You are on page 1of 61

สรุ ปเนือ้ หาวิชา GAS4601 ยูโด

ประวัตคิ วามเป็ นมาของกีฬายูโด


 ยูโดเป็ นทั้งศิลปะและกีฬาในการต่อสู้และการป้ องกันตัว โดยใช้วิธีการหันเหแรงที่คู่ต่อสู ้กระทำต่อตัวเราให้ยอ้ นกลับคืน
ไปกระทำต่อเจ้าของแรงนั้นเอง

 ยูโด (Judo) หรื อ ยูโดโคโดกัน (Judo Kodokan) เป็ นศิลปะการต่อสู ้ประจำชาติประเภทหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เดิมเรี ยกว่า
ยูยติ สู (Jiujitsu) โดยท่านจิโกโร คาโน (Jigoro Kano) ได้ปรับปรุ งดัดแปลงทางด้านหลักการและแนวคิดต่างๆมารวมกัน
จนกลายเป็ นยูโดที่นิยมเล่นและรู้จกั แพร่ หลายทัว่ โลกในปั จจุบนั

 สำหรับประวัติของกีฬายูโดที่แท้จริ งนั้นไม่มีใครทราบแน่นอน แต่มีหนังสื อของสถาบันโคโดกันซึ่ งท่านอาจารย์แห่ง


สถาบันโคโดกันแห่งประเทศญี่ปุ่นได้เรี ยบเรี ยงไว้ดงั นี้

 ต้นกำเนิดของยูยติ สูน้ นั ได้สาบสูญไปตั้งแต่โบราณการ แต่มีหนังสื อนิฮอนโซกิซ่ ึ งรวบรวมโดยอิมโพเรี ยล


คอมมานด์ในปี คศ.720 หรื อ พ.ศ.1263 กล่าวถึง การแข่งขันชื่อว่า จิทาระกูงาเย โดยเป็ นการประกวดความแข็ง
แรงซึ่ งให้มีข้ ึนเมื่อปี ที่ 7 ในรัชสมัยจักรพรรดิ์ซุยนิน ก่อนคริ สตกาลราว 230 ปี โดยในสมัยนั้นนัก
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นยืนยันว่ามีการเริ่ มต้นของวิชาซูโม่ ซึ่ งแปลว่าการต่อสู ้โดยใช้กำลังเข้าประลอง ซึ่ งลักษณะ
การต่อสู้ของวิชาซูโม่มีบางท่าที่ตรงกับท่า HARAI GOSHI ในวิชายูยติ สู คือ การใช้สะโพกเป็ นกำลังบังคับขาก
วาดเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เสี ยหลักล้มลง ดังนั้นวิชาซูโม่และยูยติ สู จึงมีความสัมพันธ์กนั มาแต่กาลก่อน ดังนั้นจึงอาจ
กล่าวได้วา่ ยูโดคือการรวมกันของวิชาซูโม่และยูยติ สู เข้าด้วยกัน

 ยูยติ สู บางครั้งเรี ยกว่า ยูยติ ซึ หรื อ ทาอิจิตซิ ซึ หรื อ ยาวารา แปลว่ าการบริหารร่ างกายซึ่งมีอยู่ในวรรณคดีของ
ญี่ปนุ่ โดยเป็ นที่นิยมเล่นกันในสมัยโตคุคาวา

 ปี คศ.1968 ญี่ปุ่นเริ่ มนำวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา ดังนั้นในปี คศ.1871 จึงมีการออกกฎหมายห้ามใช้ ซามูไร ยู


ยิตสู เพราะถูกมองว่าเป็ นสิ่ งที่ลา้ สมัย ทารุ ณ และป่ าเถื่อน ยูยติ สู จึงได้ค่อยๆเสื่ อมคลายลงนับตั้งแต่น้ นั
การเปลีย่ นแปลงและการปฏิรูปจากยูยติ สู มาเป็ นยูโด
 ในยุคสงครามกลางเมืองของญี่ปุ่น มีการซ่องสุ มผูค้ นและฝึ กวิชาการต่อสู ้หลายชนิด โดยในยุคนี้ ยูยติ สู มีประโยชน์เป็ น
อย่างมากเพราะสามารถนำมาใช้ต่อสู้ในระยะประชิดได้ โดยมีผตู ้ ้ งั ตนเป็ นอาจารย์และเปิ ดสอนวิชานี้ หลายแห่ง โดยการ
ฝึ กยูยติ สู ในสมัยนั้นถือว่าเป็ นการทารุ ณและไร้ศีลธรรม

 ต่อมาสมัยโตคุคาวา คนในตระกูลนี้ ได้ต้ งั ตนเป็ นผูสำ


้ เร็ จราชการแผ่นดินปกครองประเทศ ทำให้บา้ นเมืองสงบสุ ข

 ต่อมาในปี คศ.1868 มีการปฏิรูปการปกครองโดยยกเลิกการปกครองแบบผูสำ


้ เร็ จราชการ และเปลี่ยนเป็ นระบบการ
ปกครองแบบมีจกั รพรรดิ์ และเริ่ มเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา

