของตนทุนหรือ 100%

ชนิดภาพ
รายการ ภาพขาวดํา ภาพสี หนวย
ราคาสแกนเนอร 8,000,000 8,000,000 บาท
ตนทุนสแกนเนอรตอชัวโมง 769 769 บาท

คาแรง ผูชํานาญประมวลผลภาพ 12,000 12,000 บาทตอเดือน


คาแรงตอชัวโมง 75 75 บาท

รวมตนทุนตอชัวโมง 844 844 บาท


คาสาธารณูปโภค 20% 20%
ตนทุนบริการแสกนตอชัวโมง 1,013 1,013 บาท

ความเร็วในการสแกนและบันทึก 5 3 รูปตอชัวโมง
ตนทุนตอรูป 203 338 บาท

กําไร ธุรกิจการชํานาญการพิเศษ 100% 100%


คาบริการแสกนภาพถายทางอากาศ 405 675 บาท

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-15 7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ

หมายเหตุ แบบจําลองการคิดราคานี้มีไวเพื่อใชในการพิจารณาแนวทางในการคิดคํานวณเทานั้น ใน
ทางปฏิบัติอาจมีความแตงกันไปเนื่องจากโดยเฉพาะปริมาณภาพถายที่สแกนไดจริง ความเร็วในการสแกนและ
บันทึก และคาบํารุงรักษาระบบ

7.5.2 การใชงานภาพถายทางอากาศที่เปนดิจิทัล
หากอัตราคาบริการสแกนภาพถายทางอากาศถูกลงมากก็อาจมีสวนผลักดันใหเกิดการใชการรังวัดดวย
ภาพดิจิทัลอยางกวางขวาง ในขณะความตองการขอมูลแผนที่ภาพออรโทที่ทันสมัยในการสรางและปรับปรุงฐาน
ขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับระบบประมวลผลสําหรับการสํารวจระยะไกลสวน
ใหญมีโมดูลสําหรับผลิตแผนที่ภาพถายออรโทมาพรอมอยูแลว ซอฟแวรเหลานี้แพรหลายและราคาถูก บางชนิด
มีใหใชฟ รีดาวนโหลดจากอินเตอรเนต ผูใชสวนใหญ ยังคงขาดเพียงแตซอฟแวรที่ใชทําขายสามเหลี่ยมทาง
อากาศ ซอฟแวรวัดแบบจําลองระดับ และซอฟแวรวัดพิกัดวัตถุจากภาพคูสามมิติเทานั้น นอกจากนี้การใชงาน
ภาพถายทางอากาศดิจิทัล ผูใชสามารถเลี่ยงการซื้อภาพในกระดาษโบรไมดและฟลมไดอาพอซิตีฟได
โดยการทดแทนการใชงานวัสดุภาพถายทางอากาศดวยภาพถายทางอากาศดิจิทัลเพียงอยางเดียว
สามารถทําได ดังตารางขางลางนี้

วัสดุ การใชงานรังวัดดวยภาพปรกติ การทดแทนงานรังวัดดวยภาพดิจิทัล


กระดาษโบรไมด -ตัดและโมเสคสําหรับงานวางแผนงาน -ดิจิทัลโมเสคพิมพบนกระดาษ
จุดควบคุมภาพถาย -ดาวนโหลดลงบนเครื่องคอมพิวเตอรแบบพก
-ใชออกสนามเพื่อกําหนดจุดควบคุม พา และคอมพิวเตอรสนาม อาจใชเทคนิคการ
บีบอัดภาพดวย
ฟลมไดอาพอซิตีฟ -ใช วั ด ด ว ยความละเอี ย ดถู ก ต อ งสู งบน -ใ ช ง า น บ น Digital Photogrammetric
เครื่อ งเขีย นแผนที่ เชิ งวิเคราะห สํ าหรับ Workstation เพื่ อ รั ง วั ด เพื่ อ การสํ า รวจด ว ย
การวั ด ข า ยสามเหลี่ ย ม การวั ด แบบ ภาพสําหรับทุกกระบวนการ
จําลองระดับและการวัดพิกัดวัตถุ
ตาราง 7-5 ลักษณะการใชงานวัสดุภาพถายทางอากาศและการทดแทน

ป จ จุ บั น ที่ เ ทคโนโลยี ก ารบี บ อั ด ภาพที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เช น MrSID หรื อ Enhanced Wavelet
Compreession (ECW) โดย ErMapper Inc. ที่สามารถลดขนาดภาพลงได ดวยอัตราการบีบอัดที่สูงมาก ตั้งแต
1:10 ไปจนถึง 1:50 ทําใหภาพสามารถนําไปใชบนเครื่องคอมพิวเตอรกระเปาได ผลการบีบอัดภาพที่อัตราการ
บีบอัดสูงดวย เชน การบีบอัด ภาพถายทางอากาศสี สแกนที่ความละเอียด 22.5 ไมครอนที่ปริมาณขอมูลลสูงถึง
313 เมกกะไบต หากบีบอัดดวยอัตราการบีบอัด 1:20 แลวจะเหลือขอมูลภาพเพียง15.7 เมกกะไบต โดยที่ผูใชจะ
ไมสามารถสังเกตเห็นคุณ ภาพของภาพที่เปลี่ยนแปลง ดวยวิธีนี้หากนําหนวยความจํา Microdrive เชน IBM
Microdrive จะสามารถบรรจุภาพถายทางอากาศไดถึง 63 ภาพ ซึ่งสามารถเปดดูดวยอุปกรณที่นําไปใชในสนาม
ไดสะดวกเชน PocketPC ดังภาพ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-16 7.5 การสแกนภาพถายทางอากาศ

ข) ตัวอยาง Microdrive ความจุ 1 จิกะไบต


(http://www.ibm.com)

ก) PocketPC IPAQ ติดตั้ง ArcPad


(http://www.compaq.com, http://www.esri.com)
รูปภาพ 7-12 ตัวอยางการใชงาน Pocket PC ในการนําภาพถายทางอากาศดิจิทัลไปใชในสนาม
ในการหลีกเหลี่ยงซื้อฟลมไดอาพอซิตีฟและกระดาษโบรไมดจะทําใหประหยัดคาวัสดุที่ตองจัดซื้อลงไป
ไดถึง 350 บาทสําหรับภาพขาวดํา และ 500 บาทสําหรับภาพสี สําหรับแตละภาพในบล็อค แตอยางไรก็ผูใชตอง
มีระบบงานที่เปนดิจิทัลทั้งสิ้น ระบบงานเหลานี้ไดแก คอมพิวเตอรแบบพกพาพรอมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ส นามเช น Pocket PC, Palm PC, Laptop หน ว ยความจํ า ถอดเปลี่ ย นได เ ช น IBM
Microdrive, Compact Flash ที่มีความจุสูงถึงจิกะไบต และเครือขายคอมพิวเตอรสําหรับโอนถายขอมูลอยาง
รวดเร็ว สําหรับการเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรและอุปกรณ ปจจุบันมีใหเลือกมากมายเชน RS-232, Ethernet
10 Mbit ,Ethernet 100 Mbit, Wirless Lan, SCSI, USB, FireWire ที่มีความเร็วตั้งแต 1 เมกะบิทถึง 400 เมกะ
บิ ท ต อ วิน าที และในอนาคตอั น ใกล นี้ ยั งมี BlueTooth Technology ที่ เป น การเชื่อ มต ออุ ป กรณ ค อมพิ ว เตอร
อิเล็กทรอนิกสรวมถึงอุปกรณในบานและสํานักงานตางๆ BlueTooth Technology เปนเทคโนโลยีเครือขายแบบ
คลื่นวิทยุที่มีความฉลาด ไรสาย มีความเร็วในการโอนถายขอมูลเร็วมาก แตอุปกรณมีขนาดเล็กและมีราคาถูก
ใหเลือกใชอีกดวย

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-17 7.6 ฮีสโตแกรม

7.6 ฮีสโตแกรม
ฮีสโตแกรมคือการวิเคราะหสถิติของของการกระจายของขอมูลตัวอยาง ฮีสโตแกรมในการประมวลผล
ภาพคือการพิจารณาการกระจายของคาประจําจุดภาพ โดยทั่วไปถาเปนภาพหมายถึงคาความสวางของจุดภาพ
หรือคาตัวเลขอื่นๆที่ไดจากกรรมวิธีในการบันทึกภาพกลาวไดแก เลขดิจิทัล (Digital Number : DN)
ในภาพแสดงภาพ แสดงตัวอยางของสวนหนึ่งของภาพ โดยการแสดงตําแหนงของจุดภาพพรอมคาความ
สวางจุดภาพกํากับ ณ ตําแหนงนั้น ภาพขยายของภาพดิจิทัลนี้มีชวงคาความสวางของจุดภาพเปน 0 ถึง 7 ภาพ
มีขนาด 8 x 8 จุดภาพดังภาพ
0 0 0 0 0 2 2 2
0 2 2 0 0 2 2 2
0 2 2 0 3 4 4 4
0 0 1 1 3 4 4 4
0 0 1 1 3 4 2 4
0 0 1 1 4 4 4 4
0 1 1 1 3 4 5 7
0 1 1 1 3 4 5 6
ตาราง 7-13 ตัวอยางคาของจุดภาพของภาพที่จะวิเคราะหหาอีสโตแกรม

เมื่อทําการวิเคราะหสถิติจะไดการกระจายของคา DN ของภาพขางตนนี้ดังนี้
คาจุดภาพ 0 1 2 3 4 5 6 7
จํานวนจุด 18 12 11 5 14 2 1 1

ซึ่งสามารถนํามาพล็อตดวยกราฟแทงหรือกราฟเสนเพื่อใหเห็นภาพของการกระจายดังนี้

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-18 7.6 ฮีสโตแกรม

H(g)

20

15

10

0 DN
0 1 2 3 4 5 6 7
รูปภาพ 7-14 แสดงฮีสโตแกรมที่ไดจากภาพขางตน
การแสดงการกระจายของฮีสโตแกรมมักจะแสดงดวยกราฟแทง หรือ กราฟเสนก็ได ถาเปนกราฟแทงก็จะ
มีแกนนอนเปนแกนของคา DN เริ่มตั้งแต 0 ไปจนถึงคา DN สูงสุดที่ตองการแสดงผล โดยทั่วไปคา DN เปนที่ที่
เปนจุดๆ ไมตอเนื่อง (discrete) และสวนมากมีคาอยูระหวาง 0 ไปจนถึง 255 แกนตั้งจะเปนจํานวนจุดภาพมีคา
ตั้งแต 0 ไปจนถึงจํานวนจุดภาพสูงสุดสําหรับคา DN ใดๆ ความสูงของกราฟแทงแตละแทงก็คือจํานวนจุดภาพ
ที่มีคา DN นั้นๆ
อีกรูปแบบหนึ่งในการแสดงฮีสโตแกรมคือการใชกราฟเสน โดยมีแกนตั้งและแกนนอนเชนเดียวกับการ
แสดงฮีสโตแกรมดวยกราฟแทง แตใชเสนตรงลากเชื่อมตอระหวางคูลําดับระหวางคา DN กับ จํานวนจุดภาพ
สําหรับแตละ DN ดังปรากฏในกราฟขางตน

H(g) H(g) H(g)

g g g
ภาพมืดเกินไป ภาพมีความสวางคมชัด ภาพสวางเกินไป
ฮีสโตแกรมกระจายปรกติ

รูปภาพ 7-15 แสดงฮีสโตแกรมที่ตองควบคุมขณะสแกนภาพ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-19 7.7 การจัดการฮีสโตแกรม

7.7 การจัดการฮีสโตแกรม
เมื่อภาพถูกบันทึกมา ตอในระหวางการประมวลอาจมีคุณภาพที่ไมเปนที่สะดวกในการทํางานเชนการ
แปลภาพ อันเนื่องมาจากการกระจายฮีสโตแกรม ปญหาหนึ่งที่พบบอยคือความมืดและความสวางของภาพ การ
จัดการเปลี่ยนแปลงฮีสโตแกรม ซึ่งเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงคาของจุดภาพ ที่จะทําใหเกิดภาพดิจิทัลใหมที่มี
คุณภาพที่สามารถใชงานไดสดวกมีประสิทธิภาพ

การจัดการ
ฮีสโตแกรม

ภาพนําเขา
ภาพนําออก

รูปภาพ 7-16 แสดงฮีสโตแกรมที่ตองควบคุมขณะสแกนภาพ

ในภาพจะเห็นการจัดการฮีสโตแกรมเปนกระบวนการที่ประกอบดวยภาพนําเขา (Input Image) การจัด


การฮีสโตแกรม และภาพผลลัพธซึ่งในภาพคือ ภาพนําออก (Output Image)
การจัดการฮีสโตแกรมทําไดหลายวิธีดังนี้

7.7.1 Look-Up Table


Look-Up Table คือตารางที่กําหนดความสัมพันธของแตละจุดภาพวาจุดภาพจากภาพนําเขาและคาที่
จะเปนสําหรับภาพผลลัพธ
ดังในตัวอยางคือลักษณะของ LUT
Input Image Output Image
g0 g′0
g1 g1′
… …
gn −1 g′m
เมื่อมีการกําหนด LUT ก็จะสามารถนําไปเปลี่ยนแปลงคาความสวางจุดภาพของภาพที่ตองการซึ่งจะสง
ผลใหฮีสโตแกรมเปลี่ยนแปลงไปตามที่ตองการ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-20 7.7 การจัดการฮีสโตแกรม

Input Output
Image Image
a a’
b a’
a b c c c’ a’ b’ c’
d e f d d’ d’ e’ f’
e e’
g h i g’ h’ i’
f f’
ภาพนําเขา g g’ ภาพนําออก
h h’
i i’

รูปภาพ 7-17 แสดงการเปลี่ยนแปลงของจุดภาพเมื่อใช Look-up Table

จากภาพจะเห็นวา ภาพนําเขามีคาของจุดภาพเปน a,b,c, … ตามลําดับ จาก LUT ที่กําหนดให เมื่อ


พิจารณาจุดภาพแรกที่พิกัด (0,0) ที่มีคาเปน a คาความสวางจุดภาพในภาพผลลัพธหรือภาพนําออกจะเปน a’
ทําการพิจารณไปจนครบทุกจุดภาพ ก็จะสามารถสรางภาพดิจิทัลใหมที่มีความสวางจุดภาพ นิยามโดย LUT ที่
กําหนดให

7.7.2 การใชกราฟ
การใชกราฟคือวิธีการเปลี่ยนแปลงฮีสโตแกรมของภาพ โดยอาศัยการกําหนดคาจุดภาพที่นําเขาและ
ออกโดยการพิจารณาจากกราฟเสน ซึ่งจะเหมาะกับในการนิยามที่มีคาของจุดภาพมีชวงกวาง และสามารถชวย
ใหการแปลความหมายของความสัมพันธทําไดงายขึ้น
ในตัวอยางเปนการจัดการฮีสโตแกรมโดยใชกราฟที่มีลักษณะดังรูป

g'
a’ b’ c’
a b c f’ d’ e’ f’
d e f g’ h’ i’
g h i
ภาพนําออก
ภาพนําเขา g
a b c d e f g h i
รูปภาพ 7-18 แสดงการเปลี่ยนแปลงของจุดภาพเมื่อใชกราฟ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-21 7.8 การทําภาพใหเปนเนกาตีฟ

