You are on page 1of 37

DTDA 133 ศัลยกรรมปริทันตวิทยา

ความหมายของศัลยกรรมปริทันต์
และชนิดของงานศัลยกรรมปริทันต์
ผศ.ทพญ.กันยวัชร์ รัตนุววรร
ภาควิชาเวชศาุตร์ช่องปากและปริทันตวิทยา
วัตถุประสงค์
นักศึกษาุามารถอธิบาย
1. คาจากัดความของงานศัลยกรรมปริทันต์แต่ละวิธี
2. วัตถวประุงค์ของการรักษาศัลยกรรมปริทันต์แต่ละวิธี
3. เครื่องมือเฉพาะที่ใชุ้าหรับการรักษาศัลยกรรมปริทันต์แต่ละวิธี
4. วิธีการและขั้นตอนในการทาศัลยกรรมปริทันต์แต่ละวิธีได้โดยุังเขป
ขอบเขตเนื้อหา
คาจากัดความ วัตถวประุงค์ เครื่องมือเฉพาะ และขั้นตอนการทาศัลยกรรมปริทันต์ต่อไปนี้
1. การขูดเหงือก (Gingival curettage)
2. การผ่าตัดเหงือก (Gingivectomy and gingivoplasty)
3. การผ่าตัดเหงือกด้วยเครื่องศัลยกรรมไฟฟ้า (Electrosurgery)
4. การผ่าตัดเปิดเหงือก (Flap operation)
5. ศัลยกรรมตัดแต่งกระดูก (Resective osseous surgery: ostectomy and osteoplasty)
6. ศัลยกรรมเพื่อการงอกใหม่ (Regenerative osseous surgery: guided tissue regeneration (GTR)
and bone graft)
7. ศัลยกรรมตัดรากฟัน (Root amputation and hemisection)
8. ศัลยกรรมเหงือกเยื่อเมือก (Mucogingival surgery)
กระบวนการรักษา
โรคปริทันต์
การรักษาขั้นต้นุาหรับโรคปริทันต์ ได้แก่
1. การุอนวิธีดูแลุวขภาพช่องปาก เช่น ุอน
วิธีการแปรงฟัน และทาความุะอาดซอกฟัน
แก่ผู้ป่วย
2. การขูดหินน้าลาย เกลารากฟัน และขัดฟัน
คราบจวลินทรีย์ และหินน้าลายในบริเว ร่องลึกปริทันต์ (periodontal pocket) ที่ลึก
มาก ๆ หรือบริเว ง่ามรากฟันที่เผยผึ่ง (furcation involvement) ซึ่งเป็นตาแหน่งที่เข้าไปทา
ความุะอาดได้ยาก
หินน้าลายที่หลงเหลืออยู่บริเว ใต้เหงือกและง่ามรากฟัน ซึ่งไมุ่ามารถกาจัดออกได้
หมดด้วยวิธีขูดหินน้าลายปกติ (แบบไม่ผ่าตัด) ทาให้กลับมาเป็นโรคปริทันต์อักเุบซ้าได้หรือมี
การลวกลามของโรคปริทันต์อักเุบต่อไป ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยุูญเุียฟันในทีุ่วด
จุดมุ่งหมายของงาน
ศัลยกรรมปริทันต์ • เปิดเหงือกให้เห็นชัดเจน และ
ุามารถขูดหินน้าลายและเกลาราก
ฟันได้อย่างุมบูร ์
• ลดความลึกของร่องลึกปริทันต์หรือ
กาจัดร่องลึกปริทันต์ โดยการตัด
แต่งเหงือกและกระดูกเบ้าฟัน
• กาจัดเนื้อเยื่อที่เป็นโรค เนื้อเยื่อผิว
มะระ (granulation tissue) ผนัง
ร่องลึกปริทันต์ เพื่อให้เกิดการยึด
ติดใหม่
จุดมุ่งหมายของงานศัลยกรรมปริทันต์
• เุริมุร้างการงอกใหม่
(Periodontal regeneration)