 ในปี คศ.1871 มีพระราชบัญญัติหา้ มมิให้ซามูไรพกดาบ จึงทำให้ยยู ติ สู ได้รับความนิยมน้อยลง และมีการปรับปรุ งให้


เป็ นการต่อสู ้ดว้ ยมือเปล่าที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม
 ผูป้ ฏิรูปยูยติ สูมาเป็ นยูโด คือ ท่านจิโกโร คาโน่ ซึ่ งเป็ นคนมีรูปร่ างเล็ก บอบบาง แต่มีนิสยั ไม่ยอมให้ใครข่มเหงรังแก เมื่อ
ทราบว่าวิชายูยติ สูสามารถทำให้คนรู ปร่ างเล็กต่อสู ้กบั คนที่มีรูปร่ างใหญ่กว่าได้จึงสนใจและเข้าศึกษาวิชายูยติ สู กบั อาจารย์
ทีอิโน สุ เกะ ยากิ และต่อมาก็สมัครเป็ นลูกศิษย์ของอาจารย์มาซา โทโม อิโซ

 ในปี คศ. 1882 ท่านจิโกโร คาโน ได้ต้ งั สถาบันสอนวิชายูยติ สู ชื่อสถาบันโคโดกัน และเปลี่ยนชื่อวิชายูยติ ไปเป็ นยูโด และ
ได้พยายามปรับปรุ งแก้ไข รวบรวมวิธีการต่างๆเป็ นหมวดหมู่ รวมทั้งใช้หลักกลศาสตร์มาประกอบ และสอดแทรกวิชา
ตรรกวิทยา จิตวิทยา จริ ยศึกษา เข้ามาในวิชายูโด

 คำว่าโคโดกัน หมายถึง จิตใจอันเป็ นธรรมดาของความพยายามทางวัฒนธรรม สามารถแบ่งออกเป็ น 3 คำ คือ


 โค หมายถึง การอ่าน การเขียน และวิธีการ
 โด หมายถึง หนทางหรื อวิถีทาง
 กัน หมายถึง โรงเรี ยน หรื อ สถานที่
รวมกันจึงเรี ยกว่า สถานที่ศึกษาวิถีทาง

 ในปี คศ.1936 ท่านจิโกโร คาโน ออกเดินทางไปประเทศต่างๆในทวีปยุโรป เพื่อเผยแพร่ และสาธิ ตวิธีการที่ถูกต้องของยูโด


โดยมี ทากาซากิ โคตานิ ซึ่ งเป็ นศิษย์ติดตามไปด้วย

 ท่านจิกาโร คาโน สิ้ นชีวิตบนเรื อ เอสเอสฮิกาวามารู ด้วยโรคปอดอักเสบ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม คศ.1938 ด้วยวัย 78 ปี
ซึ่ งท่านได้ประกอบคุณูปการไว้มากมายในฐานะ ผู้ให้ กำเนิดกีฬายูโดสากล

 ต่อมาลูกชายของท่านได้สืบทอดเจตนารมณ์สถาบันยูโดโคโดกันซึ่ งปั จจุบนั ตั้งอยูใ่ จกลางกรุ งโตเกียว ใกล้กบั โตเกียวโดม


มีอาคาร 2 หลัง คือ อาคารสำนักงานยูโดนานาชาติ และ อาคารฝึ กยูโดสู ง 7 ชั้น

 กีฬายูโดเป็ นกีฬาสากลเผยแพร่ ไปทัว่ โลกภายใต้การดูแลของสหพันธ์ยโู ดนานาชาติ และตั้งแต่ คศ.1952 มีการจัดการ


แข่งขันระดับโลก เช่น การแข่งขันชิงแชมป์ โลก เยาวชนชิงแชมป์ โลก โอลิมปิ ก การแข่งขันระดับภาคพื้นทวีป 5 ทวีป ซึ่ ง
จัดโดยสหพันธ์ยโู ดภาคพื้นทวีป เช่น สหพันธ์ยโู ดแห่งเอเชีย จัดการแข่งขันยูโดชิงแชมป์ เอเชีย เยาวชนชิงแชมป์ เอเชีย
เอเชียนเกมส์

 กีฬายูโดได้มีววิ ฒั นาการและพัฒนาการมาโดยตลอด จนได้รับยกย่องให้เป็ นกีฬาประจำชาติของประเทศญี่ปุ่นในเวลาต่อมา


 สหพันธ์ยโู ดนานาชาติได้ก่อตั้งขึ้นโดยมีสมาชิกแรกเริ่ ม 20 ประเทศ โดยมี อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริ กา เยอรมัน ร่ วมด้วย
ทำให้เกิดการแข่งขันยูโดชิงแชมป์ โลกขึ้นครั้งแรกในปี คศ.1956

 ในที่สุดยูโดก็ถูกบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิ ก ในปี คศ.1964 และกลายเป็ นกีฬาสากลตราบจนทุกวันนี้

