You are on page 1of 15

สรุ ปกฎหมายแพ่ ง  

1 ภาค 1/2563

(ข้อ 1)  กรณีตามปั ญหามีหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ ที่เกี่ยวข้ องและมีใจความ


สำคัญดังนี ้ คือ    

มาตรา 19  บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิ ติ ภาวะเมื่ อมี อายุย ี่สิ บปี บริ บูรณ์

มาตรา 20  ผู เ้ ยาว์ย ่อมบรรลุนิ ติ ภาวะเมื่ อ ทำการสมรส หากการสมรสนั้ นได้ทำ ตามบทบัญญัติ


มาตรา 1448                                                                                                                

มาตรา 21  ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใดๆ ต้องได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อน การใดๆ ที่ ผ ู ้


เยาว์ได้ทำ ลงปราศจากความยินยอมเช่ นว่านั้นเป็ นโมฆี ยะ  เว้นแต่ จะบัญญัติ ไว้เป็ นอย่างอื่ น

มาตรา 28  บุคคลวิกลจริ ตผู ใ้ ด ถ้าคู่สมรสก็ดี ผู บ้ ุ พการี กล่ าวคื อ บิ ดา มารดา ปู่ ย่า ตายาย ทวดก็ดี ผู ส้ ื บ
สันดานกล่ าวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผู ป้ กครองหรื อผู พ้ ิ ท กั ษ์ก ็ดี ผู ซ้ ่ึ งปกครองดู แลบุ คคลนั้ นอยู่ก็ดี
หรื อพนักงานอัยการก็ดี ร้ องขอต่ อศาลให้สั ่งให้บุ คคลวิกลจริ ตผู น้ ้ั นเป็ นคนไร้ ความสามารถ ศาลจะสั่ง
ให้บุ คคลวิกลจริ ตผู น้ ้ั นเป็ นคนไร้ความสามารถก็ได้

บุ คคลซึ่ งศาลได้สั ่งให้เป็ นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ ง ต้องจัดให้อยู่ในความอนุ บาล การแต่ งตั้ ง


ผู้ อนุ บาล  อำนาจหน้า ที่ ของผู อ้ นุ บาล และการสิ ้ นสุ ดของความเป็ นผู อ้ นุ บาล ให้เป็ นไปตามบทบัญญัติ
บรรพ 5 แห่ งประมวลกฎหมายนี้       คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา

 มาตรา 29  การใด ๆ อันบุคคลซึ่ งศาลสั ่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็ น


โมฆี ยะ       

 มาตรา 30  การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริ ตซึ่ งศาลยังมิ ได้สั ่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถได้กระทำลง การ
นั้นจะเป็ นโมฆี ยะต่ อเมื่ อได้กระทำในขณะที่ บุ คคลนั้ นจริ ตวิกลอยู่ และคู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ งได้รู ้ แล้วด้วย
ว่าผู ก้ ระทำเป็ นคนวิกลจริ ต

 มาตรา 32  บุคคลใดมี กายพิการหรื อมี จิ ตฟั ่ นเฟื อนไม่ สมประกอบ หรื อประพฤติ สุ รุ่ ยสุ ร่ ายเสเพลเป็ น
อาจิ ณ หรื อติ ดสุ รายาเมา หรื อมี เหตุอื่นใดทำนองเดี ยวกันนั้น จนไม่ สามารถจะจัดทำการงานโดยตนเอง
ได้ หรื อจัดกิ จการไปในทางที่ อาจจะเสื่ อมเสี ยแก่ ทรั พย์สิ นของตนเองหรื อครอบครั ว เมื่ อบุ คคลตามที่
ระบุ ไว้ในมาตรา 28 ร้ องขอต่ อศาล ศาลจะสั ่งให้บุ คคลนั้ นเป็ นคนเสมื อนไร้ ความสามารถก็ได้

          บุ คคลซึ่ งศาลได้สั ่งให้เป็ นคนเสมื อนไร้ ความสามารถตามวรรคหนึ่ ง ต้องจัดให้อยู่ในความพิ ท กั ษ์


การแต่ งตั้ งผู้ พ ิทักษ์  ให้เป็ นไปตามบทบัญญัติ บรรพ 5 แห่ งประมวลกฎหมายนี้
          ให้นำ บทบัญญัติ ว ่าด้วยการสิ ้ นสุ ดของความเป็ นผู ป้ กครองในบรรพ 5 แห่ งประมวลกฎหมายนี้ มา
ใช้บ งั คับแก่ การสิ ้ นสุ ดของการเป็ นผู พ้ ิ ท กั ษ์โดยอนุ โลม

          คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา

มาตรา 34  คนเสมื อนไร้ ความสามารถนั้ น ต้องได้รั บความยินยอมของผู พ้ ิ ท กั ษ์ก่ อนแล้วจึ งจะทำการ


อย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่ อไปนี้ ได้

          (1) นำทรั พย์สิ นไปลงทุน

          (2) รั บคืน ทรั พย์สิ น ที่ ไปลงทุน ต้นเงิ นหรื อ ทุ นอย่างอื่ น

          (3) กู ้ย ืมหรื อให้กู ้ย ืมเงิ น ยืมหรื อให้ย ืมสังหาริ ม ทรั พย์อ นั มี ค ่า

          (4) รั บประกันโดยประการใด ๆ อันมี ผลให้ตนต้องถูกบังคับ ชำระหนี้

          (5) เช่ าหรื อให้เช่ าสังหาริ ม ทรั พย์มี กำ หนดระยะเวลาเกิ นกว่าหกเดื อน หรื ออสังหาริ ม ทรั พย์มี
กำหนดระยะเวลาเกิ นกว่าสามปี

          (6) ให้โดยเสน่ หา เว้นแต่ การให้ที่ พอควรแก่ ฐานานุ รู ป เพื่อการกุศล การสังคม หรื อตามหน้า ที่
ธรรมจรรยา

          (7) รั บการให้โดยเสน่ หาที่ มี เงื่ อนไขหรื อค่าภาระติ ดพัน หรื อไม่ รั บการให้โดยเสน่ หา

          (8) ทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดเพื่อจะได้มาหรื อปล่ อยไปซึ่ งสิ ทธิ ในอสังหาริ ม ทรั พย์หรื อใน
สังหาริ มทรั พย์อ นั มี ค ่า

          (9) ก่ อสร้ างหรื อดัดแปลงโรงเรื อนหรื อสิ ่ งปลูกสร้ างอย่างอื่ น หรื อซ่ อมแซมอย่างใหญ่

          (10) เสนอคดี ต่ อศาลหรื อดำเนิ นกระบวนพิจารณาใด ๆ เว้นแต่ การร้ องขอตามมาตรา 35 หรื อการ
ร้ องขอถอนผู พ้ ิ ท กั ษ์

