You are on page 1of 91

การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง

ั้
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 ชน
ด้วยโปรแกรม ETABS
Step by Step
โดย นายวิเศษ ฝากาทอง

เนื้อหา
1. การจัดเตรียมอาคาร
2. การกาหนดสภาพแวดล้อมการใช้งานของโปรแกรม
3. การกาหนดวัสดุ
3.1 คอนกรีต
3.2 เหล็กเสริมคอนกรีต SD40 (เหล็กข้ออ้อย)
3.3 เหล็กเสริมคอนกรีต SD24 (เหล็กกลม)
3.4 เหล็กรูปพรรณ
4. การกาหนดหน้าตัดองค์อาคาร
4.1 พื้น คสล. ชนิดหล่อในที่หนา 10 cm
4.2 หน้าตัดคาน คสล.
4.3 หน้าตัดเสา คสล.
4.4 หน้าตัดเหล็กรูปพรรณ
5. การ Model อาคาร
5.1 ขั้นตอนการเตรียมการขึ้น Model
5.2 เขียน Model โครงสร้างชั้น1
5.2.1 Model เสาชั้น 1 (ตอม่อ)
5.2.2 กาหนดจุดรองรับฐานรากเสาชั้น 1 (ตอม่อ)
5.2.3 Model คานชั้น 1
5.2.4 Model พื้นชั้น 1
5.3 เขียน Model โครงสร้างชั้นคานหลังคา
5.3.1 Model เสาชั้นคานหลังคา
5.3.2 Model คานชั้นคานหลังคา
5.4 เขียน Model โครงสร้างหลังคา
6. การใส่ Load และการกาหนด Load Combination
6.1 กาหนด Load Pattern
6.2 กาหนด Load Combinations
6.2.1 Load Combinations โครงสร้าง คสล.
6.2.2 Load Combinations โครงสร้างเหล็ก
6.2.3 การกาหนด Load Combinations ในโปรแกรม
6.3 การใส่ Load ใน Model
6.3.1 ใส่ Load พื้นชั้น 1
6.3.2 ใส่ Load ผนังชั้น 1
6.3.3 ใส่ Load หลังคา
6.4 การเตรียม Load Combinations เพื่อการออกแบบ
6.4.1 ใส่ Load Combinations สาหรับการออกแบบโครงสร้าง คสล.
6.4.2 ใส่ Load Combinations สาหรับการออกแบบโครงสร้างเหล็ก
7. การวิเคราะห์โครงสร้าง
7.1 Check Model
7.2 วิเคราะห์โครงสร้าง
7.3 ดูผลวิเคราะห์โครงสร้าง
7.3.1 ดูผล Reaction
7.3.2 ดูผลแรงลัพธ์ในคาน
7.3.3 ดูผลแรงลัพธ์ในเสา
7.3.4 ดูผลแรงลัพธ์ในโครงสร้างเหล็ก
8. การออกแบบโครงสร้าง
8.1 การออกแบบโครงสร้าง คสล.
8.2 การออกแบบโครงสร้างเหล็ก
8.3 การดูผลการออกแบบโครงสร้าง คสล.
8.4 การดูผลการออกแบบโครงสร้างเหล็ก

*****
1. การจัดเตรียมอาคาร
อาคารสาหรับวิเคราะห์และออกแบบ ในเอกสารนี้เลือกแบบสถาปัตยกรรมของอาคารห้องน้าสาธารณะ ขนาด 70 ตร.ม.
ลักษณะอาคาร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 ชั้น ใช้ฐานรากเสาเข็ม หลังคาเป็นโครงสร้างเหล็ก โดยมุงหลังคาด้วย
Metal Sheet
พิจารณาข้อมูลเพื่อการออกแบบ เช่น ระดับชั้น, ความสูง, ระยะ Gridline, ชนิดวัสดุ ฯลฯ
สรุป
- ระดับอ้างอิงการออกแบบ พื้นชั้น1 +0.10 ม., คานหลังคา +3.10 ม., จุดสูงสุดโครงหลังคา +4.60 ม.
- คอนกรีตใช้ f’c = 240 ksc
- เหล็กเสริมคอนกรีตใช้ fy = 4,000 ksc
- เหล็กรูปพรรณใช้ fy = 2,400 ksc
- ผนังอิฐมอญก่อครึ่งแผ่นหนัก 180 กก./ตร.ม.
- หน่วยน้าหนักคอนกรีตกับเหล็กรูปพรรณใช้ค่าตามที่โปรแกรมกาหนด
- ไม่ใช้แปเป็นโครงสร้างใน Model และรวมหน่วยน้าหนักไปกับวัสดุมุงหลังคา Metal Sheet = 15 กก./
ตร.ม.

*****
2. การกาหนดสภาพแวดล้อมการใช้งานของโปรแกรม
เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาจะพบกับหน้าจอตั้งต้น เลือก New Model

โปรแกรมจะให้กาหนดประเภทของหน่วยและมาตรฐานการออกแบบใน Model ให้เลือกกาหนดค่าต่างๆ กดปุ่ม OK

จะมีหน้าต่าง New Model Quick Templates ให้เลือกที่กรอบ Add Structural Objects เป็น Blank เพื่อกาหนดค่า
ทุกอย่างด้วยตัวเอง กรอกค่าเริ่มแรกในส่วนของ Grid Dimensions (Plan) กับ Story Dimensions ตามกรอบสีแดง
กาหนดระยะขอบเขตต่างๆ ของ Grid Line ใน Model เลือก Custom Grid Spacing แล้วกดปุม่ Edit Grid Data…
ตามกรอบสีแดง

กรอกค่าระยะ Grid Line ที่ต้องการ โดยเลือก Display Grid Data as Spacing และปรับขนาดวงกลมชื่อ Grid Line
ตามกรอบสีแดง เสร็จแล้วกดปุ่ม OK
กาหนดความสูง Story ของ Model เลือก Custom Story Data แล้วกดปุ่ม Edit Story Data… ตามกรอบสีแดง

กรอกค่าความสูงของแต่ละชั้น เสร็จแล้วกดปุ่ม OK

โปรแกรมจะสร้าง Grid Line และชัน้ ทั้งหมดที่กาหนดไว้ให้


หน้าจอพื้นฐานยังไม่เหมาะต่อการทางาน ควรปรับแต่งการแสดงผลเพิ่มเติมเพื่อง่ายต่อการมอง ให้ปิดการแสดงผลของ
จอด้านซ้ายโดยกดทีป่ ุ่มกากบาท เหลือพื้นทีใ่ ช้งานเพียงมุมมองเดียว และปิดการแสดงผลของเส้นบอกขนาด
Dimension และเส้นตารางที่พื้นออก เลือก Set Display Options… หรือที่ไอคอน ตามกรอบสีแดง