กีฬายูโดในประเทศไทย
 ในปี พศ.2450 ได้มีชาวญี่ปุ่นชื่อกิโยฟูจิเข้ามาทำงานบริ ษทั ของประเทศญี่ปุ่นที่ต้ งั ในประเทศไทยคือบริ ษทั ซุยบุนเซนไกซา
และได้นำเอาวิชายูยติ สูเข้ามาเผยแพร่ ให้แก่ผรู้ ่ วมงานได้ฝึกหัด และมีทนั ตแพทย์ชาวญี่ปุ่นชื่อ เอนโด ซึ่ งมีความรู ้ทางยูยติ สู
ได้เข้าร่ วมเป็ นผูฝ้ ึ กสอนและเผยแพร่ จนเป็ นที่นิยมในหมู่คนใกล้ชิด และ คนไทยพอสมควร

 ปี พศ.2455 หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิวงศ์ สวัสดิกลุ ได้ทรงศึกษาวิชายูยติ สู มาจากประเทศยุโรป เมื่อกลับมารับราชการอยู ใ่ น


กระทรวงต่างประเทศ ทรงเห็นว่ายูยติ สูมีประโยชน์ต่อสังคม จึงมีความประสงค์จะให้มีการศึกษาวิชานี้ ในโรงเรี ยนต่างๆ
เช่นเดียวกับนานาประเทศ จึงทรงนำยูยติ สูไปสอนแก่ครู นักเรี ยน ในโรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัยเป็ นแห่งแรก ซึ่ งใน
จำนวนนี้คือ อาจารย์ทิม อดิเปรมานนท์ และ อาจารย์นิยม ทองชิตร์ รวมอยูด่ ว้ ย

 ในปี พ.ศ.2459 หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิวงศ์ สวัสดิกลุ ได้เสนอวิชายูยติ สู แก่กรมตำรวจเพื่อพิจารณาจัดการเรี ยนการสอนให้แก่


นักเรี ยนตำรวจ ซึ่ งกรมตำรวจพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็ นประโยชน์ จึงอนุญาตให้มีการเรี ยนการสอนได้ โดยในสมัยนั้นมี
นักเรี ยนตำรวจเรี ยนจำนวน 4 ท่าน

 ปี พศ.2484 สถาบันยูโดเรนบูกนั ได้ส่งนักยูโดจำนวน 5 คน เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่นที่สถาบันยูโดโคโดกัน และทาง


สถาบันได้มอบคุณวุฒิสายดำชั้นหนึ่งให้แก่บุคคลทั้ง 5 ท่าน

 ปี พศ. 2498 พล.ต.ท.พิชยั กุลละวาณิ ชย์ พล.ต.ต.มงคล จีรเศรษฐ และ อาจารย์สิทธิ ผล พลาชีวิน ได้ร่วมกันก่อตั้งสมาคมยูโด
แห่งประเทศไทยขึ้น และจดทะเบียนอย่างถูกต้อง เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2498 และได้เข้าเป็ นสมาชิกสหพันธ์ยโู ด
นานาชาติแห่งเอเชียในปี พศ.2499 ต่อมาในปี พศ.2507 สมาคมยูโดสมัครเล่นแห่งประเทศไทยก็ได้เป็ นสมาชิกของสหพันธ์
ยูโดสากลระหว่างประเทศ

 สมาคมยูโดแห่งประเทศไทยเปิ ดสำนักงานเป็ นทางการเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2499

 ในปั จจุบนั สมาคมยูโดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์มีที่ทำการอยูท่ ี่ 2088 การกีฬาแห่งประเทศไทยโซน E230


สนามราชมังคลากีฬาสถาน หัวหมาก บางกะปิ กรุ งเทพ

ความหมายของคำว่ า ยูโด และ ยูยติ สู

ท่านจิโกโร คาโน ได้ให้คำจำกัดความของยูโดว่า ยูโดคือการใช้จิตใจและร่ างกายรวมกัน เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดแก่ท้ งั
ตนเองและผูอ้ ื่น โดยมีวตั ถุประสงค์ 2 ประการ คือ

1. เพื่อให้ร่างกายมีความสมบูรณ์แข็งแรงและมีสมรรถภาพสู งสุ ด
2. เพือ่ ช่วยเหลือให้มนุษยชาติมีสวัสดิภาพและประโยชน์สุขร่ วมกัน

ยู หมายถึง ความสุ ภาพ หรื อ การโอนอ่อน ยอมให้


ยิตสู หมายถึง ศิลปะ
โด หมายถึง หลักการ

ดังนั้น ยูยติ สู จึงหมายความว่า ศิลปะการโอนอ่อน ส่ วนยูโดหมายความว่า หลักแห่งการโอนอ่อน การเปลี่ยนแปลงยูยติ สู มาเป็ น


ยูโดจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงจากศิลปะมาเป็ นหลักการ

หลักการของยูโด คือ การโอนอ่อนหรื อการให้ทาง ผูท้ ี่เข้าถึงยูโดและสามารถทำได้ตามคำกล่าวของยูโดนั้น คือ คนที่มี