          (11) ประนี ประนอมยอมความหรื อมอบข้อพิพาทให้อนุ ญาโตตุ ลาการวินิ จฉัย

          ถ้ามี กรณี อื่นใดนอกจากที่ กล่ าวในวรรคหนึ่ ง ซึ่ งคนเสมื อนไร้ ความสามารถอาจจัดการไปในทาง


เสื่ อมเสี ยแก่ ทรั พย์สิ นของตนเองหรื อครอบครั ว ในการสั่งให้บุ คคลใดเป็ นคนเสมื อนไร้ ความสามารถ
หรื อเมื่ อผู พ้ ิ ท กั ษ์ร้ องขอในภายหลัง ศาลมี อำ นาจสั่งให้คนเสมื อนไร้ ความสามารถนั้ นต้องได้รั บความ
ยินยอมของผู พ้ ิ ท กั ษ์ก่ อนจึ งจะทำการนั้ นได้
          ในกรณี ที่ คนเสมื อนไร้ ความสามารถไม่ สามารถจะทำการอย่างหนึ่ งอย่างใดที่ กล่ าวมาในวรรค
หนึ่ งหรื อวรรคสองได้ด ้วยตนเอง เพราะเหตุ มี กายพิการหรื อมี จิ ตฟั ่ นเฟื อนไม่ สมประกอบ ศาลจะสั ่งให้
ผู พ้ ิท กั ษ์เป็ นผู ม้ ี อำ นาจกระทำการนั้ นแทนคนเสมื อนไร้ ความสามารถก็ได้ ในกรณี เช่ นนี้ ให้นำ
บทบัญญัติ ที่ เกี่ ยวกับผู อ้ นุ บาลมาใช้บ งั คับแก่ ผ ู พ้ ิท กั ษ์โดยอนุ โลม

          คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา

          การใดกระทำลงโดยฝ่ าฝื นบทบัญญัติ มาตรานี้  การนั้ นเป็ นโมฆียะ

มาตรา 172  โมฆะกรรมนั้ นไม่ อาจให้สัตยาบันแก่ ก นั ได้ และผู ม้ ี ส่ วนได้เสี ยคนหนึ่ งคนใดจะยกความ


เสี ยเปล่ าแห่ งโมฆะกรรมขึ้ นกล่ าวอ้างก็ได้

          ถ้าจะต้องคืน ทรั พย์สิ นอันเกิ ดจากโมฆะกรรม ให้นำ บทบัญญัติ ว ่าด้วยลาภมิ ควรได้แห่ งประมวล
กฎหมายนี้ มาใช้บ งั คับ

มาตรา 175  โมฆี ยะกรรมนั้ น บุคคลต่ อไปนี้ จะบอกล้างเสี ยก็ได้

          (1) ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผู เ้ ยาว์ซ่ึ งบรรลุ นิ ติ ภาวะแล้ว แต่ ผ ู เ้ ยาว์จะบอกล้างก่ อนที่ ตนบรรลุ
นิ ติ ภาวะก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรม

          (2) บุคคลซึ่ งศาลสั ่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมื อนไร้ ความสามารถ เมื่ อบุ คคลนั้ นพ้น
จากการเป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อคนเสมื อนไร้ ความสามารถแล้ว หรื อผู อ้ นุ บาลหรื อผู พ้ ิ ท กั ษ์ แล้วแต่
กรณี แต่ คนเสมื อนไร้ ความสามารถจะบอกล้างก่ อนที่ ตนจะพ้นจากการเป็ นคนเสมื อนไร้ ความสามารถ
ก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอมของผู พ้ ิ ท กั ษ์

          (3) บุคคลผู แ้ สดงเจตนาเพราะสำคัญผิด หรื อถูกกลฉ้อฉล หรื อถูกข่มขู่

          (4) บุคคลวิกลจริ ตผู ก้ ระทำนิ ติ กรรมอันเป็ นโมฆี ยะตามมาตรา 30 ในขณะที่ จริ ตของบุ คคลนั้ นไม่
วิกลแล้ว

          ถ้าบุ คคลผู ทำ
้ นิ ติ กรรมอันเป็ นโมฆี ยะถึ งแก่ ความตายก่ อนมี การบอกล้างโมฆี ยะกรรม ทายาทของ
บุ คคลดังกล่ าวอาจบอกล้างโมฆี ยะกรรมนั้ นได้

                  (๑)  ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผู เ้ ยาว์ซ่ึ งบรรลุ นิ ติ ภาวะแล้ว แต่ ผ ู เ้ ยาว์จะบอกล้างก่ อนที่ ตน
บรรลุ นิ ติ ภาวะก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรม
จากข้ อเท็จพิเคราะห์ แล้ วเห็นว่ า การที่ เด็กชายหล่ อซึ่ งอยู่ในฐานะเป็ นผู เ้ ยาว์ซื้ อสร้ อยทองคำน้ำหนัก 15 
กรั ม ราคา 12,000 บาท โดยผู แ้ ทนโดยชอบธรรมไม่ รู ้ ถื อว่าผู เ้ ยาว์ทำ นิ ติ กรรมใดๆ ต้องได้รั บความ
ยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อน ตามมาตรา 21

แต่ ปั ญหาข้อเท็จจริ งปรากฎว่าเมื่ อผู แ้ ทนโดยชอบธรรมได้รู ้ ถึ งการกระทำของเด็กชายหล่ อ ขณะเดี ยวกัน


พอดี ราคาทองคำที่ น ้ำหนัก  15 กรั ม ขึ้ นเป็ น 15,000 บาท ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมเลยชมเด็กชายหล่ อว่าเก่ ง
รู ้ จ กั ซื้ อทองแล้วได้กำ ไรถือได้ว ่าผู แ้ ทนโดยชอบธรรมได้ให้ความยินยอมโดยปริ ยายแก่ เด็กชายหล่ อแต่
การให้ความยินยอมดังกล่ าวได้ให้ความยินยอมหลังจากที่ เด็กชายหล่ อทำนิ ติ กรรมไปแล้วซึ่ งการให้
ความยินยอมจะต้องให้ความยินยอมก่ อนหรื อขณะกระทำนิ ติ กรรมของผู เ้ ยาว์ ดังนั้ นจึ งถื อได้ว ่าผู เ้ ยาว์
ได้ทำ นิ ติ กรรมลงไปปราศจากความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมผู แ้ ทนโดยชอบธรรมจึ งเป็ นบุ คคล
ที่ บอกล้างโมฆี ยะกรรมได้ตามมาตรา 175

ต่ อมาอี กหนึ่ งเดื อนราคาทองคำลดลงเหลือ ที่ ราคาต่ อน้ำหนัก 15 กรั ม คื อ 10,000 บาทเมื่ อนิ ติ กรรมเป็ น
โมฆี ยะกรรมแล้วดังนั้ นผู แ้ ทนโดยชอบธรรมจึ งมี สิ ทธิ์ ที่ จะบอกล้างสัญญาซื้ อขายทองคำของเด็กชาย
หล่ อได้

             สรุ ป ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมมี สิ ทธิ์ บอกล้างสัญญาซื้ อขายทองคำของเด็กชายหล่ อได้โดยผลของ