จะมีหน้าต่าง Set View Options ให้ยกเลิกการเลือกที่รายการ Dimension Lines กับ Horizon ตามกรอบสีแดง
หน้าจอโปรแกรมดูสะอาดตาพร้อมใช้งานในขัน้ ตอนต่อไป ก่อนจะใช้งานต่อ ให้ Save ชื่อ File ไว้ตามต้องการ
3. การการกาหนดวัสดุ
3.1 คอนกรีต
กาหนดคุณสมบัติวัสดุ ไปที่เมนู Define เลือก Material Properties…

คอนกรีตมีค่า f’c = 240 ksc เลือก Add New Material…

ที่หน้าต่าง Add New Material Property เลือก Region เป็น User และเลือก Material Type เป็น Concrete
จะมีหน้าต่าง Material Property Data ตั้งชื่อ Material Material Name เป็น Concrete แล้วไปกาหนดค่าเพิ่มเติม
โดยกดปุม่ Modify/Show Material Property Design Data…

กรอกค่า f’c ของคอนกรีต (ตรวจสอบหน่วยก่อนกรอกข้อมูล)


3.2 เหล็กเสริมคอนกรีต SD40 (เหล็กข้ออ้อย)
เหล็กข้ออ้อย มีค่า fy = 4,000 ksc เลือก Add New Material… ที่หน้าต่าง Add New Material Property เลือก
Region เป็น User และเลือก Material Type เป็น Rebar

ตั้งชื่อ Material Material Name เป็น SD40 (เหล็กข้ออ้อย) แล้วไปกาหนดค่าเพิ่มเติม โดยกดปุ่ม Modify/Show
Material Property Design Data…

กรอกค่า Fy และ Fu ของเหล็กเสริม SD40 (ตรวจสอบหน่วยก่อนกรอกข้อมูล)


3.3 เหล็กเสริมคอนกรีต SD24 (เหล็กกลม)
เหล็กกลม มีค่า fy = 2,400 ksc เลือก Add New Material… ที่หน้าต่าง Add New Material Property เลือก
Region เป็น User และเลือก Material Type เป็น Rebar กดปุ่ม OK จะมาที่หน้าต่าง Material Property Data ตั้ง
ชื่อ Material Material Name เป็น SD24 (เหล็กกลม) แล้วไปกาหนดค่าเพิ่มเติม โดยกดปุ่ม Modify/Show Material
Property Design Data…

กรอกค่า Fy และ Fu ของเหล็กเสริม SD24 (ตรวจสอบหน่วยก่อนกรอกข้อมูล)


3.4 เหล็กรูปพรรณ
มีค่า fy = 2,400 ksc เลือก Add New Material… ทีห่ น้าต่าง Add New Material Property เลือก Region เป็น
User และเลือก Material Type เป็น Steel

ที่หน้าต่าง Material Property Data ตั้งชื่อ Material Material Name เป็น Steel แล้วไปกาหนดค่าเพิ่มเติม โดยกด
ปุ่ม Modify/Show Material Property Design Data…

กรอกค่า Fy และ Fu ของเหล็กรูปพรรณ (ตรวจสอบหน่วยก่อนกรอกข้อมูล)

กดปุ่ม OK ทั้งหมดจนสิ้นสุดคาสัง่ แล้ว Save File ไว้ (ควร Save File งานไว้เป็นระยะๆ)
4. การกาหนดหน้าตัดองค์อาคาร
4.1 พื้น คสล.
พื้น คสล. เป็นชนิดหล่อในที่หนา 10 cmจากเมนู Define เลือก Section Properties และเลือก Slab Section… ที่
หน้าต่าง Slab Properties เลือก Slab1 และกดปุ่ม Modify/Show Property…

เข้ามาแก้ไขรายละเอียดพื้น ในส่วน General Data ตั้งชื่อเป็น Slab10cm วัสดุกาหนดที่ Slab Material เป็น
Concrete ชนิดของพื้น Modeling Type เป็น Membrane เพราะไม่ต้องการให้ Stiffness ของพื้นมีผลต่อการ
วิเคราะห์โครงสร้าง ในส่วน Property Data กาหนด Type เป็น Slab ระบุความหนาพื้น 10 cm

กดปุ่ม OK ทั้งหมดจนสิ้นสุดคาสัง่

4.2 หน้าตัดคาน คสล.


โดยจะเตรียมไว้ทั้งหมดคือ ขนาด 15x30 cm, 15x40 cm, 20x40 cm และ 20x50 cm
จากเมนู Define เลือก Section Properties และเลือก Frame Section… จะเข้ามาที่หน้าต่าง Frame Properties
โดยจะมีหน้าตัดตั้งต้นของโปรแกรมบางส่วนไว้ให้ เลือก Section ต้นแบบที่โปรแกรมให้มาคือ ConcBm แล้วกดปุ่ม
Add Copy of Property…

เข้ามากาหนดรายละเอียดในส่วน General Data ตั้งชื่อใหม่เป็น B15x30cm ที่ Material เลือก Concrete


ในส่วนของ Section Dimensions กาหนด Depth 30 cm (ความลึกคาน) และ Width 15 cm (ความลึกคาน)
ในส่วน Property Modifiers กดปุ่ม Modifiers… เพื่อไปกาหนดค่าการแตกร้าวของคาน
กาหนดค่าการแตกร้าวของคานมีผลต่อการคานวณ Moment ในแกนหลักของหน้าตัดมีค่า 0.35

จากนัน้ กาหนดหน้าตัดคานที่เหลือตามวิธีที่ผ่านมา

4.3 หน้าตัดเสา คสล.


หน้าตัดเสาทีเ่ ตรียมไว้คือ หน้าตัดเสา 20x20 cm เสริมเหล็ก 4-DB12mm และ หน้าตัดเสา 20x20 cm เสริมเหล็ก 8-
DB12mm
จากเมนู Define เลือก Section Properties และเลือก Frame Section… แล้วจะเข้ามาที่หน้าต่าง Frame
Properties เลือก Section ต้นแบบที่โปรแกรมให้มาคือ ConcCol แล้วกดปุ่ม Add Copy of Property…

เข้ามากาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Frame Section Property Data


ในส่วน General Data ตั้งชื่อใหม่เป็น C20x20cm ที่ Material เลือก Concrete
ในส่วนของ Section Dimensions กาหนด Depth 30 cm (ด้านลึกเสารอบแกนหลักของหน้าตัด) และ Width 15 cm
(ด้านกว้างเสารอบแกนรองของหน้าตัด)
ในส่วน Property Modifiers กดปุ่ม Modify/Show Modifiers… เพื่อไปกาหนดค่าการแตกร้าวของเสา

