You are on page 1of 15

SAP2000 RC Applications:

Continuous Beam 2
ในตัวอย่างนี้จะทาการวิเคราะห์และออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก ต่อเนื่องโดยวิธีกาลัง โดยมีผัง
พื้นดังในรูป กาหนดพื้นคอนกรีตสาเร็จรูปมีน้าหนักบรรทุกรวมวัสดุปูผิว 320 กก./ม.2 และน้าหนัก
บรรทุกจร 300 กก./ม.2 กาลังคอนกรีต f’c = 240 กก./ซม.2 และเหล็กเสริม fy = 4,000 กก./ซม.2

SP SP SP 4m

B1 B1 B1

SP SP SP 4m

4m 4m 4m

คำนวณคำน B1
สมมุติพื้นหนา 0.1 m, คานหน้าตัด 0.3x0.5 m
น้าหนักพื้น  3204.0  1,280 kg/m

น้าหนักคาน  0.3(0.5-0.1)2,400  288 kg/m

น้าหนักจร  3004.0  1,200 kg/m

wu  1.4(1,280  288)  1.7(1,200)  4,235 kg/m

โมเมนต์ดัด :
1 1
โมเมนต์บวกช่วงนอก: Mu  wuL2   4,235  42  4,840 kg-m
14 14
1 1
โมเมนต์บวกช่วงใน: Mu  wuL2   4,235  42  4,235 kg-m
16 16
1 1
โมเมนต์ลบ: Mu  wuL2   4,235  42  6,776 kg-m
10 10
SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 17
กำรวิเครำะห์และออกแบบโดย SAP2000
 เริ่มต้นโปรแกรม SAP2000 เปลี่ยนหน่วยเป็นหน่วย Kgf, m, C

 กด Ctrl+N เริ่มต้นโมเดลใหม่ เลือกเริ่มต้นจากไฟล์ที่มีอยู่ ใช้แบบร่าง Grid Only

 เลือกไฟล์ RC01 SimpleRCBeam.sdb ที่สร้างไว้จากบทที่แล้วเพื่อใช้ข้อมูลวัสดุและหน้าตัด

 กาหนดจานวนเส้นกริดและระยะห่างในแต่ละทิศทางคือ

จำนวนเส้นกริด ระยะห่ำงกริด
X direction 4 4

Y direction 3 4

Z direction 1 3


SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 18
 คลิกปุ่ม ปรับมุมมองระนาบ XY Plane @ Z=0

 สั่งเมนู Define > Materials เพื่อตรวจสอบวัสดุ

 สั่ งเมนู Define > Section Properties > Frame Sections คลิ กรายการ FSEC1 แล้ ว กด
Modify/Show Property… เปลี่ยนชื่อเป็น B1

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 19


 คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด B1 ตีกรอบคลุมทั้งหมดเพื่อวาดคาน

 กด Ctrl+A เลือกทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Joint > Restraints กาหนดจุดรองรับ

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 20


จะได้โมเดลในมุมมอง 3D View ดังในรูป

 กลับมาที่มุมมอง XY Plane คลิกปุ่ม เลือกหน้าตัด None แล้วตีกรอบคลุมทั้งหมดเพื่อ


วาดพื้นดังในรูป

 สั่งเมนู File > Save บันทึกไฟล์ตั้งชื่อว่า RC02 ConBeam.sdb


SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 21
นำหนักบรรทุก
 สั่งเมนู Define > Load Patterns… ตรวจสอบว่าบรรทุก LIVE ดังในรูป

 คลิกปุ่ม เลือก Fill Object และ Area > Local Axes เพื่อให้แสดงพื้นและแกนเฉพาะที่

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 22


จะเห็นว่าแกน 1 (ลูกศรสีแดง) ชี้ไปทางแกน X ซึ่งจะเป็นทิศทางของน้าหนักบรรทุกทางเดียว
แต่ในกรณีนี้เราต้องการทิศทางดิ่งตามแกน Y จึงต้องหมุนแกนพื้น
 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Area > Local Axes ใส่ค่ามุม 90 องศา

เมื่อกด OK แกน 1 (ลูกศรสีแดง)ของพื้นจะชี้ขึ้นตามแกน Y ดังในรูป

 คลิกเลือกพื้นทั้งหมด สั่งเมนู Assign > Area Loads > Uniform to Frame ใส่น้าหนักบรรทุก
กรณี DEAD แล้วทาอีกครั้งใส่กรณี LIVE ดังในรูป

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 23


 คลิกขวาที่พื้นเพื่อดูข้อมูล คลิกแถบ Load จะเห็นน้าหนักบรรทุกดังในรูป

กำรวิเครำะห์โครงสร้ำง
 สั่งเมนู Analyze > Set Analysis Options เลือกแบบ Space Frame

 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือ

 กด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์โครงสร้าง เลือก Do Not Run สาหรับกรณี MODAL แล้วกดปุ่ม


Run Now

 เมื่อรันการคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงการเสียรูปทรงภายใต้กรณีบรรทุก DEAD