มาตรา 21 และมาตรา 175แห่ งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์

2.นางสาวแดงอายุ 19 ปี แต่ งงานกับนายดำอายุ 35 ปี โดยพ่ อแม่ นางสาวแดงอนุ ญาต ต่ อมาอีก 8 เดือน


นางสาวแดงเลิกกับนายดำ หลังจากนั้ น 3 วันนางสาวแดงไปซื ้ อรถยนต์ ค ันหนึ่ งราคา 800,000 บาทโดยที่
พ่ อกับแม่ ไม่ ทราบ วันต่ อมาภายหลังซื ้อมาแล้ วพ่ อของนางสาวแดงได้ สร้ างโรงจอดรถให้ นางสาวแดง
ต่ อมาอีก 1 เดือน พ่ อเห็นว่ าราคารถที่นางสาวแดงซื ้ อแพงเกินไปจึงต้ องการเอาไปคืนกับบริ ษัทที่ซื ้ อรถ
มา จากข้ อเท็จจริ งนี ้ คืนได้ หรื อไม่  

แนวคำตอบ

ตาม ปพพ. วางหลักไว้ว ่า

(มาตรา 19) บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์ หรื อบรรลุ นิ ติ ภาวะเมื่ ออายุครบยี่สิ บปี บริ บูรณ์

(มาตรา 20) ผู เ้ ยาว์ย ่อมบรรลุนิ ติ ภาวะเมื่ อ ทำการสมรส หากการสมรสนั้ นได้ทำ ตามบทบัญญัติ มาตรา
1448
( มาตรา 21) ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใดๆต้องได้รั บความยินยอมจากผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อน การใดๆที่ ผ ู ้
เยาว์ทำ ลงโดยปราศจากความยินยอมเช่ นว่านั้นเป็ นโมฆี ยะ เว้นแต่ จะบัญญัติ ไว้เป็ นอย่างอื่ น

ตามปั ญหา นางสาวแดงยังไม่ บรรลุนิ ติ ภาวะเพราะว่าอายุย งั ไม่ ครบ 20 บริ บูรณ์ และการแต่ งงานตาม
ประเพณี ไม่ ใช่ การสมรส ดังนั้นนางสาวแดงจึ งยังเป็ นผู เ้ ยาว์อยู ่ นางสาวแดงไปซื้ อรถยนต์โดยที่ พ ่อแม่
ไม่ ทราบ

ต่ อมาพ่อของนางสาวแดงได้สร้ างโรงจอดรถให้ การสร้ างรถเป็ นการยอมรั บโดยปริ ยายหรื อการให้


สัตยาบัน แต่ กรณี น้ี ไม่ เป็ นการก่ อให้เกิ ดสัตยาบัน ที่ ชอบด้วยกฎหมายเนื่ องจากเป็ นการสร้ างให้ก บั ฝ่ าย
ตนเอง ไม่ ได้กระทำสัตยาบันต่ อคู่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่ งซึ่ งเป็ นบุ คคลที่ มี ต วั กำหนดที่ แน่ นอน(มาตรา 178)
ต่ อมาพ่อของนางสาวแดงต้องการให้ นำ รถไปคืนบริ ษ ทั ประสงค์จะบอกล้าง ดังนั้ นสามารถกระทำได้
เนื่ องจากสัตยาบันไม่ เกิ ด

    *****สรุ ป สามารถนำรถยนต์ไปคืนได้ตามวินิ จฉัยข้างต้น ****

โมฆียะกรรม หมายความว่า นิ ติ กรรมซึ่ งอาจถูกบอกล้างหรื อให้สัตยาบัน ถ้าไม่ ได้บอกล้างภายในระยะ


เวลาที่ กฎหมายกำหนดก็เป็ นหมดสิ ทธิ ที่ จะบอกล้าง แต่ เมื่ อบอกล้างแล้วโมฆี ยะกรรมนั้ นจะตกเป็ น
โมฆะ คู่กรณี กลับสู ่ ฐานะเดิ ม หรื อถ้ามี การให้สัตยาบัน ที่ จะผูกพันตามโมฆี ยะกรรมนั้ นก็เท่ ากับสละ
สิ ทธิ ในอัน ที่จะบอกล้างนิ ติ กรรมที่ ได้กระทำขึ้ น 

โมฆะกรรม หมายความว่า การทำนิ ติ กรรมใดๆ ที่ ผลของนิ ติ กรรมที่ ได้ทำ ขึ้ นนั้ นเสี ยเปล่ า ไม่ มี ผลผูกพัน
ที่ จะใช้บ งั คับได้ตามกฎหมาย การเสี ยเปล่ าของนิ ติ กรรมนั้ นมี มาตั้งแต่ เริ่ มต้นของการทำนิ ติ กรรมจึ งถื อ
ได้ว ่าผู ท้ ี่ ทำ นิ ติ กรรมที่ เป็ นโมฆะมิ ได้ทำ นิ ติ กรรมนั้ นขึ้ นเลย

(ข้ อ 2)  กรณีตามปั ญหามีหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ ที่เกี่ยวข้ องและมีใจความ


สำคัญดังนี ้ คือ                                                                                                                     

มาตรา 149  นิ ติ กรรม หมายความว่า การใดๆ อัน ทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่ ง


โดยตรงต่ อการผูกนิ ติ สัมพันธ์ข้ึ นระหว่างบุ คคล เพื่อจะก่ อ เปลี่ ยนแปลง โอน สงวน หรื อระงับซึ่ งสิ ทธิ

มาตรา 154  การแสดงเจตนาใดแม้ในใจจริ งผู แ้ สดงจะมิ ได้เจตนาให้ตนต้องผูกพันตามที่ ได้แสดงออกมา


ก็ตาม หาเป็ นมูลเหตุให้การแสดงเจตนานั้ นเป็ นโมฆะไม่ เว้นแต่ คู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ งจะได้รู ้ ถึ งเจตนาอัน
ซ่ อนอยู่ในใจของผู แ้ สดงนั้ นเป็ นโมฆะ  (เจตนาซ่ อนเร้ น ) มี ผลสมบูรณ์
คื อ การที่ ผ ู ทำ
้ นิ ติ กรรม แสดงเจตนาออกมาไม่ ตรงกับเจตนาที่ แท้จริ งในใจ

   หลัก : นิ ติ กรรมมี ผลสมบูรณ์

   เว้นแต่ : ผู ร้ ั บการแสดงเจตนาได้ทราบถึ งเจตนาที่ ซ่ อนเร้ นอยู่ นิ ติ กรรมนั้ นจะตกเป็ น “โมฆะ”

 กรณี ที่ ผ ู แ้ สดงเจตนาเป็ นนิ ติ บุคคล

   หลัก : ถื อเอาความรู ้ เห็นของผู แ้ ทนนิ ติ บุ คคลเป็ นความรู ้ เห็ นของนิ ติ บุ คคลด้วย