กาหนดค่าการแตกร้าวของเสามีผลต่อการคานวณ Moment ทั้งแกนหลักและแกนรองของหน้าตัดมีค่า 0.7


กดปุ่ม OK แล้วกลับมาที่หน้าต่าง Frame Section Property Data ในส่วน Reinforcement กดปุ่ม Modify/Show
Rebar… เพื่อเข้าไปกาหนดการเสริมเหล็กของเสา

เข้ามากาหนดค่าในหน้าต่าง Frame Section Property Reinforcement Data โดยระบุข้อมูลทั้งหมดตามกรอบสีแดง


เสร็จเรียบร้อยกดปุ่ม OK จะกลับมาที่หน้าต่าง Frame Section Property Data อีกครั้ง ลองสังเกตุดูว่า หน้าตัดเสาที่
Preview ด้านมุมขวาบนแสดงผลตามที่ได้กาหนดไว้ที่ผ่านมาได้อย่างถูกต้อง

กดปุ่ม OK ทาซ้าอีกครั้งสาหรับ หน้าตัดเสา 20x20 cm เสริมเหล็ก 8-DB12mm โดยเลือกต้นแบบเป็น C20x20cm-


4DB12 แล้วกดปุ่ม Add Copy of Property…
ตั้งชื่อเป็น C20x20cm-8DB12 เลือกแก้ไขข้อมูลโดยกดปุ่ม Modify/Show Rebar…

แก้ไขข้อมูลเฉพาะจานวนเหล็กเสริม
เสร็จกดปุ่ม OK จะกลับมาที่หน้าต่าง Frame Section Property Data อีกครั้ง สังเกตุหน้าตัดเสาจะแสดงผล 8-DB12
อย่างถูกต้อง

กดปุ่ม OK ทั้งหมดจนสิ้นสุดคาสัง่

4.4 หน้าตัดเหล็กรูปพรรณ
โดยเตรียมไว้คือ เหล็กกล่อง 100x50x3.2mm และ เหล็กกล่อง 100x100x3.2mm
จากเมนู Define เลือก Section Properties และเลือก Frame Section…

จะเข้ามาที่หน้าต่าง Frame Properties เลือก Section ต้นแบบที่โปรแกรมให้มาคือ SteelBm แล้วกดปุ่ม Add Copy
of Property…
เข้ามากาหนดรายละเอียดในหน้าต่าง Frame Section Property Data
ในส่วน General Data ตั้งชื่อใหม่เป็น TUBE-100X50X3.2mm ที่ Material เลือก Steel
ในส่วน Shape เลือก Section Shape เป็น Steel Tube
ในส่วนของ Section Dimensions กาหนดรายละเอียด

กดปุ่ม OK ทาซ้าอีกครั้งสาหรับ หน้าตัด เหล็กกล่อง 100x100x3.2mm และเลือก TUBE-100X50X3.2mm เป็น


ต้นแบบ ทาจนครบแล้วกดปุ่ม OK จนสิน้ สุดคาสั่ง
5. การ Model อาคาร
5.1 ขั้นตอนการเตรียมการขึ้น Model
กาหนดตาแหน่ง เสา คาน และโครงสร้างเหล็ก ให้สอดคล้องกับแบบสถาปัตยกรรม
โครงสร้างชั้น 1

โครงสร้างชั้นคานหลังคา

โครงสร้างหลังคา
5.2 เขียน Model โครงสร้างชั้น1
กดปุ่ม ไอคอน มุมมอง Plan จะมีหน้าต่าง Select Plan View เลือก Story1 กดปุ่ม OK หน้าจอจะแสดงผลแปลน
Story1

5.2.1 Model เสาชั้น 1 (ตอม่อ)


กดปุ่ม ไอคอน Quick Draw Columns (Plan, 3D) จะมีหน้าต่าง Properties of Object ที่มุมล่างซ้ายแสดง
ขึ้นมา เลือก Property เป็น C20x20-4DB12
ตรวจสอบการ Snap ที่จุดตัด แล้วเลือกจุดตัด Grid Line ตาแหน่งตามวงสีเขียว

เลือก Property ใหม่เป็น C20x20cm-8DB12 แล้วเลือกจุดตัด Grid Line ตาแหน่งตามวงสีเขียว


5.2.2 กาหนดจุดรองรับฐานรากเสาชั้น 1 (ตอม่อ)
จากไอคอนมุมมอง Plan เลือก Base กดปุ่ม OK

โปรแกรมจะเข้าสู่มมุ มอง Plane ใน Story Base จากนัน้ ใหลือกครอบทั้งหมดจากมุมบนซ้ายมามุมล่างขวา

จากเมนู Assign เลือก Joint และเลือก Restraints… อาคารนี้เป็นฐานรากชนิดเสาเข็มจะถือว่าเป็นฐานราก


แบบ Fix เราจึงกาหนดให้ Joint ที่เลือกไว้มีสภาพ Restraint แบบ Fix คือล็อคการเคลื่อนที่ทั้งเชิงเส้นและเชิงมุม แล้ว
กลับมาที่มมุ มอง 3 มิติ โดยกดที่ไอคอน 3-d
จะเห็นว่าจุดรองรับแสดงผลเป็นแบบ Fix ตามที่กาหนดไว้

5.2.3 Model คานชั้น 1


เลือกมุมมอง Plan โดยเลือก Story1 เพื่อเตรียมเขียนคาน เลือกที่ไอคอน Draw Beam/Column/Brace
(Plan, Elev, 3D) จะมีหน้าต่าง Properties of Object ปรากฏที่มุมล่างซ้ายของหน้าจอ เลือก Property เป็น
B20x40cm ตรวจสอบการ Snap ของจุดตรงไอคอน Snap to Grid Intersections & Points ตามกรอบสี

ก่อนเขียนจะกาหนดให้ Model แสดงผลหน้าตัดของเส้น โดยกดเลือกเลือกไอคอนตามกรอบสีแดง


จะมีหน้าต่าง Set View Options ให้เลือกที่ Tab Object Assignments เลือก Check ถูกหน้ารายการ
Sections

เขียนเส้นคานจากจุดตัดถึงจุดตัดจนครบทุกตาแหน่งตามรูป (ควรเขียนเส้นคานจากซ้ายไปขวาและจากล่างขึ้น
บน เพื่อความสะดวกในการใช้งานคาสั่งอื่นๆ ต่อไป)
ต่อไปเขียนคาน B20x50cm จนครบทุกตาแหน่งตามรูป

เมื่อเขียนเสร็จให้กดที่ไอคอน Select Object เพื่อสิ้นสุดคาสั่ง แล้วแตะเลือกคาน B20x50cm ที่ Line A ตัว