 คลิ ก ปุ่ ม เลื อ กกรณี บ รรทุ ก LIVE ให้ แ สดง Moment 3-3 แล้ ว สั่ ง เมนู Options >
Moment Diagram on Tension Side
SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 24
 คลิกปุ่ม เลือกกรณีบรรทุก COMB1 ให้แสดง Moment 3-3 แบบแสดงค่า แล้วปรับ
มุมมองระนาบ XZ

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 25


3 ช่วง คานวณมือ SAP2000

โมเมนต์บวกช่วงนอก: 4,840 5,279


โมเมนต์บวกช่วงใน: 4,235 1,895
โมเมนต์ลบ 6,776 6,892

จะเห็นว่าไม่ค่อยตรงกันนัก เนื่องจากมีเพียง 3 ช่วง ถ้าจานวนช่วงมากขึ้น เช่นเป็น 6 ช่วง

เมื่อรันการคานวณและดูผลโมเมนต์ดัด M3-3 จะได้

กำรออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
 สั่งเมนู Define > Load Combinations ตรวจสอบ COMB1

 สั่งเมนู Design > Concrete Frame Design > View/Revise Preferences… เลือก
มาตรฐาน ACI 318-99 และ Pattern Live Load Factor = 1

 กด Ctrl+A สั่งเมนู Design > Concrete Frame Design > View/Revise Overwrites ใน
ช่อง Framing Type เลือกเป็น NonSway

 สั่งเมนู Design > Concrete Frame Design > Select Design Combos เลือกกรณี
บรรทุกร่วมที่จะใช้ในการออกแบบ

 สั่งเมนู Design > Concrete Frame Design > Start Design/Check of Structure เพื่อ
เริ่มคานวณออกแบบ
SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 26
 เมื่อคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงปริมาณเหล็กเสริมตามยาว เปลี่ยนหน่วยเป็น Kgf, cm, C

2DB20
ปริมาณเหล็กมากที่สุด 4.64 cm2 เลือกเหล็กเสริม 2DB20
0.50 m

(As=6.28cm2) บนและล่ า งตลอดทุ ก ช่ ว งคาน อั ต ราส่ ว น

2DB20 เหล็ กเสริม  = 4.64/(3044) = 0.0035 เท่ ากับ ปริ มาณ


0.30 m
เหล็กเสริมน้อยที่สุด แสดงว่าหน้าตัดใหญ่เกินไป อาจลองลด
ขนาดหน้าตัดลง

 คลิกปุ่ม ปลดล๊อกโมเดล แล้วสั่งเมนู Define > Section Properties > Frame


Section คลิกรายการ B1 กดปุ่ม Modify/Show Property ปรับขนาดเป็น 20x40

 สั่งเมนู Analyze > Run Analysis หรือกด F5 เพื่อรันการวิเคราะห์

 สั่งเมนู Design > Concrete Frame Design > Start Design/Check of Structure หรือ
กด Shift+F6 เพื่อเริ่มคานวณออกแบบ

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 27


 เมื่อคานวณเสร็จโปรแกรมจะแสดงปริมาณเหล็กเสริมตามยาว เปลี่ยนหน่วยเป็น Kgf, cm, C

 คลิกขวาที่คานดังในรูปข้างบนเพื่อดูรายละเอียดการออกแบบ เลือกตาแหน่งที่มีมเมนต์บวกมาก
ที่สุดที่กลางช่วง แล้วกดปุ่ม Summary เพื่อดูรายการคานวณ

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 28


2DB20
ปริมาณเหล็กมากที่สุด 5.83 cm2 เลือกเหล็กเสริม 2DB20
0.40 m

(As=6.28cm2) บนและล่ า งตลอดทุ ก ช่ ว งคาน อั ต ราส่ ว น

2DB20
เหล็กเสริม  = 5.83/(2034) = 0.0086
0.20 m

 คลิกปุ่ม เลือกกรณีบรรทุก COMB1 ให้แสดง Moment 3-3 แบบแสดงค่า


แล้วคลิกขวาที่คานดังในรูป

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 29


ระยะแอ่นตัว = 0.002653 m, ระยะช่วงคาน = 4.0 m
อัตราส่วน /L = 0.002653/4 = 1/1507 < 1/360 OK

 แต่ถ้าลดขนาดคานลงเหลือ 15x30 โดยทาตามขั้นตอนเดิมจะได้ผลการออกแบบดังในรูป

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 30


คานเป็นสีแดงแสดงว่าออกแบบไม่ผ่าน เครื่องหมาย (O/S) หมายถึง Oversize คานมีขนาดไม่
เพียงพอ เช่นจากปริมาณเหล็กเสริมที่คานวณได้ 9.265 cm2
As 9.265
    0.0257 > [ max  0.0197 ] NG
bd 15  24

แต่ไม่เกิน b  0.0262 แสดงว่าโปรแกรมตรวจสอบที่  max ถ้าดูรายการคานวณจะระบุว่า

SAP2000 RC  A02 Continuous Beam By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 31

You might also like