ในตั ว อย า งเป น การพิ จ ารณาจุ ด พิ กั ด (2,1) ที่ ในภาพต น ฉบั บ มี ค า ความสวางจุ ด ภาพเป น f เมื่ อ
พิจารณาคา f จากกราฟที่กําหนดใหที่แกน g คือความความสวางของจุดภาพสําหรับภาพนําเขา อานจากกราฟ
จะไดคาความสวางจุดภาพของภาพนําออก ณ จุดพิกัดเดียวกันนี้ ซึ่งในกรณีนี้จะไดคาความสวางจุดภาพเปน f’

7.7.3 การใชทรานสเฟอรฟงกชัน (Transfer Function)


การใชทรานสเฟอรฟงกชันคือการใชสมการคณิตศาสตร ในการจัดการฮีสโตแกรม สมการคณิตศาสตรจะ
เปนฟงกชันหนึ่งตัวแปร โดยที่ตัวแปรเปนคาความสวางจุดภาพนําเขา และตัวแปรตามจะเปนคาความสวางจุด
ภาพของภาพนําออก
g ′ = f ( g)
a’ b’ c’
a b c or
 f1 (g) when g < g 0 d’ e’ f’
d e f 
g′ =  f 2 (g) when g 0 ≤ g < g1
 f (g) when g ≤ g < g g’ h’ i’
g h i  3 1 2

ภาพนําเขา ภาพนําออก

รูปภาพ 7-19 การใชทรานสเฟอรฟงกชันในการจัดการฮีสโตแกรม

เชนเดียวกับการใชกราฟในการเปลี่ยนแปลงฮีสโตแกรมของภาพ โดยอาศัยการกําหนดคาจุดภาพที่นํา
เขาและออกโดยการคํานวนจากทรานสเฟอรฟงกชัน ทรานสเฟอรฟงกชันอาจเปนฟงกชันที่ไมตอเนื่องดังในตัว
อยางที่เปน 3 ชวง หรือมีจํานวนชวงใดๆก็ได

7.8 การทําภาพใหเปนเนกาตีฟ
การทําภาพใหเปนเนกาตีฟคือการจัดการความสวางจุดภาพที่ทําใหจุดภาพที่เคยสวางกลับมืด และจุด
ภาพที่เคยมืดกลับเปนสวางอยางเปนระบบ แนวทางหนึ่งที่ทําไดคือการนําเอาคาความสวางของจุดภาพของทุก
จุดมาลบออกจากความสวางของจุดภาพสูงสุด ในทางปฏิบัติเพื่อความงายก็จะนําคาความสวางจุดภาพสูงสุดที่
มีไดเปนตัวตั้ง ดังสามารถนิยามไดดังนี้
g' = gmax − g สมการ 7-1

สําหรับภาพระดับสีเทา 8 บิท ที่มีระดับความเทา 255 ระดับ สมการทรานสเฟอรฟงกชันสําหรับทําภาพ


ใหเปนเนกาตีฟจะเขียนไดเปน
g' = 255 − g สมการ 7-2

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-22 7.9 การทําภาพใหเปนสอง

ถาเขียนเปนทรานสเฟอรฟงกชันไดดังนี้

g'
gmax

gmax
g
รูปภาพ 7-20 แสดงทรานสเฟอรฟงกชันสําหรับทําภาพใหเปนเนกาตีฟ

ในภาพขางลางเปนตัวอยางของการทําภาพใหเปนเนกาตีฟ

รูปภาพ 7-21 ภาพของสะพาน (ซาย) และ ภาพของสะพานที่เปนเนกาตีฟ (ขวา)

7.9 การทําภาพใหเปนสอง
การทําภาพใหเปนสอง (Binarization) คือกระบวนที่ทําใหภาพแบงออกเปนสวน (Segmentation) เพื่อ
การวิเคราะหหาวัตถุ (Object) ที่สนใจบนภาพ ผลจากการแบงใหเปนสองจะทําใหไดภาพใหมที่มีจุดภาพมีรหัส
เปนเพียงสองคาเชน 0 และ 1 โดยทั่วไปจะให 0 แทนสวนที่เปนเบื้องหลังหรือสวนของภาพที่ไมตองการ และคา
จุดภาพที่แทนดวย 1 คือวัตถุหรือสวนของภาพที่กําลังสนใจ
การทําภาพใหเปนสองตองมีการหาคาขีดจํากัด (Threshold) ที่เหมาะสม คาขีดจํากัดเพื่อจะใหวัตถุที่สน
ใจไดรับรหัสที่ตองการ จะเปลี่ยนไปตามคุณลักษณะของภาพ
ดังนั้นการทําภาพใหเปนสองอาจเขียนดวยทรานสเฟอรฟงกชันดังนี้
0 when g < τ สมการ 7-3
g' = 
1 when g ≥ τ
เมื่อ g คือคาของจุดภาพสําหรับภาพนําเขา g′ คือคาของจุดภาพสําหรับภาพนําผลลัพธ และ τ คือคา
ขีดจํากัดที่เลือกใช
หากประยุกตใชกับภาพของ “สะพาน” โดยที่ตองการแยกสวนของสะพานและพื้นดินออกจากพื้นน้ํา

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-23 7.9 การทําภาพใหเปนสอง

โดยการวิเคราะหฮีสโตแกรมจะไดภาพดังนี้

64 128 192
100
รูปภาพ 7-22 ภาพของสะพาน (ซาย) และ ภาพของฮีสโตแกรมของสะพาน (ขวา)
จะเห็นไดวาภาพสะพานเปนภาพที่มีฮีสโตแกรที่มียอดแหลมเปนสามกลุมใหญ ฮีสโตแกรมกลุมแรกอยู
คอนมาทางซายมือมีจํานวนจุดภาพเปนสัดสวนจํานวนมากในภาพ เมื่อเทียบกับภาพ ก็อาจอนุมานไดวาคงจะ
เปนฮีสโตแกรมของพื้นน้ํา สวนอีกสองยอดทางขวามือมีการกระจายตั้งแตคาความสวาง 100 ไปจนถึงประมาณ
200 เปนสวนของจุดภาพที่สวางกวา
ดังนั้นการหาคาขีดจํากัดที่เหมาะสม (Optimal Threshold) ในกรณีนี้จะไดคาเปน 100 ในภาพตอไปนี้
แสดงใหเห็นถึงผลของการใชคาขีดจํากัดที่ 64 100 128 และ 192

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-24 7.9 การทําภาพใหเปนสอง

ก) ภาพสะพาน ข) t = 64

ค) t =100 ง) t =128

จ) t =192
รูปภาพ 7-23 ภาพของสะพาน (ซาย) และ ภาพของฮีสโตแกรมของสะพาน (ขวา)

การหาค า ขี ด จํ า กั ด ที่ เหมาะสม (Optimal Threshold) เป น เรื่ อ งที่ สํ า คั ญ ต อ การแบ ง ภาพเป น ส ว น
(Segmentation) รายละเอียดสามารถคนควาไดจากตําราการประมวลผลภาพ ( Gonzlez 1992, Pratt 1994)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-25 7.10 การปรับความคมชัดและความสวางของภาพ

7.10 การปรับความคมชัดและความสวางของภาพ
การปรับความคมชัด (Contrast) และความสวาง (Brightness) สามารถจัดการดวยฮีสโตแกรม โดยการ
ใชฟงกชันเสนตรงเปนสมการสําหรับทรานสเฟอรฟงกชัน
การปรับความคมชัดคือการแยกแยะระดับความตางของสีของแตละจุดภาพ เมื่อใชทรานสเฟอรฟงกชัน
เปนกราฟเสนตรง การปรับความคมชัดจะสัมพันธกับคาความชันของกราฟ
ความสวางของภาพขึ้นอยูกับจํานวนการกระจายของคาความสวางของจุดภาพวากระจายคอนมาทางคา
ความสวางนอยหรือคาความสวางมาก ดังนั้นความสวางโดยรวมของภาพสามารถปรับใหมือหรือสวางไดโดยยก
ระดับกราฟของทรานสเฟอรฟงกชัน ดังสามารถแสดงใหเห็นดังภาพ

g' ก) ภาพสวางมากขึ้น
g'
gmax gmax ค) ภาพคมชัดมากขึ้น

ข) ภาพสวางนอยลง ง) ภาพคมชัดนอยลง

gmax
g gmax
g
รูปภาพ 7-24 แสดงทรานสเฟอรฟงกชันสําหรับการเพิ่มลดความลวางและความคมชัด

เมื่อประยุกตใชกับภาพ “สะพาน” จะไดผลลัพธดังนี้

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-26 7.10 การปรับความคมชัดและความสวางของภาพ

ก) ภาพ “สะพาน”

ข) ทําใหสวางขึ้น ค) ทําใหมืดลง

ง) ทําใหคมชัดขึ้น จ) ทําใหคมชัดนอยลง
รูปภาพ 7-25 แสดงการเพิ่มลดความลวางและความคมชัด

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-27 7.11 การปรับภาพดวยวิธีดึงยืด

7.11 การปรับภาพดวยวิธีดึงยืด
การปรับ ภาพด ว ยเพื่ อ ให ภ าพมี ค วามคมชั ด และความสวางพรอ มๆกั น สามารถทํ าได ด ว ยวิธีดึ งยื ด
(Linear Stretching) กลาวคือการที่ภาพมีความสวางจุดภาพของการกระจายรวมตัวอยูในชวงของความสวาง
แคบ โดยการกําหนดคาต่ําสุด t min และคาสูงสุด tmax ที่จะทําการ “ยืด” ใหเปนคาความสวางจุดภาพ เชน หาก
เปนภาพระดับสีเทา 256 ระดับก็อาจยืดคาความสวางต่ําสุด ใหเปน 0 สวน คาความสวางของจุดภาพสูงสุดเปน
คา 255 คาอื่นๆระหวางนั้นก็จะประมาณเปนเสนตรง และตองยึดหลักที่วาจุดภาพที่มีความสวางเทากันเมื่อไดรับ
การปรับเปลี่ยนเปนคาความสวางจุดภาพใหม ทุกจุดภาพตองปรับเปลี่ยนเชนกัน ดังอธิบายในภาพดังนี้

h(g)
ng

g'
gmax
g gmax
ก) ภาพสวางมากขึ้น
g'
gmax

gmax
g
ค) ฮีสโตแกรมหลังดึงยืด
gmax
t min t max g
ข) ทรานสเฟอรฟงกชัน
รูปภาพ 7-26 แสดงทรานสเฟอรฟงกชันสําหรับการดึงยืดฮีสโตแกรม

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-28 7.12 การอางอิงคาพิกัดโลก (Georeferencing)

7.12 การอางอิงคาพิกัดโลก (Georeferencing)


การอางอิงคาพิกัดโลกคือวิธีการกําหนดความสัมพันธระหวางพิกัดบนภาพแรสเตอรที่จุดใดๆและคา
พิกัดของของจุดนั้นบนพื้นผิวโลก ซึ่งคาพิกัดบนพื้นผิวโลกอาจจะเปนระบบคาพิกัดใดก็ไดที่เลือกใช เนื่องจากขอ
มูลภาพแรสเตอรจะมีการจัดเรียงเปนแถวเปนแนวอยูแลว ประกอบกับการอางอิงคาพิกัดโลกมักจะทําหลังจาก
การดัดแกภาพแลว นั่นคือกระบวนการที่ทําใหสามารถวัดตําแหนง ขนาดและรูปรางบนภาพแรสเตอร ในระดับ
ความละเอียดที่กําหนดได ผลจากการดัดแกภาพจะไดภาพแรสเตอรที่มีการจัดเรียงจุดภาพสอดคลองขนานกับ
แกนระบบพิกัดโลก ดังรูป

N // ขนานกับแกน i
j // ขนานกับแกน E

(i,j) E,N

i
// ขนานกับแกน j
// ขนานกับแกน N
E
รูปภาพ 7-27 แสดงความสอดคลองของระบบแกนภาพดัดแกแรสเตอรและแกนพิกัดโลก

วิธีการกําหนดความสัมพันธเพื่อการอางอิงคาพิกัดโลก โดยทั่วไปมักเปนกําหนดความสัมพันธจากคาพิกัดบน
ภาพแลวสามารถนําไปคํานวณหาคาพิกัดผิวโลก ดังนั้นอาจแบงวิธีการกําหนดความสําพันธเปน 3 ลักษณะ

7.12.1 การกําหนดคาพิกัดจุดอางอิงหนึ่งจุดและความละเอียดจุดภาพ
มักจะเปนการกําหนดคาพิกัดโลกของจุดภาพดานซายบนสุดของภาพ(EUL.NUL) และกําหนดใหความ
ละเอี ย ดของจุ ด ภาพที่ บ นผิ ว โลกเป น D ความละเอี ย ดของจุ ด ภาพที่ บ นพื้ น ผิ ว โลกนิ ย มเรี ย กว า Ground
Sampling Distance (GSD)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-29 7.12 การอางอิงคาพิกัดโลก (Georeferencing)

N EUL,NUL
d
d

(i,j)↔(E,N)

รูปภาพ 7-28 แสดงวิธีการกําหนดคาพิกัดโลกของจุดภาพซายบนสุดและความละเอียดของจุด

ซึ่งจะเขียนความสัมพันธไดเปน
E = EUL + D ⋅ j สมการ 7-4
N = N UL + D ⋅ i

โดยที่ (E,N) คือคาพิกัดโลกของจุดใดๆของจุดที่ปรากฏบนภาพแรสเตอรเปนคาพิกัด (I,j)

7.12.2 การกําหนดคาพิกัดจุดอางอิงสองจุดและขนาดของภาพ
เปนการกําหนดคาพิกัดโลกของจุดภาพดานซายบนสุดของภาพ(EUL.NUL) และคาพิกัดโลกของจุดภาพ
ดานขวาลางสุดของภาพ(ELR.NLR) พรอมกับขนาดของภาพที่มีจํานวนจุดภาพ m แถวและ n คอลัมนดังภาพ

N EUL,NUL

m (i,j)↔(E,N)
ELR,NLR

n
E

รูปภาพ 7-29 แสดงวิธีการกําหนดคาพิกัดโลกของจุดภาพซายบนสุดและความละเอียดของจุดภาพ


ซึ่งสามารถคํานวณหาความละเอียดของจุดภาพที่บนผิวโลก (D) ได การคํานวนทําไดทั้งจากแนวนอน
และแนวดิ่ง โดยทั่วไปแรสเตอรควรจะมีขนาดจุดภาพเทากัน นั้นคือ

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-30 7.12 การอางอิงคาพิกัดโลก (Georeferencing)

( EUL −E LR ) สมการ 7-5


D=
n
( N UL −N LR )
D=
m

ซึ่งเมื่อกําหนดใหความละเอียดของจุดภาพที่บนผิวโลกเปน D ความละเอียดของจุดภาพที่บนพื้นผิวโลก
นิยมเรียกวา Ground Sampling Distance (GSD)

