You are on page 1of 6

JIST Journal of Information Science and Technology

Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

การประมวลผลภาพสํ าหรับการจําแนกคุณภาพมะม่ วงพันธุ์โชคอนันต์


โดยการจําลองการมองเห็นของมนุษย์ ด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงลึก
Image Processing for Classifying the Quality of the Chok-Anan
Mango by Simulating the Human Vision using Deep Learning

นพรุ จ พัฒนสาร* และ ณั ฐวุฒิ ศรี วิบูลย์


Nopparut Pattansarn* and Nattavut Sriwiboon
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสุขภาพ
มหาวิทยาลัยกาฬสิ นธุ์
Department of Informatics and Computer, Faculty of Science and Health Technology,
Kalasin University
Received: January 08, 2020; Revised: April 30, 2020; Accepted: April 30, 2020; Published: June 23, 2020

ABSTRACT – This paper uses image processing technology with the deep learning methods,
which can simulate the human vision to develop a model for examining and classifying the
quality of the Chok-Anan mango. The research method, we have collect the image of Chok-
Anan mangos and collecting quality classification data, determining quality levels into 4 levels
consisting of grade A, B, C and grade D are rotten mangos. The results of the research shown
that the use of deep learning by the convolutional neural network (CNN) algorithm for image
processing to create a model showing the excellent accuracy at 99.79%. Then, we use the model
to develop as a prototype for image classifying of Chok-Anan mangos. The result has found that
the success rate of classification at 100%.

KEYWORDS: Image Processing, Deep Learning, Chok-Anan Mango, Convolutional Neural-


Network

บทคัดย่ อ -- งานวิจัยนี้ได้ นําเทคโนโลยีการประมวลผลภาพด้ วยวิธีการเรี ยนรู้ เชิ งลึกที่สามารถจําลองการมองเห็นของ


มนุษย์ พัฒนาแบบจําลองสํ าหรับตรวจสอบและจําแนกคุณภาพมะม่ วงพันธุ์ โชคอนันต์ โดยดําเนินการเก็บรวบรวมข้ อมูล
ภาพถ่ ายมะม่ วงพันธุ์ โชคอนันต์ และเก็บข้ อมู ลการจําแนกคุณภาพกําหนดระดับคุณภาพออกเป็ น 4 ระดับประกอบด้ วย
คุณภาพระดับเกรด A, คุณภาพระดับเกรด B, คุณภาพระดับเกรด C และคุณภาพระดับเกรด D คือมะม่ วงเน่ า ผลของการ
วิจัยแสดงให้ เห็นว่ าการใช้ วิธีการเรี ยนรู้ เชิ งลึกด้ วยอัลกอริ ธึมโครงข่ ายประสาทเทียมแบบสั งวัตนาการ (Convolutional
Neural Network: CNN) ในการประมวลผลภาพเพื่อสร้ างแบบจําลองแสดงค่ าความแม่ นยําสู งสุ ดคือ 99.79% จากนั้นนํา
แบบจําลองพัฒนาเป็ นระบบต้ นแบบสําหรับจําแนกคุณภาพมะม่ วงพันธุ์โชคอนันต์ พบว่ าอัตราความสําเร็จในการจําแนกคือ
100%
คําสําคัญ: การประมวลผลภาพ, การเรี ยนรู ้เชิงลึก, มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์, โครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการ

