You are on page 1of 10

การคิดเชิงสังเคราะห์

Aj.Teewara Buchaiyaphum
การสังเคราะห์ หมายถึง การผสมผสานรวมก ันอย่างกลมกลืนของส่ วนประกอบต่างๆ
จนกลายเป็ นสิ่ งใหม่ที่มีเอกลักษณ์และคุณสมบัติเฉพาะ
- เช่น ยาเม็ดประเภทต่างๆ เราไม่รู้ว่ายานั้นมีส่วนผสมของตัวยาอะไรบ้าง ถ้าเราไม่อ่าน
ส่ วนผสมที่ขา้ งกล่อง เนื่องจากยานั้นถูกสังเคราะห์ข้ นึ มาจากวัตถุดิบหลากหลายชนิด

Aj.Teewara Buchaiyaphum
การคิดเชิงสั งเคราะห์ จะช่วยให้เราสามารถจัดระบบระเบียบข้อมูลที่กระจัดกระจายในความคิดของ
เราได้อย่างเหมาะสมทาให้ย่นระยะเวลาในการคิด

การคิดเชิงสั งเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่างๆ มาหลอมรวมหรือ


ถักทอ ภายใต้โครงร่ างใหม่อย่ างเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้งั ไว้
- การสั งเคราะห์ ช่วยให้ เกิดการคิดสร้ างสรรค์เพราะมีส่วนสาคัญทาให้ เกิดสิ่ งใหม่ๆ ขึ้นอย่ างต่อเนื่อง

Aj.Teewara Buchaiyaphum
เหตุใดเราจึงต้องคิดเชิงสั งเคราะห์ เพื่อช่ วยหาทางออกของปัญหาโดยไม่ต้องเริ่มจากศูนย์ การคิด
เชิงสั งเคราะห์ จะช่ วยให้ เราไม่ต้องคิดสิ่ งต่างๆ ราวกับว่าสิ่ งนั้นไม่เคยเกิดขึ้น มาก่อน ราวกับว่าสิ่ งนั้น
ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน แต่สามารถนาสิ่ งที่คนอื่นคิดหรือได้ปฏิบัติมาแล้วมาใช้ ประโยชน์ ได้

THESIS SYNTHES
IS

ANTITHE
SIS ANTITHE
SIS

SYNTHES
THESISp
IS

Aj.Teewara Buchaiyaphum
จากกราฟ เป็ นแนวทางของเฮเกล เป็ นแนวทางที่นาไปสู่ปัญญ คือ การค้นพบความจริ งด้วยเหตุผล
โดยมีข้นั ตอนในการสังเคราะห์เป็ นองค์ประกอบหลัก และเป็ นส่วนสาคัญในการสรุ ปแนวคิดที่
กระจัดกระจายให้กลายมาเป็ นแนวคิดร่ วมที่ เข้าใจได้ทนั ที

เทคนิคทางขยับส่ วนผสม ( Synthesizer ) นับเป็ นวิธีการหนึ่ง ที่สามารถพัฒนามิติการคิดเชิง


สังเคราะห์ ของเราได้เป็ นอย่างดี

Aj.Teewara Buchaiyaphum
การคิดเชิ งสั งเคราะห์ สามารถแบ่งเป็ น 2 ลักษณะ
1. การคิดเชิ งสั งเคราะห์ เพื่อการสร้ าง “ สิ่ งใหม” เป็ นการประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องใช้ และ
อุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของเรา
2. การคิดเชิ งสั งเคราะห์ เพื่อการสร้ าง “แนวคิดใหม่ ” เป็ นการพัฒนาและคิดค้นแนวความคิด
ใหม่ๆในประเด็นต่างๆ ตามที่เราตั้งวัตถุประสงค์เอาไว้

วัสดุที่นามาสั งเคราะห์ สั งเคราะห์ เป็ น (ตั้งชื่ อเอง) วัตถุประสงค์


แว่ นตา+ไฟฉาย + หมวกกันน็อค หมวกนักโบราณคดี ใช้ เวลาสารวจถ้า หรื อพืน้ ที่ต่าง
• แว่นตา : ป้ องกันฝุ่ น,ควัน
• ไฟฉาย : เวลาเข้าถ้ า,ในที่
มื ด
• หมวก : ป้ องกันเศษดิน,หิ น