7.12.3 การใชการแปลงคาพิกัดชนิดแอฟไฟน
การใชการแปลงคาพิกัดแอฟไฟนเปนวิธีหนึ่งที่สามารถใชระบุความสัมพันธระหวางพิกัดภาพดิจิทัลกับ
พิกัดโลกได โดยที่การแปลงพิกัดชนิดแอฟไฟนจะมีความอิสระในการกําหนดความสัมพันธ 6 อยาง คือ การเลื่อน
ศูนยกําเนิด 2 พารามิเตอร การมีมาตราสวนในทั้งสองแกน 2 พารามิเตอร การทําหมุนตอกัน 1 พารามิเตอร และ
การบิดเบี้ยวเล็กนอยของมุมพิกัดฉาก อีก 1 พารามิเตอร
แตอยางไรก็ตาม ในการประยุกตใชความสัมพันธแอฟไฟนจะใชเฉพาะแต ความสัมพันธบางสวนคือชนิด
เปนการกําหนดคาพิกัดโลกของจุดภาพดานซายบนสุดของภาพ การเลื่อนศูนยกําเนิด 2 พารามิเตอร การมี
มาตราสวนในทั้งสองแกน 2 พารามิเตอร เทานั้น เนื่องจากการอางอิงพิกัดโลกมักจะทําหลังจากกระบวนการดัด
แกภาพแลว ซึ่งในกระบวนการดังกลาวจะมีขั้นตอนในการสุมเก็บ เพื่อสรางแรสเตอรขึ้นมาใหม โดยที่แรสเตอรที่
ไดจะมีความสอดคลองกับระบบพิกัดโลก กลาวคือแกนทางดานคอลัมนจะขนานไปกับแกน X หรือ ตะวันออก
(Easting) และแกนดานแถวจะสอดคลองกับคาพิกัดทางแกน Y หรือคาพิกัดเหนือ (Northing) โดยที่ทิศทางการ
เพิ่ ม ของค า พิ กั ด จะตรงข า มกั น เนื่ อ งจากเป น ความต า งๆ ของระบบพิ กั ด ภาพดิ จิ ทั ล กั บ ระบบพิ กั ด ทาง
คณิตศาสตร
ความสัมพันธชนิดแอฟไฟนจะเก็บไวในแฟมขอมูลที่มีชื่อเดียวกับภาพแตมีนามสกุลที่เรียกวาเปน World
File ตัวอยางเชนในตารางขางลางนี้
นามสกุลแฟมภาพ นามสกุลของ World File
.tif .tfw
.bil .blw
ตาราง 7-6 แสดงนามสกุลของแฟมภาพและนามสกุลของ World File ที่พบบอย

ในภาพขางลางนี้เปนตัวอยางของการกําหนดความสัมพันธชนิดแอฟไฟน
toporec.bilw :
5
0.0
0.0
-5
728187.820000
1585853.890000

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


7-31 7.13 คําถามทายบท

7.13 คําถามทายบท

! ภาพถายทางอากาศภาพหนึ่งถูกสแกนเปนภาพระดับสีเทา 8 bit แลวปรากฏวามี Histogram ที่มี


คาสถิติ min=45 max=198
1. จงเสนอความคิดที่จะปรับปรุงคุณภาพโดยการใช linear histogram stretching
2. จงเขียน transfer function ในรูปของกราฟฟค
3. จงเขียนสมการคณิตศาสตรสําหรับ transfer function
4. ตลอดจน LUT ของ function ดังกลาว

!ขอ มู ล ภาพที่ ได ทํ าการดั ด แกและทํ าการอ างอิ งตํ าแหน งบนผิ วโลกแล วประกอบแรสเตอร
toporec.bil และแฟ ม ประกอบ toporec.hdr และ toporec.bilw ดั ง ภาพ โดยที่ toporec.hdr คื อ ส ว นหั ว ที่
บรรยายลักษณะภาพ สวน toporec.bilw คือ affine transformation parameter เพื่อใชในการอางอิงตําแหนง
หมายเหตุ เปนระบบพิกัด UTM ที่มีคา False Easing คือ 500,000 เมตร คา False Northing เปน 0 เมตร

5. จงแสดงวิธีหาคาพิกัดใดบนพื้นดิน โดยที่ตําแนงบนภาพดิจิทัลวัดไดดังนี้ row = 455.98 จุดภาพ และ


column = 105.54 จุดภาพ

toporec.hdr : toporec.bilw :
nrows 2019 5
ncols 2179 0.0
nbands 1 0.0
nbits 8 -5
layout bil 728187.820000
skipbytes 0 1585853.890000

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8 แผนที่ภาพออรโท
8.1 บทนํา
แผนที่ภาพเปนรูปแบบหนึ่งของแผนที่มีการบันทึกลักษณะสิ่งปกคลุมภูมิประเทศ รายละเอียดตางๆที่ได
จากการบันทึกภาพจะคงไวบนภาพทั้งหมดไมมีการแปลความหมาย แผนที่ภาพสามารถใชงานไดเชนเดียวกับ
แผนที่ลายเสนทั่วไปในการหาพิกัด วัดขนาด และรูปรางของวัตถุ แผนที่รูปถายไดจากการโมเสค (Mosaic) รูป
ถายทางอากาศที่ไดทําการขจัดความคลาดเคลื่อนและฉายตั้งฉากลงบนพื้นผิว ( Orthorectify ) ภาพถายทาง
อากาศมีความคลาดเคลื่อนทางตําแหนงของจุดภาพ(relief displacement) เนื่องมาจาก ภาพที่บันทึกไดจาก
กลองถายภาพทางอากาศเปนการฉายชนิดผานศูนย ( perspective projection ) ประกอบกับการวางตัวของ
กลอง (camera orientation) และความสูงต่ําของพื้นผิวภูมิประเทศ ( topography relief ) ความคลาดเคลื่อนนี้
สามารถจําลองแบบไดหากทราบพารามิเตอรทั้งที่เปนสาเหตุของความคลาดเคลื่อน โดยเฉพาะความสูงต่ําของ
ภูมิประเทศจะสามารถนํามาใชในการคํานวณปรับแกไดในรูปแบบของแบบจําลองระดับสูง (Digital Elevation
Model)

ก) ภาพถายทางอากาศ ข) ภาพถายปรับแกออรโท

รูปภาพ -1 ก) แสดงภูมิประเทศ “ภูเขา” และความคลาดเคลื่อนที่ปรากฏ ข) ผลจากการดัดแกออรโท

การฉายกลับที่ทําใหภาพที่มีความคลาดเคลื่อนเปนภาพที่ไมมีความคลาดเคลื่อนนี้เรียกวา การดัดแก
ภาพออรโท ( Orthorectification ) ซึ่งทําใหตําแหนง ขนาดรูปและรูปรางของวัตถุและภูมิประเทศที่ปรากฏบน
ภาพที่ดัดแกไดจะมีความถูกตองเชนเดียวกับแผนที่ที่ใชงานทั่วไป แตอยางไรก็ตามการที่จะไดแผนที่ภาพที่เทียบ
เทาไดกับแผนที่ที่มาตราสวนใดนั้นก็มีขีดจํากัด เนื่องจากความสามารถในการบันทึกรายละเอียดบนภาพมีจํากัด
ความเที่ยงตรงของตําแหนงจุดภาพเองก็จํากัดเชนกัน
ภาพถายทางอากาศจะบันทึกสิ่งที่ปกคลุมผิวโลกทั้งหมดลงบนภาพ และภาพของสิ่งปกคลุมก็จะถูกถาย
ทอดลงบนภาพถายดัดแกออรโทและแผนที่ภาพในที่สุด ดังนั้นการผลิตแผนที่ภาพจะทําใหไดภาพของสภาพทาง
กายภาพของภูมิประเทศ ณ เวลาที่บินถายภาพ ไมจะเปนตองมีการแปลความหมายและดึงขอมูลจุด ลายเสน
หรือพื้นที่ออกจากภาพ ดังนั้นแผนที่จึงสามารถทําไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และประหยัดเวลาคาใชจาย
ขอเสียยังคงมีอยูก็คือการใชเครื่องมือและวิธีที่มีหลายขั้นตอน และในปจจุบันสามารถใชเทคโนโลยีการประมวล
ผลภาพมาใช ซึ่งเรียกวา digital photogrammetry หรือ softcopy photogrammetry

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-2 8.1 บทนํา

digital photogrammetry หรื อ softcopy photogrammetry ซึ่ ง เป น เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร แ ละการ
ประมวลผลสารสนเทศ การผลิตแผนที่ภาพจากภาพถายออรโทกําลังไดรับความนิยมและแพรหลายที่สุดในงาน
รังวัดดวยภาพถายในปจจุบัน ดวยพัฒนาการความกาวหนาที่รุดไปขางหนาของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรจะสงผล
ทําใหวิวัฒนการการรังวัดดวยภาพถายดิจิทัลนี้เปนไปอยางรวดเร็วทั้งเครื่องมือ ความเร็วในการประมวลผลและ
วิธีการ
ตัวอยางของแผนที่ภาพ ในภาพขางลางนี้

รูปภาพ 8-2 แผนที่ภาพออรโทสี

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-3 8.2 การผลิตแผนที่ภาพดวยภาพถายทางอากาศ

8.2 การผลิตแผนที่ภาพดวยภาพถายทางอากาศ
การที่จะพิจารณาวาภาพถายทางอากาศมาตราสวนใดสามารถใชทําแผนที่ไดในมาตราสวนใด นอกจาก
จะพิจารณาความละเอียดถูกตองดานตําแหนงทางราบและทางดิ่งที่สามารถบนภาพไดแลว ยังตองอาศัยประสบ
การณในทางปฏิบัติดวยวาจะสามารถทําไดจริงหรือไม เนื่องจากการสรางแผนที่ภาพจากภาพถายทางอากาศ
เปนกระบวนการหลายขั้นตอน ซึ่งขั้นตอนเหลานี้ลวนมีผลตอความละเอียดถูกตองของแผนที่ภาพทั้งสิ้น
-ตนฉบับฟลมเนกาตีฟหรือไดอาพอซิตีฟบันทึกภาพมาคมชัด ฟลมมีคุณสมบัติทางเรขาคณิตดี
-การวัดสอบกลองมีความสมบูรณ
-กระบวนการวัดภายใน (interior orientation) ทําอยางประณีต
-กระบวนการทําขายสามเหลี่ยมทําอยางถูกตอง มีจํานวนจุดผาน จุดโยงยึด จุดควบคุมภาคพื้นดิน
อยางพอเพียง คาสังเกตตางๆมีความถูกตองไดมาตรฐาน
-การวัดแบบจําลองระดับทําไดอยางหนาแนนและแมนยําบนพื้นผิวภูมิประเทศ
หากวาตองการแผนที่ภาพมาตราสวนใหญที่สุดเทาที่เปนไดทางทฤษฎีก็ตองรักษาความผิดพลาดในแต
ละขั้นตอนใหเกิดขึ้นนอยที่สุด ความถูกตองของภาพถายออรโททางตําแหนงกําหนดไวที่ 0.1 หรือ 0.2 มิลลิเมตร
ที่มาตราสวนของผลลัพธทายที่สุด
สําหรับในทางปฏิบัติในบานเราที่พบบอยคือการทําแผนที่ภาพมาตราสวน 1:1,000 จากภาพถายทาง
อากาศมาตราสวน 1:6,000 และการทําแผนที่ภาพมาตราสวน 1:1,000 จากภาพถายทางอากาศมาตราสวน
1:15,000 ซึ่งใหผลลัพธเปนแผนที่ที่มีความถูกตองเชนเดียวกันกับแผนที่มาตราสวนนั้น

8.3 การผลิตแผนที่ภาพถายออรโทในตางประเทศ
ในตางประเทศซึ่งมีกฎเกณฑและขอจํากัดที่แตกตางกันไป โดยเฉพาะขอจํากัดดานงบประมาณและเวลา
ในการผลิต โดยทั่วไปการผลิตแผนที่ภาพจากภาพถายทางอากาศที่มีมาตราสวนเล็กกวาจะทําใหประหยัดงบ
ประมาณและใชเวลาในการผลิตสั้นลง ทั้งนี้เนื่องจากภาพถายทางอากาศมาตราสวนเล็กจะครอบคลุมพื้นที่ได
กวางขวางกวา ซึ่งจะทําใหจํานวนภาพลดลงอีกดวย
Ackermann University of Stuttgart กลาววา โดยทั่วไปการขยายภาพถายทางอากาศใหอยูในระนาบ
ภาพดัดแกออรโทจะถูกจํากัดอยูเพียงสามถึงสี่เทา (สูงสุดไมเกิน 6 เทา) เมื่อภาพดัดแกออรโทที่พิจารณาอยูใน
ชวงมาตราสวน 1:1,000 ถึง 1:10,000(Ackermann 1967)
ขณะที่ D. Hobbie ไดศึกษาและสรุปใหเห็นถึงแผนที่ภาพที่อาจผลิตได ในตารางขางลางนี้ (Hobbie
1974)
มาตราสวนภาพถายออรโท มาตราสวนภาพถายทางอากาศ
1,000 3,700 to 4,300
2,500 7,200 to 1,0500
5,000 13,000 to 18,000
10,000 23,000 to 30,000
25,000 52,000 to 65,000
50,000 100,000 to 130,000

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-4 8.3 การผลิตแผนที่ภาพถายออรโทในตางประเทศ

100,000 200,000 to 250,000


ตาราง 8-1 แสดงความสัมพันธ มาตราสวนภาพถายออรโทที่ผลิตไดจากภาพถายทางอากาศที่มาตรสวนตางๆ

นอกจากนั้น D.Hobbie ยังไดพยายามหาคาเฉลี่ยความสัมพันธของมาตราสวนระหวางมาตราสวน


ภาพถายออรโทและมาตราสวนภาพถายทางอากาศ สามารถเขียนความสัมพันธไดเปน
mB = 17 mK0.85 สมการ 8-1

โดยที่ mB คือมาตราสวนเฉลี่ยของภาพถายทางอากาศที่ตองใช และ mK คือมาตราสวนของแผนที่


เฉลี่ยที่ควรจะผลิตได
จากการรวบรวมโครงการตางๆและผลิตภัณ ฑแผนที่ภาพจากหนวยงานแผนที่แหงชาติจากประเทศ
ต า งๆทั่ ว โลก การผลิ ต แผนที่ ภ าพออร โ ทที่ ร วบรวมมาทั้ ง หมดนี้ เ ป น การผลิ ต ด ว ยกรรมวิ ธี ท าง digital
photogrammetry ทั้งสิ้น จากตารางขางลางนี้สามารถประมวลการนําเขาภาพถายทางอากาศและผลผลิตที่ได
ไดดังปรากฎในกราฟแสดงความสัมพันธระหวางมาตราสวนของภาพถายทางอากาศที่ตองใชและมาตราสวน
ของแผนที่ ที่ ค วรจะผลิ ต ได พรอ มกั บ การซ อ นทั บ ของกราฟความสั ม พั น ธ เฉลี่ ย ในลั ก ษณะเดี ย วกั น นี้ ต าม
D.Hobbie

DANGEREOUS DESIGN
USGS/DOQ

Fabige
Luftbildkarte
1:10,000
MoAC MoAC
Pilot 1997 Chula Swissphoto
2001 DOP75

Conventional
Orthophoto 1:4000

CITIPIX/ODI
DGM-5 SAFE DESIGN
DGK-5

รูปภาพ 8-3 ความสัมพันธระหวางมาตราสวนของภาพถายทางอากาศที่ตองใชและมาตราสวนของแผนที่ที่ควรจะผลิตได