ซ้ายสุดและตัวขวาสุด (เส้นที่เลือกจะเป็นเส้นประ) แล้วไปที่เมนู Edit และเลือก Replicate... เพื่อจะทาการ Copy คาน
ตามกรอบสีแดง

ทีห่ น้าต่าง Replicate ใส่ค่า dy เป็น -1.6 เพื่อ Copy คานมาด้านล่างเป็นระยะ 1.60 m แล้วกดปุ่ม OK
คาน B20x50cm จะถูก Copy มาที่ระยะที่ต้องการ ตามกรอบสีเขียว

เลือก คานที่ Copy มาแล้วเปลี่ยนชื่อ โดยไปที่เมนู Assign เลือก Frame แล้วเลือก Section Property…

เลือกหน้าตัด B15x40cm จากหน้าต่าง Frame Assignment – Section Property แล้วกดปุ่ม OK


แบ่งคาน B20x50cm ซึ่งมีปลายคาน B15x40cm มาเชื่อมต่อ เลือกคาน B20x50cm ที่จะแบ่ง และเลือกจุด
ปลายคาน B15x40cm ตามกรอบและวงสีเขียว

ทีเ่ มนู Edit เลือก Edit Frames แล้วเลือก Divide Frames… ตามกรอบสีแดง จะมีหน้าต่าง Divide
Selected Frames ขึ้นมา เลือก Break at Intersections with Selected Frames and Joints แล้วกดปุ่ม OK

คาน B20x50cm จะถูกแบ่งในตาแหน่งของจุดตัดคาน B15x40cm


เลือกคาน B20x50cm ตัวซ้ายสุดและตัวขวาสุดใน Line B แล้ว Copy ไปทางแกน Y เป็นระยะ 1.60 m แล้ว
เปลี่ยนหน้าตัดเป็น B15x40cm เสร็จแล้วแบ่งคาน B20x50cm เหมือนขัน้ ตอนที่แล้ว เมื่อเสร็จแล้วแปลนคานจะเหมือน
ดังรูป

เลือกคาน B20x40cm ที่ Line B ตาแหน่งตามกรอบสีเขียว


ทาการ Copy ไปทางแกน Y ด้านบนเป็นระยะ 1.10 m จากนัน้ เปลี่ยนชื่อคานเป็น B15x40cm แล้วทาการ
แบ่งคานทุกตัว ซึ่งคาน B15x40cm ตัดผ่าน จะได้แปลนคานจะเหมือนดังรูป

เลือกคาน B20x40cm ที่ Line B ตาแหน่งตามกรอบสีเขียวอีกครั้ง

ทาการ Copy ไปทางแกน Y ด้านล่างเป็นระยะ 1.20 m จากนั้นเปลี่ยนชื่อคานเป็น B15x40cm แล้วทาการ


แบ่งคานทุกตัว ซึ่งคาน B15x40cm ตัดผ่าน จะได้แปลนคานจะเหมือนดังรูป
ต่อไปเลือกคานตามตาแหน่งกรอบสีเขียว

ทาการแบ่งคาน ที่หน้าต่าง Divide Selected Frames เลือก Option ตัวแรกเป็น Divide into 3 Frame
Objects ตามกรอบสีแดง แล้วกดปุ่ม OK

คานที่เลือกไว้จะทาการแบ่งเป็น 3 ส่วนเท่ากันตามรูป
ต่อไปเขียนคาน B15x30cm ในจุดแบ่งคานที่ทาไว้ในขั้นตอนที่ผ่านมา

ตรวจสอบข้อผิดผลาดของ Model (ควรทาเป็นระยะๆ) ไปที่เมนู Analyze เลือก Check Model… จะมี


หน้าต่าง ขึ้นมา กาหนดค่าความคลาดเคลื่อนขั้นต่าไว้ที่ 1 mm แล้วเลือกรายการตรวจสอบ Model ตามรูป แล้วกดปุ่ม
OK โปรแกรมจะแสดงผลการตรวจสอบ Model ถ้า Model ผ่าน จะมีข้อความ Model has been checked. No
warning messages were generated.

5.2.3 Model พื้นชั้น 1


เลือกไอคอน Draw Floor/Wall (Plan, Elev, 3D) ที่หน้าต่าง Property of Objects เลือก Slab 10cm
จากนัน้ ให้เขียนพื้นเป็นวงรอบปิด โดยเริ่มจาก Grid Line (A,1) -> (A,6) -> (B,6) -> (C,5) -> (C,2) -> (B,2) ->
(B,1) แล้วจบวงรอบที่ (A,1)
เมื่อกด Enter จะได้รูปพื้นตามรูป

5.3 เขียน Model โครงสร้างชั้นคานหลังคา


5.3.1 Model เสาชั้นคานหลังคา
เลือกมุมมอง Plan ที่Story 2
เลือกการเขียนเสาจากไอคอน Quick Draw Columns (Plan, 3D) จะมีหน้าต่าง Properties of Object ที่
มุมล่างซ้ายแสดงขึ้นมา เลือก Property เป็น C20x20-4DB12 เขียนในตาแหน่งตามรูป
เลือกเสา C20x20-8DB12 เขียนในตาแหน่งตามรูป

เลือกคาน B15x30cm เขียนในตาแหน่งตามรูป


ลองดูมุมมอง 3 มิติ โดยเลือกทีไ่ อคอน 3-d

ถ้าต้องการเห็นภาพ 3 มิติแบบรูปทรงก็สามาถทาได้ โดยเลือกไอคอน Set Display Options หน้าต่าง Set


View Options ให้ Check ถูกข้อ Extrude Frames กับ Extrude Shells
โปรแกรมก็จะแสดงผลในแบบรูปทรง 3 มิติ

Model โครงสร้าง คสล. เสร็จสมบูรณ์แล้ว ต่อไปจะ Model โครงสร้างเหล็กหลังคา

5.4 เขียน Model โครงสร้างเหล็กหลังคา


เลือกมุมมองแนวดิ่ง โดยกดที่ไอคอน Set Elevation View แล้วเลือกแนว Grid Line 3 กดปุ่ม OK

กดปุ่ม ไอคอน Quick Draw Columns (Plan, 3D) จะมีหน้าต่าง Properties of Object ที่มุมล่างซ้ายแสดงขึ้นมา
เลือก Property เป็น TUBE-100x100x3.2mm
เขียนเสาเหล็กตามตาแหน่งในกรอบสีเขียว