   เว้นแต่ : ประโยชน์ได้เสี ยของนิ ติ บุคคลขัดกับประโยชน์ได้เสี ยของผู แ้ ทนนิ ติ บุ คคล

              (ถื อว่านิ ติ บุคคลไม่ รู ้ นิ ติ กรรมจึ งมี ผลสมบูรณ์ )

มาตรา 155 การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู ้ ก บั คู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ งเป็ นโมฆะ  แต่ จะยกขึ้ นเป็ นข้อต่ อสู ้บุ คคล
ภายนอกผู ก้ ระทำการโดยสุ จริ ต และต้องเสี ยหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้ นมิ ได้

        ถ้าการแสดงเจตนาลวงตามวรรคหนึ่ ง ทำขึ้ นเพื่ออำพรางนิ ติ กรรมอื่ น ให้นำ บทบัญญัติ ของกฎหมาย


อันเกี่ ยวกับนิ ติ กรรมที่ ถูกอำพรางมาใช้บ งั คับ  (เจตนาลวง)

    เจตนาลวง (ม.155 ว.หนึ่ ง )

คื อ คู่กรณี ท้ ัง 2 ฝ่ ายสมรู ้ ก นั แสดงนิ ติ กรรมที่ ไม่ ตรงกับเจตนาที่ แท้จริ ง เพื่อหลอกบุ คคลภายนอก

 ผลระหว่างคู่กรณี : นิ ติ กรรมตกเป็ น “โมฆะ” เสมอ (เพราะคู่กรณี ไม่ มี เจตนาที่ จะผูกนิ ติ สัมพันธ์      

   ระหว่างบุ คคลตามที่ ต วั ได้แสดงออกมาเลย)

 ผลต่ อบุคคลภายนอก : จะยกความเป็ นโมฆะของการแสดงเจตนาลวงขึ้ นเป็ นข้อต่ อสู ้

   บุคคลภายนอกผู ก้ ระทำการโดยสุ จริ ตและต้องเสี ยหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้ นไม่ ได้

สังเกต : บุคคลภายนอกต้องสุ จริ ต (ไม่ รู ้ ) และ ต้องเสี ยหายจากการแสดงเจตนาลวง

     นิ ติ กรรมอำพราง (ม.155 ว.สอง)

มาตรา 156  การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสิ ่ งซึ่ งเป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติ กรรมเป็ นโมฆะ


ความสำคัญผิดในสิ ่ งซึ่ งเป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติ กรรมตามวรรคหนึ่ ง ได้แก่ ความสำคัญผิดในลักษณะ
ของนิ ติ

กรรม  ความสำคัญผิดในตัวบุคคลซึ่ งเป็ นคู ่กรณี แห่ งนิ ติ กรรมและความสำคัญผิดในทรั พย์สิ นซึ่ งเป็ น
วัตถุ แห่ งนิ ติ กรรม เป็ นต้น  (เจตนาโดยสำคัญผิดในสิ่ งซึ่ งเป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติกรรมเป็ นโมฆะ)

สิ่ งที่ เป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติ กรรม หมายถึ ง สิ่ งที่ จำ เป็ นจะต้องมี ในนิ ติ กรรมนั้ น ถ้านิ ติ กรรมนั้ นไม่ มี สิ่ ง
นั้นแล้วก็จะไม่ เกิ ดเป็ นนิ ติ กรรมขึ้ นมาได้

 สิ่ งที่ เป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติ กรรม ได้แก่ (ม.156 ว.สอง)

          2.1 ลักษณะของนิ ติ กรรม

          2.2 ตัวบุคคลซึ่ งเป็ นคู ่กรณี แห่ งนิ ติ กรรม

          2.3 ทรั พย์ซ่ึ งเป็ นวัตถุแห่ งนิ ติ กรรม

          2.4 กรณี อื่นๆ ตามแนวคำพิพากษาฎี กา

****คื อ การสำคัญผิดในชนิ ดหรื อประเภทของนิ ติ กรรม

 ผู แ้ สดงเจตนาทำนิ ติ กรรมตั้งใจจะทำนิ ติ กรรมอย่างหนึ่ ง แต่ เมื่ อได้แสดงเจตนาออกมาแล้ว กลายเป็ นว่า


เขาได้แสดงเจตนาทำนิ ติ กรรมอีกอย่างหนึ่ ง ซึ่ งไม่ ใช่ นิ ติ กรรมที่ ต้ ังใจจะทำ

 ผล : นิ ติ กรรมตกเป็ น “โมฆะ”

 เช่ น ต้องการทำสัญญาเช่ าที่ ดิน แต่ กลับไปทำสัญญาขายที่ ดิ น สัญญาขายที่ ดิ นตกเป็ นโมฆะ ตาม
ม.156 ว.แรก

***ถ้าเป็ นเรื่ องที่ แต่ เดิ มผู แ้ สดงเจตนาไม่ เคยมี เจตนาจะทำนิ ติ กรรม แล้วจำเลยมาหลอกให้ทำ นิ ติ กรรม
อย่างใดอย่างหนึ่ งขึ้ น จะเป็ นเรื่ องกลฉ้อฉล ตาม ม.159 แต่ หากเป็ นเรื่ องที่ คู่กรณี มี เจตนาจะทำนิ ติ กรรม
อย่างหนึ่ งอย่างใดอยู่แล้ว แต่จำ เลยมาหลอกให้ทำ นิ ติ กรรมอี กชนิ ดหนึ่ ง ถื อเป็ นเรื่ องสำคัญผิดใน
ลักษณะของนิ ติ กรรม นิ ติ กรรมจึ งเป็ นโมฆะ ตาม ม.156
***ผู ต้ ายไม่ ได้มี เจตนาทำพิน ัยกรรม แต่ จำ เลยหลอกให้ลงลายพิมพ์นิ ้ วมื อในพิน ัยกรรมขณะนอนป่ วย
อยู่ในโรงพยาบาล โดยหลอกว่าเป็ นหนังสื อมอบอำนาจขอรั บเงิ นเวนคืน ที่ ดิ น พิน ัยกรรมจึ งเสี ยเปล่ า
เป็ นโมฆะ เพราะเป็ นการสำคัญผิดในลักษณะของพิน ัยกรรม ตาม ม.156

*****การสำคัญผิดในตัวบุคคลซึ่ งเป็ นคู ่กรณี แห่ งนิ ติ กรรม

ผู แ้ สดงเจตนาทำนิ ติ กรรมตั้งใจจะแสดงเจตนาทำนิ ติ กรรมกับบุ คคลคนหนึ่ ง แต่ ว ่าเมื่ อแสดงเจตนาทำ


นิ ติ กรรมจริ งๆ แล้ว กลายเป็ นว่าได้แสดงเจตนาทำนิ ติ กรรมกับบุ คคลอี กคนหนึ่ ง โดยผู แ้ สดงเจตนา
เข้าใจผิดคิ ดว่าบุคคลที่ ตนได้แสดงเจตนาทำนิ ติ กรรมด้วยนั้ น เป็ นบุ คคลคนเดี ยวกันกับบุ คคลที่ ตนมี
เจตนาในใจที่จะทำนิ ติ กรรมด้วย