ตัวอักษรยอที่กํากับแตละจุดแสดงมาตราสวนภาพถายทางอากาศที่ใชในโครงการและผลิตภัณฑแผนที่
ภาพที่ผลิตไดในประเทศนั้นๆกับมาตราสวนของแผนที่ที่ผลิตได อักษรยอนี้มีคําอธิบายดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-5 8.3 การผลิตแผนที่ภาพถายออรโทในตางประเทศ

ขื่อยอ รายละเอียด
CITIPIX/ODI เปนโครงการของบริษัทเอกชน KODAK / CITIPIX ที่ทําการผลิต Orthorectified Digital
Image (ODI) ที่ ให ค วามละเอี ย ดจุ ด ภาพถ า ยออรโทเป น 1 เมตร ในการบิ น มี ก ารใช
เครื่อ งนําหนความละเอียดถูกตอ งสูง Applanix POS/DG GPS/IMU พรอมกลองถาย
ภาพทางอากาศ RC-30 บิ น ถ า ยภาพทางอากาศที่ ม าตราส ว น 1:12,000. [CITIPIX
2001]
DGM-5 เปนแผนที่ฐานของประเทศสหพันธรัฐเยอรมันนี เปนแบบจําลองระดับสูงที่ผลิตจากการ
รังวัดดวยภาพและเสริมดวยการรังวัดดวยกลองบางพื้นที่วัดบนภาพไมได ผลิตภัณฑมี
ชื่ อ ว า DGM-5 หรื อ Digitale Gelaende Modelle เที ย บเท า กั บ แผนที่ ม าตราส ว น
1:5,000
DGK-5 เปนแผนที่ฐานของประเทศสหพันธรัฐเยอรมันนี ปรกติเปนแผนที่ลายเสน ประกอบดวย
ชั้นขอมูลพื้นฐานสําหรับการใชงานในเมืองและบริหารจัดการทั่วไป ผลิตภัณฑนี้เรียกวา
DGM หรือ Digitale Grund Karte ผลิ ต ที่ม าตราสว น 1:5,000 ผลิ ตจากงานรังวั ดด ว ย
ภาพถายทางอากาศเปนหลัก ภาพถายทางอากาศที่ใชมาตราสวน 1:12,000 แตในบาง
พื้นที่ที่จําเปนเรงดวนหรืออยูในชวงครึ่งเวลาของการปรับปรุงแกไขทุก 5 ป จะมีการผลิต
เปนแผนที่ภาพออรโทเสริม
MoAC/Pilot 1997 เปนโครงการนํารองของกระทรวงเกษตรและสหกรณเมื่อปพ.ศ. 2540 โดยบินถายดวย
ภาพสีที่มาตราสวน 1:25,000 แลวผลิตใหเปนแผนที่ภาพออรโทสีที่มาตราสวน 1:4,000.
MoAC/Chula 2001 โครงการแผนที่เพื่อการบริหารทรัยากรธรรมชาติและทรัพสินยของกระทรวงเกษตรและส
หกรณ โดยความรวมมือของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมีการออกแบบใหบินถายที่
มาตราสวน 1:25,000 เพื่อผลิตแผนที่ภาพออรโทสีที่มีความละเอียดถูกตองเทียบเทากับ
แผนที่ ที่ มี ค วามละเอี ย ดถูก ตอ งทางตํ าแหน งสํ าหรับ ทางราบเป น 1 เมตร และความ
ละเอียดถูกตองทางตําแหนงทางดิ่งเปน 2 เมตร
USGS/DOQ เปนผลิตภัณฑมาตรฐานของ U.S. Geological Survey โดยจะเปนแผนที่ภาพ Digital
Orthophoto Quadrangle (DOQ) โดยมีความละเอียดจุดภาพเปน 1 เมตร สรางมาจาก
ภาพถายทางอากาศขาวดําจากชุดภาพที่เรียกวา National Aerial Photography
Program (NAPP) ที่บินถายที่มาตราสวน 1:40,000.
Farbige Color Aerial Photomap เปนแผนที่ภาพออรโทมาตราสวน 1:10,000 ผลิตจากภาพถาย
Luftbildkarte ทางอากาศสีที่บินถายที่มาตราสวน 1:34,000.
1:10,000

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-6 8.3 การผลิตแผนที่ภาพถายออรโทในตางประเทศ

Swissphoto เปนผลิตแผนที่ภาพออรโทสีเชิงพาณิชยโดยเฉพาะในประเทศสวิสตเซอรแลนด บริษัท


DOP75 SwissPhoto AG เป น เจ า ของโครงการและดํ า เนิ น การทั้ ง หมด การบิ น ถ า ยทํ า อยู ใน
ระหวางปค.ศ. 1996 ถึง 1998 ภาพถายทางอากาศบินถายที่มาตราสวนแตกตางกันไป
ตามภูมิประเทศที่คอนคางซับซอน แตมาตราสวนเฉลี่ยอยูที่ 1:27,000 แลวสแกนดวย
ความละเอียด 25 ไมครอนเพื่อผลิตแผนที่ภาพถายออรโทที่มีจุดภาพที่มีความละเอียด
0.75 เมตร แผนที่ภาพออรโทที่ไดมีคาเฉลี่ยของความถูกตองอยูระหวาง 1 ถึง 3 เมตร
(Kersten 1999a, 1999b, 2000)

กราฟแสดงความสัมพันธระหวางมาตราสวนของภาพถายทางอากาศที่ตองใชและมาตราสวนของแผน
ที่ที่ควรจะผลิตได จะเห็นไดวาหากประสพการณจากตางประเทศสวนใหญมีแนวโนวที่จะทําแผนที่ภาพถายออร
โทจากภาพถ า ยทางอากาศที่ มี ม าตราส ว นใหญ ก ว า ค า เฉลี่ ย ซึ่ ง แสดงด ว ยจุ ด ที่ อ ยู ใ ต ก ราฟค า เฉลี่ ย ของ
D.Hobbie ทั้งสิ้น ซึ่งจะสามารถใหผลลัพธในแงความถูกตองทางตําแหนงและความคมชัดอยูในเกณฑ สามารถ
ทําไดงายในทางปฏิบัติ
สําหรับการทําแผนที่ภาพถายออรโทจากภาพถายทางอากาศที่มีมาตราสวนเล็กกวาคาเฉลี่ย แสดงดวย
จุดที่อยูเหนือกราฟคาเฉลี่ยของ D.Hobbie ขึ้นไป ซึ่งจะเปนการใชงานที่เกินขอบเขตความสามารถของภาพถาย
ทางอากาศที่พึงจะทําได การที่ทําเชนทําใหมีความเปนไปไดสูงที่จะไดภาพถายออรโทที่ไดความละเอียดถูกตอง
ต่ํากวาเกิน หรือภาพไมคมชัดพอที่จะใชบงชี้วัตถุหรือสิ่งปกคลุมบนแผนที่ได

8.3.1 กรณีศึกษาของ Cartographic Institute of Catalunya, Spain


อีกตัวอยางหนึ่งของความพยายามที่จะนํา digital photogrammetry มาใชในการผลิตแผนที่ภาพออร
โท โดยที่หนวยงานนี้มีผลิตแผนที่ภาพหลายมาตราสวนตามความตองการของประเทศสเปน Cartographic
Institute of Catalunya คื อ สถาบั น แผนที่ ที่ เป น ทางการของ Spain ได ทํ า การวิ จัย คุ ณ ลั ก ษณะของ Scanner
Zeiss PS1 ซึ่งในขณะนั้นอยูในชวงการเริ่มนํามาใชในกระบวนการผลิต Romeu (Romeu1996)ไดสรุปผลผลิตที่
ได ใช ทํ าในการผลิ ต แผนที่ ดว ยระบบ digital photogrammetry โดยการสแกนภาพดว ย Scanner Zeiss PS1
โดยในป 1995 ไดทําการใช Zeiss PS1 สแกนภาพไปทั้งสิ้น 4581 ภาพ เพื่อทําการผลิตแผนที่ดังนี้

มาตราสวน ฟลม ภาพสี ความละเอียด จํานวนภาพ โครงการ


(ไมครอน)
1:32,000 Neg. B/N 15 438 1:5,000 Catalunya
1:,60,000 Pos. RGB 30 150 1:25,000 Catalunya
1:,60,000 Neg. Clear 15 540 1:20,000 MEDEA
1:,60,000 Neg. B/N 30 202 1:20,000 MEDEA
1:,20,000 Pos. RGB 22.5 354 1:5,000 Barcelona
1:,60,000 Pos. Clear 15 163 1:25,000 Asturias
1:,5,000 Pos. RGB 30 933 1:2,000 AMB

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-7 8.4 มาตรฐานความละเอียดถูกตองของการทําแผนที่

1:,5,000 Pos. B/N 15 1300 1:2,000 REGSA


1:,15,000 Neg. B/N 15 500 1:5,000 MTN
ตาราง 8-2 ผลิตผลของภาพถายทางอากาศที่สแกนที่ Cartographic Institute of Catalunya ในป 1995

8.4 มาตรฐานความละเอียดถูกตองของการทําแผนที่
เมื่อพิจารณามาตราฐานความถูกตองทางตําแหนงของขอมูลปริภูมิโลก จาก Geospatial Positioning
Accuracy Standards (FGDC-STD-007-1998 ) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ the National Standard for Spatial Dta
Accuracy ( NSSDA ) NSSDA ถูกพัฒ นาขึ้นโดย FGDC ad hoc working group on spatial data accuracy
โดยที่มุงหวังจะปรับปรุงและพัฒนาจากมาตรฐานเดิมที่มีอยูไดแก
• the United States national Map Accuracy Standard (NMAS) (U.S. Bureau of the Budget 1974).
• The ASPRS Accuracy Standards for Large-Scale Maps (ASPRS Specifications and Standards
Committee, 1990),
• The National Cartographic Standards for Spatial Accuracy (NCSSA) ซึ่งเปนสวนเพิ่มเติมจาก the
ASPRS Accuracy Standards to map scales smaller than 1:20,000
โดยสาระสําคัญประการหนึ่งของมาตรฐานที่ไดคือตารางของความละเอียดถูกตองสําหรัวแผนที่มาตราสวน
ใหญดังในตารางขางลางนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-8 8.4 มาตรฐานความละเอียดถูกตองของการทําแผนที่

Class 1 Planimetric Accuracy Map Scale


Limiting RMSE (meters)
0.0125 1:50
0.025 1:100
0.050 1:200
0.125 1:500
0.25 1:1,000
0.50 1:2,000
1.00 1:4,000
1.25 1:5,000
2.50 1:10,000
5.00 1:2,0000
ตาราง 8-3 คาขีดจํากัดความถูกตองทางราบ (RMSE) สําหรับแผนที่มาตราสวนใหญตามมาตรฐานของ ASPRS

ดั ง นั้ น เมื่ อ ใช ม าตรฐาน FGDC Geospatial Positioning Accuracy Standards จึ ง อาจกล า วได ว า
ความถูกตองเชิงตําแหนงสําหรับทางราบเปน 1 เมตรสามารถใชทําแผนที่ที่มาตราสวน 1:4,000
ตามมาตรฐาน ASPRS Accuracy Standards for Large-Scale Maps กําหนดใหความคลาดเคลื่อน
ทางตําแหนงทางราบ RMSE ที่ 1 เมตร เปนความคลาดเคลื่อน สําหรับแผนที่ 1:4,000 ขั้น 1 โดยในภาษาอังกฤษ
จะระบุเปน
“THIS MAP WAS COMPILED TO MEET THE ASPRS STANDARD FOR CLASS 1 MAP
ACCURACY”
ซึ่งภาพหลังจากการตรวจสอบในสนามสําหรับจุดที่เห็นเดนชัดแลวยืนยันความละเอียดถูกตองที่ได
แผนที่ก็จะไดรับการระบุเปน
“THIS MAP WAS CHECKED AND FOUND TO CONFORM THE ASPRS STANDARD FOR
CLASS 1 MAP ACCURACY”

8.4.1 ความละเอียดถูกตองของการทําแผนที่จากภาพถายทางอากาศ
ความละเอียดถูกตองของการทําแผนที่จากภาพถายทางอากาศในทางทฤษฏีสามารถคํานวนไดจากหลัก
การแพรของความไมแนนอนประกอบกับแบบจําลองทางคณิตศาสตรของการวัดบนภาพคูสามมิติ โดยสมการคา
สังเกตที่ใชคือสมการสภาวะรวมเสน ( coliearity equation )
แตในเบื้องตนเพื่อความเขาใจที่งาย และสมมุติฐานที่วาภาพถายทางอากาศเปนภาพถายดิ่งในอุดมคติ
ซึ่งผลการคิดคํานวณนี้อาจถือไดวาเปนคาประมาณของแบบจําลองของการวัดบนภาพคูสามมิติ ซึ่งจะมีผลใน
ทางปฏิบัติเพียงพอสําหรับการออกแบบการผลิตแบบจําลองระดับและการผลิตแผนที่ภาพออรโท

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-9 8.5 Digital Photogrammetric Workstation

ในกรณี ของการบินถายภาพที่มาตราสวน 1:25,000 โดยที่ใชกลองถายภาพทางอากาศที่มีความยาว


โฟกัสเปน 153 มิลลิเมตร จะสามารถคํานวณพารามิเตอรตางๆ จากเรขาคณิตของการวัดพิกัดบนภาพคูสามมิติ
ไดดังนี้
Focus length Coverage Baselength Flying H. Theor.H.Acc. Theor. Prac
(mm) (kmxkm) (m) (m) (m) Vt.Acc.(m) Vt.Acc. (m)
153 5.75 x 5.75 2300 3800 0.25 0.58 0.57
ตาราง 8-4 แสดงพารามิเตอรตางๆที่เกี่ยวของกับการบินถายภาพทางอากาศตามมาตราสวนที่กําหนด

หากตองการผลิตแผนที่ภาพ จะตองพิจารณาความละเอียดถูกตองดังนี้
เมื่อพิจารณาคาความถูกตองทางตําแหนงในการวัดบนภาพจะไดเปน 0.25 เมตร
-หากสแกนภาพดวยความละเอียด 22.5 ไมครอน จะไดขนาดจุดภาพบนพื้นดินเปน 0.56 เมตรซึ่งใน
ทางปฏิบัติสามารถวัดลงไปในระดับละเอียดกวาจุดภาพ (subpixel) ถึงหนึ่งในสามจุดภาพหรือ 0.19 เมตร
-ในขณะเดียวกันความสามารถของฟลมในการบันทึกรายละเอียดบนภาพ โดยทั่วไปคิดเปน 40 lp/mm
(ASPRS 2000) เมื่อเปนภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1:25,000 ความละเอียดนี้เทียบเปนระยะทาง
บนพื้นดินเปน 0.25 เมตร
ในการผลิตแผนที่ภาพถายออรโทนิยมที่จะใหกําเนิดจุดภาพโดยการ resampling ใหจุดภาพมีขอบเขต
ครอบคลุมสวนของพื้นดิน (ground pad) เปนเลขจํานวนเต็มที่ลงตัวงายๆ เชน 1 , 10, 30 เมตร ในกรณีที่เปน
มาตราสวนใหญก็อาจใชเปน เดซิเมตร โดยที่ขนาดของ Ground Sampling Distance (GSD) จะเปนขนาดที่
ใกลเคียงกับขนาดจุดภาพเดิม เพื่อรักษาไวซึ่งปริมาณขอมูลบนภาพไว
ดังนั้นอาจกลาวไดวา เมื่อบินถายที่มาตราสวน 1:25,000 สแกนดวยความละเอียด 22.5 ไมครอน แลว
ทําการดัดแกภาพถายออรโท ทําการ resampling ใหจุดภาพใหญขึ้นกวาเดิมเล็กนอยเพื่อใหการผลิตและการ
บํารุงรักษาสามารถทําไดรวดเร็วและสดวกขึ้น จึงเลือกขนาดจุดภาพเปน 0.75 เมตร ซึ่งโดยรวมแลวจะสามารถ
ผลิตแผนที่ที่มีความละเอียดถูกตองทางราบดีกวา 1 เมตรได