ก่อนรักษา หลังรักษา
จุดมุ่งหมายของงานศัลยกรรมปริทันต์
• เุริมุร้างลักษ ะรูปร่างของเหงือกและกระดูกเบ้าฟันเพื่อให้ง่ายต่อการรักษาอนามัยช่อง
ปากด้วยตัวผู้ป่วยเอง
• ุร้างความุวยงามด้วยการตัดและตกแต่งเหงือกและกระดูก
• ุร้างภาวะแวดล้อมของอวัยวะปริทันต์เพื่องานทันตกรรมบูร ะอื่น ๆ

ก่อนรักษา หลังรักษา
จุดมุ่งหมายของงานศัลยกรรมปริทันต์
• แก้ไขความวิการของเหงือกและเยื่อเมือก

ก่อนรักษา หลังรักษา ก่อนรักษา หลังรักษา


จุดมุ่งหมายของงานศัลยกรรมปริทันต์
• รักษาภาวะฉวกเฉิน ระบายหนองจากฝีเหงือก ฝีปริทันต์
• ตัดนาชิ้นเนื้อุ่งตรวจ
• เป็นการตรวจวินิจฉัยเพื่อการรักษาที่ซับซ้อน

ฝีปริทันต์ ตัดชิ้นเนื้อุ่งตรวจ
การรักษาขั้นศัลยกรรมปริทันต์
• การขูดเหงือก (Gingival curettage)
• การผ่าตัดเหงือก (Gingivectomy and gingivoplasty)
• การผ่าตัดเหงือกด้วยเครื่องศัลยกรรมไฟฟ้า (Electrosurgery)
• การผ่าตัดเปิดเหงือก (Flap operation)
• ศัลยกรรมตัดแต่งกระดูก (Resective osseous surgery: ostectomy and osteoplasty)
• ศัลยกรรมเพื่อการงอกใหม่ (Regenerative osseous surgery: guided tissue regeneration
(GTR) and bone graft)
• ศัลยกรรมตัดรากฟัน (Root amputation and hemisection)
• ศัลยกรรมเหงือกเยื่อเมือก (Mucogingival surgery)
แบ่งการสอนออกเป็น 3 ส่วน
ุ่วนที่ 1 วันที่ 19 ุิงหาคม 2563 เวลา 11.00 – 12.00 น
1) การขูดเหงือก (Gingival curettage)
2) การผ่าตัดเหงือก (Gingivectomy and gingivoplasty)
3) การผ่าตัดเหงือกด้วยเครื่องศัลยกรรมไฟฟ้า (Electrosurgery)
ุ่วนที่ 2 วันที่ 20 ุิงหาคม 2563 เวลา 11.00 – 12.00 น
1) การผ่าตัดเปิดเหงือก (Flap operation)
2) ศัลยกรรมตัดแต่งกระดูก (Resective osseous surgery: ostectomy and osteoplasty)
3) ศัลยกรรมตัดรากฟัน (Root amputation and hemisection)
ุ่วนที่ 3 วันที่ 24 ุิงหาคม 2563 เวลา 9.00 – 10.00 น
1) ศัลยกรรมเพื่อการงอกใหม่ (Regenerative osseous surgery: guided tissue regeneration (GTR) and
bone graft)
2) ศัลยกรรมเหงือกเยื่อเมือก (Mucogingival surgery)
การขูดเหงือก (Gingival curettage)
การขูดเหงือก (Gingival curettage)
• การขูดเหงือกแบบปิด (Closed gingival curettage) ในกร ีที่เหงือกมีลักษ ะบวมนิ่มอักเุบ