Copy เสาเหล็ก Line B ไปทิศ Y เป็นระยะ -1.10 m กับ -2.10 m และ Copy เสาเหล็ก Line C ไปทิศ Y เป็นระยะ
1.10 m จะได้เสาเหล็กเพิ่มเข้ามาตามกรอบสีเขียว
กาหนดให้แสดงผล Points กดไอคอน Set Display Options หน้าต่าง Set View Options ให้ ยกเลิกการ Check ถูก
ข้อ Invisible ของ Joint Objects ออกตามกรอบสีแดง (ถ้าไม่ต้องการแสดงให้ Check ถูก)

เลือกเสาเหล็กข้าง Line A และแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่ากัน และให้เลือกจุดที่แบ่งชิน้ เอาไว้ ต่อไปเลือกเมนู Edit แล้วเลือก


Move Joints/Frames/Shells… ตามกรอบสีแดง
เลื่อน Point ลงมาทางแนว Z (แนวดิ่ง) เป็นระยะ -0.25 m

เขียน จันทันเหล็ก โดยเลือก TUBE-100x50x3.2mm เขียนเชื่อมจุดได้เส้นจันทันตามรูป

ลบ TUBE-100x50x3.2mm ที่ปลายจันทันทั้ง 2 ด้านออก


เลือกโครงสร้างเหล็กทั้งหมด ไปที่เมนู Select และไปที่ Properties แล้วเลือก Material Properties…

เมื่อหน้าต่าง แสดงขึ้นมา เลือก Steel


โครงสร้างเหล็กทั้งหมดจะถูกเลือก ให้ Copy ไปทิศแนว X เป็นระยะ -5.25 m กดปุ่ม OK จากนัน้ เปิดมุมมอง 3 มิติ จะ
เห็นว่าโครงสร้างเหล็กจะถูก Copy มาไว้ที่ Line 1

เปิดมุมมอง Elevation ที่ Line 1 ทาการแบ่งชั้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่ตัดกันทั้งหมด แล้วลบส่วนที่เกินจนเหลือ


โครงสร้างตามรูป

เลือกโครงสร้างเหล็ก Line 1 ทั้งหมดแล้ว Copy ไปทิศแนว X เป็นระยะ 13.75 m เมื่อเรียบร้อยโครงสร้างเหล็กจะถูก


Copy ไปไว้ที่ Line 6 เปิดมุมมอง 3 มิติเพื่อตรวจสอบ แล้วกลับมาเปิดมุมมอง Elevation ที่ Line 3 ลบ TUBE-
100x50x3.2mm ข้าง Line B แล้วทาการแบ่งชั้นส่วนโครงสร้างเหล็กที่ตัดกันทั้งหมด แล้วลบส่วนที่เกินจนเหลือ
โครงสร้างตามรูป
เลือกโครงสร้างเหล็ก Line 3 ทั้งหมดแล้ว Copy ไปทิศแนว X เป็นระยะ -3.25 m เมื่อเรียบร้อยตรวจสอบด้วยมุมมอง 3
มิติ แล้วกลับมาที่มมุ มอง Elevation ที่ Line 3 อีกครั้ง ทาการเลือกโครงสร้างเหล็ก Line 3 ทั้งหมดแล้ว Copy ไปทิศ
แนว X เป็นระยะ 3.25 m แต่ในช่อง Number ให้ใส่ 2 เพื่อบอกว่า Copy 2 ครั้ง จากนั้นกดปุ่ม OK

เปิดมุมมอง 3 มิติเพื่อตรวจสอบว่าโครงสร้างเหล็กทั้งหมดอยู่ในตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว
เขียนคานเหล็ก TUBE-100x50x3.2mm เชื่อมปลายจันทันในส่วนที่ยื่นออกมาด้านหน้า 2.10 m

มีเสาเหล็ก TUBE-100x100x3.2mm วางอยู่บนคาน B15x30cm ที่ Line A และ Line B ดั้งนั้นจะต้องแบ่งคาน


B15x30cm ที่ Line A และ Line B ในจุดตัดของ TUBE-100x100x3.2mm เมื่อเรียบร้อย ให้ใช้คาสั่ง Check
Model… ในเมนู Analyze เพื่อตรวจสอบ Error ของ Model
เมื่อแสดงผลในแบบรูปทรง 3 มิติ จะเห็นว่า Model โครงสร้างอาคารเสร็จสมบูรณ์แล้ว
ลองเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลให้แสดงแบบแยกชนิดหน้าตัดวัตถุ ไปที่ไอคอน Set Display Option ในช่อง View by
Colors of เลือก Section Properties

กดปุ่ม OK โปรแกรมจะแสดงผลแบบแยกสีหน้าตัด โดยสีของหน้าตัดได้ระบุไว้ตอนกาหนดหน้าตัดวัตถุ


6. การใส่ Load และการกาหนด Load Combinations
6.1 กาหนด Load Pattern
Load Pattern เป็นชนิดของ Load ต่างที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง สาหรับอาคารหลังนี้จะใช้เพียง Dead
Load กับ Live Load เพื่อเป็นแนวทางการใช้งานโปรแกรมเท่านั้น โดย Dead Load จะแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ น้าหนัก
ของวัสดุและน้าหนักที่ระบุด้วยตัวเอง ส่วน Live Load จะเป็นน้าหนักใช้งานจริงของอาคาร
การกาหนด Load Pattern ให้ไปที่เมนู Define แล้วเลือก Load Pattern จะมีหน้าต่าง Define Load Pattern ขึ้นมา
ค่าตั้งต้นที่โปรแกรมกาหนดมาคือ Dead ซึ่งเป็นน้าหนักของวัตถุใน Model ซึ่งกาหนดค่า Self Weight Multiplier
เป็น 1 ส่วนอีกตัวที่กาหนดมาคือ Live ซึ่งจะใช้ระบุน้าหนักใช้งานของอาคาร
สาหรับอาคารนี้ต้องเพิ่ม Load Pattern ชนิด Dead อีกตัวเพื่อใช้ระบุน้าหนักตายตัวอื่นๆ เช่น ผนัง...