8.5 Digital Photogrammetric Workstation


การสํารวจดวยภาพดิจิทัล (Digital Photogrammetry) คือการรังวัดบนภาพดิจิทัลบนคอมพิวเตอรเพื่อให
ไดมาซึ่งตําแหนง ขนาด รูปราง ตลอดจนพื้นผิว (texture) ของวัตถุ เพื่อนํามาจัดเก็บ นําไปประมวลผลรวมกับ
ระบบทําแผนที่ ระบบสารสนเทศนภูมิศาสตร หรือระบบสารสนเทศอื่นๆ
เครื่องมือที่เปนองคประกอบหลักสําคัญของ การสํารวจดวยภาพดิจิทัล คือ เครื่องสแกนภาพถายสําหรับ
งานสํารวจดวยภาพ (Photogrammetric Scanner)
ซอฟแวรสําหรับงาน digital photogrammetry หรือ Softcopy photogrammetry คือชุดซอฟแวรสําหรับ
ประมวลผลภาพถายทางอากาศที่อยู ซึ่งประกอบดวยโมดูลยอยไดแก การวัดองคประกอบการจัดภาพภายใน
การวัดขายสามเหลี่ยมและการคํานวนปรับแก ซอฟแวรสําหรับวัดแบบจําลองสามมิติทั้งชนิดใชมือและอัตโนมัติ
เครื่องชวยมองสามมิติไดแก แวน Shuttle Glasses หรือ Polarized Screen ซอฟแวรประมวลผลแบบจําลอง
ระดับ ซอฟแวรใหกําเนิดภาพถายออรโท ซอฟแวรใชตอโมเสดภาพ ซอฟแวรติดตอกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
หรือคอมพิวเตอรชวยงานเขียนแบบตางๆ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-10 8.6 การดัดแกภาพถายออรโท

8.6 การดัดแกภาพถายออรโท
ซอฟแวรที่ใชในการตอภาพจะตองมีความสามารถในการจัดการบริหารหนวยความจําเปนอยางดี เพราะ
ภาพถายทางอากาศที่สแกนมานั้นมีขนาดใหญหลายรอยเมกาไบต แบบจําลองระดับก็เชนกัน ซอฟแวรที่ใชใน
การดัดแกภาพถายออรโทจะใหกําเนิดภาพถายออรโทที่ทําการขจัดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากเรขาคณิตชนิด
การฉายผายศูนย (perspective), ความเอียงของกลองและความสูงต่ําของภูมิประเทศ โดยอาศัยขอมูลการจัด
วางภาพภายนอก (Exterior Orientation Parameter) และ แบบจําลองความสู งที่ ได กอ นหน านี้ ความคลาด
เคลื่อนของจุดภาพของบริเวณที่เปนปาทึบหรือมีสิ่งปลูกสรางหนาแนนอาจใหผลลัพธออกมาไมเปนไปตามที่
ตองการ เนื่องแบบจําลองระดับเปนตัวแทนของความสูงในภูมิประเทศเทานั้น

8.6.1 ปรากฏการณการบดบังและความละเอียดถูกตองของภาพถายทางอากาศ
ในการถายภาพทางอากาศจะมีกลองที่ความยาวโฟกัสตางๆใหเลือก ภาพที่ไดจากกลองที่มีความยาว
โฟกัสตางๆกัน จะใหภาพที่ตางกันโดยเฉพาะในแงของการบดบังการมองเห็นวัตถุที่อยูใกลกันและความสูงตาง
กัน ตลอดจนความละเอียดถูกตองที่ได ดังสามารถแสดงใหเห็นดังภาพ

230 มม.

f ยาวกวา

f สั้นกวา

A B

มาตราสวนเดียวกัน การครอบคลุมเทากัน
รูปภาพ 8-4 การบดบังการมองเห็นสําหรับกลองที่มีความยาวโฟกัสตางกัน

เมื่อทําการเปรียบเทียบภาพถายดิ่งสองภาพที่ไดจากกลองถายภาพทางอากาศที่มีความยาวโฟกัส (f)
ตางกันและเปนภาพมีมาตราสวนเดียวกัน นั่นคือขนาดของภาพถายทั้งสองเทากัน และครอบคลุมพื้นที่บนพื้นดิน
เทากัน ดังนั้นตําแหนงของกลองขณะถายภาพอยูที่ระดับความสูงตางกัน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-11 8.6 การดัดแกภาพถายออรโท

8.6.1.1 การบดบัง
ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบการบดบังเนื่องจากวัตถุที่มีความสูงตางกันเชนตึก A ดังรูปกับวัตถุขางเคียงเชน
ตึก B ที่มีความสูงนอยกวา จะเห็นไดวาภาพของตึก A ถูกบดบังโดยตึก B ในกรณีที่เปนภาพที่ไดจากกลองที่มี
ความยาวโฟกัสสั้นกวา ดังนั้นในกรณีนี้กลองความยาวโฟกัสยาวกวาจะมีปญหาการบดบังนอยกวา

8.6.1.2 ความละเอียดถูกตอง
ความละเอียดถูกตองตามทฤษฎีคํานวณไดจากหลักแพรของความไมแนนอนโดยอาศัยเรขาคณิตของ
การวัดบนภาพถายเดี่ยวและการวัดในแบบจําลองสามมิติจะไดวา สําหรับพิกัดภาพของจุดจุดเดียวกันที่วัดดวย
เครื่องมือที่มีความละเอียดถูกตองเทากัน จะไดความละเอียดถูกตองคาพิกัดของวัตถุในทางราบเทาๆ แต ความ
ละเอียดถูกตองทางดิ่งของพิกัดวัตถุจะแตกตางกัน โดยความละเอียดถูกตองทางดิ่งของพิกัดวัตถุที่ไดจากกลอง
ที่มี ดังตัวอยางที่คํานวณไดจากการเปรียบเทียบภาพถายที่มาตราสวน 1:15000 คาพิกัดภาพมีความละเอียดถูก
ตอง 10 ไมครอน ถาเปนการวัดบนภาพคูสามมิติสวนซอน 60% จะไดความคลาดเคลื่อนของคาพิกัดวัตถุโดย
”หลักการวิเคราะหความละเอียดถูกตองของการวัดพิกัดวัตถุจากภาพคูสามมิติ” ขางตนในตารางขางนี้
ความยาวโฟกัส (f) ความคลาดเคลื่อนทางราบ ความคลาดเคลื่อนทางดิ่ง
153 มม. 0.15 ม. 0.35 ม
305 มม. 0.15 ม. 0.70 ม.
รูปภาพ 8-5 ความคลาดเคลื่องทางราบและทางดิ่งสําหรับกลองมีความยาวโฟกัสตางกัน

ซึ่งจะเห็นไดวากลองมีความยาวโฟกัสสั้นกวาจะใหความละเอียดถูกตองทางดิ่งของคาพิกัดของวัตถุดีกวา
สรุป ในกรณีที่มีปญหาเรื่องการบัดบังการมองเห็นของวัตถุที่อยูใกลกันและมีความสูงตางกัน ก็จะมีทางเลือกสอง
ทางคือ
ถาตองการทํางานที่ไมคํานึงถึงความละเอียดถูกตองทางดิ่งมากนักแตตองการเห็นรายละเอียดบนพื้น
ดินใหมากที่สุดเชนการผลิตแผนที่ภาพจากออรโทโฟโต การเขียนแผนที่ทางราบ เปนตน ก็ควรใชภาพจากลองที่มี
ความยาวโฟกัสยาวกวา ซึ่งจะทําใหเห็นรายละเอียดครบถวนที่สุด
แตถาหากวาตองการวัดคาพิกัดใหมีความละเอียดถูกตองทางดิ่งของคาพิกัดของวัตถุใหอยูในเกณฑดี
ที่สุดเชนการวัดเพื่อสรางแบบจําลองความสูง หรือการวัดเพื่อสรางแบบจําลองพื้นผิว ก็ควรใชภาพที่ไดจากกลอง
ที่มีความยาวโฟกัสสั้นกวา เพื่อใหความละเอียดถูกตองทางดิ่งมีความถูกตองมากที่สุด
แตอยางไรก็ตามยังมีปจจัยอื่นที่มีผลตอการเลือกใชความยาวโฟกัสไดแก ทัศนวิสัยของอากาศที่มีโดย
ตรงตอความคมชัดบนภาพถายที่บันทึกได การที่แสงเดินทางผานชั้นบรรยากาศเปนระยะทางยาวกวายอมมี
โอกาสที่ความคมชัดจะนอยกวา นั่นคือความสูงบินที่มากจะไดภาพที่มีความคมชัดนอยกวาการบินถายภาพที่
ระดับต่ํากวา
เชนเดียวกันกับระดับความสูงของชั้นเมฆ การบินถายภาพที่ระดับต่ําอาจสามารถเลียกเลี่ยงการบดบัง
ของชั้นของเมฆได

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-12 8.6 การดัดแกภาพถายออรโท

8.6.2 การเลือกสวนของภาพที่มีความผิดเพี้ยนนอย
สวนของภาพถายทางอากาศที่ถูกดัดแกและนําไปประกอบกันเปนแผนที่ขนาดใหญนั้น ควรไดมาจาก
สวนกลางของภาพถายทางอากาศ สวนกลางของภาพถายทางอากาศครอบคลุมพื้นที่ที่ลอมรอบดวยระยะหาง
จากศูนยกลางภาพออกมา 20 % ไปทั้งสองขางตามแนวบิน และระยะหางจากศูนยกลางภาพออกมา 35% ของ
ความกวางของภาพตามแนวตั้งฉากกับแนวบิน พื้นที่บนภาพถายทางอากาศนี้จะมีความความคลาดเลื่อนที่เกิด
จากความสูงต่ําของภูมิประเทศ (relief displacement) นอยที่สุด
พื้นที่ในสวนกลางภาพนี้บางครั้งเรียกวา “Neat Area” อันเนื่องมาจากคุณสมบัติของภาพที่มีเรขาคณิต
ของความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจาก Relief Displacement นอยกวาบริเวณที่หางออกไปจากจุดศูนยกลาง
ภาพ

20% 20%

35%
แนวบิน

35%

รูปภาพ 8-6 สวนกลางของภาพถายทางอากาศที่นํามาผลิตภาพถายดัดแกออรโท


นอกจากนี้ความคลาดเคลื่อนของสิ่งปลูกสราง พืชพรรณตนไม ที่มิไดมีการวัดแบบจําลองระดับ ทําให
ภาพที่เคยฉายปรากฏอยูบนภาพถายทางอากาศไมสามารถปรับแกใหถูกตองได ตัวอยางเชน ภาพดานขางของ
ตนไมใหญ ภาพดานขางทอดยาวของเสาไฟฟา ภาพดานขางของตึกสูง ดังภาพ

ก) ภาพถายทางอากาศ ข) ภาพถายปรับแกออรโท

รูปภาพ 7 ก) แสดงสิ่งปลูกสรางที่ปรากฏบนภาพ ข) ผลจากการดัดแกออรโท

จากภาพขางตน จะเห็นไดวาในสวนที่ใกลกลางภาพเขาไปมีปญหานอยกวา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-13 8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท

8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท
ขั้นตอนการผลิตนี้เปนขั้นตอนในระบบประมวลผลภาพสําหรับการรังวัดดวยภาพดิจทัลทั่วไป จะทําได
ดังนี้ โดยเริ่มจากการเตรียมขอมูลไวกอน เมื่อเริ่มตนซอฟแวรจะตองเตรียมขอมูลทั้งหมดดังนี้
1) ภาพถายทางอากาศในรูปดิจิทัลที่ความละเอียดที่ตองการ
2) พารามิ เตอรก ารจัด วางภาพภายใน (Interior Orientation) สั ม ประสิ ท ธิ์ของการแปลงคา พิ กั ด
a,b,c,d,e,f
3) พารามิเตอรการจัดวางภาพภายนอก (Exterior Orientation) ในรูปของ (X0,Y0,Z0,ω,ϕ,κ)
4) แบบจําลองระดับ

8.7.1 การคํานวณเบื้องตน
เมื่อเริ่มตนซอฟแวรจะทําการคํานวณขอบเขตที่ครอบคลุมของภาพถายทางอากาศ โดยใชคาพิกัดของ
มุมทั้งสี่ของภาพถายทางอากาศเชนกรณีภาพถายทางอากาศมตรฐานที่มีขนาด 23 เซนติเมตร คาพิกัดภาพโดย

O (X0,y0,Z0,ω,ϕ,κ) ก) ขอบเขตที่จะใช
ผลิตภาพถายออโท

ข) ขอบเขตที่จะไดจาก
การใชมุมภาพถายทั้งสี่

ค) ขอบเขตภาพถายทาง
Z อากาศบนภูมิประเทศ
Y

รูปภาพ 8-8 แสดงขอบเขตตางๆที่ตองคํานึ่งถึงระหวางการผลิตภาพถายออรโท


ป ระม าณ ของมุ ม ภ าพ ทั้ งสี่ จ ะเป น (-0.23,0.-0.23), (-0.23,0.+0.23), (+0.23,0.-0.23), (+0.23,0.+0.23)
สามารถคํานวณไดจากสมการรวมเสน จากพิกัดภาพถายไปสูพิกัดวัตถุบนพื้นดิน โดยที่อาจใหความสูง Z ของ
ทุกจุดคํานวณจากความสูงเฉลี่ยจาก Z โดยคํานวณไดจาก
k

∑Z i
สมการ 8-2
Z= i =1
k
เมื่อ Z i คือความสูงของจุดควบคุมภาพถาย และ k คือจํานวนจุดควบคุมภาพถายที่มีอยูบนภาพที่
กําลังพิจารณา

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-14 8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท

หรือความสูงเฉลี่ย Z คํานวณไดจาก
Z = Z0 − f ⋅S สมการ 8-3
เมื่อ S คือมาตราสวนภาพถายเฉลี่ย
ดังนั้นจะไดคาพิกัดพื้นดินสี่คาที่เปนพิกัดของขอบภาพถายทางอากาศที่ปรากฏบนพื้นดิน ดังปรากฏใน
ภาพ “ข)ขอบเขตที่ไดจากการใชมุมภาพทั้งสี่” ซึ่งในเนื่องมาจากการจัดวางภาพภายนอกของกลองและระดับของ
ภูมิประเทศ ขอบเขตนี้อาจเหลื่อมล้ํากับ “ก) ขอบเขตภาพถายทางอากาศบนภูมิประเทศ” บาง
เมื่อพิจารณา ขอบเขตที่ไดจากการใชมุมภาพทั้งสี่ ทําการหา “ขอบเขตทีจะใชผลิตภาพถายออรโท” ดัง
ในภาพ ก) ซึ่งสามารถหาไดจาก
X min = min( X 1 , X 2 , X 3 , X 4 ) สมการ 8-4
X max = max( X 1 , X 2 , X 3 , X 4 ) สมการ 8-5
y min = min( y1 , y 2 , y 3 , y 4 ) สมการ 8-6
y max = max( y1 , y 2 , y 3 , y 4 ) สมการ 8-7
โดยที่ คาพิกัด ( X1 , Y1 ) ถึง ( X4 , Y4 ) เปนพิกัดของ “ข)ขอบเขตที่ไดจากการใชมุมภาพทั้งสี่”