*Corresponding Author: jistjournalsubmit@gmail.com


24
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

1. บทนํา อนันต์ดว้ ยวิธี Deep Learning จากนั้นนําแบบจําลองพัฒนาเป็ น


มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์เป็ นไม้ยืนต้นอยู่ในวงศ์ Anacardiaceae ระบบต้น แบบเพื่อ จําแนกคุณ ภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนัน ต์เพื่อ
โดยในการออกผลโตเต็ ม ที่ มี ข นาดประมาณ 3-4 ผล ต่ อ 1 เป็ นตัว อย่ า งในการพัฒ นาระบบอัต โนมัติ สํ า หรั บ คัด แยก
กิ โลกรั ม ผลดิบ มีสี เขียวเปลือกหนา เมื่อผลสุ กแล้วผิวของผล คุณภาพมะม่วง ส่ งเสริ มการจําหน่ ายผลิตภัณฑ์และสร้างความ
มะม่ ว งพัน ธุ์ โ ชคอนั น ต์ จ ะเป็ นสี เหลื อ งทองตลอดทั้ งผลดู เชื่ อ มั่น ในตัว ผลิ ต ภัณ ฑ์ให้ กับ เจ้าของส่ ว นมะม่ ว งพัน ธุ์ โ ชค
สวยงาม รสชาติ ห วานหอมถื อ เป็ นพื ช เศรษฐกิ จที่ สําคัญ ของ อนันต์ต่อไป
ประเทศ ในการตรวจสอบคุ ณ ภาพก่ อ นนํามะม่ วงพัน ธุ์โ ชค
อนันต์ออกสู่ ตลาดนั้นจะมีการตรวจสอบโดยใช้มนุ ษย์ ซึ่ งแบ่ง 2. ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
ระดับคุณ ภาพออกเป็ น 4 ระดับ คื อ คุณ ภาพระดับ A คุ ณ ภาพ 2.1 การประมวลผลภาพ (Image Processing)
ระดั บ B คุ ณ ภาพระดั บ C และระดั บ D คื อ ผลเน่ า โดย การป ระมวลผลภาพ (Image Processing) คื อเท คโน โลยี
คุ ณ ลัก ษณะที่ ใช้ในการพิ จ ารณาประกอบไปด้ว ย สี ข องผิ ว คอมพิวเตอร์ ที่สามารถนําภาพมาประมวลผลผ่านกระบวนการ
รู ปร่ างของผลเป็ นต้น ซึ่ งการคัดคุณภาพของมะม่วง จําเป็ นต้อง เช่ น การทํา ให้ ภ าพมี ค วามคมชัด มากขึ้ น การกํา จัด สั ญ ญาณ
อาศัยประสบการณ์และทักษะของผูป้ ฏิบตั ิงานเพื่อแยกแยะและ รบกวนออกจากภาพ หรื อการแบ่งส่ วนของวัตถุ เป็ นต้น เพื่อให้
ตัดสิ นใจ จากการลงพื้นที่สอบถามเจ้าของสวนมะม่วงพันธุ์โชค ได้ขอ้ มูลเชิ งปริ มาณไปวิเคราะห์และสร้างเป็ นระบบ โดยการ
อนัน ต์มี ข้อ ผิดพลาดในการทํางานคื อ ไม่ ส ามารถคัดคุ ณ ภาพ ประมวลผลภาพสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่างๆ
ของสิ นค้าที่มีลกั ษณะตามความต้องการได้ ส่ งผลให้เกิดปั ญหา เช่ น ระบบแยกประเภทไข่ มุกด้วยวิธีการประมวลผลภาพ [1]
ในการจํา หน่ ายผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละตลาดขาดความเชื่ อ ถื อ ใน และการตรวจจับและจดจําโมเดลรถยนต์ดว้ ยข้อมูลเชิ งจุดภาพ
ผลิตภัณฑ์ของเจ้าของส่ วนมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ [2] เป็ นต้น