พิมพ์ชื่อในช่อง Load ว่า SDL กาหนด Type เป็น Dead และ Self Weight Multiplier เป็น 0 แล้วกดปุ่ม Add New
Load และจะเห็นว่า Load ชื่อ SDL จะเข้ามาอยู่ใน List เสร็จแล้วกดปุ่ม OK

6.2 กาหนด Load Combinations


Load Combinations คือการรวมน้าหนัก Load Pattern ในกรณีต่างๆ ตามมาตรฐานการออกแบบ
6.2.1 Load Combinations โครงสร้าง คสล.
การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง คสล. จะกาหนด Load Combinations ดังนี้
1.) 1.0(Dead+SDL) + 1.0(Live) โดยจะตั้งชื่อว่า ServiceLoad
2.) 1.7(Dead+SDL) + 2.0(Live) โดยจะตั้งชื่อว่า ConcDesignLoad
6.2.2 Load Combinations โครงสร้างเหล็ก
การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเหล็กจะใช้ Load Combinations ในชื่อ ServiceLoad เช่นกัน
6.2.3 การกาหนด Load Combinations ในโปรแกรม
ไปที่เมนู Define แล้วเลือก Load Combinations… จะมีหน้าต่าง Load Combinations ขึ้นมา กด Add
New Combo…

เมื่อมีหน้าต่าง Load Combination Data ขึ้นมา ตั้งชื่อ Load Combination Name ว่า ServiceLoad
และข้อมูลต่างๆ ตามกรอบสีแดง
เรียบร้อยแล้วกดปุ่ม OK จะกลับมาที่หน้าต่าง Load Combinations สังเกตุดูว่าจะปรากฏชื่อ ServiceLoad
ใน List แล้ว

กด Add New Combo… อีกครั้งเพื่อกาหนด Load Combination ต่อไป เมื่อมีหน้าต่าง Load


Combination Data ขึ้นมา ตั้งชื่อ Load Combination Name ว่า ConcDesignLoad และข้อมูลต่างๆ ตามกรอบสี
แดง

เรียบร้อยแล้วกดปุ่ม OK จะกลับมาที่หน้าต่าง Load Combinations สังเกตุดูว่าจะปรากฏชื่อ


ConcDesignLoad ใน List แล้วเช่นกัน

เมื่อเรียบร้อยแล้วกดปุ่ม OK เพื่อสิ้นสุดการกาหนด Load Combinations


6.3 การใส่ Load ใน Model
6.3.1 ใส่ Load พื้นชั้น 1
อาคารนี้เป็นห้องน้าซึ่งมี Live Load ตามกฎหมาย 150 กก./ตร.ม. และใช้ Super Dead Load 100 กก./ตร.
ม. สาหรับน้าหนักการปูกระเบื้องบนผิวหน้าพื้น
เปิดมุมมอง Plan เลือก Story1 เลือกพื้น Slab10cm จะเห็นแนวเส้นประรอบพื้นตามรูป

ไปที่เมนู Assign เลือก Shell Loads และเลือก Uniform…

จะมีหน้าต่าง Shell Load Assignment - Uniform แสดงขึ้นมา ตรง Load Pattern Name เลือก Live
แล้วใส่ข้อมูลต่างๆ ของ Live Load ตามกรอบสีแดง
กดปุ่ม OK แล้วปิดการแสดงผลของหน้าตัดออกก่อนตามรูป

กลับมาที่หน้าจอแสดงผล ให้จะเห็นค่า Live Load ที่ระบุไว้

ใส่ Super Dead Load 100 กก./ตร.ม. ในหน้าต่าง Shell Load Assignment - Uniform ตรง Load
Pattern Name เลือก SDL แล้วใส่ข้อมูลต่างๆ ของ Super Dead Load ตามกรอบสีแดง
กดปุ่ม OK พื้นจะแสดงผล Super Dead Load 100 กก./ตร.ม.

6.3.2 ใส่ Load ผนังชั้น 1


ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่นจะมีหน่วยน้าหนัก 180 กก./ตร.ม. ความสูงจากพืน้ ถึงท้องคาน 2.70 m คิดเป็น Line
Load ผนังประมาณ 500 กก./ม. จะมีตาแหน่งผนังห้องน้าคนพิการที่ Line 4 ซึ่งก่ออิฐมอญเต็มแผ่น ในส่วนนีจ้ ะคิด
Line Load ผนังประมาณ 1,000 กก./ม.
กดไอคอน Show Undeformed Shape เพื่อยกเลิกการแสดง Load พื้น

เลือกคานสาหรับ Line Load ผนัง 1,000 กก./ม.


ไปที่เมนู Assign เลือก Frame Loads และเลือก Distributed…

เมื่อหน้าต่าง แสดงขึ้นมาใส่ข้อมูลตามกรอบสีแดง

กดปุ่ม OK แล้วกลับมาที่จอแสดงผล เลือกคานสาหรับ Line Load ผนัง 500 กก./ม.


ใส่ Line Load ผนัง 500 กก./ม. เมื่อเรียบร้อยแล้ว ลองแสดงผลในมุมมอง 3 มิติ

6.3.3 ใส่ Load หลังคา


Model นี้จะใส่ Load หลังคาแบบ Line Load ไว้บนจันทัน
Live Load หลังคา = 30 กก./ตร.ม.
น้าหนัก MetalSheet รวมแป (SDL) ประมาณ 15 กก./ตร.ม.
จันทันตัวริมรับ SDL = 15x2.6 = 40 กก./ม.
จันทันตัวริมรับ Live Load = 30x2.6 = 80 กก./ม.
จันทันตัวในรับ SDL = 15x3.25 = 50 กก./ม.
จันทันตัวในรับ Live Load = 30x3.25 = 100 กก./ม.
เปิดการแสดงผลเฉพาะชั้นหลังคา ไปที่เมนู View เลือก Set Building View Limits… หน้าต่าง Set Building
View Limits จะแสดงขึน้ มา กาหนดค่า Top Story และ Bottom Story ของชั้นหลังคาไว้ตามกรอบสีแดง
กด OK หน้าจอจะแสดงผลเฉพาะชั้นหลังคา

ถ้าต้องการปิดการแสดงผลของ Grid Line ไปที่ View

Grid Line ในหน้าจอจะหายไป ถ้าต้องการเรียกกลับมาแสดงผลให้กลับมาเอาเครื่องหมายถูกออก

ต่อไปเลือกจันทันตัวริม ใส่ Line Load ของ SDL ตามที่ต้องการ


จันทันตัวริมจะแสดง SDL Load

เลือกวัตถุเดิมซ้าอีกครั้ง ไปที่เมนู Select เลือก Get Previous Selection ตามกรอบสีแดงหรือกดที่ไอคอน


ด้านซ้ายตามกรอบสีแดงอีกเช่นกัน

ใส่ Line Load ของ Live ตามที่ต้องการ

จันทันตัวริมจะแสดง SDL Load


เลือกจันทันตัวในใส่ Line Load ตามขั้นตอนที่ผ่านมาจนครบ รูปด้านล่างแสดง SDL Load กับ Live Load
ตามลาดับ

เมื่อใส่ Load ต่างๆ ครบแล้วให้เตรียม Model เพื่อทาการวิเคราะห์โครงสร้างต่อไป


6.4 การเตรียม Load Combinations เพื่อการออกแบบ
ก่อนทาการเตรียม Load Combinations เพื่อการออกแบบ ให้ตรวจสอบ Load Combinations จากการสร้างแบบ
อัตโนมัติของโปรแกรม โดยไปที่เมนู Define แล้วเลือก Load Combinations... จะมีหน้าต่าง Load Combinations
ขึ้นมา สังเกตุดูจะเห็นว่ามี Load Combinations บางตัวที่โปรแกรมสร้างขึ้นมา ให้ลบออกให้หมด คงเหลือไว้เฉพาะที่
กาหนดเอง

6.4.1 ใส่ Load Combinations สาหรับการออกแบบโครงสร้าง คสล.


