You are on page 1of 8

เรื่ อง กีฬาพื้นบ้านและนันทนาการ

จัดทาโดย
นาย ธนวัฒน์ โพธิ์ประจักษ์ เลขที่3
น.ส.ชนานันท์ อยูส่ าโก เลขที่10
น.ส.ณฐาณัฏฐ์ อัยย์วรรณ เลขที่15
น.ส.นิรชา สุ ขนิรันดร์ เลขที่22
น.ส.พิมพ์แก้ว ไชยประพันธ์ เลขที่28
น.ส.ศุภลักษณ์ สุทธิ์ประภา เลขที่34
น.ส.สุ วิมล บุญเกลี้ยง เลขที่40
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6/1

เสนอ
อาจารย์วิภา อ่างแก้ว เดอโครท

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาพ30205
ภาคเรี ยนที่1 ปี การศึกษา2566
โรงเรี ยนตาคลีประชาสรรค์
คานา
รายงานฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา พ30205 การค้ นคว้ าและเขียน
รายงานโดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ ทราบถึงความหมายและความเป็ นมาของ
กีฬาพื ้นบ้ านการละเล่นพื ้นบ้ านและนันทนาการ ตลอดจนประโยชน์และ
ความสาคัญ
การจัดทารายงานได้ ทาการค้ นคว้ า รวบรวมข้ อมูลจากเว็บไซต์และ
บทความต่าง ๆ ผู้เขียนหวังว่าจะเป็ นประโยชน์แก่ผ้ ทู ี่สนใจตามสมควร

นางสาวชนานันท์ อยู่สาโก
กีฬาพื้นบ้านกับนันทนาการ
กีฬาพืน้ บ้ าน หรือที่เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่า กีฬาพืน้ เมือง ถือเป็ นกิจกรรมที่สามารถช่วย
ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย ในการสืบทอดมรดกไทย มีที่มาตั ้งแต่สมัยของกรุงสุโขทัยจนถึงสมัย
ปัจจุบนั นี ้ เป็ นกิจกรรมกีฬา ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อีกทั ้งยังได้ แสดงถึงวิถีชีวิตและความเป็ นอยู่ของ
คนไทยในสมัยก่อน โดยสังเกตได้ จากอุปกรณ์ในการเล่นที่จะแตกต่างกันออกไปตามภูมิภาคใน
ประเทศไทยกีฬาพื ้นบ้ าน ไม่ได้ เน้ นในเรื่องของความเป็ นเลิศเชิงทักษะกีฬา แต่เป็ นกีฬามวลชน กีฬา
สร้ างความรักความสามัคคีในหมู่คณะ เล่นได้ ทกุ เพศ ทุกวัยมักจะจัดให้ มีกนั ในงานบุญ งานรื่นเริ ง
งานนักขัตฤกษ์ และเป็ นการแข่งขันที่เล่นกันแบบอิสระ

ความเป็ นมาของกีฬาพืน้ บ้ านพืน้ เมือง (Thai Folk Sports)