การป ระมวลผลภาพ (Image Processing) เป็ น อี ก
เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ ที่ น ํามาใช้ในการตรวจสอบวัตถุ 2.2 Deep Learning
และผลิ ต ภัณ ฑ์อ ย่า งแพร่ ห ลาย [1-3] ความสามารถของการ Deep Learning หรื อการเรี ยนรู้เชิงลึกคือการพัฒนาเทคโนโลยี
ประมวลผลภาพคื อ การประมวลผลวัตถุ จากภาพถ่ ายแล้วนํา คอมพิ วเตอร์ ให้ส ามารถเลี ยนแบบการทํางานของมนุ ษ ย์ ซึ่ ง
ข้อ มูล ที่ ได้ไปวิเคราะห์และสร้ างเป็ นระบบเพื่อ จําแนกวัตถุ ที่ Deep Learning จะมี ก ระบวนการคิ ด คํา นวณคล้า ยกับ ระบบ
ปรากฏในภาพ โครงข่ายประสาท (Neurons) ของสมองมนุ ษย์เรี ยกว่าโครงข่าย
งานวิ จัย นี้ จึ ง นําเทคโนโลยีก ารประมวลผลภาพมา ประสาท เที ยม (Neural Network: NN) [4] ข้ อ ดี ข อง Deep
พัฒนาระบบสําหรับการตรวจสอบและจําแนกคุณภาพมะม่วง Learning คือเมื่อต้องการใช้งานอย่างเช่ น การประมวลผลภาพ
พันธุ์โชคอนันต์ โดยดําเนิ นการเก็บข้อมูลภาพถ่ายมะม่วงพันธุ์ เพื่อ คัดแยกคุ ณ ภาพของมะม่วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์การใช้งานไม่
โชคอนัน ต์จากเจ้าของสวนมะม่วง บ้านหนองผ้าอ้อม อําเภอ จําเป็ นต้องให้ความรู้ พ้ืนฐานกับระบบล่วงหน้า ความสามารถ
สมเด็จ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ แล้วจําแนกคุณ ลักษณะของสี รู ปร่ าง ของ Deep Learning ก็สามารถสร้างแบบจําลองและหาคําตอบ
และตํ า หนิ บนผิ ว ของมะม่ ว งออกเป็ น 4 ระดั บ คุ ณ ภาพ ได้ ด้ว ยการนํา NN หลายๆ ชั้น เรี ย กว่ า Hidden Layer มาใช้
ประกอบด้วย คุ ณ ภาพระดับ เกรด A, คุ ณ ภาพระดับ เกรด B, วิเคราะห์และหาคําตอบดังรู ปที่ 1 ซึ่ งคําว่า Deep Learning ก็มา
คุณภาพระดับเกรด C และคุณภาพระดับเกรด D คือมะม่วงเน่ า จากการใช้ NN มากกว่า 2 ชั้น เพื่อ ให้เกิ ดการเรี ยนรู้ แ ละสร้ าง
จากนั้นพัฒนาเป็ นระบบเพื่อจําลองการมองเห็น ของมนุ ษย์ใน แบบจําลอง ดังนั้นจึงเปรี ยบเทียบได้วา่ แต่ละชั้นของ NN ยิ่งถูก
คอมพิวเตอร์ โดยใช้เทคนิ คการประมวลผลภาพด้วยการเรี ยนรู้ ใช้จาํ นวนมากในขั้นตอนการประมวลผล ยิง่ ทําให้มีโครงสร้าง
เชิงลึก (Deep Learning) เพื่อสร้างแบบจําลอง (Model) สําหรับ การเรี ยนรู้ที่ลึก (Deep) มากขึ้น
พัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ ผลของ
การวิจัย พบว่า การสร้ า งแบบจํา ลองมี ค วามถู ก ต้อ ง 99.79%
แสดงถึงประสิ ทธิ ภาพในการจําแนกคุณ ภาพมะม่วงพันธุ์โชค