ไปที่เมนู Design เลือก Concrete Frame Design ละเลือก Select Design Combinations…

จะมีหน้าต่าง ขึ้นมาให้เลือก Load Combinations สาหรับการออกแบบ ให้เลือก ConcDesignLoad จาก


ช่อง List of Combinations ด้านซ้าย แล้วกดเลือกให้มาอยู่ช่อง Design Conbinations ด้านขวา แล้วกดปุ่ม OK

6.4.2 ใส่ Load Combinations สาหรับการออกแบบโครงสร้างเหล็ก


ไปที่เมนู Design เลือก Steel Frame Design ละเลือก Select Design Combinations…
จะมีหน้าต่าง ขึ้นมาให้เลือก Load Combinations สาหรับการออกแบบ สาหรับ Tab Strength ให้เลือก
ServiceLoad จากช่อง List of Combinations ด้านซ้าย แล้วกดเลือกให้มาอยู่ช่อง Design Conbinations ด้านขวา

สาหรับ Tab Deflection ให้เลือก ServiceLoad จากช่อง List of Combinations ด้านซ้าย แล้วกดเลือกให้
มาอยู่ช่อง Design Conbinations ด้านขวา เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วกดปุ่ม OK
7. การวิเคราะห์โครงสร้าง
7.1 Check Model
ต้องตรวจสอบ Model ให้เรียบร้อยก่อนวิเคราะห์โครงสร้าง หากมีข้อผิดผลาดต้องทาการแก้ไขจนไม่มีข้อผิดผลาด

7.2 วิเคราะห์โครงสร้าง
ไปที่เมนู Analyze เลือก Run หรือกดที่ไอคอนตามกรอบสีแดง

เมื่อ Run หน้าจอจะแสดงผลการเสียรูปของโครงสร้าง


7.3 ดูผลวิเคราะห์โครงสร้าง
7.3.1 ดูผล Reaction
ดู Force Reaction จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง

ดู Moment Reaction จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง


7.3.2 ดูผลแรงลัพธ์ในคาน
เปิดมุมมอง Plan พื้นชัน้ 1 ปรับแต่งสีการแสดงผลเพื่อให้สบายตา โดยยกเลิกการแสดงผลของพื้น แล้วไปตั้ง
ค่าสีที่เมนู Options เลือก Graphics Colors และเลือก Output… เมื่อหน้าต่าง Set Output Colors แสดงขึ้นมาให้
ตั้งค่าสีเป็นสีดา ตามกรอบสีแดง เสร็จแล้วกดปุ่ม OK

ดู Moment จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง

ดู Shear Force จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง


7.3.3 ดูผลแรงลัพธ์ในเสา
กาหนดมุมมองแบบ 3 มิติ แล้วไปที่เมนู Select เลือก Select และเลือก Properties แล้วเลือก Frame
Sections…
เมื่อเข้ามาที่หน้าต่าง Select by Frame Property เลือกหน้าตัดเสา คสล. ทั้งหมด กดปุ่ม Select แล้วกดปุ่ม
Close เสาที่เลือกจะเป็นแนวเส้นประ

จากนัน้ ไปที่เมนู View เลือก Show Selection Only

หน้าจอจะแสดงผลเฉพาะเสาที่เลือกไว้
ไปที่เมนู Display เลือก Force/Stress Diagrams และเลือก Frame/Pier/Spandrel/Link Forces…

ดู Axail Force จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง กดปุ่ม OK


ดู Moment รอบแกนหลักของหน้าตัดเสา จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง กดปุ่ม
OK

ดู Moment รอบแกนรองของหน้าตัดเสา จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง กดปุ่ม OK


เมื่อเรียบร้อยกดที่ไอคอน Show Undeformed Shape เพื่อแสดงผลเป็นทั่วไป
7.3.4 ดูผลแรงลัพธ์ในโครงสร้างเหล็ก
ทาการเลือกโครงสร้างเหล็กทั้งหมดจาก เมนู Select เลือก Select และเลือก Properties แล้วเลือก Material
Properties… เมื่อมีหน้าต่าง Select by Material Property เลือก Steel แล้วกดปุ่ม Select และกดปุ่ม Close

ทาการปิด Grid Line จากนัน้ ไปที่เมนู View เลือก Show Selection Only หน้าจอจะแสดงผลเฉพาะ
โครงสร้างเหล็ก
แล้วไปที่เมนู Display เลือก Force/Stress Diagrams และเลือก Frame/Pier/Spandrel/Link Forces…

ดู Moment จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง


ดู Shear Force จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง กดปุ่ม OK

ดู Axail Force จาก Service Load กาหนดค่าการแสดงผลตามกรอบสีแดง กดปุ่ม OK


8. การออกแบบโครงสร้าง
8.1 การออกแบบโครงสร้าง คสล.
หลังจาก Model ได้ผ่านการวิเคราะห์โครงสร้างเรียบร้อยแล้ว กดไอคอน Show Undeformed Shape และปิดการ
แสดงผลของพื้นให้ Model แสดงผลโครงสร้างทั้งหมดตามรูป

ไปที่เมนู Design เลือก Concrete Frame Design และเลือก Start Design/Check หรือกดทีไ่ อคอน Concrete
Frame Design และเลือก Start Design/Check ก็ได้เช่นกัน
โปรแกรมจะแสดงผลการออกแบบ

จะเห็นว่ายังมีโครงสร้างบางส่วนที่ออกแบบไม่ผ่านต้องทาการแก้ไข ให้กดที่ไอคอน Lock/Unlock Model รูปกุญแจ


แล้วกดปุ่ม OK โปรแกรมจะสามารถแก้ไข Model ได้

แนวทางแก้ไข เพิ่มหน้าตัด B20x60cm แล้วเปลี่ยนหน้าตัดคานในตาแหน่งต่างๆ ดังรูป

ทาการ relese Moment ปลายคานตัวในทั้งหมด (ตอนทา Details ต้องสอดคล้องกับการวิเคราะห์ออกแบบ)