 สังเกต : คู่กรณี ในการทำนิ ติ กรรม ถือเป็ น สาระสำคัญของนิ ติ กรรม

 ผล : นิ ติ กรรมตกเป็ น “โมฆะ”

******ตัวบุ คคลที่ เป็ นคู่กรณี ต อ้ งเป็ นสาระสำคัญในการทำนิ ติ กรรม นิ ติ กรรมจึ งจะตกเป็ น “โมฆะ”

   เช่ น ต้องการทำนิ ติ กรรมกับบริ ษ ทั แต่ กลับไปทำนิ ติ กรรมกับผู ไ้ ม่ มี อำ นาจทำการแทนบริ ษ ทั ,

   ทำสัญญาซื้ อที่ ดิ นจากบุคคลผู ท้ ี่ ไม่ ใช่ เจ้าของหรื อไม่ ใช่ ผ ู ม้ ี สิ ทธิ ครอบครองในที่ ดิ น

ดังนี้ ถ้าตัวบุคคลที่ เป็ นคู่กรณี ไม่ ใช่ สาระสำคัญ นิ ติ กรรมนั้ น “สมบูรณ์ ” เพราะแม้จะมี การสำคัญผิดใน
ตัวบุ คคลที่ เป็ นคู่กรณี ในการทำนิ ติ กรรม การสำคัญผิดนี้ ก ็ถื อไม่ ได้ว ่าเป็ นการสำคัญผิดในสิ ่ งที่ เป็ น
สาระสำคัญของนิ ติ กรรม

****การสำคัญผิดในทรั พย์สิ นซึ่ งเป็ นวัตถุ แห่ งนิ ติ กรรม

หมายถึ ง การสำคัญผิดในตัว ทรั พย์สิ น ที่ เป็ นวัตถุ ของนิ ติ กรรมที่ ต อ้ ง “ส่ งมอบ” แก่ ก นั

สังเกต : ทรั พย์สิ น ที่ เป็ นวัตถุของนิ ติ กรรม เป็ นสาระสำคัญของนิ ติ กรรม

ผล : นิ ติ กรรมตกเป็ น “โมฆะ”

เช่ น โอนที่ ดิ นสลับแปลงกัน , ทำสัญญาซื้ อที่ ดิ น ที่ เข้าใจว่าเป็ นที่ ดิ น ที่ ซื้ อขายกันได้ แต่ กลับเป็ นที่ ดิ น
สาธารณสมบัติ ของแผ่นดิ นที่ ห ้ามโอน

หมายเหตุ : ม.173 เป็ นเรื่ องนิ ติ กรรมที่ ตกเป็ นโมฆะ สามารถแยกออกจากส่ วนที่ ไม่ เป็ นโมฆะได้ ส่ วนที่
ไม่ เป็ นโมฆะจึ งมี ผลสมบูรณ์
 

มาตรา 157  การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของบุ คคลหรื อ ทรั พย์สิ นเป็ นโมฆียะ

          ความสำคัญผิดตามวรรคหนึ่ ง ต้องเป็ นความสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ซ่ึ งตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระ


สำคัญ ซึ่ งหากมิ ได้มี ความสำคัญผิดดังกล่ าวการอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น

***การสำคัญผิดในคุณสมบัติ ของบุคคลหรื อ ทรั พย์สิ น (ม.157)

เป็ นกรณี ที่ ผ ู แ้ สดงเจตนานั้ นต้องการจะแสดงเจตนากับบุ คคลไหนเขาก็ได้แสดงเจตนากับบุ คคลนั้ น, 


ต้องการแสดงเจตนาเกี่ ยวกับทรั พย์สิ นไหนเขาก็ได้แสดงเจตนากับทรั พย์สิ นนั้ นโดยถูกต้อง เพียงแต่ ว ่า
เขาสำคัญผิดว่าบุคคลหรื อ ทรั พย์สิ น ที่ เขาได้แสดงเจตนาไปนั้ นมี คุ ณสมบัติ อย่างใดอย่างหนึ่ งซึ่ งไม่ ถู ก
ต้องตรงกับความจริ ง และคุณสมบัติ อ นั นั้ นถ้าตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระสำคัญ เพราะหากเขาไม่ สำ คัญผิด
อย่างนั้นแล้วเขาก็จะไม่ ได้ทำ นิ ติ กรรมอันนั้ น ถื อว่าการแสดงเจตนาที่ เกิ ดจากความสำคัญผิดเช่ นนี้ เป็ น
“โมฆียะ”

***การที่ คุ ณสมบัติ จะเป็ นสาระสำคัญหรื อไม่ ต้องพิจารณาว่าคุ ณสมบัติ น้ ั นเกี่ ยวกับ “หน้า ที่ หรื อการ
ชำระหนี้ ” ตามนิ ติ กรรมนั้ นหรื อไม่ หากเกี่ ยวก็ถื อเป็ นสาระสำคัญ เป็ นโมฆี ยะ ถ้าไม่ เกี่ ยวก็ไม่ ถื อว่าเป็ น
สาระสำคัญ นิ ติ กรรมมี ผลสมบูรณ์

 ทั้งนี้ ต้องดู เป็ นเรื่ องๆ ไป โดยดู ที่ “เจตนา” ของคู่กรณี ที่ เข้า ทำนิ ติ กรรม

 คุ ณสมบัติ ของบุคคล เช่ น การจ้างคนมาซ่ อมรถ ความรู ้ เรื่ องการซ่ อมรถย่อมเป็ นสาระสำคัญของสัญญา
ว่าจ้างซ่ อมรถ

 คุ ณสมบัติ ของทรั พย์สิ น เช่ น การที่ ทรั พย์สิ นนั้ นเป็ นของแท้หรื อของปลอม หรื อใช้งานได้ตรงตาม
วัตถุ ประสงค์ของสัญญาหรื อไม่

 มาตรา 159  การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็ นโมฆี ยะ

          การถูกกลฉ้อฉลที่ จะเป็ นโมฆี ยะตามวรรคหนึ่ ง จะต้องถึ งขนาดซึ่ งถ้ามิ ได้มี กลฉ้อฉลดังกล่ าว


การอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น

ถ้าคู่กรณี ฝ่ ายหนึ่ งแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อ ฉลโดยบุ คคลภายนอก การแสดงเจตนานั้ นจะเป็ นโมฆี ยะ