การเล่นกีฬาพื ้นบ้ านพื ้นเมืองไทยกันแล้ วตั ้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย( พ.ศ. ๑๗๘๑ – ๑๙๒๑ ) โดยมี
จุดมุ่งหมายในการเล่นเพื่อเป็ นการฝึกฝนต่อสู้ป้องกันตัว เตรียมพร้ อมสาหรับการสงครามและเพื่อ
เป็ นการสนุกสนานรื่นเริงในยามว่าง โอกาสที่เล่นมักเล่นเป็ นการสมโภชในงานพระราชพิธีของพระ
เจ้ าแผ่นดิน และเล่นในเทศกาลรื่นเริงของชาวบ้ านในสมัยกรุงศรีอยุธยา จุดมุ่งหมายในการเล่น และ
โอกาสในการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทย มีลกั ษณะเป็ นการสืบทอดมาจากสมัยกรุงสุโขทัยแต่มีการ
พัฒนาการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทยมากขึ ้น โอกาสในการเล่นมีมากขึ ้น และมีกีฬาพื ้นเมืองไทยมากชนิด
ขึ ้น ในสมัยกรุงธนบุรีการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทยสืบทอดต่อมาจากสมัยกรุงศรีอยุธยาแต่ ไม่มีการ
พัฒนาเปลี่ยนแปลงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เป็ นช่วงที่บ้านเมืองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปมาก
โดยเฉพาะในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๕
พ.ศ.๒๔๑๑ จนถึงช่วงเริ่มการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศใน พ.ศ.๒๔๗๕
นับได้ ว่าเป็ นช่วงที่มีการฟื น้ ฟู และพัฒนาการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทยอย่างแท้ จริง จุดมุ่งหมายของการ
เล่นกีฬาพื ้นเมืองไทยไม่ได้ม่งุ เน้ นที่การต่อสู้ป้องกันตัวเพื่อเตรียมพร้ อมในการสงครามอีกต่อไปแล้ ว
แต่ม่งุ เน้ นเพื่อเป็ นการเล่นออกกาลังกาย เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเพื่อผ่อนคลายความ
ตึงเครียดจากงานเป็ นสาคัญ โอกาสในการเล่นเนื่องในงาน พระราชพิธีต่างๆมีน้อยลง แต่โอกาสใน
การเล่นตามประเพณี ตามเทศกาลของชาวบ้ านมีมากขึ ้น มีการสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการเล่น
กีฬาพื ้นเมืองไทยอย่างแพร่หลายแทบทุกจังหวัด มีการดัดแปลงปรับปรุงการเล่นกีฬาสากล กิจกรรม
ของลูกเสือให้ สอดคล้ องกับกีฬาพื ้นเมืองไทย มีการจัดแข่งขันกีฬาพื ้นเมืองไทยระดับนักเรี ยนอย่าง
เป็ นทางการ มีการเรียนการสอนกีฬาพื ้นเมืองไทยในสถานศึกษา
ประโยชน์ และคุณค่ าของกีฬาพืน้ เมืองไทย
๑. ช่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมทางด้ านกีฬาไทยของชาติ เป็ นภาพสะท้ อนให้ เห็นและเข้ าใจชีวิต
ความเป็ นอยู่ รวมทั ้งวัฒนธรรมแบบไทยๆ ที่สามารถซึมซับรับได้ จากการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทย โดย
กระบวนการขัดเกลาทางสังคม ผ่านการเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทย ( Socialization Via Thai Traditional
Sport )
๒.มีคณุ ค่าทางด้ านพลศึกษา อันได้ แก่ คุณค่าทางด้ านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา
๓. ช่วยส่งเสริม และสร้ างความสนุกสนาน สามัคคี
๔. สามารถเข้ าร่วมได้ ทกุ เพศ ทุกวัย และเข้ าร่วมได้ จานวนมาก และง่าย โดยไม่จาเป็ นต้ องฝึกซ้ อม
ทางด้ านทักษะเทคนิคกีฬาเฉพาะอย่างเช่นกีฬาสากล อันจะทาให้ ผ้ สู นใจ สามารถเข้ าร่วมแข่งขันได้
จานวนมาก จัดเป็ นกิจกรรมเพื่อมวลชลมากกว่ากีฬาเพื่อความเป็ นเลิศ
๕. เพื่อนันทนาการที่ดี ( Sport for Recreation ) เพราะเล่นง่าย เล่นแล้วสนุกสนาน คลายเครียด
๖. เป็ นกีฬาที่ประหยัดค่าใช้ จ่าย เพราะใช้ วสั ดุอปุ กรณ์ที่หาได้ ง่ายในท้ องถิ่นนัน้ ๆ ส่วนใหญ่เก็บหรือ
ดัดแปลงมาจากสิ่งแวดล้ อมทีม่ ีอยู่ในท้ องถิ่น
ลักษณะและรูปแบบของการเล่ นกีฬาพืน้ บ้ าน
พื ้นบ้ าน มักเล่นกันในโอกาสที่ว่างจากงานประจา เล่นกันในงานเทศกาลรื่นเริงของแต่ละท้ องถิ่น
และกันตามฤดูกาล ช่วงเวลาที่นิยมเล่น คือ ช่วงบ่าย เย็นหรือกลางคืน กีฬาพื ้นเมืองไทยส่วนใหญ่จะ
เล่นรวมกันเป็ นหมู่คณะทั ้งผู้ชายและผู้หญิง ทั ้งเด็กและผู้ใหญ่ และเล่นรวมกันเป็ นทีมหรือเป็ นชุด
มากกว่าการเล่นเดี่ยว ผู้หญิงนิยมเล่นกีฬาพื ้นเมืองไทยที่ไม่ใช่ความรุนแรง ส่วนผู้ชายนิยมเล่นกีฬา
พื ้นเมืองไทยทุกลักษณะ
กีฬาพื ้นเมืองไทยส่วนมากไม่ใช้ อปุ กรณ์ประกอบการเล่น ถ้ าใช้ มกั เป็ นอุปกรณ์ที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ อยู่ในชีวิตประจาวันของแต่ละกีฬาพื ้นเมืองไทยส่วนมากเล่นบนบก มีบาง
ชนิดเล่นในน ้า สถานที่เล่นมักเป็ นไปตามธรรมชาติ เช่น ลานวัด ลานบ้ าน หรือทุ่งนา สนามเล่นมักไม่
มีการกาหนดขอบเขตตายตัว แต่จะกาหนดขอบเขตสนามเล่นในลักษณะที่ยืดหยุ่นได้ ตามขนาดและ
จานวนของผู้เล่น
วิธีการทาสนามเล่นมักใช้ วิธีง่ายๆ โดยการขีดเส้ นลงบนพื ้นดิน กีฬาพื ้นบ้ านส่วนมากมีวิธีการเล่น
แบบง่ายๆ ใช้ ทกั ษะการเคลื่อนไหวร่างกายขันพื ้ ้นฐานที่ไม่ยุ่งยาก สลับซับซ้ อน
วิธีการเล่นมักเป็ นแบบไล่แตะ หรือไล่จบั แบบฉุดกระชาก ลากดึง แบบซ่อนและหา แบบเคลื่อนที่
ชิงนัดหมาย แบบทอยหรือดีดให้ ถูกที่หมาย และแบบทาย มีการกาหนัดกติกา กฎเกณฑ์และข้ อตกลง
ต่างๆ ไว้ พอเข้ าใจ ส่วนมากจะเล่นและตัดสินกันเอง