Aj.Teewara Buchaiyaphum
จะเห็นได้วา่ การลองใช้จินตนาการ นาวัสดุต่างๆมาผสมผสานกันเพือ่ วัตถุประสงค์บางอย่าง จะทาให้เรา
ได้ฝึกคิดเชิงสังเคราะห์ การผสมผสานหรื อระหว่างผสมผสานนั้น เราจะต้องคิดว่าจะใช้องค์ประกอบอะไร
จะผสมผสานอย่างไร ให้เหมาะสม
การจะเป็ นผูค้ ิดเชิงสังเคราะห์ได้ดีจาเป็ นต้องมีแหล่งข้อมูลที่ดีและเป็ นข้อมูลทีไ่ ด้รับจากการกลัน่ กรอง
อย่างน่าเชื่อถือมาแล้วระดับหนึ่ง

Aj.Teewara Buchaiyaphum
คิดสั งเคราะห์ เพื่อสร้ างสรรค์แนวคิดใหม่ มีกระบวนการคิดที่สาคัญทั้งสิ้ น 7 ขั้นตอน ซึ่งเรี ยกว่าบันได
7 ขั้นสู่ การสั งเคราะห์ แนวความคิด

■ บันไดขั้นที่ 1 การกาหนดวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ตอ้ งการคิดเชิงสังเคราะห์


■ บันไดขั้นที่ 2 การกาหนดขอบเขต ของประเด็นที่เกีย่ วข้อง เพื่อที่จะใช้เป็ นกรอบเบื้องต้นในการ
ค้นหาแหล่งข้อมูล
■ บันไดขั้นที่ 3 การกาหนดลักษณะ และขอบเขตของสิ่งที่จะนามาสังเคราะห์
■ บันไดขั้นที่ 4 ดารดึงเฉพาะแนวคิด ( concept) ที่เกีย่ วข้องมาใช้ ตั้งคัดสรรเฉพาะแก่นความคิดของ
ข้อมูลที่ตอบวัตถุประสงค์ของเราโดยไม่สนใจรายละเอียดหรือประเด็นอื่นๆที่ไม่เกีย่ วข้อง
Aj.Teewara Buchaiyaphum
■ บันไดขั้นที่ 5 การจัดเรียงแนวคิดตามโครงที่ต้งั ไว้ หรือสร้างทางความคิดใหม่เพื่อตอบวัตถุประสงค์
■ บันไดขั้นที่ 6 ขั้นทดสอบโครงร่างใหม่ เพื่อพิจารณาว่าโครงร่างใหม่ ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสม
หรือไม่ ดีที่สุดแล้วหรือยัง
■ บันไดขั้นที่ 7 การนาสิ่งที่สังเคราะห์ ได้ไปใช้ประโยชน์

Aj.Teewara Buchaiyaphum
เราจะต้องพัฒนาตัวของเราให้ สามารถคิดได้ครบทั้ง 10 มิติซึ่งจะช่ วยให้ การคิดเชิงสั งเคราะห์ ของ
เรามีประสิ ทธิภาพมากที่สุด

การพัฒนาทัศนคติและนิสัยนักคิดเชิงสั งเคราะห์
การพัฒนาทัศนคติและนิสัยนักคิดเชิงสังเคราะห์แล้วสามารถกระทาได้โดยผ่านหลัก “ไม่....ชอบ”
ไม่พอใจสิ่ งเดิม... ชอบถามหาสิ่ งใหม่ โดยธรรมชาติผลที่ได้จากการสั งเคราะห์ จะกลายเป็ นสิ่ งใหม่
เสมอเนื่องจากเราไม่ได้คัดลอกแนว ความคิดหรือลักษณะของสิ่ งๆ หนึ่งมาทั้งหมด แต่ หยิบมาเพียง
บางส่ วนบางเสี้ ยวมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับประเด็นที่เราจะทาการสั งเคราะห์ จากนั้นจึงนามา
จัดเรียง
Aj.Teewara Buchaiyaphum

You might also like