ต่ อเมื่ อคู ่กรณี อีกฝ่ ายหนึ่ งได้รู ้ หรื อควรจะได้รู ้ ถึ งกลฉ้อฉลนั้ น
****เป็ นการแสดงเจตนาที่ได้ มาเพราะมีการใช้ อ ุบายหลอกลวงให้ ผู้ แสดงเจตนานั้ นแสดงเจตนาทำ
นิ ติกรรม โดยคนที่ใช้ อ ุบายหลอกลวงอาจจะกล่ าวข้ อความเท็จหรื อแกล้ งปกปิ ดความจริ งไว้ เพื่อจะ
หลอกลวงให้ ผู้ ที่แสดงเจตนาหลงเชื่ อว่ าเหตุ การณ์ เป็ นไปตามที่ผ ู้ แสดงเจตนาหลอกลวงนั้ นหลอกลวง
แล้ วก็ทำ ให้ ผู้ แสดงเจตนานั้ นแสดงเจตนาทำนิ ติกรรมตามที่บ ุ คคลนั้ นต้ องการ

 ผล : นิ ติกรรมตกเป็ น “โมฆียะ” 

สำคัญ : การถู กกลฉ้ อฉลที่จะเป็ นโมฆียะ ตาม ม.159 นั้ น จะ “ต้ องถึงขนาด” ว่ าถ้ าไม่ มีการใช้ กลฉ้ อฉล
แล้ ว จะไม่ มีการทำนิติกรรมนั้ นเลย หากไม่ ถึงขนาด แม้ จะมีการใช้ กลฉ้ อฉลให้ บ ุ คคลอื่นเข้ าใจผิดและ
แสดงเจตนาทำนิติกรรม การแสดงเจตนานั้ นก็ไม่ เป็ นโมฆียะ ซึ่ งกลฉ้ อฉลขนาดไหนถึงจะถือว่ าเป็ นกล
ฉ้ อฉลที่ถึงขนาด จะต้ องดู พฤติการณ์ เป็ นเรื่ องๆ ไป 

****จากข้ อเท็จพิเคราะห์ แล้ วเห็นว่ า การที่ นายเอกตั้งใจซื้ อรถยนต์จากนายโทในราคา 1,200,000 บาท


เลยเขี ยนจดหมายไปบอกนายโทถือได้ว ่าทำนิ ติ กรรมโดยการเสนอไปโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ
สมัครเพราะนายเอกตั้ งใจจะซื้ อรถยนต์จากนายโทในราคา 1,200,000  โดยมุ่ งตรงต่ อการผูกนิ ติ สัมพันธ์
ขึ้ นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่ อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรื อระงับซึ่ งสิ ทธิ ตามมาตรา 149

แต่ ปั ญหาข้อเท็จจริ งปรากฎว่านายเอกเกิ ดความผิดพลาดเขี ยนตัวเลขผิด เป็ น 1,500,000 บาท เมื่ อนายโท


ได้รั บจดหมายเลยตอบตกลงที่ ราคา 1,500,000 บาท ซึ่ งนายโทเห็ นว่าเป็ นราคาที่ เหมาะสมแล้ว นายเอก
อ้างว่าตนไม่ มี เจตนาจะซื้ อในราคา 1,500,000 บาท แต่ ต้ ังใจจะซื้ อที่ ราคา 1,200,000 บาทถื อว่านายเอก
แสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสิ ่ งซึ่ งเป็ นสาระสำคัญแห่ งนิ ติ กรรมซึ่ งเป็ นเนื้ อหาแห่ งนิ ติ กรรม ในเรื่ อง
ของราคารถยนต์ เมื่ อนิ ติ กรรมดังกล่ าวเป็ นการแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสิ ่ งซึ่ งเป็ นสาระสำคัญแล้ว
นิ ติ กรรมนั้ นย่อมตกเป็ นโมฆะ ดังนั้ นนิ ติ กรรมดังกล่ าวย่อมไม่ มี ผลผูกพันกับนายเอก

****สรุ ป ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับนายเอกที่ นายเอกไม่ ผ ูกพันจดหมายดังกล่ าวเพราะไม่ มี เจตนาจะซื้ อใน


ราคาดังกล่ าวโดยผลของมาตรา 156

(ข้ อ3) นาย ก. ทำสั ญญาปลดหนี ้ให้ กับ นาย จ. โดยมีเงื่อนไขให้ นาย จ. ต้ องยกรถยนต์ ให้ น้ องของตน
คือนาย ข. เมื่อนาย ข. ทราบเรื่ อง ก็เลยส่ งจดหมายไปหานาย จ. เพื่อให้ นาย จ.ยกรถให้ ตน แต่ นาย จ. ไป
ต่ างจังหวัดไม่ อยู่ บ้ านระหว่ างนั้ น นาย ก. และนาย ข. มีเรื่ องทะเลาะกัน ทำให้ นาย ก. ไม่ พอใจ จึง
ต้ องการ ยกรถให้ นาย ค. แทนถามว่ านาย ข. มีสิ ทธิ ได้ รั บรถหรื อไม่ (โจทย์ ประมาณนี ้ครั บ )

แนวคำตอบ
มาตรา 374 ถ้าคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่ ง ทำสัญญาตกลงว่าจะชำระหนี้ แก่ บุ คคลภายนอกบุ คคลภายนอกมี สิ ทธิ จะ
เรี ยกชำระหนี้ จากลูกหนี้ โดยตรง สิ ทธิ ของบุ คคลภายนอกย่อมเกิ ดขึ้ นตั้งแต่ เวลาที่ แสดงเจตนาแก่ ลู กหนี้
ว่าจะถื อเอาประโยชน์จากสัญญานั้ น

มาตรา 375 เมื่ อสิ ทธิ ของบุคคลภายนอกได้เกิ ดขึ้ นแล้ว คู่สัญญาจะระงับหรื อเปลี่ ยนแปลงสัญญานั้ นภาย
หลังไม่ ได้

มาตรา 169 การแสดงเจตนาที่ กระทำต่ อบุ คคลซึ่ งมิ ได้อยู ่เฉพาะหน้า ให้ถื อว่ามี ผลนับแต่ เวลาที่ การ
แสดงเจตนานั้ นไปถึงผู ร้ ั บการแสดงเจตนา ....

จากข้อเท็จจริ ง กรณี น้ี นาย ก. และนาย จ. ตกลงทำสัญญาเพื่อประโยชน์แก่ บุ คคลภายนอก คื อนาย ข. ดัง


นั้นนาย ข. จึ งมี สิ ทธิ ในการเรี ยกให้นาย จ. ชำระหนี้ คื อยกรถยนต์ให้แก่ ตน โดยนาย ข.ได้แสดงเจตนา
ด้วยวิธี การส่ งจดหมาย การแสดงเจตนาที่ ส่ งไปจะมี ผลเมื่ อการแสดงเจตนานั้ นไปถึ งผู ร้ ั บเจตนาอี กฝ่ าย
หนึ่ ง คำว่าไปถึงนั้ นหมายความว่าได้ไปถึ งที่ หมายปลายทางคื อไปถึ งคู ่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ ง เช่ นในการส่ ง
ไปรษณี ย ์ ทางราชการ คือเพียงบุรุ ษไปรษณี ย ไ์ ปส่ งที่ ตู จ้ ดหมายของบ้านนั้ นๆ ก็ถื อว่าได้ส่ งแล้ว ไม่
จำเป็ นที่ คู่กรณี หรื อผูร้ ั บเจตนาต้องอ่านหรื อรู ้ ข อ้ ความที่ ได้ส่ งไป เพราะฉะนั้ นการแสดงเจตนาของนาย
ข. จึ งถื อว่าเป็ นผลถึงแม้ว ่านาย จ.จะไปต่ างจังหวัดก็ตาม