8.7.2 การกําหนดความละเอียดของภาพถายออรโท
ความละเอียดของภาพถายออรโทขึ้นอยูกับความตองการของความละเอียดถูกตองของการผลิตแผนที่
ความละเอียดของจุดภาพที่เพียงพอที่จะตรวจพบวัตถุ (detecability) ที่ตองการในแผนที่ภาพ โดยที่ในขั้นนี้มี
สมมุติฐานวากระบวนการบินถายภาพ บันทึกภาพ การสแกน การทําขายสามเหลี่ยม การรังวัดจุดควบคุมภาพ
ถาย ไดทําไปอยางมีมาตรฐาน
ความละเอียดของภาพถายออรโทผลลัพธนิยมที่จะระบุเปนความละเอียดบนพื้นโลกหรือความละเอียด
สุ ม ภาคพื้ น ดิ น ( Ground Resolution หรือ Ground Sampling Distance : GSD ) โดยที่ จ ะสามารถพิ จารณา
จากความละเอียดที่สแกนมาโดยการใช
G= r ⋅S สมการ 8-8
โดย G คือความละเอียดบนพื้นโลก และ r คือความละเอียดในการสแกนภาพถาย S คือมาตรสวนของ
ภาพถายทางอากาศ
การเลือกความละเอียดของภาพถายออรโทผลลัพธจะคํานึงถึงประสิทธิภาพของภาพดิจิทัลตนฉบับ
เปนหลัก แลวจะเลือกใชความละเอียดของภาพถายออรโทผลลัพธเปนตัวเลขงายๆที่ลงตัวเชน 0.25, 0.50 หรือ 1
เมตรเปนตน และคาความละเอียดควรจะใหใกลเคียงกับความละเอียดของภาพดิจิทัลตนฉบับ การทําเชนนี้ก็เพื่อ
ใหขอมูลบนภาพถายถายทอดไปสูภาพผลลัพธใหครบถวนมากที่สุด โดยที่จะไมมีความตองการเนื้อที่ในการจัด
เก็บเพิ่มขึ้น
ตัวอยาง
ทําการสแกนภาพถายทางอากาศดวยความละเอียดของจุดภาพเปน 15 ไมครอน และในระหวางการผลิต
ภาพดัดแกออรโทจะตองมีการระบุความละเอียดจุดภาพในหนวยความยาวบนพื้นดิน ความละเอียดจุดภาพใน
หนวยความยาวบนพื้นดินคํานวณไดจาก
ความละเอียดจุดภาพ 15µm⋅ 25,000 ≈ 0.38 เมตร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-15 8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท

ในขั้นตอนการผลิตภาพดัดแกออรโทก็อาจเลือกใชความละเอียดจุดภาพของภาพดัดแกที่จะสรางขึ้นใหมี
ความละเอียดเทาเดิมคื่อ 0.38 เมตร เพื่อรักษาคุณสมบัติดานเรดิโอเมตรีและเรขาคณิตของภาพ อันไดแก ความคม
ชัดและความละเอียดของเนื้อภาพ ใหคงเดิมที่ไดทําการกวาดดวย Photogrammetric Scanner ใหไดมากที่สุด
แตทายที่สุด ควรผลิตภาพออรโทเพื่อทําแผนที่ออรโทดวยความละเอียดจุดภาดเปน 0.4 เมตร ตอบ

จาก ความละเอียดของภาพถายออรโทผลลัพธ G มีหนวยเปนการวัดบนพื้นโลกและขอบเขตที่จะผลิต


ภาพถายออรโทบนพื้นโลกเชนกัน ทําใหสามารถคํานวณหาจํานวนจุดภาพที่จะตองผลิตและจัดเก็บดังนี้
จํานวนจุดภาพตามแนวแกน X
X max − X min
m= สมการ 8-9
G
จํานวนจุดภาพตามแนวแกน Y
Ymax − Ymin
n= สมการ 8-10
G

8.7.3 การยอนรอยรังสี
การตามยอนรอยรังสีเปนกระบวนการสรางกลับ โดยอาศัยวิธีการแปลงภาพที่เปนประเภท Indirect
โดยการเริ่มพิจารณาขอบเขตบนพื้นดินที่จะทําการผลิตภาพดัดแกออรโทที่จุดภาพแรก ซึ่งอาจเปนมุมซายลางสุด
ใหเปน X0 , Y0 และจุดถัดไปจากตะวันออกไปตะวันตกและจากใตไปเหนือ คือ X1 , Y0 ไปจนถึงจุดสุดทายที่มุม
ของขอบเขตที่พิกัด Xm−1 , Yn −1 คาพิกัดของสองจุดที่ติดกันคํานวณไดจากความละเอียดของภาพถายออรโท G
ตัวอยางเชน
X i +1 = X i + G
สมการ 8-11
Y j +1 = Y j + G
แลวทําการวนซ้ําโดยการนําคาพิกัด Xi , Yi ที่ไดขณะนั้นไปหาคาความสูงจากแบบจําลองระดับที่ใช
ซอฟแวรที่รองรับในสวนนี้ตองรับคา Xi , Yi เขามาแลวทําการคนหาคาความสูงจากแบบจําลองระดับ
ถาไมมีความสูง ณ คาพิกัดที่รองขอนี้ ซึ่งจะเปนเชนนี้สวนใหญ ซอฟแวรจะตองทําการประมาณคาความสูงออก
ให ในที่นี้สมมุติใหเปน Z i
ในอีกแนวคิดหนึ่งในการจัดการแบบจําลองระดับคือการประมวลผลแบบจําลองระดับไวรอลวงหนา
โดยทําการประมวลผลสรางแบบจําลองระดับใหมโดยใหมีระยะหางของจุดความสูงเปนระยะทางเทาๆกันเปน
ระยะทาง G และมีขอบเขตของแบบจําลองระดับใหมเทากับขอบเขตของพื้นที่ที่จะผลิตภาพถายออรโทพอดี ดัง
ในรูปขางลางนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-16 8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท

Z Z
Y Y
X X
ก) แบบจําลองระดับขอบเขตเดิมกวาง ข) แบบจําลองระดับใหมมีขอบเขตกวาง
กวาและมีระยะหางไมเทากันที่ตองการ และระยะหางที่ตองการพอดี
รูปภาพ 8-9 การเตรียมแบบจําลองระดับ

คาพิกัดวัตถุที่ได Xi , Yi , Zi จะสามารถนํากลับไปคํานวณคาพิกัดบนภาพถาย โดยใชสมการรวมเสน


ดังนี้

[a11 ( X i − X 0) + a12 (Yi − Y 0) + a13 ( Z i − Z 0) ]


xi = − f สมการ 8-12
[a31 ( X i − X 0) + a32 (Yi − Y 0) + a33 ( Z i − Z 0) ]
[a 21 ( X i − X 0) + a 22 (Yi − Y 0) + a 23 ( Z i − Z 0) ]
yi =− f สมการ 8-13
[a31 ( X i − X 0) + a32 (Yi − Y 0) + a33 ( Z i − Z 0) ]

8.7.4 การหาคาพิกัดภาพดิจิทัล
ดั ง นั้ น จะได ค า พิ กั ด ภาพถ ายของจุ ด ที่ กํ า ลั ง พิ จารณาเป น ( xi , yi ) ซึ่ งสามารถคํ า นวณกลั บ ไปหา
ตําแหนงบนภาพดิจิทัล โดยอาศัยพารามิเตอรของการจัดภาพภายใน (a,b,c,d,e,f)
ξ i = a ⋅ xi + b ⋅ y i + c
สมการ 8-14
η i = d ⋅ xi + e ⋅ y i + f
โดยในที่นี้ ξ i ,ηi จะเปนคาพิกัดของเครื่องมือวัดซึ่งในที่นี้เปนภาพดิจิทัลซึ่งมีหนวยเปน จุดภาพ

8.7.5 การหาคาความสวางจุดภาพหรือสีของจุดภาพ
คาพิกัดภาพถายดิจิทัล ξ i ,ηi จะถูกนําไปใชในการหาคาความสวางจุดภาพในกรณีที่เปนภาพถาย
ขาวดําหรือสีในกรณีที่เปนภาพสี โดยหลักการประมาณคาเรดิโอมิตรี ซึ่งสามารถเลือกใชไดจากวิธีไบคิวบิก ไบลิ
เนียร ขึ้นอยูกับความตองการคุณภาพของภาพและทรัพยากรคอมพิวเตอร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-17 8.7 อัลกอรธึมในการผลิตภาพถายดัดแกออรโท

8.7.6 การใหกําเนิดจุดภาพที่แกไขความคลาดเคลื่อนแลว
ในขั้นตอนสุดทายนี้จะเปนการใหกําเนิดจุดภาพดัดแกออรโทโดยการเขียนคาความสวางจุดภาพหรือสี
ของจุดภาพ ณ ตําแหนง ( x i , y i ) นี้ลงไปในหนวยความจําหรือแฟมขอมูลโดยตรงในคอมพิวเตอร
คาตําแหนง ( x i , y i ) นั้นไมจําเปนตองจัดเก็บลงไป เนื่องจากภาพดัดแกออรโทที่ไดเปนราสเตอรซึ่ง
โดยทั่วไปจะมีระยะหางแรสเตอรเทาๆกัน การเรียงจะขนานกับแกนพิกัดพื้นโลกในทางแกน X และ Y จํานวนจุด
ภาพตามแนวตะวันออก-ตะวันตก และตามแนวเหนือ-ใตทราบแนนอน ดังนั้นโดยหลักการเมื่อบันทึกเพียงคา
พิกัดที่มุมสองมุมทแยงกันของภาพแรสเตอรในลักษณะนี้กํากับไปกับแรสเตอร ก็จะสามารถคํานวณคาพิกัดจุด
ภาพใดๆก็ไดหากตองการ หรืออาจจะเลือกใชวิธีอื่นในการ “กําหนดพิกัดโลก (Georeferencing)” ก็ได

8.7.7 การวนซ้ํา
การประมวลผลตั้งแต 8.7.3การยอนรอยรังสี จนถึง 8.7.6การให กําเนิดจุดภาพที่แก ไขความคลาด
เคลื่อนแลว ทําเชนนี้จนครบทุกจุดภาพบนภาคพื้นดินที่ตองการ ก็จะไดภาพถายดัดแกออรโทที่ตองการ

ผลที่ไดนี้จะเปนภาพถายออรโทดัดแกที่ความละเอียดที่ตองการ ภาพถายดัดแกออรโทจะครอบคลุมพื้น
ที่เพียงบางสวนเทานั้น ดังนั้นจะตองทําการผลิตภาพถายดัดแกออรโทที่ตองการทั้งบล็อค และเลือกเอาเฉพาะ
สวนที่ “ดี” มาใชในการผลิตแผนที่ภาพ โดยการนํามาตัดติดตอเขาดวยกัน แลวตัดเปนระวางแผนที่มาตรฐานตอ
ไป

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-18 8.8 การโมเสคภาพ

8.8 การโมเสคภาพ
การโมเสคภาพคือการนําภาพถายดัดแกที่มีการอางอิงคาพิกัดเปนระบบเดียวกันมาตอชนกัน ซอฟแวรที่
ใชในการโมเสคจะตองมีความสามารถในการจัดการบริหารหนวยความจําเปนอยางดี เพราะภาพดัดแกออรโทจะ
ตองถูกนําขึ้นมาแสดงบนจอภาพพรอมๆกัน เพื่อใหผูปฎิบัติงานสามารถเลือกบริเวณรอยตอแบบโตตอบไปมากับ
เครื่องได ภาพดัดแกออรโทแตละภาพมีขนาดหลายรอยเมกาไบต หากเปนภาพสีจะมีขนาดใหญเปนสามเทา
เมื่อผูใชไดตัดสินใจเลือกบริเวณรอยตอแลว ซอฟแวรจะใหกําเนิดภาพใหมและเขียนผลลัพธลงบนหนวยความจํา
ตอไป
ภาพถายดัดแกออรโทจากแตละภาพจะถูกนําเขามาประกอบเปนภาพตอเนื่องกันชนิดไมเห็นรอยตอ
(seamless mosaic) โดยที่การตัดสวนซอนระหวางภาพโดยที่แนวที่ตัดตองเปนรอยตอชนระหวางภาพตองเปน
แนวที่สังเกตเห็นไมชัดเจนตามภูมิประเทศ ระหวางรอยตอชนนั้นมีการเกลี่ยความสวางภาพที่ติดกันใหดูกลม
กลืน

ก) ซอฟแวรแสดงขอบเขตภาพ ข) ซอฟแวรกําลังประมวลผล

ค) ขอบเขตกอนโมเสคภาพ ง) หลังการโมเสคแลว
รูปภาพ 8-10 ซอฟแวร OrthoVista กําลังโมเสคภาพ (www.orthovista.com)

ซอฟแวรที่ใชในการโมเสคจะตองมีความสามารถในการจัดการบริหารหนวยความจําเปนอยางดี เพราะ
ภาพดัดแกออรโทจะตองถูกนําขึ้นมาแสดงบนจอภาพพรอมๆกัน เพื่อใหผูปฎิบัติงานสามารถเลือกบริเวณรอยตอ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-19 8.8 การโมเสคภาพ

แบบโตตอบไปมากับเครื่องได แนวตอระหวางภาพที่ตัดตองเปนรอยตอชนระหวางภาพตองเปนแนวที่สังเกตเห็น
ไมชัดเจนตามภูมิประเทศ

ก) การเลือกรอยตอระวางภาพ ข) หลังจากโมเสคแลว
รูป 11 ซอฟแวร OrthoVista กําลังโมเสคภาพ (www.orthovista.com)

ในระหวางการผนวกตอชนภาพดัดแกที่อยูติดกันเขาดวยกัน จะมีการปรับโทนสีใหคลายคลึงกัน โดย


เทคนิค Color balancing ระหวางรอยตอชนนั้นมีการเกลี่ยความสวางภาพที่ติดกันใหดูกลมกลืน เมื่อผูใชไดตัดสิน
ใจเลือกบริเวณรอยตอแลว ซอฟแวรจะใหกําเนิดภาพใหมและเขียนผลลัพธลงบนหนวยความจําหรือสื่อบันทึกขอ
มูล เพื่อไปใชงานตอไป
ในขั้นตอนการโมเสคนี้จะเลือกใชวิธีการ resampling จะเลือกใชวิธี bi-cubic resampling เนื่องจากจะให
ปริมาณขอมูลที่ถายทอดออกมามีความใกลเคียงกับตนฉบับมากที่ ดังจะเห็นไดจากทฤษฏีของการ resampling วา
วิธีการ bicubic จะมีการสูญเสียขอมูลนอยที่สุด ดังตาราง
วิธีการ resampling จํานวนจุดภาพที่ตองใช ปริมานขอมูลสูญเสีย
Nearest Neighbourhood 1x1 15 %
Bi-linear 2x2 4%
Bicubic 4x4 <1%
ภาพออรโทที่ตอกันเปนผืนใหญจากการนําภาพมา mosaic กันแลวใหตัดภาพถายใหเปนรูประวางแผนที่
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พรอมกับทําการ resampling ใหภาพมีความละเอียดเทียบเทากับระยะทางบนพื้นดิน (GSD)
ตามที่ กํ า หนดไว ซอฟแวร จ ะแล ว จั ด เก็ บ ในรู ป แบบของของแรสเตอร พ ร อ มข อ มู ล อ า งอิ ง ทางภู มิ ศ าสตร
(georeferencing) แผนที่ภาพถายออรโทแตละระวางควรจะมีคาพิกัดเริ่มตนของมุมบนสุดของระวางเปนคา
พิกัดที่ลงตัวในระบบพิกัดฉากที่เลือกใช ถาไมมีความตองการเปนอยางอื่น ควรจะใหระวางมีขอบเขตที่ตรงกับ
ระวางแผนที่มาตรฐานเชน ระวางแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-20 8.9 การจัดเก็บ