25
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

2.3 โครงข่ ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการ แม่น ยํา โดยความสามารถของ CNN มีค วามแม่ น ยํามากกว่า
(Convolutional Neural Network: CNN) 90% เนื่ อ งจากในขั้น ตอน Feature extraction ที่ เป็ นการสกัด
โครงข่ า ยประสาทเที ย มแบบสั ง วัต นาการ (Convolutional คุ ณ ลัก ษณะจากภาพ CNN มี ความสามารถในการจัด การกับ
Neural Network: CNN) [5] เป็ นวิธี ห นึ่ งในวิธีก ารเรี ยนรู้ แ บบ ข้อ มู ล ประเภทที่ ไ ม่ ไ ด้มี โ ครงสร้ า งเป็ นรู ป แบบเฉพาะตั ว
Deep Learning เป็ นการจํา ลองการมองเห็ นของมนุ ษย์ ที่ (Unstructured Data) อย่างเช่ น รู ปภาพ (Image) เป็ นต้น ดังนั้น
สามารถแยกแยกคุณลักษณะ (Feature) ของวัตถุที่มองเห็น เช่น ด้ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ข อง CNN งานวิ จัย นี้ จึ ง นํ า มาใช้ สํ า หรั บ
สี ขอบภาพ การตัด กัน ของสี แล้ว นํา คุ ณ ลัก ษณะต่ า งๆ มา ทดสอบและสร้ างแบบจําลองเพื่อ จําแนกคุณ ภาพของมะม่วง
ประกอบกันเพื่อระบุคุณสมบัติของสิ่ งที่มองเห็นแล้วคัดแยกว่า พันธุ์โชคอนันต์
สิ่ งนั้ นมี คุณ สมบัติ เป็ นอะไรเช่ น เมื่ อ มองเห็ น รู ป ภาพมะม่ ว ง
พัน ธุ์โชคอนันต์ การคํานวณของ CNN สามารถแสดงคําตอบ 2.4 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ได้ว่าภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์มีคุณลักษณะคือมีคุณภาพอยู่ A. Paisal และ T. Kasetkasem [9] ได้ศึกษาการคัดแยกการปน
ในเกรดใดเป็ นต้น ซึ่ ง Deep Learning เป็ นการประยุ ก ต์ ใ ช้ ของเมล็ดพัน ธุ์ถ ว่ั เขียว โดยการวิเคราะห์จากภาพถ่าย ผลของ
วิธี ก ารของ NN หลายๆ ชั้น เรี ย กว่า Hidden Layer ดัง รู ป ที่ 1 งานวิจยั แสดงให้เห็นว่าการคัดแยกเมล็ดพันธุ์จากภาพถ่ายเมล็ด
สําหรับค้นหาคุณลักษณะและทําซํ้าหลายๆ รอบจนกระทัง่ ได้ จํานวน 200 เมล็ด เป็ นพันธุ์ชยั นาท 72 และพันธุ์กาํ แพงแสน 2
คําตอบของคุณคุณลักษณะที่มีความแม่นยําของการคัดแยก โดย ระบบสามารถจําแนกภาพของเมล็ดพัน ธุ์ถว่ั เขียวพันธุ์ชัยนาท
การทํา งานของ CNN จะพิ จ ารณาจากความสั ม พั น ธ์ ข อง 72 และพันธุ์กาํ แพงแสน 2 ที่ปนกัน ซึ่ งสรุ ปผลการคัดแยกได้
คุณลักษณะที่สกัดได้ในแต่ละชั้นกับผลลัพธ์มากที่สุด หลักการ ถูกต้องมากกว่า 90 %