ดังนั้ นเมื่ อนาย ข.แสดงเจตนาแล้ว สิ ทธิ ของนาย ข.ได้เกิ ดขึ้ นแล้ว   นาย ก.หรื อ นาย จ. ไม่ สามารถ
เปลี่ ยนแปลงข้อตกลงในสัญญาได้อีก

สรุ ป นาย ข.จึ งมี สิ ทธิ เรี ยกให้นาย จ. ยกรถยนต์ให้แก่ ตนได้

ข้ อสอบกฏหมายแพ่ ง  1 บุ คคล นิติกรรม สั ญญา

มสธ  วันเสาร์ ที่   12  ธค 2563

ข้ อ 1 :
นายเอก เป็ นบุคคลวิกลจริ ต ต้องการซื้ อจักรยานคันใหม่ จากนายยอด และได้รั บความยินยอมจากนาย
แอ๊ด แล้วซึ่ งเป็ นลุงว่าให้ซื้ อรถได้ และในขณะที่ นายเอกทำสัญญานั้ น นายเอก ไม่ ได้มี อาการจริ ตวิกล
แต่ อย่างใด มี อาการปกติ และนายยอดก็ไม่ เคยรู ้ มาก่ อนว่านายเอกนั้ น เคยมี อาการวิกลจริ ต ดังนั้ นนาย
ยอดจึ งขายรถจักรยานให้แก่ นายเอก

ถามว่า สัญญาซื้ อขายรถจักรยานระหว่างนายเอกและนายยอด มี ผลเป็ นอย่างไร เพราะเหตุ ใด

แนวคำตอบ

ตามปพพ. ได้กล่ าวไว้ว ่า การใดอันไม่ เป็ นไปตามที่ กฏหมายบังคับเกี่ ยวกับความสามารถของบุ คคล การ
นั้นเป็ นโมฆะ

ตามปพพ. ได้กล่ าวไว้ว ่า บุคคลวิกลจริ ต ที่ ศาลยังไม่ ได้สั่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถเพราะมี จริ ตวิกล
นั้น สามารถทำนิ ติ กรรมได้ด ้วยตนเอง และมี ผลสมบูรณ์ เว้นแต่ คู่กรณี อี กฝ่ ายจะได้รู ้ ว ่าคู่กรณี มี จริ ตวิกล
อยู่ การนั้ นเป็ นโมฆี ยะ

ตามปพพ. ได้กล่ าวไว้ว ่า บุคคลวิกลจริ ต ที่ ศาลสั่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถ ไม่ สามารถกระทำนิ ติ กรรม
ได้ การใดที่ ที่ คนไร้ ความสามารถทำ การนั้ นเป็ นโมฆะ ซึ่ งนิ ติ กรรมจะทำได้โดยให้ผ ู อ้ นุ บาลเป็ นผู ้
กระทำแทนจึ งจะสมบูรณ์

ตามปพพ. ได้กล่ าวไว้ว ่า บุคคลดังต่ อไปนี้ ได้แก่ บิ ดามารดา ปู่ ย่าตายาย ทวดก็ดี ลูกหลานเหลน ลื่ อก็ดี
สามี ภริ ยา ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก็ดี พนักงานอัยการ หรื อผู ม้ ี ส่ วนได้เสี ย จะร้ องขอต่ อศาลให้สั ่งบุ คคล
วิกลจริ ต ผู เ้ ยาว์ เป็ นผู ไ้ ร้ความสามารถ หรื อเสมื อนไร้ ความสามารถก็ย ่อมได้

จากข้ อวินิ จฉั ย

นายเอก ซึ่ งเป็ นคนวิกลจริ ต และศาลยังไม่ ได้สั่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถ จึ งยังไม่ ต อ้ งมี ผ ู อ้ นุ บาล
และต้องการทำนิ ติ กรรมสัญญาการซื้ อรถจักรยานจากนายยอด จึ งกระทำได้เพราะคนวิกลจริ ตสามารถ
ทำนิ ติ กรรมได้ และขณะที่ ทำ นิ ติ กรรมนั้ น ไม่ ได้มี อาการจริ ตวิกลอยู ่ และคู่กรณี ก ็ไม่ ได้ทราบเกี่ ยวกับ
อาการวิกลจริ ตของนายเอกแต่ อย่างใด ดังนั้ นสัญญาการซื้ อขายรถจักรยานจึ งสมบูรณ์ โดยที่ ไม่ ต อ้ งได้
รั บความยินยอมจากนายแอ๊ด เพราะเหตุ ที่ ได้กล่ าวตามข้างต้น

 สรุ ป

สัญญาการซื้ อขายรถยนต์ระหว่างนายเอก และนายยอด มี ผลสมบูรณ์ ตามกฎหมาย เพราะนายเอก ซึ่ งเป็ น


คนวิกลจริ ต ได้ทำ นิ นิ ติ กรรมขณะที่ ไม่ ได้มี จริ ตวิกล และคู่กรณี อี กฝ่ ายไม่ ได้รู ้ เกี่ ยวกับอาการวิกลจริ ต
นั้น
 

ข้ อ 2 :

นายแพงเป็ นผู ม้ ี หนี้ สิ นมากมายล้นพ้นตัว และเป็ นลูกหนี้ เงิ นกู ้ของนายเหมี ยว ซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้ ซึ่ งปั จจุ บ นั
นายแพงมี ทรั พย์สิ นมากมายทั้งบ้านและรถยนต์ นายพันกลัวว่าเจ้าหนี้ คื อนายเหมี ยวจะตามให้ ชำ ระหนี้
และหากไม่ มี ก ็จะสามารถยึดรถยนต์ซ่ึ งเป็ นทรั พย์สิ นได้ จึ งปรึ กษากับนายพันซี่ งเป็ นเพื่อนนายแพงว่า
จะหลอกทำสัญญาการซื้ อขายรถยนต์ให้แก่ นายแพง แต่ ในความเป็ นจริ งไม่ ได้มี สัญญานั้ นเกิ ดขึ้ นจริ งๆ
แต่ อย่างใด เจตนาเพียงเพื่อปิ ดบังไม่ ให้นายเหมี ยวล่ วงรู ้ ขณะที่ นายเหมี ยวมาทวงถามดังกล่ าว

อยากทราบว่าสัญญาการซื้ อขายรถยนต์ระหว่างนายแพงและนายพัน มี ผลตามกฏหมายอย่างไร เพราะ