8.9 การจัดเก็บ
แผนที่ภาพออรโทที่ไดควรจะอยูในรูปแบบการจัดเก็บมีประสิทธิในรูปแบบที่ไดมาตราฐานอุตสาหกรรมมี
การคํานึงประสิทธิภาพในการสืบคนคืน โดยเฉพาะขอมูลแผนที่ภาพที่ทําการผลิตเปนผลลัพธสุดทายหากมี
ขนาดหลายรอยเมกกะไบต ซึ่งบอยครั้งจะตองการทรัพยากรสูงเกินกวาคอมพิวเตอรโดยเฉลี่ย ดังนั้นจึงควรทํา
การสราง”ปรามิดขอมูล”ใหกับขอมูลเหลานั้นดวย การสรางปรามิดขอมูลคือการลดขนาดขอมูลลงที่ละครึ่งไป
เรื่อยๆ โดยการ resampling ขอมูลภาพดิจิตอลจากเดิมใหเปนภาพดิจิตอลใหมที่เล็กลง นั่นคือขอมูลภาพใหมจะ
เล็กลงหรือ 25% ของปริมาณของมูลในลําดับกอนหนานี้ การสรางปรามิดแมจะทําใหขอมูลภาพใหญขึ้นแตโดย
รวมแลวก็จะใหญขึ้นสูงสุดเพียง 33% จากขอมูลภาพเริ่มตนเทานั้น เมื่อผูใชเรียกดูแผนที่มักจะตองขยายเขาหรือ
ยอออก บอยครั้งจะเกินขีดความสามารถของความพิวเตอรที่มีใชงานอยูทั่วไป ทําใหการเรียกดูขอมูลชาหรือใช
การไมได การสราง ”ปรามิดขอมูล” ทําใหการเรียกดูบนคอมพิวเตอรที่มีทรัพยากรจํากัดสามารถเรียกดูไดอยาง
มีประสิทธิภาพ
รูปแบบของการจัดเก็บควรจัดเก็บอยูในรูปแบบที่มาตราฐานไดรับการยอมรับอยางกวางขวางในอุตสาห
กรรมผูผลิตซอฟแวรสารสนเทศภูมิศาสตร เพราะจะทําใหใชงานไดสะดวกและสามารถมั่นใจไดวาในอนาคตยัง
สามารถใชซอฟแวรอานกลับออกมาใชงานได
รูปแบบมาตรฐานที่ไดรับการยอมรับอาจประเมินไดจากมาตรฐาน ISO TC-211 Gridded and Imagery
Data และมาตราฐานจากกลุม OpenGIS Consortium (OGC) ตัวอยางของรูปแบบนี้ไดแก USGS SDTS with
Raster Profile, USGS/GeoTIFF, GeoTIFF, NIMA/NITF เปนตน

8.9.1 ขนาดของแผนที่ภาพถายออรโท
ปริมาณของขอมูลที่ตองใชในการจัดเก็บ แผนที่ภาพถายออรโทขึ้นอยูกับขนาดระวางของแผนที่ภ าพ
ความละเอี ย ดของจุ ด ภาพบนพื้ น ดิ น (Ground Sampling Distance: GSD) และชนิ ด ของข อ มู ล (data type)
สําหรับแตละจุดภาพ กรณีที่เปนแผนที่ขาวดําขอมูลสําหรับแตละจุดภาพก็จะเปน 1 ไบตหรือ 8 บิท แตถาเปน
ภาพสีและตองการคุณภาพสูงสุดแตละจุดภาพก็จะเปน 3 ไบตหรือ 24 บิท
ถาออกแบบใหขนาดระวางแผนที่มีขนาดระหวางซอนทับลงกับแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหาร
มาตราสวน 1:50,000 ซึ่งมีขนาดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส ψ = 15′ สมมุติใหระวางแผนที่ครอบคลุมพื้นที่อยูที่เสน
ลองติจูด ϕ =14° เหนือ และสมมุติใหโลกเปนทรงกลมมีรัศมี R = 6371km
ความกวางระวางแผนที่ตามแนวตะวันออกไปตะวันตกไดจาก
 15 ⋅ π  สมการ
W = ( R ⋅ cos(ϕ ))ψ = (6371* cos(14°)) ⋅   = 26.973 km
 60 ⋅ 180  8-15

เชนเดียวกันจะไดความกวางแผนที่ตามแนวเหนือ-ใตจาก
 15 ⋅ π  สมการ
H = R ⋅ψ = 6371⋅   = 27.799 km
 60 ⋅ 180  8-16

ดังนั้นเพื่อความงายสมมุติใหระวางแผนที่มาตรฐานใหมีขนาดเปนสี่เหลี่ยมจตุรัส 28 กม. x 28 กม. เมื่อ


ทําการผลิตแผนที่ภาพออรโทที่ความละเอียดบนพื้นดิน GSD เปนคาตางๆกันดังนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-21 8.9 การจัดเก็บ

ความละเอียดจุดภาพบนพื้นดิน ขนาดของแผนที่ภาพออรโทขาวดํา ขนาดของแผนที่ภาพออรโทสี


GSD (เมตร) 8 บิท (GByte) 24 บิท (GByte)
0.25 12.5 37.6
0.5 3.1 9.4
0.75 1.3 4.2
1 0.78 2.35
10 7.8 MByte 23 MByte
30 0.87 MByte 2.6 MByte
ตาราง 8-5 เปรียบเทียบความตองการเนื้อที่ในหนวยความจําสําหรับแผนที่ภาพสีและขาวดําที่ความละเอียดจุดภาพตางๆ

จะเห็นไดวาแผนที่ภาพออรโทความละเอียดสูงที่มีความละเอียดจุดภาพละเอียดเกินกวา 1 เมตร ( GSD


< 1.0 เมตร ) จะมีขนาดภาพตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บลงบนคอมพิวเตอรสูงในระดับจิกะไบต ซึ่งเปนการยุง
อยากที่จะใชสื่อการจัดเก็บที่แพรหลายเชน Compact Disc (CD) หรือ Digital Versatile Disc(DVD) ในการจัด
เก็บและแจกจาย ตลอดจนดวยสถานะปจจุบันคอมพิวเตอรมีหนวยความจําในระดับรอยเมกะไบตเทานั้น บอย
ครั้งที่ระวางแผนที่มาตรฐานจะถูกแบงเปนระวางแผนที่ยอยลงไปอีก โดยแบงตอไปเปนเศษหนึ่งสวนสี่ของระวาง
แผนที่มาตรฐาน ที่นิยมเรียกในภาษาอังกฤษวา “Quad-Sheet” หรือ “Quarter-quadrangle” ซึ่งหนึ่งระวางแผน
ที่จะสามารถแบงตอไปอีกเปนสี่ระวางยอย
เชนเดียวกันกับแผนที่ภาพออรโทที่มีขนาดของจุดภาพที่ความละเอียดหยาบกวา 10 เมตร ขนาดระวาง
จะเล็กกวาระดับรอยเมกะไบต ดังนั้นก็อาจมีการออกแบบระวางใหใหญ ขึ้น โดยจะเปนจํานวนเทาของขนาด
ระวางมาตรฐานเชน 4 หรือ 16 เทา เพื่อใหจํานวนระวางแผนที่มีจํานวนนอยลง แตขณะเดียวกันขนาดของระวาง
ไมใหญเกินกวาที่จะใชงานไดสะดวก

8.9.2 การประยุกตใชการบีบอัดขอมูลแผนที่ภาพถายออรโท
การบีบอัดขอมูลภาพสําหรับการผลิตภาพถายออรโทสามารถทําไดดี เนื่องจากแผนที่ภาพออรโทเปน
ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ลายทาง (down-stream) การบี บ อั ด ขอ มู ล ทํ า ได โดยการพิ จ ารณาลดข อ มู ล ภาพใน frequency
domain โดยมีการเลือกสวนของภาพที่มีชวงคลื่นความถี่ที่คลายกันแทนดวยระหัสขอมูลเดียวกัน และในการจัด
เก็บประมวลผลก็จะมีการใชเทคนิค โครงสรางขอมูลชนิดปรามิด (Image Pyramid) รวมกับการแบงขอมูลเปน
สวน รวม (Image Tiling) ดวย
ภาพถายออรโทอาจนําไปใชในงานผลิตแผนที่หรือผนวกเขากับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ประสิทธิภาพ
ของการบีบ อัดขอ มูลมักจะกลาวถึงในรูป แบบของอัตราสวนของปริมาณขอ มูลหลังจากการบีบ อัดหารดวย
ปริมาณขอมูลกอนทําการบีบอัด โดยทั่วๆไปยิ่งทําการบีบอัดดวยอัตราการบีบอัดสูง ความแตกตางระหวางภาพ
ตนฉบับกอนบีบอัดและภาพผลลัพธหลังบีบอัดยิ่งเห็นไดชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ
ความไมชัดเจนใดๆบนภาพหากทําการบีบอัดดวยการบีบอัดชนิดสูญเสียขอมูลเชน JPEG, MrSID หรือ
ECW ซึ่งเมื่อทําการบีบอัดที่อัตราการบีบอัดที่ 1:5 สําหรับ JPEG และ 1:20 สําหรับ MrSID และECW กรณีที่เปน

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-22 8.9 การจัดเก็บ

ภาพสี โดยที่ผลจากการบีบอัดดวยอัตราการบีบอัดดวยอัตราดังกลาวจะทําใหความแตกตางของภาพเมื่อดูดวย
ตาไมสามารถสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงไดมากนัก
นอกจากนี้โปรแกรมบีบอัดขอมูลภาพ MrSID และ ECW ทางบริษัทผูผลิตตางกําลังแขงขันกันเพื่อใหเกิด
มาตรฐานและความแพรหลาย ทําใหผูใชที่ตองการบีบอัดแฟมขอมูลขนาดเล็ก และนํามาใขงานไดประโยชนใน
การที่สามารถนําโปรแกรมมาใชงานไดแบบใหเปลา นอกจากนี้การใชมาตรฐานการบีบอัดนี้ยังไดประโยชนจาก
การใชการจัดรูปแบบโครงสรางขอมูลแรสเตอรโดยใชเทคนิค pyramid และ tiling ซึ่งจะทําใหการใชงานภาพแรส
เตอรบนคอมพิวเตอรที่มีทรัพยกรจํากัดไดสดวกตลอดจนการสงผานขอมูลผานเครือขายคอมพิวเตอรทําไดสดวก
รวดเร็วขึ้นมาก
ประสิทธิภาพของโปรแกรมบีดอัดขอมูลสามารถพิจารณาไดจากอัตราการบีบอัดที่ทําใหภาพเมื่อดูดวย
ตาแลวมีรูปลักษณไมเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงนอย ประสิทธิภาพยังตองพิจารณาถึงขนาดแฟมขอมูลผล
ลัพธที่ไดวาเปลี่ยนไปอยางไร นอกจากนั้นเวลาในขณะที่ทําการบีบอัดขอมูลก็สําคัญมากเนื่องจากแฟมขอมูล
ภาพถายทางอากาศมีขนาดใหญ
ในตารางขางลางนี้แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการบีบอัดขอมูลภาพถายทางอากาศเชิงเลช โดยใช
โปรแกรมบี บ อัด ECW รุน 2.2 โดย ER Mapper Inc. (www.ermapper.com) ทดสอบบนเครื่อ งคอมพิ ว เตอร
Intel Pentium III 800 MHz พรอมหนวยความจํา 1024 MByte ปรากฏผลในตารางดังนี้

ภาพถายทาง ชนิด ความละเอียด ข น าด แ ฟ ม ข น าด แ ฟ ม อั ต ราการ เวลาที่ใช


อากาศ จุดภาพ กอนบีบอัด หลังบีบอัด บีบอัด
0141.tif ข าวดํ า 28 ไมครอน 65 MB 3.80 MB 1:17 38 วินาที
8 บิท
0650.tif สี 24 21 ไมครอน 358 MB 22.4 MB 1:16 3 นาที 32
บิท วินาที
ตาราง 8-6 ประสิทธิภาพของซอฟแวร ECW ( www.ermapper.com)

เมื่อผูใชตองการอานภาพกลับมาแสดงผลผูใชตองมีซอฟแวรในการคลายคืนแฟมภาพที่ไดบีบอัดไว ซึ่ง
ปจจุบันผูผลิตซอฟแวรบีบอัดยังไมไดตกลงกันเปนมาตรฐาน ผูใชจะตองใชซอฟแวรที่ใชสําหรับการคลายคืนภาพ
โดยเฉพาะ ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปผูใชจะไดรับซอฟแวรสําหรับโปรแกรมบีบอัดสําหรับการอานกลับเพื่อแสดง
ภาพไดฟรี และมักจะอยูในรูปแบบของซอฟแวรโมดูลอิสระเชนเปน viewer หรือใชรวมกับซอฟแวรสารสนเทศภูมิ
ศาตรอื่นๆเชนในรูปของ plugs-ins หรือ extension ตางๆ สําหรับ เวลาในการคลายคืนภาพนั้นมักจะเร็วมาก
เนื่องการอานขอมูลจากฮารดิสที่มักจะเปนอุปสรรคตอความเร็วในการประมวลผลนั้นลดลงไปมากเนื่องจาก
ขนาดของขอมูลที่เล็กลงไปหลายเทา ดังนั้นประสิทธิภาพของการคลายภาพคืนจะขึ้นอยูกับอัลกอริธึมที่ใชและ
ความเร็วของการประมวลเปนสําคัญ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-23 8.10 การประยุกตใชงานแผนที่ภาพดัดแกออรโท