• เป็นการขูดเหงือกด้วยการใช้เครื่องมือคิวเรตต์ (curette) ที่ใช้ในการขูดหินน้าลายและเกลาราก
ฟัน ขูดที่ผนังด้านในของร่องลึกปริทันต์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อกาจัดผนังด้านในของร่องลึกปริทันต์ที่อักเุบ เพื่อให้เกิดการยึดติดใหม่ของเนื้อเยื่อปริทันต์
2. เพื่อระบายหนองจากฝีปริทันต์ (periodontal abscess)
เครื่องมือเฉพาะที่ใช้
1. คิวเรตต์
2. กระบอกน้าเกลือล้างแผล
3. น้าเกลือล้างแผล (normal saline: NSS 0.9%)
หรือ น้ายาบ้วนปากคลอเฮกซิดนี 0.12%
(chlorhexidine mouthwash: CHX) กร ี
น้ายาบ้วนปากคลอเฮกซิดีนความเข้มข้น 0.2%
ต้องผุมน้าุะอาดในอัตราุ่วน 1:1 เพื่อเจือจาง
ให้มีความเข้มข้น 0.1%
4. ชวดเย็บ (เข็มเย็บแผลและไหมเย็บ) ใช้กร ีมี
เหงือกฉีกขาด
5. แผ่นปิดแผลปริทันต์ (COE-pack) กร ีจาเป็น
ขั้นตอนการผ่าตัด
1. ฉีดยาชาเฉพาะที่บริเว ที่จะขูดเหงือก
ขั้นตอนการผ่าตัด
2. ใช้คิวเรตต์ขูดกาจัดผนังด้านในของร่องลึกปริทันต์ที่อักเุบออก
ขั้นตอนการผ่าตัด
3. ล้างแผลใหุ้ะอาดด้วยน้าเกลือหรือน้ายาบ้วนปากคลอเฮกซิดีน 0.12%
4. กดแผ่นเหงือกให้แนบกับฟัน
5. เย็บแผ่นเหงือกและปิดด้วยแผ่นปิดแผลปริทันต์กร ีจาเป็น
การผ่าตัดเหงือก
(Gingivectomy and gingivoplasty)
การผ่าตัดเหงือก (Gingivectomy and gingivoplasty)
• Gingivectomy หมายถึง การทาศัลยกรรมตัดเหงือกที่เป็นผนังของร่องลึกปริทันต์ออก
• Gingivoplasty หมายถึง การทาศัลยกรรมตกแต่งเหงือกให้มีรูปร่างทางุรีรวิทยา
(physiologic form)
หมายเหตว เนื้อหาในรายชั่วโมงนี้จะใช้คาว่ารูปร่างปกติแทนคาว่ารูปร่างทางุรีรวิทยาเพื่อให้ นศ.เข้าใจได้ง่าย
วัตถุประสงค์
• กาจัดร่องลึกปริทันต์เหนือุันกระดูก (supra-bony pocket) และร่องลึกปริทันต์เทียม
(pseudopocket)
• กาจัดเหงือกบวมโต (gingival enlargement)
• แก้ไขรูปร่างของเหงือกให้มีรูปร่างปกติ ง่ายต่อการทาความุะอาดด้วยตัวผู้ป่วยเอง
• เพิ่มความยาวตัวฟัน (crown lengthening)
• ตัดชิ้นเนื้อุ่งตรวจ (biopsy)
กาจัดเหงือกบวมโต
(gingival enlargement)
บริเว ซี่ 12, 14, 15
และ 35 ด้วยวิธี
gingivectomy
แก้ไขรูปร่างของเหงือกให้มีรูปร่างปกติ และเพิ่มความยาวตัวฟันด้วยวิธี
gingivectomy (ตัดผนังของร่องลึกปริทันต์ออกไป)
แก้ไขรูปร่างของเหงือกให้มีรูปร่างปกติ และเพิ่มความยาวตัวฟันด้วยวิธี