ทํางานของ CNN มี 3 ส่ วนดังนี้ T. Tathawee และคณะ [6] ได้ศึ กษาวิธี ระบุ ช นิ ด ของ
1) Input: รับเข้าข้อมูลหรื อวัตถุเหมือนกับการมองเห็น กล้ ว ยไม้แ ล้ ว พั ฒ นาระบบการมองเห็ น ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์
ของมนุษย์ ตัวอย่างเช่นรู ปภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ ผลการวิจยั พบว่าการพัฒนาเทคโนโลยีการมองเห็นด้วยระบบ
2) Hidden Layer: ส่ ว นการประมวลผลเป็ นชั้น ๆ ซึ่ ง คอมพิ วเตอร์ เพื่อ ระบุ ช นิ ดกล้วยไม้ท้ ังหมดสี่ ช นิ ดจากสี่ ส กุ ล
เหมือ นกับ การทํางานสมองของมนุ ษ ย์ เพื่อ เรี ยนรู้ (Training) ด้วยวิธีการเปรี ยบเทียบพื้นที่ contour ของสี ปรากฏบนภาพดอก
และและการคัดแยกประเภทของภาพ กล้วยไม้ การมองเห็นของคอมพิวเตอร์ บ่งชี้วา่ พื้นที่ ที่ความยาว
3) Output: ส่ ว นแสดงผลลัพ ธ์ ก ารคัด แยกคุ ณ สมบัติ คลื่ น แบบต่ อ เนื่ อ ง (λ =400-700 nm) มีป ระสิ ท ธิ ภ าพสําหรั บ
เป็ นผลมาจากใช้ Hidden Layer จํานวนหลายชั้นมาวิเคราะห์จน ระบุ ช นิ ด กล้วยไม้ท้ ังสี่ ช นิ ดอย่างชัด เจน แต่ ในช่ วงความยาว
ได้ค ํา ตอบแสดงคุ ณ ลัก ษณะของแต่ ล ะภาพที่ ม องเห็ น เช่ น ค ลื่ น แ บ บ ไ ม่ ต่ อ เนื่ อ งที่ ช่ วงสี น้ าเงิ น (λ = 475 nm) มี
มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์มีคุณภาพอยูใ่ นเกรดใด เป็ นต้น ประสิ ทธิภาพสําหรับระบุกล้วยไม้ท้ งั สี่ ชนิดได้ดีที่สุด
N. Masunee [10] ได้เสนองานวิจัยการพัฒ นาเทคนิ ค
การตรวจสอบคุณภาพหมึกโดยใช้ปริ มาณพื้นที่สีที่ปรากฏบน
ตัวหมึกเป็ นลักษณะเด่น ในการจําแนกระดับ คุ ณ ภาพได้แก่ สี
ขาว สี ชมพู สี แดง และสี ดาํ ซึ่ งปริ มาณพื้น ที่สีที่ป รากฏบนตัว
หมึ ก ถูก คํานวณด้ว ยเทคนิ ค การประมวลผลภาพเพื่ อ จําแนก
คุณภาพของหมึกโดยใช้การปริ มาณข้อมูลพื้นที่สี
รู ปที่ 1. Convolutional Neural Network S. Aunkaew และคณ ะ [11]ได้ เ สนองานวิ จั ย การ
ตรวจสอบราขาวบนผิวเนื้ อยางแผ่น โดยระบบที่พฒั นาขึ้นด้วย
เทคนิ คการประมวลผลภาพสามารถตรวจสอบและจําแนกยาง
จากการศึ ก ษางานวิ จั ย ก่ อ นหน้ า นี้ [6-8] ที่ มี ก าร
แผ่น ที่ มีราขาวออกจากยางแผ่น ดี ได้ผิดพลาดน้อ ยมากและมี
ประยุกต์ใช้ CNN กับการจําแนกข้อมูลโดยแสดงให้เห็นว่าข้อดี ความรวดเร็ ว เมื่ อ เที ยบกับ การตรวจสอบและจําแนกด้วยตา
ของ CNN คือสามารถวิเคราะห์วิเคราะห์และหาคําตอบได้อย่าง มนุษย์