8.10 การประยุกตใชงานแผนที่ภาพดัดแกออรโท
การผลิตภาพถายดัดแกออรโทดิจิทัล (Digital Orthorectified Photograph) เปนกระบวนการใหกําเนิด
ภาพใหมจากภาพถายใดๆ การผลิตภาพถายดัดแกออรโทนิยมใชมากในการทําแผนที่ เพราะสามารถทําไดรวด
เร็ว ผลลัพธที่ไดจะยังคงไวซึ่งขอมูลภาพทั้งหมดที่ปรากฏบนภาพ ปริมาณขอมูลบนภาพเมื่อเทียบกับขอมูลแผนที่
ลายเสนที่ทําขึ้นจากภาพถายนั้นจะมีมากกวามาก ภาพถายดัดแกออรโทที่ไดสามารถนําไปประกอบกันเปนผืน
ใหญขึ้นโดยเทคนิค “การโมเสคภาพ (Mosaic)” ซึ่งจะทําใหไดภาพที่ตอเนื่องกัน สามารถนําไปตัดเปนระวางแผน
ที่มาตรฐานตอไปได ภาพถายดัดแกออรโทนอกจากจะนําไปใชโดยตรงโดยการนําไปใชในการผลิตแผนที่ภาพ
พิมพลงบนฮารดคอปแลวตบแตงดวยองคประกอบทางแผนที่ตางๆ ซึ่งทําใหแผนที่อยางรวดเร็วประหยัดในวัตถุ
ประสงคดังเดิมแลว ยังมีการนําเอาไปใชในรูปแบบดิจิทัลโดยตรงอีกดวย ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางมี
ประสิทธิภาพและไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ปจจุบันเนื่องจากความแพรหลายทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การผลิตภาพถายดัดแกออรโทดิจิทัล
สามารถนําไปใชเปนชั้นขอมูลหนึ่งไดเปนอยางดี โดยเฉพาะผูประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมักจะขาด
แคลนแผนที่ฐานที่ทันสมัย จึงสามารถนําแผนที่ภาพถายออรโทที่ผลิตขึ้นจากภาพถายทางอากาศอยางรวดเร็ว
และมีปริมาณขอมูลบนภาพอยูมากมาย ที่ผูใชสามารถดึงออกไปเปนขอมูลตางๆโดยการวิเคราะหและแปลภาพ
ไดเปนอยางดี
นอกจากนั้นในทางวิศวกรรม การกอสรางสาธารณูปโภค การพัฒนาพื้นที่ การวางผังเมือง ที่ตองการ
แผนที่ที่ทันสมัยและมีความถูกตองสูงในระยะเวลาอันสั้น แผนที่ภาพถายออรโทสามารถตอบสนองตอความ
ตองการนี้ไดเปนอยางดี แผนที่ภาพถายออรโทสามารถนําผนวกเขากับระบบชวยเขียนแบบ (CAD) เพื่อชวยการ
วิเคราะห การวางแผน ตางๆได
ในภาพขางลางแสดงการนําเอาแผนที่ภาพถายออรโทไปใชงานกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรโดย
กําลังปรับปรุงขอมูลพื้นที่บริเวณสนามกีฬา ซึ่งจะสังเกตไดวาสามารถวัดพิกัด ขนาด รูปราง ไดโดยตรงบนภาพ
ไดทันที เชนเดียวกับแผนที่ ดังแสดงในภาพขางลางนี้

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


รูปภาพ 8-12 การใชงานแผนที่ภาพออรโทกับระบบสารสนแทศภูมิศาตร ArcView (http://www.esri.com)
8-24 0

ในรูปถัดไปเปนการใชงานแผนที่ภาพถายกับระบบชวยเขียนแบบ (CAD) ที่แพรหลายทั่วไป

รูปภาพ 8-13 การใชงานแผนที่ภาพออรโทกับระบบชวยเขียนแบบ AutoCAD (http://www.autocad.com)

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-25 0

เมื่อมีการแปลและวิเคราะหภาพ อาจมีการนําขอมูลเพิ่มเติมเชนแผนที่ที่มีอยูเดิม การออกสํารวจทาง


สนามเพิ่มเติม ความรูความชํานาญของผูแปลภาพ ผูใชสามารถวิเคราะหขอมูลเฉพาะในแตละลักษณะเชน
เสนทางคมนาคม การใชที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง ที่ตั้งชองสาธารณูปโภค ดังตัวอยางในภาพ

รูปภาพ 8-14 การวิเคราะหขอมูลชั้นตางๆ จากแผนที่ภาพออรโท

8.10.1 การคัดลอกลายเสนบนภาพถายดัดแกออรโท
ภาพถายทางอากาศที่ผานกระบวนการดัดแกเปนแผนที่ดิจิตอลที่ไดจะมีความถูกตองทางตําแหนงและ
ใชงานไดเชนเดียวกับแผนที่ลายเสนมาตราฐาน โดยจะมีขอมูลสิ่งตางๆปรากฎบนภาพตามที่บันทึกไวไดในขณะ
บินถายภาพ แตมีขอควรระวังคือ ความสูงในแบบจําลองระดับที่บันทึกและนํามาใชในกระบวนการดัดแกเปนตัว
แทนความสูงของภูมิประเทศเทานั้น ความสูงของสิ่งปลูกสราง เชน บาน อาคาร ตลอดจน ตนไม พุมไม จะไมได
มีการคํานึงถึง
ดังนั้นเมื่อตองการคัดลอกลาย เชนการนําเขาขอมูลไปสูระบบสารสนเทศภูมิศาสตร การดิจิไตซวัตถุหรือ
สิ่งตางๆ ที่ปรากฏบนภาพบนหนาจอคอมพิวเตอร เชนการรังวัดตําแหนง ขนาด และรูปราง การคัดลอกลายเสน
สําหรับวัตถุที่มีความสูงและยังมีรองรอยของความคลาดเคลื่อนที่ยังไมไดดัดแก เชน อาคารสูง มักจะทําที่ขอบ
ดานบนสุด เนื่องจากเห็นไดชัดและมีรูปรางครบถวน แตตําแหนงของวัตถุที่มีความสูงนั้นจะมิใชตําแหนงจริงใน
ภูมิประเทศ ซึ่งจะปรากฏใหเห็นชัดในแผนที่มาตราสวนขนาดใหญ นี้ ทั้งนี้เปนเพราะในกระบวนการดัดแกออรโท
เพื่อแกความผิดพลาดที่เกิดจาก relief displacement นั้น ความสูงที่ใชเปนความสูงในภูมิประเทศที่ผิวดิน บน
ภาพถายดัดแกออรโทจึงปรากฏภาพของหลังคาตึกสูงและฐานของตึกพรอมๆกัน โดยที่ตําแหนงที่ฐานตึกคือ
ตําแหนงอางอิงที่ถูกตอง ดังนั้นผูใชจึงสามารถใชเสนรอบรูปของตึกที่ไดจากการดิจิไตซขอบตึกดานบนที่ปรากฏ
เปนรูปขอบที่สมบูรณได แตจะตองเลื่อนภาพวัตถุนั้นไปยังตําแหนงที่ถูกตองซึ่งอยูที่ฐานของตึก และที่ฐานของ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-26 0

ตึกควรจะใชในการกําหนดตําแหนงที่ถูกตอง นอกจากนี้หากฐานตึกที่ปรากฏเห็นไดมากกวา 2 จุดก็สามารถที่จะ


ใชจัดเหลานั้นในการกําหนดขนาดที่ถูกตองของสิ่งปลูกสรางไดอีกดวย
ผลจากการคํานึงถึงความตางของภูมิประเทศที่ใชเปนแบบจําลองระดับในการคํานวณดัดแกและความ
สูงของสิ่งปลูกสราง จะทําใหสิ่งปลูกสรางที่มีความสูงแตกตางจากภูมิประเทศที่รังวัดที่หางออกไปจากศูนยกลาง
ของภาพถายทางอากาศ เชนอาคารสูง ไดรับการรังวัดและแกไขใหอยูในตําแหนงที่ถูกตอง สามารถจัดเก็บคา
พิกัดลงในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมีความถูกตองสูงสุด

รูปภาพ 8-15 เสนขอบอาคารสูงและตําแหนงที่ถูกตองบนภาพถายออรโทจากภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1:15,000

แตอยางไรก็ตามหากตองการรังวัดคาพิกัดของจุดใดพรอมคาระดับใหมีความละเอียดถูกตองสูงจะตอง
จะตองวัดบนภาพคูสามมิติ ซึ่งจะตองใชความชํานาญ ใชเครื่องชวยมองเห็นสามมิติพรอมซอฟแวร ซึ่งอาจเปน
ขอจํากัดสําหรับบางลักษณะงานที่ตองการความประหยัดและรวดเร็ว

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


8-27 8.11 คําถามทายบท

8.11 คําถามทายบท

!ตองการผลิตแผนที่ภาพจากภาพถายดัดแกออรโท โดยที่กําหนดใหภาพถายทางอากาศมาตราสวน 1:
15,000 ถูกสแกนที่ความละเอียดจุดภาพ 12.5 ไมครอน จงตอบคําถามตอไปนี้ โดยเปรียบเทียบทั้งภาพขาวดํา 8
บิทและภาพสี 24 บิท
1) ภาพถายทางอากาศแตละภาพตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บเทาใด
2) จงวิจารณวาการแสกนภาพที่ความละเอียดดังกลาว จะมีผลอยางไรตอกระบวนการทํางาน เชน การจัด
เก็บ ความคมชัด เวลาในการประมวล
3) ภาพถายดัดแกแลวควรจะมีขนาดจุดภาพบนพื้นดินเปนเทาใด เพราะเหตุใด
4) หากตองการใหผลิตแผนที่ภาพใหเปนระวางที่มีขนาดเทียบเทากับระวางแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน
1:50,000 ตามาตรฐานของกรมแผนที่ทหาร จะตองใชภาพถายอากาศกี่ภาพในการผลิต
5) จากขอ 4) แผนที่ภาพขนาดระวางดังกลาวจะตองการเนื้อที่ในการจัดเก็บเทาใด
6) จากขอ 4) แผนที่ภาพขนาดระวางดังกลาว สามารถใชงานไดสะดวกหรือไม ทานมีขอแนะนําอยางไร
7) ถากําหนดใหประเทศไทยมีเนื้อที่เปน 515,559 ตร.กม. หากตองการผลิตแผนที่ภาพครอบคลุมทั่ว
ประเทศตาม ความละเอียดในขอ 3) จะมีแผนที่ดังกลาวกี่ระวาง
8) หากใหขนาดจุดภาพบนพื้นดิน GSD=1.0 เมตร
9) จากขอ 5) หากใชเทคโนโลยีการบีบดัดภาพ ที่สามารถบีบอัดระดับที่พอใจเปน 1:10 สําหรับภาพขาว
ดํา และ 1:20 สําหรับภาพสี จงคํานวณขนาดภาพ

การสํารวจรังวัดดวยภาพดิจิทัล ผศ. ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


9 เอกสารอางอิง
Ackermann 1976 K.Schwidefsky, F. Ackermann : Photogrammetrie, B.G. Teubner Stuttgart.
Albertz 1989 Jörg Albertz, Walter Kreiling, Photogrammetric Guide, 4ed., Herbert
Wichmann Verlag GmbH,Karlruhe.
ASPRS 2000 American Society of Photogrammetry and Remote Sensing : Camera
Calibration Panel Report, submitted to US Geological Survey
ASPRS The American Society for Photogrammetry and Remote Sensing,
http://www.asprs.org
Burtch 1997 Robert Burt : A Short History of Photogrammetry,
http://users.netonecom.net/~rburtch/sure340/history.html
CITIPIX 2001 HomePage CITIPIX : http://www.citipix.com, visited Feb. 2001.
El-Habrouk 1996 El-Habrouk H., Li X.P, Faig W. : Determination of Geometric Characteristics
of a Digital Camera by Self-Calibration, IAPRS vol. XXXI, Part B1, p.60,
1996
Erkkilä 1999 Erkkilä Jukka : Producing Digital Orthoimages at the National Land Survey
of Finnland, in European Organization for Experimental Photogrammetric
Research (OEEPE), No. 36, September 1999
FGDC-STD-007-1998 Federal Geographic Data Committee : Geospatial Positioning Accuracy
Standards, U.S. Geological Survey, 1998
Fritsch 1988 Fritsch Dieter, Schneider Werner : Results of the Stuttgart Group using
MATCH-T, OEEPE DTM Test, Phase 1 Results, http:// www. ifp. uni-
stuttgart.de/ oeepe/ phase1.htm
Hobbie 1974 Hobbie D. (1974) Method of Disposition by differential rectification for
photogrammetric aerial photography (original in German: Zur
Verfahrensdisposition bei differentieller Entzerrung von
photogrammetrischen Luftbildern), Deutsch Geodaetische Kommission,
Munich 1974; ISBN 3 7696 9253 5
ISPRS The International Society for Photogrammetry and Remote Sensing (ISPRS),
http://www.isprs.org
Jacobsen 1990 Jacobsen, K., Hielscher, H., Husen, B., Benther, U.: Precise Object
Determination by Macro Photogrammetry, ISPRS Com V Zuerich 1990
Kraus 1992 Karl Kraus, Perter Waldhäuser : Photogrammetry Vol.1 , Fundamentals and
Standard Processes, 4 ed., Ferd. Dümmler Verlag, Bonn
Kraus 1997 Karl Kraus, Josef Jansa, Helmut Kager : Photogrammetry Vol.2, Advanced
Methods and Applications, 4 ed., Ferd. Dümmler Verlag, Bonn

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท


9-2 9 เอกสารอางอิง

Kersten 1996 Kersten T., O’Sullivan W. : Digital Aerial Triangulation with the Helava
Automated Triangulation System, in Proceeding of the OEEPE-Workshop on
Application of Digital Photogrammetric Workstations, 4-6 March 1996.
Kersten 1999a Th.Kersten : Digitale Aerotriangulation ueber die ganze Schweiz,
Vermessung, in Vermessung Photogrammetrie Kulturtechnik , VPK 9/99.
Kersten 1999b Th. Kersten, W. Sulllivan, N. Chuat : Swissphoto’s Automated Digital
Photogrammetric Production Environment, OEEPE workshop on Automation
in Digital Photogrammetric Production, Paris, June 21-24, 1999.
Kersten 2000 Th. Kersten, E. Baltsavias, M. Schwarz, I. Leiss : IKONOS-2 CARTERRA
[tm] GEO – Erste geometricsche Genauigkeitsuntersuchungen in der
Schweiz mit hochaufgeloesten Satellitendaten (engl: IKONOS-2
CARTERRA [tm] GEO – the first investigation on geometric accuracy of
high-resolution satellite data in Switzerland), in Vermessung
Photogrammetrie Kulturtechnik , VPK 8/2000.
Konecny 1994 Konecny G. : Forschung, Entwicklung und Praxis der Photogrammetrie –
der Beitrag Friedrich Ackermanns., Vortrag 04.11.94, University of Stuttgart
Lee 1996 Jae One Lee, Untersuchung von Verfahren zur kombinierten
Aerotriangulation mittles integriertem GPS/INS, Wissenschaftliche Arbeiten
der Fachrichtung Vermessungswesen der Universität Hannover, Nr. 220
Mikhail 1976 Edward Mikhail, Friederick Ackermann.: Observation and Least Squares,
Haper&Row, Publisher.
OEEPE The European Organization for Experimental Photogrammetric Research
(OEEPE), homepage http://www.oeepe.org
Romeu 1996 Romeu Joan : PS1 in a Digital Environment of Image and Restitution Map
Production, Workflow, Failures & Quality, in Proceeding of the OEEPE-
Workshop on Application of Digital Photogrammetric Workstations, 4-6
March 1996.
SDTS The Spatial Data Transfer Standard (SDTS) Information Site,
http://mcmcweb.er.usgs.gov/sdts/
USGS 2001 Homepage: the US Geological Surveys, http://mapping.usgs.gov (visited
Feb2001)

การรังวัดดวยภาพดิจิทัล ดร. ไพศาล สันติธรรมนนท

You might also like