You are on page 1of 3

โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1

Ferroresonance คืออะไร?
รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
เฟอรโรเรโซแนนซคืออะไร
Ferroresonance คือ การเกิดเรโซแนนซระหวาง inductive reactance และ capacitive
reactance หรือ XL = XC นั่นเอง โดยที่ inductive reactance เกิดเนื่องจากแกนเหล็ก สวน capacitive
reactance เกิดเนื่องจากคุณสมบัติของสายเปนตน
ในความเปนจริงการที่จะให XL = XC พอดีนั้นเปนไปไดยากมาก แตในทางปฏิบัติ ถาคา
ทั้งสองคามีคาใกลเคียงกันก็เกิดปญหาแลว อยางนี้ก็ถือวาเกิดเรโซแนนซ

เฟอรโรเรโซแนนซทําใหเกิดแรงดันสูงไดอยางไร?
กระแสที่เกิด I = 10.000 / j (3,000 – 2,700) = 33 A
j 3000 ohms แรงดันครอม inductive reactance =
VS =10 kV 33 A x 3000 Ω = 100,000 V หรือ 100 kV
- j 2700 ohms รีแอคแตนซตา งกัน (3000 – 2700) x 100 / 3000 = 10%
แรงดันครอม XL เพิ่มขึ้น 100 / 10 = 10 เทาของ VS

รูปที่ 1 ก. คารีแอคแตนซตางกัน 10% ของ inductive reactance

กระแสที่เกิด I = 10.000 / j (3,000 – 2,400) = 16.7 A


j 3000 ohms แรงดันครอม inductive reactance =
VS =10 kV 16.7 A x 3000 Ω = 50,000 V หรือ 50 kV
- j 2400 ohms รีแอคแตนซตา งกัน (3000 – 2400) x 100 / 3000 = 20%
แรงดันครอม XL เพิ่มขึ้น 50 / 10 = 5 เทาของ VS

รูปที่ 1 ข. คารีแอคแตนซตางกัน 20% ของ inductive reactance


รูปที่ 1 เรโซแนนซอนุกรมของรีแอคแตนซที่ใกลเคียงกัน
พิจารณารูปที่ 1 เมื่อวงจรประกอบดวย inductive reactance และ capacitive reactance และ
มีแรงดันปอนใหกับระบบ 10 kV แตแรงดันครอม inductive reactance มีคาถึง 100 kV ในรูปที่ 1 ก.
สูงกวาแรงดันปอนถึง 10 เทา แมวาคา inductive reactance และ capacitive reactance จะมีคาไม

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 30/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2
เทากันพอดีตามทฤษฎีก็ตาม สวนรูปที่ 1 ข. แรงดันครอม inductive reactance มีคา 50 kV สูงกวา
แรงดันปอนถึง 5 เทา และคา inductive และ capacitive reactance ตางกันถึง 20%

จากรูปที่ 1 ทั้งรูป ก.และ รูป ข. สรุปไดวาแรงดันที่เกิดกับ inductive reactance มีคาเปนไป


ตามสมการดังนี้
IXL = VS x 100 / ∆X% (1)

จากตัวอยางในรูปที่ 1 ก. และใชสมการที่ (1) จะได IXL = 10 x 100 / 10% = 100 kV ซึ่งจะตรง


ตามที่คํานวณไดในรูปที่ 1 ก.

ตัวอยางปญหาที่เกิดในทางปฏิบตั ิ
พิจารณารูปที่ 2 ก. กรณีที่มกี ารตอระหวางสายใตดินและหมอแปลง และรูปที่ 2 ข. แสดง
วงจรการตอของรูปที่ 2 ก. แตไมไดแสดงคา XL และ R ของสายใตดิน แสดงเฉพาะคา XC เทานั้น

A สายใตดิน

B
หมอแปลง
C

รูปที่ 2 ก. การตอระหวางสายใตดนิ และหมอแปลง


A

B XLB XLC
C XCB

XCC

รูปที่ 2 ข. การตอวงจรของสายใตดนิ และหมอแปลงโดยมีการปดสวิตช A


รูปที่ 2 การเกิดเฟอรโรเรโซแนนซระหวางสายใตดนิ และหมอแปลง
ในรูปที่ 2 ข. เมื่อปดสวิตช A เขาไปทําใหเกิดกระแสไหลผานหมอแปลง XL และ XC ของ
สายใตดินของเฟส B และ C ดังแสดงในรูปที่ 2 ข. และถาคาของ XL ของหมอแปลงกับ XC ของสาย

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 30/05/47


โครงการพัฒนาความชํานาญดานไฟฟากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3
ใตดินมีคาใกลเคียงกันก็ทําใหแรงดันตกครอมที่ XL ของหมอแปลงและ XC มีคาสูงมาก ในรูปที่ 2
ข. เมื่อสับสวิตช A ปดเขาไปทําใหกระแสไหลผาน XLB และ XCB ของเฟส B และในขณะเดียวกัน
ไหลผาน XLC และ XCC และเมื่อเกิดเรโซแนนซทําใหแรงดันตกครอม XCB และ XCC สูงมาก หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่งคือ แรงดันที่เฟส B และ C สูงมาก กรณีนหี้ มอแปลงหรือสายใตดินอาจระเบิด
เสียหาย ทั้งนีข้ ึ้นกับวาอุปกรณไหนทนกวากัน และเมื่อมีการระเบิดของหมอแปลงหรือสายใตดนิ ทํา
ใหปรากฏการณเฟอรโรเรโซแนนซหายไปและทุกอยางกลับคืนสูสภาพเดิม
เหตุการณดังกลาวขางตนนั้นถามีการติดตั้งอะเรสเตอรที่ทุกเฟสก็จะทําใหอะเรสเตอรที่เฟส
B และ C ทํางานตลอดเวลาจนเสียหายเพราะปรากฏการณเฟอรโรเรโซแนนซยงั เกิดตลอดเวลา
ตราบที่หมอแปลงและสายใตดินยังไมเสียหาย และกรณีนี้ถาคิดถึงลูกถวยที่ติดตั้งและความทน
แรงดันไฟฟาของลูกถวยถาต่ํากวาแรงดันทํางานของอะเรสเตอรก็จะเกิดวาบไฟที่ลูกถวยตลอดเวลา

ขอสังเกตุ
1. เฟอรโรเรโซแนนซตามที่กลาวขางตนนัน้ ถาเกิดสับสวิตช A ปญหาจะไปเกิดที่เฟส B และ C
ถาสับสวิตชที่ B กอนก็จะเกิดปญหาที่เฟส A และ C
2. การประสานสัมพันธทางฉนวน (Insulation Coordination) ระหวางสายใตดิน หมอแปลง
กับอะเรสเตอร และลูกถวย มีความสําคัญมาก เพราะเราสามารถใชคุณสมบัติทางดานฉนวน
ของลูกถวยและการทํางานของอะเรสเตอรปองกันหมอแปลงหรือสายใตดินได
3. ถามวาถาเกิดเฟอรโรเรโซแนนซแลวจะแกไขไดอยางไร ถาเปนปญหาเฉพาะหนา คือเกิด
แลวและตองการแก ก็คงตองใชอุปกรณทสี่ ามารถสับสวิตชพรอมกันทั้งสามเฟสได หรือถา
หากจะใหดีก็ควรคํานวณหรือวิเคราะหตั้งแตแรกวาการติดตั้งดังกลาวมีโอกาสเกิดเฟอรโรเร
โซแนนซหรือไม ทําใหไมตอ งติดตั้งระบบที่ปญหาดังกลาวตั้งแตแรกเลยก็ได

รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ 30/05/47

You might also like