ร่ างกายเล็กกว่ า และ กำลังน้ อยกว่า สามารถเอาชนะคนทีม่ ีรูปร่ างใหญ่ กว่ า และมีความแข็งแรงกว่ าได้ หรือว่ ายิง่ ใหญ่ ยงิ่ ล้ มดัง
เป็ นต้น
ดังนั้นยูโด จึงหมายถึง การใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด เพื่อที่จะพัฒนาทางด้านร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา และ
อารมณ์ จนถึงระดับที่สามารถนำไปปฏิบตั ิกิจกรรมนั้นได้ในการดำเนินชีวิต ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเองและสังคม ด้วยหลัก
การของยูโดการโอนอ่อนผ่อนตาม

หลักวิทยาศาสตร์ กบั กีฬายูโด

ยูโดใช้หลักวิทยาศาสตร์มาร่ วมด้วยในการศึกษาทางด้านเทคนิคการทุ่ม การล๊อค ล้วนแต่เป็ นการศึกษาการเคลื่อนไหวของ


ร่ างกาย เช่น ชีวกลศาสตร์ทางกีฬา เรื่ องระบบคาน การเคลื่อนไหว เป็ นต้น

ศาสตร์ที่วา่ ด้วยแรงของการเคลื่อนไหว มีความเกี่ยวข้องกับการจัดระเบียบการเคลื่อนไหวของร่ างกาย ได้แก่ การระนาบ แนว


แรง คาน จุดหมุน ที่มีผลต่อการปฏิบตั ิทกั ษะและการจัดท่าทางการเคลื่อนไหวให้ถูกต้องกับนักกีฬาแต่ละบุคคล

หลักการเคลื่อนไหวของมนุษย์จะมีองค์ประกอบของแรง 3 อย่าง คือ

1. จุดที่แรงกระทำ
2. ทิศทางของแรง
3. ขนาดของแรง

นอกนั้นนักกีฬายูโดจำเป็ นต้องเข้าใจเรื่ องหารถ่ายเทน้ำหนักของตนเอง ของคู่ต่อสู ้ และผสมผสานแรงทั้งสองเพื่อนำไปประยุกต์


ใช้กบั เทคนิคการทุ่ม การล๊อคให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด

วิธีแสดงความเคารพ

1. การนั่งเคารพ (Zarei)
1. จากท่ายืนตรงจังหวะแรก
2. ให้ถอยเท้าข้างซ้ายไปข้างหลัง คุกเข่าซ้ายลง
3. คุกเข่าขวาลง ปลายเข่าขวาเสมอเข่าซ้าย ลำตัวกับต้นขาส่ วนบนตั้งฉากกัน ส้นเท้าตั้งขึ้น
4. นัง่ ลง วางก้นลงบนสันเท้า ให้หวั แม่เท้าทั้งสองทับกัน มือทั้งสองวางบนหน้าขาชิดลำตัว เข่าแยกห่างกันพอประมาณ
5. วางฝ่ ามือทั้งสองข้างคว่ำลงข้างหน้าห่างเข่าเล็กน้อย หันปลายฝ่ ามือเฉี ยงเข้าหากัน ก้มศีรษะตรงเป็ นแนวเดียวกับแผน
หลัง
6. เงยศีรษะขึ้นให้ลำตัวตั้งตรง สายตามองไปข้างหน้า ฝ่ ามือทั้งสองข้างวางบนต้นขา
2. การยืนเคารพ (Ritsurei)
1. จากท่านัง่ วางก้นลงบนสันเท้าให้นิ้วหัวแม่เท้าทั้งสองทับกัน มือทั้งสองวางบนหน้าขาชิดลำตัว ลำตัวตรง เข่าแยกห่างกัน
พอประมาณ
2. ให้ยกก้นขึ้นจากสันเท้า สันเท้าตั้งขึ้น ลำตัวตั้งตรง
3. ตั้งเข่าขวาขึ้น ฝ่ ามือชิดลำตัว หน้ามองตรง
4. ให้ลุกขึ้นยืน ลากเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวา
5. โน้มศีรษะลงทำความเคารพ ให้เลื่อนฝ่ ามือทั้งสองข้างไปแตะบริ เวณเหนือเข่า ศีรษะกับลำตัว แผนหลัง เป็ นเส้นตรง
เดียวกัน นิ่งอยูส่ กั ครู่
6. ยืดตัวกลับอยูใ่ นท่าตรง
สถานที่สำหรับฝึ กสอนยูโด
สถานที่สำหรับฝึ กสอนยูโดที่ญี่ปนุ่ เรี ยกว่า โดโจ ซึ่ งควรมีลกั ษณะดังนี้
 ลักษณะของห้องต้องกว้างขวางพอสมควร
 พื้นปูดว้ ยเสื่ อยูโดซึ่ งทำจากฟาง ญี่ปุ่นเรี ยกว่า ตาตามิ หรื อวัสดุอื่นเพื่อป้ องกันอันตรายในเวลาล้ม เสื่ อต้องปูให้เรี ยบ
อย่าให้เป็ นหลุมเพราะอาจทำให้ขอ้ เท้าแพลงได้
 ผนังห้องควรบุดว้ ยวัตถุที่มีความอ่อนนุ่มหรื ออ่อนตัวได้ สิ่ งที่เป็ นแง่ เป็ นเหลี่ยม ซึ่ งอาจจะกระแทกเป็ นอันตรายควร
แก้ไขให้ปลอดภัย
 ห้องฝึ กควรมีอากาศบริ สุทธิ์ โดยธรรมชาติ ถ่ายเทอากาศได้ดี
 มีความสว่าง สะดวกแก่การฝึ ก
 ควรรักษาความสะอาดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
 สำหรับสิ่ งประดับนั้นต้องจัดให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ควรมีที่สำหรับบูชาพระและสิ่ งที่เคารพสักการะ ตลอดจนภาพครู
อาจารย์และท่านผูม้ ีอุปการะคุณ
 ไม่ควรสู บบุหรี่ สวมหมวก สวมรองเท้าขึ้นไปบนเบาะยูโด
 ห้ามส่ งเสี ยงโดยไม่จำเป็ น หรื อทำสิ่ งที่น่ารังเกียจ ปฏิกลู และก่อให้เกิดความรำคาญอย่างเคร่ งครัด
 เครื่ องปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ระเบียบและมารยาทที่นักยูโดพึงปฏิบัติ
 เมื่อไปถึงสถานที่ฝึกควรทำความเคารพก่อน 1 ครั้ง
 เมื่อเปลี่ยนเครื่ องแต่งกายเป็ นชุดยูโดแล้วควรไปเคารพที่บูชาอีก 1 ครั้ง
 ก่อนที่จะทำการฝึ กกับครู หรื อคู่ซอ้ มก็ตอ้ งทำความเคารพซึ่ งกันและกัน
 หลังจากเลิกการฝึ กกับครู หรื อคู่ซอ้ มก็ตอ้ งทำความเคารพซึ่ งกันและกัน
 ขณะนัง่ พักอยูบ่ นเบาะ ควรนั้งให้เรี ยบร้อยตามแบบฉบับของยูโด
 เมื่อจะเลิกฝึ กควรไปเคารพหิ้งบูชา
 หลังจากเปลี่ยนเครื่ องแต่งกาย ก่อนจะออกจากสถานที่ฝึก ควรเคารพอีก 1 ครั้ง
หลักแห่งความอ่อนโยน กล่าวคือ นักยูโดทุกคนควรเป็ นผูม้ ีมารยาทอ่อนโยนเป็ นผูสำ
้ รวมทั้งร่ างกายและจิตใจ มารยาทที่นกั ยูโดพึง
ปฏิบตั ิมีดงั นี้

 ไม่ก่อความรำคาญให้กบั ผูอ้ ื่น


 ไม่กล่าวคำหยาบคาย
 ไม่ทำกิริยาตลก คะนอง
 ไม่สูบบุหรี่
 ต้องเคารพเชื่อฟังครู ฝึกอย่างเคร่ งครัด
 เมื่อเครื่ องแต่งกายไม่เรี ยบร้อย ต้องแต่งให้เรี ยบร้อยก่อนการฝึ กต่อไป
 สำรวมกิริยามารยาทเพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่

การรักษาสุ ขภาพอนามัยและความสะอาด

 นักยูโดต้องรักษาสุ ขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงอยูเ่ สมอ


 เลือกรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ พักผ่อนให้เพียงพอ
 ขณะฝึ กหรื อหลังฝึ กเสร็ จไม่ควรดื่มน้ำมากเกินไป
 ควรรักษาความสะอาดของร่ างกาย หากมีเหงื่อออกมากต้องชำระล้างร่ างกายให้สะอาด
 ชุดฝึ กยูโดควรมีอย่างน้อย 2 ชุด เพื่อผลัดเปลี่ยนกันไม่ให้เกิดโรคอันไม่พึงประสงค์

การสร้ างเสริมสุ ขภาพทางกายในกีฬายูโด


ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถในการทำงานของร่ างกายที่ทำงานได้ยาวนานไม่เหนื่อยง่าย ประหยัดเวลาและ
พลังงาน หรื อ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมสัง่ การให้ร่างกายปฏิบตั ิภารกิจต่างๆอย่างได้ผลดีมีประสิ ทธิ ภาพเหมาะสม
กับปริ มาณและเวลาตลอดทั้งวัน โดยการปฏิบตั ิน้ นั ไม่ก่อให้เกิดความทรมานแก่ร่างกาย

สมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬายูโด
 ความแข็งแรง
 กำลัง
 ความเร็ ว
 ความคล่องแคล่วว่องไว
 ความอดทน
 ความอ่อนตัวหรื อความยืดหยุน่
 ความสมดุลของร่ างกาย
การฝึ กซ้ อมและปัจจัยที่มีผลต่ อสมรรถภาพทางร่ างกายและจิตใจ
การฝึ กซ้อม คือ การดำเนินการหรื อการปฏิบตั ิการอย่างเป็ นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา สร้างเสริ ม ปรับปรุ งแก้ไข
ทักษะเทคนิคกีฬาและสมรรถภาพทางกาย รวมทั้งความสามารถของนักกีฬาให้มีความก้าวหน้าและมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น ภายใต้
เงื่อนไขของความหนักเบา รู ปแบบ วิธีการ และกิจกรรมฝึ กซ้อมที่ได้กำหนดไว้

การนำโปรแกรมฝึ กไปใช้ กบั นักกีฬา


มีท้ งั หมด 8 ขั้นตอน ดังนี้

1. การอบอุ่นร่ างกาย
2. การยืดกล้ามเนื้อ
3. การฝึ กทักษะพื้นฐาน
4. การฝึ กทักษะเฉพาะ
5. โปรแกรมการฝึ กซ้อมมีอยู่ 4 แบบคือ
5.1 แอโรบิก
5.2 แอนแอโรบิก
5.3 ความเร็ ว
5.4 ทักษะ
6. การฝึ กความเร็ วแบบอดทน
7. การฝึ กความแข็งแรง
8. การคลายกล้ามเนื้ อ

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อสมรรถภาพทางร่ างกายและจิตใจ


กระบวนการพัฒนาความสามารถสูงสุ ดของนักกีฬาขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบ 3 ด้าน คือ
1. ทักษะและเทคนิค
2. สมรรถภาพทางกาย
3. สมรรถภาพทางใจ

ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องและส่ งผลกระทบต่ อการพัฒนาความสามารถของนักกีฬา โดยแบ่งออกเป็ น 2 ด้าน คือ


1.ปัจจัยภายในร่ างกาย
1.1 อายุ
1.2 เพศ
1.3 สภาพร่ างกายจิตใจและพรสวรรค์
2. ปัจจัยภายนอกร่ างกาย
2.1 อาหาร
2.2 ภูมิอากาศ
2.3 เครื่ องแต่งกาย
2.4 การใช้ยากระตุน้
2.5 การฝึ กซ้อมหนักมากเกินไป

ความหมายของนิยามศัพท์ ในการฝึ กซ้ อมแต่ ละช่ วงเวลา

แมคโครไซเคิล (Macrocycle)
หมายถึงช่วงระยะเวลาการฝึ กซ้อมที่ยาวนานที่สุด หรื อช่วงระยะเวลาของการฝึ กซ้อมทั้งหมด ที่ครอบคลุมทุกส่ วนของช่วงเวลา
ที่ใช้ในการฝึ ก โดยปกติวงรอบดังกล่าวนี้จะมีระยะเวลาประมาณ 12 เดือนหรื อ 1 ปี และในวงรอบปฏิทิน 1 ปี สามารถที่จะจัดแบ่งช่วง
ระยะเวลาในการฝึ กซ้อมออกได้เป็ น 1-3 แมคโทไซเคิล

องค์ ประกอบของแมคโครไซเคิล
มีช่วงระยะเวลาการฝึ กซ้อมที่สำคัญ 3 ช่วง คือ
1. ช่วงเตรี ยมความพร้อมร่ างกาย
2. ช่วงการแข่งขัน
3. ช่วงปรับสภาพร่ างกาย หรื อพักฟื้ นร่ างกาย

โดยแต่ละช่วงมีความจำเป็ นและความสำคัญที่แตกต่างกัน
การวางแผนการฝึ กซ้ อมในแต่ ละช่ วงเวลา
การวางแผนการฝึ กซ้อมในหนึ่งแมคโครไซเคิลจะแบ่งเป็ น 3 ช่วงระยะเวลา และแบ่งออกเป็ น 6 ช่วงย่อยๆ โดยแต่ละช่วงย่อย
เรี ยกว่า เฟส (Phase)

การเก็บตัวของนักกีฬาทีมชาติไทย โดยการควบคุมดูแลภายใต้ของคณะกรรมการโอลิมปิ กแห่งประเทศไทยในพระบรม


ราชูปถัมภ์ มีนโยบายระยะเวลาฝึ กซ้อมก่อนไปแข่งขันในรายการระดับชาติ และเป็ นตัวแทนทีมชาติส่งนักกีฬาเข้าร่ วมการแข่งขันดังนี้

ระยะเวลาการฝึ กซ้ อม
1.ระยะเวลาการอนุญาตให้นกั กีฬาและผูฝ้ ึ กสอนกีฬาไปฝึ กซ้อมก่อนการแข่งขันต้องไม่เกินกำหนดระยะเวลาดังนี้
 การแข่งขันระดับกีฬาเยาวชนแห่งชาติและกีฬาแห่งชาติ 60 วัน
 การแข่งขันระดับซีเกมส์ 270 วัน
 การแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งเอเชีย 90 วัน
 การแข่งขันระดับเอเชียนเกมส์ 365 วัน
 การแข่งขันชิงชนะเลิศของโลก 180 วัน
 การแข่งขันระดับโอลิมปิ กเกมส์ 365 วัน
 การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน 30 วัน
 การแข่งขันกีฬาชิงชนะเลิศกีฬามหาวิทยาลัยแห่งเอเชีย 30 วัน
 การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 30 วัน
 การแข่งขันชิงชนะเลิศกีฬามหาวิทยาลัยโลก 30 วัน