26
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

3. วิธีการดําเนินงานวิจัย 3.4 การสร้ างแบบจําลอง


3.1 การเก็บรวมรวมข้ อมูล ในส่ วนของการสร้างแบบจําลองมีการเตรี ยมขั้นตอน 2 ขั้นตอน
ในงานวิจัยนี้ ดําเนิ น การเก็ บ รวบรวมข้อ มูล จากเจ้าของสวน คือ ขั้น ตอนของการเรี ยนรู้ (Train) เพื่อ สร้ างแบบจําลองและ
มะม่วง บ้านหนองผ้าอ้อม อําเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ โดย ขั้ น ตอน ของการท ดส อบ (Test) แบ บ จํา ลอง การสร้ าง
เก็บรวบรวมรู ป ภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนัน ต์คดั แยกเป็ นระดับ แบบจํา ลองเป็ นขั้น ตอนการสร้ า งการเรี ยนรู้ โ ดยใช้ ข้อ มู ล
คุณภาพเกรดต่างๆ รู ปภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ที่ได้จดั กลุ่มคุณภาพระดับเกรด
A, คุ ณ ภาพระดับ เกรด B, คุ ณ ภาพระดับ เกรด C และคุณ ภาพ
ระดับ เกรด D คื อ มะม่ ว งเน่ า กลุ่ ม ละ 150 รู ป รวม 600 รู ป
3.2 การเตรียมข้ อมูล
สําหรับใช้ในการเรี ยนรู้ (Training Dataset) และกลุ่มละ 50 รู ป
งานวิจัยได้ด าํ เนิ น การเก็บ ข้อ มูล ภาพมะม่วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์
สําหรั บใช้ทดสอบ (Testing Dataset) แบบจําลอง โดยงานวิจยั
โดยแต่ล ะภาพมีขนาด 528 x 888 พิกเซล ขั้น ตอนการจัดกลุ่ ม
นี้ ใช้ ก ารกํา หนดค่ า การตรวจสอบแบบไขว้ (k-fold cross
คุณภาพของมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ดาํ เนินการโดยสอบถามการ
validation) [8] คือ k=10 ในการทดลองเพื่อให้ระบบสุ่ มภาพใน
จํา แนกคุ ณ ภาพของมะม่ ว งในแต่ ล ะระดับ จากผู้เชี่ ย วชาญ
ชุ ดข้อ มูล การเรี ยนรู้ ท้ ัง 4 กลุ่ มเพื่อ ฝึ กสอนให้แบบจําลองเกิ ด
เจ้าของสวนมะม่วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์ โดยมีก ารจัดกลุ่มไว้ดังนี้
การเรี ยนรู้ จํานวน 50 รอบ จากนั้นเมื่อได้แบบจําลองจึงนําภาพ
คุ ณ ภาพระดับ เกรด A, คุ ณ ภาพระดับ เกรด B, คุ ณ ภาพระดับ
50 ภาพ ทดสอบความถูกต้อ งของการจําแนกคุ ณ ภาพมะม่วง
เกรด C และคุณภาพระดับเกรด D คือมะม่วงเน่า ดังรู ปที่ 2
พันธุ์โชคอนันต์