การละเล่ นพืน้ บ้ าน คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้ องถิ่น ที่มีอยู่ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย


เนื่องจากการละเล่นของไทยเรานันมี้ มากมายจนนึกไม่ถึง (กรมพลศึกษารวบรวมไว้ ได้
ถึง 1,200 ชนิด) แต่พอจะแบ่งคร่าว ๆ ได้ เป็ น 2 ประเภท ใหญ่ ๆ คือ การละเล่นกลางแจ้ ง และ
การละเล่นในร่ม และในแต่ละประเภทก็ยงั แบ่งย่อยอีกเป็ นการละเล่นที่มีบทร้ องประกอบ กับที่ไม่มี
บทร้ องประกอบ

นันทนาการ
นันทนาการ คือ กิจกรรมที่สมัครใจทาในยามว่าง เพื่อให้ เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลายความตึง
เครียดทั ้งร่างกายและจิตใจนันทนาการ การเล่น และความสนุกสนาน ไม่สงวนไว้ แต่มนุษย์ แต่พบได้
ในสัตว์เกือบทุกชนิด การเล่นช่วยพัฒนาทักษะต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะการเคลื่อนไหวในสิ่งมีชีวิตวัย
เยาว์ สาหรับมนุษย์ กิจกรรมนันทนาการมักเกิดขึ ้นในช่วงสุดสัปดาห์และวันหยุด
ประกอบด้ วย ดนตรี การเต้ นรา กีฬา งานอดิเรก เกม และการท่องเที่ยว การดูโทรทัศน์ และฟัง
เพลง เป็ นรูปแบบสามัญของนันทนาการ
นันทนาการ หมายถึง กระบวนการ หรือประสบการณ์ที่บุคคลได้ รับโดยอาศัยกิจกรรมนันทนาการ
ในช่วงเวลาว่างเป็ นสือ่ ก่อให้ เกิดการพัฒนาหรือความเจริญงอกงามทางกาย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญาของบุคคล
นันทนาการ หมายถึง การทาให้ ชีวิตสดชื่น โดยการเสริมสร้ างพลังงานขึ ้นใหม่ หลังจากที่ร่างกาย
ใช้ พลังงานแล้ วเกิดเป็ นความเหนื่อยเมื่อยล้ าทางร่างกาย จิตใจและทางสมอง เมื่อบุคคลเข้าร่วม
กิจกรรมนันทนาการจะช่วยขจัด หรือผ่อนคลายความเหนื่อยเมื่อยล้ าทางด้ านร่างกายและจิตใจ ใน
ความหมายนี ้ นันทนาการจึงเป็ นการตอบสนองความต้ องการทางกายและจิตใจของบุคคลได้ อย่าง
แท้ จริง
ดังนันกิ
้ จกรรมนันทนาการจึงหมายถึง กิจกรรมที่ทาในเวลาว่างจากการทาภารกิจส่วนตัว ไม่ว่าจะ
เป็ นการทางาน การกิน การนอน การพักผ่อน โดยทุกกิจกรรมต้ องทาด้ วยความเต็มใจโดยไม่มีการ
บังคับ และเกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นด้ วย
ลักษณะพืน้ ฐานของนันทนาการ
๑.นันทนาการเกี่ยวข้ องกับกิจกรรมตั ้งแต่เกมกีฬา ศิลปะหัตกรรม ดนตรี ละคร กิจกรรมกลางแจ้ ง
นอกเมือง งานอดิเรก โยคะ สมาธิ
๒. นันทนาการมีรูปแบบหลากหลาย มีขอบเขตไม่จากัด
๓. นันทนาการจะต้ องเป็ นไปด้ วยความสมัครใจและมีแรงจูงใจ
๔. นันทนาการเกิดขึ ้นได้ ในเวลาที่ไม่จากัด บุคคลมีอิสระที่เข้ าร่วม
๕. นันทนาการจะต้ องมีจุดมุ่งหมายเป็ นการพัฒนาอารมณ์สขุ
๖. นันทนาการเป็ นการบาบัดรักษา ช่วยฟื น้ ฟูและรักษาคนไข้
๗. นันทนาการเป็ นกิจกรรมที่สามารถยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ ตามความเหมาะสม สภาพแวดล้ อม
ความต้ องการและสนใจของชุมชน ตลอดจนอุปกรณ์และสถานที่สิ่งอานวยความสะดวก
๘. นันทนาการจะต้ องเป็ นกิจกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมกิจกรรมนันทนาการของสังคมหรือชุมชน
หนึ่งอาจจะไม่เหมาะกับอีกชุมชนหนึ่งทั ้งนีเพราะความสนใจต้
้ องการค่านิยมวัฒนธรรมประเพณี
สภาพแวดล้อมความเชือ่ เป็ นขอบข่ายวิถีชีวิตของชุมชนดังนันกิ ้ จกรรมนันทนาการจะต้ องเป็ นที่
ยอมรับในสังคมนัน้ ๆ