gingivectomy (ตัดผนังร่องลึกปริทันต์ออกไป) ร่วมกับทา
gingivoplasty (ตกแต่งเหงือกให้มรี ูปร่างปกติ)
ตัดชิ้นเนื้อุ่งตรวจ (biopsy)
เครื่องมือเฉพาะที่ใช้
1. ชวดศัลยกรรมปริทันต์
2. เครือ่ งมือทารอยร่องลึกปริทนั ต์ (pocket marker)
ขั้นตอนการผ่าตัด
1. ฉีดยาชาเฉพาะที่
2. กาหนดตาแหน่งที่จะตัดเหงือกด้วยเครื่องมือทารอย
ร่องลึกปริทันต์
3. ใช้ใบมีดผ่าตัด (blade) ตัดเนื้อเหงือกและแต่งให้มี
ลักษ ะคล้ายเหงือกปกติ
4. ล้างบริเว ผ่าตัดใหุ้ะอาดด้วยน้าเกลือ
5. กดแผ่นเหงือกให้แนบกับฟัน เย็บแผ่นเหงือก (กร ี
จาเป็น)
6. ปิดด้วยแผ่นปิดแผลปริทันต์
การผ่าตัดเหงือกด้วยเครื่องศัลยกรรมไฟฟ้า
(Electrosurgery)
การผ่าตัดเหงือกด้วยเครื่องศัลยกรรมไฟฟ้า
(Electrosurgery)
• Electrosurgery เป็นเครื่องมือที่ใช้
กระแุไฟฟ้าความถีุู่งุาหรับการตัด
เนื้อเยื่อ
• การใช้เครื่อง electrosurgery ต้อง
ระมัดระวังในผู้ป่วยที่ใุ่เครื่องกระตว้นไฟฟ้า
หัวใจ (cardiac pacemaker) เพราะอาจทา
ให้ผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดปกติหรือหัวใจวายได้
วัตถุประสงค์
• ใช้ electrosurgery ตัดเนื้อเยื่อหรือตัดและ
ตกแต่งเหงือกในบริเว ที่ไมุ่ัมผัุกับกระดูก
เบ้าฟันหรือรากฟัน
• ใช้ electrosurgery เพิ่มความยาวตัวฟันใน
กร ีที่ไม่ต้องการตัดแต่งกระดูกเบ้าฟัน
วัตถุประสงค์
ใช้ electrosurgery แยกเหงือกก่อนพิมพ์ปากหรือบูร ะฟัน
ในปัจจวบันมีการใช้เครื่องไดโอดเลเซอร์ (diode laser) ช่วยในการแยกเหงือกก่อนพิมพ์ปาก
หรือบูร ะฟัน ข้อดีกว่าการใช้ electrosurgery คือ ุามารถใช้ในบริเว ใกล้กับกระดูกเบ้าฟัน หรือ
รากฟันได้ โดยไม่ทาให้กระดูกเบ้าฟันหรือรากฟันตาย
วัตถุประสงค์
ใช้ electrosurgery เพื่อห้ามเลือดภายหลังการตัดแต่งเหงือก
ด้วยมีดผ่าตัด (blade)
เครื่องมือเฉพาะที่ใช้
เครื่อง electrosurgery และหัว electrode
ขั้นตอนการผ่าตัด
Step 1 Step 2 1. ฉีดยาชาเฉพาะที่
2. กาหนดตาแหน่งที่จะตัดเหงือก
3. ใช้ electrosurgery ตัดเนื้อเหงือก
และแต่งให้มีลักษ ะคล้ายเหงือก
ปกติ
Electrode Step 3 4. ล้างบริเว ผ่าตัดใหุ้ะอาดด้วย
น้าเกลือ
5. กดแผ่นเหงือกให้แนบกับฟัน เย็บ
แผ่นเหงือก (กร ีจาเป็น)
6. ปิดด้วยแผ่นปิดแผลปริทันต์
Step 3 แผล 2 ุัปดาห์

You might also like