4. ผลการวิจัย
4.1 ผลการสร้ างแบบจําลอง
การพัฒนาระบบเพื่อจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ ใช้
ภาษา Python ในการพัฒนา โดยใช้ไลบรารี สาํ หรับพัฒนา Deep
รู ปที่ 2. ตัวอย่ างการจัดกลุ่มตามคุณภาพระดับเกรด Learning ร่ ว ม กั น คื อ Keras แ ล ะ Tensorflow เพื่ อ ส ร้ า ง
แบบจําลองและวิเคราะห์การจําแนกคุณ ภาพมะม่วงพัน ธุ์โชค
3.3 การวัดประสิทธิภาพ อนัน ต์ รายละเอี ย ดสําหรั บ การติ ด ตั้ง Keras และ Tensorflow
การวัดประสิ ทธิ ภาพเพื่อเปรี ยบเทียบค่าความแม่นยําเพื่อสร้าง แสดงใน [12] ผลของการสร้างแบบจําลองแสดงดังรู ปที่ 3
แบบจําลองในงานวิจยั นี้ ใช้การวัดค่าความแม่นยํา (Accuracy)
[7] เป็ นค่ า ที่ ได้จ ากวิธี ก ารทดสอบเพื่ อ หาค่ า พยากรณ์ ค วาม
ถูกต้องของข้อมูลโดยคิดเป็ นค่าร้อยละ (%) ใช้สูตรการคํานวณ
ดังนี้

Accuracy=
( TP+TN )
( TP+TN+FP+FN )

โดย TP คือ ค่าที่พยากรณ์ถูกต้องเชิงบวก


TN คือ ค่าที่พยากรณ์ถูกต้องเชิงลบ
FP คือ ค่าที่พยากรณ์ผดิ พลาดเชิงบวก รู ปที่ 3. แสดงค่ าความแม่ นยําในการสร้ างแบบจําลองจําแนก
FN คือ ค่าที่พยากรณ์ผดิ พลาดเชิงลบ คุณภาพมะม่ วงพันธุ์โชคอนันต์

27
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

จากรู ป ที่ 3 แสดงค่ า ความแม่น ยํา (TrainAcc) และค่ า จากตารางที่ 1 แสดงผลลัพธ์การทดสอบแบบจําลอง


ความผิดพลาด (TrainLoss) ในการทดสอบสร้างแบบจําลองจะ แสดงให้เห็นว่าแบบจําลองการจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชค
เห็ น ว่าการเรี ย นรู้ ในแต่ ล ะรอบ (Round) มี ค่ า ความแม่ น ยํา ที่ อ นั น ต์ ที่ ใ ช้ วิ ธี Deep Learning ด้ ว ย อั ล ก อ ริ ธึ ม CNN มี
แตกต่ างกัน โดยผลการทดลองสร้ างแบบจําลองได้ค่ าความ ประสิ ท ธิ ภ าพสู งสํ าหรั บ กระบวนการประมวลผลภาพเพื่ อ
แม่นยําสู งสุ ดคือ 99.79% แสดงถึงประสิ ทธิ ภาพในการจําแนก จําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ โดยผลลัพธ์การทดสอบ
คุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ โดยใช้วิธี Deep Learning ด้วย รู ปภาพกลุ่มคุณภาพเกรด A อัตราความสําเร็ จในการจําแนกคือ
อัลกอริ ธึม CNN 100% เกรด B อัตราความสําเร็ จในการจําแนกคือ 100% เกรด C
อัตราความสําเร็ จในการจํา แนกคื อ 100% และเกรด D อัต รา
4.2 การนําแบบจําลองไปใช้ งาน ความสําเร็ จในการจําแนกคือ 100% จากผลลัพธ์ดงั กล่าวสรุ ปได้
จากการสร้ างแบบจําลองเพื่อจําแนกคุณ ภาพมะม่วงพันธุ์โชค ว่าแบบจําลองการจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ที่สร้าง
อนันต์ งานวิจยั นี้ ได้นาํ แบบจําลองที่สร้างขึ้นใช้สําหรับพัฒนา ขึ้ น โ ด ย ใ ช้ วิ ธี Deep Learning ด้ ว ย อั ล ก อ ริ ธึ ม CNN มี
ระบบเพื่อใช้ป ระมวลผลภาพจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชค ความสามารถในการจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ได้
อนันต์ ระบบพัฒนาด้วยภาษา Python ใช้ไลบรารี สาํ หรับพัฒนา อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ประกอบด้วย Keras และ Tensorflow จากนั้นนําระบบที่พฒั นา
ทดสอบจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ โดยการทดลอง
ได้นาํ ภาพมะม่วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์ที่จัดกลุ่มคุณ ภาพไว้ 4 กลุ่ ม
ข้างต้น กลุ่มละ 50 รู ปคือ คุณภาพระดับเกรด A, คุณภาพระดับ
เกรด B, คุณ ภาพระดับเกรด C และคุณ ภาพระดับเกรด D โดย
แสดงตัวอย่างผลการคัดแยกมะม่วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์ในแต่ ล ะ (a)
กลุ่มดังรู ปที่ 4 ประกอบด้วยรู ปที่ 4(a) คือตัวอย่างการทดสอบ
รู ปภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์กลุ่มคุณภาพระดับเกรด A รู ปที่
4(b) คือตัวอย่างการทดสอบรู ปภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์กลุ่ม
คุณภาพระดับเกรด B รู ปที่ 4(c) คือตัวอย่างการทดสอบรู ปภาพ
มะม่ว งพัน ธุ์ โชคอนัน ต์ก ลุ่ ม คุ ณ ภาพระดับ เกรด C และรู ป ที่ (b)
4(d) คือตัวอย่างการทดสอบรู ปภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์กลุ่ม
คุณ ภาพระดับ เกรด D และแสดงผลลัพธ์การทดสอบสรุ ป ดัง
ตารางที่ 1