เหตุ ใด

แนวคำตอบ

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า นิ ติ กรรมใดกระทำไปโดยขัดต่ อกฎหมาย และผิดศี ลธรรมอันดี ต ่ อประชาชน


นิ ติ กรรมนั้ นเป็ นโมฆะ

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า การแสดงเจตนาลวงโดยการสมรู ้ ก บั คู่กรณี อี กฝ่ าย เพราะกลฉ้อฉลเพื่อหลอก


ลวงบุ คคลภายนอก การนั้ นเป็ นโมฆะ  และหากมี การทำนิ ติ กรรมเพื่อ อำพรางบุ คคลอื่ น ให้นำ กฎหมาย
ว่าด้วยนิ ติ กรรมที่ เกี่ ยวกับการอำพรางมาบังคับใช้

จากข้อวินิ จฉัย

การที่ นายแพงซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ของนายเหมี ยวเพียงเพื่อไม่ ต อ้ งการชำระหนี้ จึ งได้กระทำการสมรู ้ ก บั นาย


พัน ทำสัญญาซื้ อขายรถยนต์โดยที่ ไม่ ได้มี เจตนาจะซื้ อขายกันจริ งๆ เพื่อหลอกลวงนายเหมี ยวว่าว่าไม่ ได้
มี ทรั พย์สิ น เพราะต้องการจะเลี่ยงไม่ ทำ การชำระหนี้ แก่ เจ้าหนี้ โดยทำนิ ติ กรรมขึ้ นมาเพื่ออำพรางเจตนา
หลอกนายเหมี ยวที่ เป็ นบุคคลภายนอก ในเรื่ องการขายรถยนต์ ทั้งที่ ไม่ ได้มี การซื้ อขายกันจริ ง นิ ติ กรรม
นี้ เป็ นโมฆะ

สรุ ป
สัญญาการซื้ อขายรถยนต์ระหว่างนายแพงและนายพัน เป็ นโมฆะ เพราะเป็ นเจตนาลวงโดยของนายแพง
และนายพัน

 ข้ อ 3 :

นายปั ดได้เสนอขายรถยนต์ค นั หนึ่ งราคา 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน ) ทางโทรศัพท์ก บั นายป้ อง ซึ่ ง


นายป้ องยังไม่ สามารถตัดสิ นใจว่าจะซื้ อหรื อไม่ หลังจากนั้ นอี ก  1 เดื อนต่ อมา นายป้ องจึ งเสนอขาย
รถยนต์ให้แก่ นางส้ม ไปในราคา 5,000 บาท

( ห้าพันบาทถ้วน ) และหลังจากนั้ นอีก 2  เดื อน นายปั ดได้เขี ยนจดหมายไปหานายป้ องว่าตนเองตัดสิ น


ใจแล้วและต้องการจะซื้ อรถยนต์ที่ นายปั ดเสนอมาในราคา 5,000 บาทที่ บอกไว้ แต่ นายปั ดตอบว่าได้
ขายรถยนต์ให้แก่ นางส้มไปแล้ว นายป้ องจึ งต่ อว่าและบอกว่านายปั ดไม่ ทำ ตามสัญญาที่ ได้ทำ คำเสนอให้
เพราะนายป้ องยังไม่ ได้ตอบปฏิ เสธ ดังนั้นคำสนองนั้นยังไม่ เกิ ด อยากถามว่าคำโต้แย้งของนายป้ องฟั ง
ขึ้ นหรื อไม่ เกี่ ยวกับคำเสนอและคำสนองนี้ เพราะเหตุ ใด

แนวคำตอบ

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า สัญญาคือนิ ติ กรรมที่ เป็ นการกระทำสองฝ่ าย จากคำเสนอและคำสนองถูกต้อง


ตรงกัน สัญญาจึ งจะมี ผลตามกฎหมาย

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า คำเสนอต่ อบุคคลผู ซ้ ่ึ งอยู่เฉพาะหน้า คื อการที่ ผ ู เ้ สนอส่ งคำเสนอเพื่อแสดง


เจตนาไปยังผู ร้ ั บ คำเสนอ และผู ร้ ั บคำเสนอส่ งคำสนองมาให้ คำเสนอซึ่ งอยู่เฉพาะหน้าส่ งไป ณ ที่ ใด
เวลาใด คำสนองย่อมเกิ ด ณ ที่ น้ ั นเวลานั้ น รวมถึ งคำเสนอไปยังทางโทรศัพท์ หรื อการสื่ อสารโดยวิธี
การอย่างอื่ น ด้วย

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า คำเสนอซึ่ งต่ อบุคคลผู อ้ ยู่ห่ างระยะทาง จะมี ผลก็ต่ อเมื่ อคำผู ร้ ั บ คำเสนอได้รั บ
แต่ จะถอนไม่ ได้ เว้นแต่ จะถอนก่ อนส่ งหรื อพร้ อมกับที่ ส่ งไป ก่ อนถึ งผู ร้ ั บ คำเสนอนั้น

ตามปพพ ได้กล่ าวไว้ว ่า คำเสนอซึ่ งส่ งไปถึ งผู ส้ นอง หากผู ส้ นองไม่ ได้ตอบรั บหรื อมี การไม่ ตรงกับคำ
เสนอ คำเสนอมี อ นั สิ ้ นผลไป

จากข้อวินิ จฉัย

การที่ นายปั ดได้ส่ งคำเสนอขายรถยนต์ให้แก่ นายป้ อง ทางโทรศัพท์ ซึ่ งเป็ นคำเสนอต่ อบุ คคลที่ อยู่เฉพาะ
หน้านั้น การที่ นายป้ องมิ ได้ตอบรั บหรื อปฏิ เสธอดังกล่ าว ถื อว่าคำเสนอเป็ นอันสิ ้ นผลไปแล้ว และเมื่ อ
อี ก  1 เดื อนต่ อมา นายปั ดได้เสนอขายรถยนต์แก่ นางส้ม จึ งเป็ นการทำคำเสนอใหม่ และมี การตอบรั บ คำ
สนองจากนางส้มแล้ว หลังจากนั้ นอีก 2 เดื อนนายป้ องได้เขี ยนจดหมายถึ งนายปั ด เพื่อตอบรั บ คำเสนอ
การซื้ อรถยนต์ของนายปั ดนั้ น เป็ นคำเสนอซึ่ งอยู่ห่ างระยะทางและได้ล่ วงเลยไปแล้ว คำเสนอเดิ มที่ นาย
ปั ดเป็ นอันสิ ้ นผลไปแล้ว ตั้งแต่ ครั้ งที่ นายป้ องมิ ได้ตอบรั บ คำเสนอนั้ น

สรุ ป

ข้อโต้แย้งของนายป้ องไม่ ฟั งขึ้ น เพราะคำเสนอเดิ มของนายปั ดเป็ นอันสิ ้ นผลไปแล้ว และการคำสนอง


ใหม่ ของนายป้ องนี้ ถือเป็ นคำเสนอใหม่ ที่ ส่ งไปนั่นเอง

You might also like