เลือกคาน B15x30cm แล้วไปที่เมนู Assign เลือก Frame และเลือก Releases/Partial Fixity…
จะมีหน้าต่าง Frame Assignment - Releases/Partial Fixity ให้เลือก Releases Moment ออกจากปลายคานทั้ง 2
ด้าน ตามกรอบสีแดง แล้วกดปุ่ม OK

โปรแกรมจะแสดงผลการ Releases Moment ออกจากปลายคานทั้ง 2 ด้าน


เลือกคาน B20x40cm ที่จะ Releases Moment ออกจากปลายคานด้านจุดเริ่มตามกรอบสีเขียว

หน้าต่าง Frame Assignment - Releases/Partial Fixity ให้เลือก Releases Moment ออกจากปลายคานด้านจุด


เริ่ม ตามกรอบสีแดง แล้วกดปุ่ม OK

โปรแกรมจะแสดงผลการ Releases Moment ออกจากปลายคานด้านจุดเริ่ม ตามกรอบสีเขียว


เลือกคาน B20x40cm ที่จะ Releases Moment ออกจากปลายคานด้านจุดสิ้นสุด ตามกรอบสีเขียว

หน้าต่าง Frame Assignment - Releases/Partial Fixity ให้เลือก Releases Moment ออกจากปลายคานด้าน


จุดสิ้นสุด ตามกรอบสีแดง แล้วกดปุ่ม OK

โปรแกรมจะแสดงผลการ Releases Moment ออกจากปลายคานด้านจุดสิน้ สุด ตามกรอบสีเขียว


ทาการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง คสล. อีกครั้ง โครงสร้าง คสล. ทั้งหมดออกแบบผ่านตามรูป

8.2 การออกแบบโครงสร้างเหล็ก
ไปที่เมนู Design เลือก Steel Frame Design และเลือก Start Design/Check หรือกดที่ไอคอน Steel Frame
Design และเลือก Start Design/Check โปรแกรมจะแสดงผลการออกแบบ
จะเห็นว่าจันทันเหล็กที่ออกแบบไม่ผ่านต้องทาการแก้ไข ให้กดที่ไอคอน Lock/Unlock Model รูปกุญแจ แล้วกดปุ่ม OK
โปรแกรมจะสามารถแก้ไข Model ได้

แนวทางแก้ไข เพิ่มหน้าตัด TUBE-150X100X3.2mm แล้วเปลี่ยนหน้าตัดจันทันเหล็กทั้งหมดดังรูป

ทาการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างเหล็กอีกครั้ง โครงสร้างเหล็กทั้งหมดออกแบบผ่านตามรูป
8.3 การดูผลการออกแบบโครงสร้าง คสล.
เลือกแสดงมุมมองที่แปลน Story1 และให้แสดงหน่วยของหน้าตัดเหล็กเสริมเป็น ตร.ซม. ไปที่มุมล่างขวา กดที่ปุ่ม
Units… เลือก Show Units Form…เพื่อตั้งค่าหน่วย

เลือกแสดงหน่วยของหน้าตัดเหล็กเสริมเป็น cm และแสดงทศนิยม 2 ตาแหน่ง แล้วกดปุ่ม OK

โปรมแกรมจะแสดงผลตัวเลขในหน่วยเซนติเมตร ตามรูปโปรแกรมแสดงผลหน้าตัดเหล็กตามยาวของคานในหน่วย ตร.


ซม. ลองคลิกขวาเลือกคานในตาแหน่งกรอบสีเขียว
โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดการคานวณคานในแต่ละช่วง ถ้าต้องการดูรายงานให้กดที่ปุ่ม Summary

จะมีรายงานการคานวณอย่างละเอียดให้ดู

ถ้าต้องการดูผลออกแบบอื่นๆ ไปที่เมนู Design เลือก Concrete Frame Design และเลือก Display Design Info…
หรืออาจจะเลือกจากไอคอน Concrete Frame Design และเลือก Display Design Info… ก็ได้เช่นกัน
จะมีหน้าต่างให้เลือกการแสดงผลโดยค่าเริ่มแรกจะแสดงค่า Longitudinal Reinforcing (แสดงผลเหมือนในรูปที่ผ่าน
มา) เมื่อกดเข้าไปโปรแกรมจะแสดงผลที่มีตัวเลือกอื่นๆ ตามที่ต้องการ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กบั ชนิดของโครงสร้างด้วย ลองเลือก
รายการ Shear Reinforcing เพื่อดูรายละเอียดการออกแบบเหล็กปลอกคาน

โปรแกรมก็จะแสดงผลเหล็กปลอกคาน

เมื่อต้องการดูผลการออกแบบเสา ให้ปรับมุมมองในแนว Elevation เลือกที่ Line 3 และเลือกการแสดงค่า


Longitudinal Reinforcing ตัวเองในวงเล็บแสดงหน้าตัดเหล็กแนวยาวในเสาหน่วยเป็น ตร.ซม. ลองคลิกขวาที่เสาใน
ตาแหน่งกรอบสีเขียว
โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดการคานวณเสาในแต่ละช่วง ถ้าต้องการดูรายงานให้กดที่ปุ่ม Summary

โปรแกรมจะแสดงรายงานการคานวณอย่างละเอียดให้ดู
ถ้าต้องการดูผลออกแบบของเสาแบบอื่นๆ ไปที่เมนู Design เลือก Concrete Frame Design และเลือก Display
Design Info… หรืออาจจะเลือกจากไอคอน Concrete Frame Design และเลือก Display Design Info… ก็ได้
เช่นเดียวกันกับคานที่ผ่านมา
8.4 การดูผลการออกแบบโครงสร้างเหล็ก
เลือกให้แสดงผลเฉพาะโครงสร้างเหล็ก และเมื่อโปรแกรมออกแบบโครงสร้างเหล็กแล้วเสร็จจะแสดงผลดังรูป ลองคลิก
ขวาเลือกคานในตาแหน่งกรอบสีเขียว

โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดการคานวณ Strength คานในแต่ละช่วง ถ้าต้องการดูรายงานให้กดที่ปุ่ม Details

โปรแกรมจะแสดงรายงานการคานวณอย่างละเอียดให้ดู
ถ้าต้องการดูค่า Deflection ในช่วงต่างๆ ให้เลือกที่ Deflection ถ้าต้องการดูรายงานให้กดที่ปุ่ม Details

โปรแกรมจะแสดงรายงานการคานวณอย่างละเอียดให้ดู
เมื่อต้องการดูผลการออกแบบเสา ลองคลิกขวาที่เสาในตาแหน่งกรอบสีเขียว

โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดการคานวณเสาในแต่ละช่วง ถ้าต้องการดูรายงานให้กดที่ปุ่ม Details

โปรแกรมจะแสดงรายงานการคานวณเสาอย่างละเอียดให้ดู

You might also like