(c)
ตารางที่ 1 สรุ ปผลการทดสอบใช้ งานแบบจําลอง
เกรด จํานวนภาพ ผลการจําแนก ความถูกต้อง
ทดสอบ (รู ป) (รู ป) (%)
A 50 A = 50, B = 0, 100 (d)
C = 0, D = 0 รู ปที่ 4. ตัวอย่ างการนํารู ปภาพมะม่ วงพันธุ์โชคอนันต์ ในแต่ ละ
B 50 A = 0, B = 50, 100 กลุ่มทดสอบในระบบ
C = 0, D = 0
C 50 A = 0, B = 0, 100
5. บทสรุ ปและการอภิปราย
C = 50, D = 0
งานวิ จัย นี้ ได้ น ํ า เทคโนโลยี ก ารประมวลผลภาพวิ ธี Deep
D 50 A = 0, B = 0, 100 Learning อัล กอริ ธึ ม CNN พัฒ นาแบบจําลองเพื่ อ ตรวจสอบ
C = 0, D = 50 และจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ โดยได้ดาํ เนิ นการ
เก็บรวบรวมข้อมูลภาพถ่ายมะม่วงจากเจ้าของสวนมะม่วงและ

28
JIST Journal of Information Science and Technology
Volume 10, NO 1 | JAN – JUN 2020 | 24-29

เก็บ ข้อ มูล การจําแนกคุ ณ ภาพมะม่ วงพัน ธุ์โชคอนัน ต์โดยได้ [4] S. Sarraf and G. Tofighi, "A hybrid sequential feature
กําหนดระดับคุณ ภาพออกเป็ น 4 ระดับประกอบด้วย คุณภาพ selection approach for the diagnosis of Alzheimer's
ระดับ เกรด A, คุ ณ ภาพระดับ เกรด B, คุ ณ ภาพระดับ เกรด C
และคุ ณ ภาพระดับ เกรด D คื อ มะม่วงเน่ า จากนั้น ใช้วิธี Deep Disease," in Proceedings of International Joint
Learning ด้วยอัลกอริ ธึม CNN ในการประมวลผลภาพเพื่อสร้าง Conference on Neural Networks, 2016, pp. 1216-1220.
แบบจําลอง โดยผลการสร้างแบบจําลองแสดงค่าความแม่นยํา [5] E. Humphrey and J. Bello, "Rethinking Automatic
สู งสุ ดคื อ 99.79% แสดงถึ ง ประสิ ท ธิ ภาพ ในการส ร้ า ง Chord Recognition with Convolution Neural Networks,"
แบบจําลองเพื่อจําแนกคุณภาพมะม่วงพัน ธุ์โชคอนันต์ดว้ ยวิธี
Deep Learning สอดคล้องกับงานวิจยั [6-8] ที่ แสดงให้เห็ น ว่า in Proceedings of the 11th International Conference on
การประยุ ก ต์ ใ ช้ วิ ธี Deep Learning ด้ ว ยอั ล กอริ ธึ ม CNN มี Machine Learning and Application, 2012.
ประสิ ทธิ ภาพในการจําแนกข้อมูลประเภทที่ไม่ได้มีโครงสร้าง [6] T. Tathawee, S. Prasarnpun, S. Onbua, T. Pinthong, and
เป็ นรู ป แบบเฉพาะตัว (Unstructured Data) อย่างเช่ น รู ป ภาพ A. Suwannakom, "Orchid identification based on
(Image) ซึ่ งสามารถสกัดคุณลักษณะเด่นจากรู ปภาพได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ computer vision analysis," in Proceedings of the 6th
จากนั้น งานวิจยั นี้ ได้น ําแบบจําลองพัฒ นาเป็ นระบบ National Science Research Conference, Thailand, 2014,
ต้นแบบสําหรั บตรวจสอบคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ ผล pp. 47 - 56.
การทดสอบใช้งานระบบพบว่าการทดสอบรู ปภาพกลุ่มคุณภาพ [7] B. Tilmann, "The Business Impact of Predictive
เกรด A อัตราความสําเร็ จในการจําแนกคือ 100% เกรด B อัตรา Analytics," ed. IGI Global, September - December 2007.
ความสําเร็ จในการจําแนกคือ 100% เกรด C อัตราความสําเร็ จ [8] R. Kohavi, "A study of crossvalidation and bootstrap for
ในการจําแนกคือ 100% และเกรด D อัตราความสําเร็ จในการ
accuracy estimation and model selection," in
จําแนกคือ 100% ซึ่งจากผลลัพธ์การทดสอบใช้งานระบบแสดง
Proceedings of the Fourteenth International joint
ให้เห็นว่าแบบจําลองการจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์
ที่ ส ร้ างขึ้ นโดยใช้วิธี Deep Learning ด้ว ยอัล กอริ ธึ ม CNN มี conference on Artificial Intelligence, Montreal, Canada
ความสามารถในการจําแนกคุณภาพมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ได้ 1995, pp. 1137-1143.
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถนําผลการวิจยั เป็ นตัวอย่างในการ [9] A. Paisal and T. Kasetkasem, "Separation the mingling
พัฒ นาระบบอัต โนมัติ สํ า หรั บ คัด แยกคุ ณ ภาพมะม่ ว งเพื่ อ varieties of the mungbean seeds by image processing,"
ส่ งเสริ มการจําหน่ายผลิตภัณฑ์และสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั การ Khon Kaen Agriculture Journal, vol. 3, pp. 240-247,
จําหน่ายผลิตภัณฑ์มะม่วงพันธุ์โชคอนันต์ต่อไป 2011.
[10] N. Masunee, "Development of an image processing
เอกสารอ้ างอิง system in splendid squid quality classification," Prince
[1] J. Jaroenjit, A. Panpanasakul, P. Chaisri, P. Promduang, of Songkla University, 2014.
and S. Prompongusawa, "Classification pearls using [11] S. Aunkaew, T. Khaorapapong, and M. Karnjanadecha,
image processing," in Proceedings of the 9th Hatyai "A Study of Inspection of White Mould on Surface
National and International Conference, Thailand, 2014, Rubber Sheets Using Image Processing," Thaksin
pp. 1679 - 1691. University Journal, vol. 10, July - December, pp. 50–61,
[2] A. Tungkastan and K. Leewun, "Pixel-Based Car Model 2007.
Detection and Recognition," Engineering Journal of [12] A. Rosebrock, "Installing Keras with TensorFlow
Siam University, vol. 19, January-June, pp. 90–102, backend," January, 2020. [Online]. Available:
2018. https://www.pyimagesearch.com/2016/11/14/installing-
[3] S. Phimphisan, "Application of Data Mining for keras-with-tensorflow-backend/. [Accessed: Jan 7,
Diabetic Retinopathy Using Decision Tree," Journal of 2020].
Srivanalai Vijai, vol. 3, 2016.

29

You might also like