2.กรณี ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน


 การแข่งขันระดับเอเชียนเกมส์และการแข่งขันการแข่งขันชิงชนะเลิศแห่งเอเชีย 365 วัน
 การแข่งขันระดับเอเชียนเกมส์และการแข่งขันชิงชนะเลิศของโลก 365 วัน
 การแข่งขันระดับโอลิมปิ กเกมส์ 730 วัน
 การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยอาเซียน 60 วัน
 การแข่งขันกีฬาชิงชนะเลิศกีฬามหาวิทยาลัยแห่งเอเชีย 60 วัน
 การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 60 วัน
 การแข่งขันชิงชนะเลิศกีฬามหาวิทยาลัยโลก 60 วัน
การอบอุ่นร่ างกาย
ความสำคัญของการอบอุ่นร่ างกาย
การอบอุ่นร่ างกายด้วยการกระตุน้ การทำงานของอวัยวะระบบต่างๆให้พร้อมที่จะทำงานหนักกว่าปกติได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ ระบบประสาท กล้ามเนื้ อ รวมทั้งระบบพลังงาน
การปฏิบตั ิตามขั้นตอนในการอบอุ่นร่ างกายอย่างถูกต้องจะมีผลต่อการตอบสนองของร่ างกาย โดยแบ่งออกเป็ น 2 ด้าน สำคัญ
ดังต่อไปนี้
1.ระบบการทำงานของร่ างกาย
 ร่ างกายมีการปรับเพิ่มอุณหภูมิในกล้ามเนื้ อให้พร้อมที่จะออกแรงหรื อทำงานหนักขึ้น
 เป็ นการเตรี ยมความพร้อมของอวัยวะภายในร่ างกาย
 เพิ่มการขยายหลอดเลือดและเพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดไปสู่ กล้ามเนื้อมากขึ้น
 ลดความหนืดของกล้ามเนื้ อและข้อต่อ
 การหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้ อและการเคลื่อนไหวข้อต่อมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
 ข้อต่อต่างๆของร่ างกาย กระดูกสันหลัง จะมีความพร้อมในการทำงานหนักขึ้น
 การผลิตพลังงานของร่ างกายมีอตั ราการเผาผลาญพลังงานสู ง
 ช่วยกระตุน้ ระบบประสาทส่ วนกลางให้มีความพร้อมที่จะทำงาน
 เพิ่มความเร็ วในการส่ งกระแสประสาท ทำให้มีการรับรู ้และสัง่ การให้กล้ามเนื้ อหดตัว หรื อคลายตัวได้รวดเร็ ว
ขึ้น
 กระตุน้ ให้กล้ามเนื้ อทำงานได้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นทั้งในสภาวะที่มีการเคลื่อนไหวหรื อไม่มีการเคลื่อนไหว
 เพิ่มอัตราการให้พลังงานของเซลล์มากขึ้น
 เพิ่มความสามารถในการทำงานหนักในช่วงเวลาสั้นๆให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
 ลดโอกาสเสี่ ยงต่อการเกิดการบาดเจ็บที่กล้ามเนื้ อและข้อต่อต่างๆภายในร่ างกาย

2.ด้านจิตใจ
 ช่วยกระตุน้ ให้จิตใจมีความพร้อมที่จะออกกำลังกายหรื อเล่นกีฬามากขึ้น
 ช่วยลดเวลาปฏิกิริยาของประสาทสัง่ การและกระตุน้ ให้มีความสัมพันธ์ในการทำงาน
 ช่วยกระตุน้ ให้นกั กีฬามีมโนภาพและจินตนาการในการเคลื่อนไหว
 ช่วยกระตุน้ ให้ระบบประสาทและกลไกการทำงานในสภาวะที่เหมือนจริ ง นักกีฬาจะเกิดความมัน่ ใจในตัวเอง
มากขึ้น
 ช่วยทำให้นกั กีฬาผ่อนคลายความกดดันจากการฝึ กซ้อมหรื อแข่งขัน