องค์ ประกอบที่สาคัญของนันทนาการ (ผศ.เอนก หงษ์ทองคา,2542) ประกอบด้ วย


๑.เป็ นกิจกรรม (Activity)
๒.ทาในเวลาว่าง (Leisure Time)
๓.โดยความสมัครใจ (Voluntary)
๔.ให้ ความสุขเพลิดเพลิน (Pleasure)
๕.ถูกต้ องตามกฎหมายและวัฒนธรรม ประเพณี (In Law, Culture and Tradition)

ความเป็ นเอกลักษณ์ ของนันทนาการคือ


๑.ไม่เป็ นงานอาชีพ
๒.ไม่เป็ นอบายมุข
๓.ไม่มีผลตอบแทน
๔.ไม่มีใครบังคับให้ ร่วมกิจกรรม
ประโยชน์ ของนันทนาการ
๑.ช่วยส่งเสริมให้ คนรู้จกั ใช้ เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์
๒.ช่วยให้ ร่างกายแข็งแรงและสุขภาพจิตดี และผ่อนคลายความเครียด
๓.ช่วยให้ เกิดความสนุกสนามเพลิดเพลิน และมีความสุข
๔.ช่วยลดปัญหาทางสังคม เช่น ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหายาเสพติดเพราะกิจกรรมนันทนาการ
ช่วยส่งเสริมให้ คนรู้จกั ใช้ เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์
๕.เป็ นรางวัลให้ กบั คนที่เข้ าร่วม
๖.ส่งเสริมให้ เกิดความสุข ความพอใจ
๗.ทาให้ เกิดความปลอดภัยแก่สงั คม
๘.ช่วยสร้ างความรัก ความสามัคคีให้ เกิดในครอบครัว ชุมชน และสังคม
๙.ส่งเสริมการเป็ นพลเมืองที่ดี
๑๐.ส่งเสริมให้ มีการสงวนทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ

กีฬาและนันทนาการ คือ การละเล่น เพื่อความสนุกสนานตามเทศกาล และเล่นตาม


ฤดูกาล และการละเล่น เพื่อการแข่งขันหรือกิจกรรมทีท่ าตามความสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้
เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด นันทนาการมีคณ ุ ค่าและมี
ประโยชน์ต่อบุคคลและสังคม ช่วยให้ พฒ ั นาอารมณ์สขุ ในชีวิตและพัฒนาสุขภาพจิต
สมรรถภาพทางร่างกาย ช่วยป้องกันอาชญากรรมและพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเยาวชน ส่งเสริม
ความเป็ นพลเมืองดี รู้จกั ศิลปวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการบาบัดรักษาความ
มีมนุษย์สมั พันธ์และการทางานร่วมกันอย่างมีความสุข อีกทังยั
้ งเป็ นเครื่องมือในการใช้ บารุง
สร้ างขวัญและกาลังใจให้ หน่วยงานของกองทัพต่างๆ
อ้างอิง
https://thaisports.org/?page_id=2312 กีฬาพื ้นบ้ านและความเป็ นมา ประโยชน์ ลักษณะและ
รูปแบบของกีฬาพื ้นบ้ าน
https://www.gotoknow.org/posts/281190 ความหมายของนันทนาการ
https://th.wikipedia.org/wiki/นันทนาการ ความหมายของนันทนาการ
http://thailand-recreation-club.blogspot.com/2010/03/blog-post_31.html ประโยชน์ของ
นันทนาการ
https://www.tungsong.com/thaiplay/ThaiGames.asp การละเล่นพื ้นบ้ าน
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_06/oct_dec_06/Executiv
e%20Journal_120-123.pdf บทสรุปของนันทนาการ

You might also like