ท่ าสำหรับการอบอุ่นร่ างกาย
1.ท่ าหมุนคอ (แบบช้ า)
วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของกลุ่มกล้ามเนื้อบริ เวณต้นคอของมุมการเคลื่อนไหวและลดความเสี่ ยงต่อการบาดเจ็บ
บริ เวณกล้ามเนื้ อต้นคอ
วิธีปฏิบัติ : ยืนตรง เริ่ มหมุนคอไปทางขวาจนครบรอบ และหมุนไปทางซ้ายสลับกันไป เวลาหมุนคอไม่ควรหลับตา เป็ นลักษณะ
การหมุนแบบช้าๆ โดยให้ปฏิบตั ิหมุนไปทางขวา 10 รอบ และทางซ้าย 10 รอบ
2.ท่ าเหวีย่ งแขนบิดลำตัว
วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของกลุ่มกล้ามเนื้อบริ เวณหัวไหล่เพิ่มมุมการเคลื่อนไหวของไหล่
วิธีปฏิบัติ : ยืนตรง เท้าแยกช่วงไหล่ เหวี่ยงแขนไปทางขวา มือขวาเหยียดมือซ้ายทับที่ขอ้ ศอก นับเป็ นครั้ งที่ 1 และเปลี่ยนทาง
ซ้ายให้ปฏิบตั ิรอบละ 20 ครั้ง จำนวน 2 รอบ

3.ท่ าเหวีย่ งข้ อศอก


วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของมุมการเคลื่อนไหวบริ เวณกล้ามเนื้ อแขนในส่ วนของบริ เวณข้อศอก
วิธีปฏิบัติ : ยืนตรง เท้าแยกพอประมาณ งอข้อศอกไปด้านหน้า ระดับไหล่ มือกำหลวมๆ เหวี่ยงข้อศอกไปด้านหลัง แขนกางออก
ให้ปฏิบตั ิรอบละ 20 ครั้ง จำนวน 2 รอบ
4.ท่ าดันพืน้ แขนตึง
วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของกลุ่มกล้ามเนื้อหัวไหล่ ต้นแขน และหน้าอก
วิธีปฏิบัติ : นอนคว่ำเหยียดท้าชิดกัน ดันแขนตึง ให้ตวั พ้นพื้น ยุบแขนลงไม่ให้ลำตัวถูกพื้น ยืดแขนดันพื้นให้เหยียดตึงนับเป็ น 1
ครั้ง ปฏิบตั ิ 20 ครั้ง

5.ท่ ายุบย่อเข่ า
วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของการยืดหยุน่ ของกล้ามเนื้อบริ เวณหัวเข่าและกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า และช่วยลดความ
เสี่ ยงต่อการบาดเจ็บบริ เวณเอ็นที่อยูบ่ ริ เวณรอบๆหัวเข่า
วิธีปฏิบัติ : ยืนตรง เท้าชิดกัน ก้มเอามือจับที่เข่าทั้งสอง ย่อเข่าลงแล้ว ยุบเข่าไปทางซ้ายสลับกับยุบเข่าไปทางขวา ยืนตรงยืดเข่า
ขึ้น โดยปฏิบตั ิรอบละ 10 ครั้ง จำนวน 2 รอบ
6.ท่ าย่อเข่ า-ยืดลำตัว
วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของการยืดหยุน่ ของกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า กล้ามเนื้ อสะโพก และกล้ามเนื้ อลำตัว
วิธีปฏิบัติ : ยืนยืดลำตัว แยกเท้าให้มากๆ ย่อตัวลง ลำตัวตั้งตรงเข่าแยกออกด้านข้าง มือวางที่ตน้ ขาใบหน้ามองตรง ยืดตัวขึ้น ลำ
ตัวตรง เข่าตึง โดยปฏิบตั ิรอบละ 10 ครั้ง จำนวน 2 รอบ

7.ท่ าย่อเข่ า-กดหัวไหล่


วัตถุประสงค์ : เพื่อเตรี ยมความพร้อมของการเคลื่อนไหวและความยืดหยุน่ ของกลุ่มกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่บิดลำตัวและกล้ามเนื้อ
ต้นขาด้านหน้า กล้ามเนื้ อสะโพก กล้ามเนื้ อลำตัว และหัวไหล่
วิธีปฏิบัติ : ยืนยืดลำตัวแยกเท้าให้มาก ย่อตัวลง เข่าแยกออกด้านข้าง มือวางที่หวั เข่า กดไหล่ขวาหันใบหน้าไปทางซ้ายมือ กด
ไหล่ซา้ ยหันใบหน้าไปทางขวามือ ทำสลับไป กลับไปสู่ ท่าเดิม ยืดลำตัวยืนตรง ปฏิบตั ิ 10 ครั้ง จำนวน 2 รอบ
ทักษะพืน้ ฐานของยูโด
หมายถึง ทักษะ เทคนิค พื้นฐานของยูโด ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ท่าทุ่มและท่าปล้ำเป็ นไปได้อย่างถูกต้องและมี
ประสิ ทธิภาพ ดังนั้นนักกีฬาที่เริ่ มต้นเล่นกีฬายูโดใหม่ๆจึงไม่ควรมองข้ามความสำคัญของทักษะพื้นฐานของยูโด ควรใช้เวลาในการศึกา
ทำความเข้าใจและปฏิบตั ิฝึกฝนให้เกิดทักษะพื้นฐานจนชำนาญเป็ นสัญชาติญาณ และพึงจำไว้วา่ นักยูโดที่ขาดพื้นฐานที่ถูกต้อง ไม่ครบ
ถ้วน จะไม่สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่แท้จริ งของยูโด

You might also like