You are on page 1of 9

รายงาน

ปั ญหาการแสดงออกความคิดเห็นในสังคม
online

โดย
นางสาวจินต์จุฑา บุญพันธุ์ 6610850275
นางสาวนลินภรณ์ สุดโธ 6610850313
นางสาวกรณ์ภัสสร ตรัยรัตนเมธี 6610851727
นายจีระพันธ์ ศรีปั ตเนตร 6610851743

นางสาวชนากานต์ อัมวรรณ 6610851760

นางสาวชุติมา ศศิทอง 6610851778

นางสาวธีรพร อุดมสิทธิพัฒนา 6610851786

นางสาวนาขวัญ น้อยเนตร 6610851794

นางสาวพุฒิตา พุฒทอง 6610851816

นางสาวภูริสญา คณะครุฑ 6610851824


นางสาววริศรา มีมาก 6610851859

หมู่เรียน 155

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาณิภา สุขสม

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาวิชาสังคมและ
วัฒนธรรมไทยร่วมสมัย

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน

คำ นำ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งในรายวิชาสังคมและ

วัฒนธรรมไทยร่วมสมัย โดยศึกษาผ่านจากเว็บไซด์ต่างๆ โดย


รายงานจะพูดถึงตวามหมายของสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทของสื่อ
ของสังตมออนไลน์ ปั ญหาที่เกิดขึ้นของสื่อสังคมออนไลน์ เป็ นต้น

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยขน์ต่อผู้อ่าน ที่สนใจ


เรื่องปั ญหาการแสดงออกความคิดเป็ นในสังคม online หากมีข้อ
เสนอแนะหรือทำผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขอ
อภัย ณ ที่นี้ด้วย
สารบัญ
สรุป

สื่อสังคมออนไลน์เป็ นสังคมแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถใช้งาน
กับผู้อื่น มีปฏิสัมพันธ์ มีการพูดคุย การแสดงความคิดเห็นกันเกิดขึ้น ใน
ปั จจุบันสังคมออนไลน์เป็ นสังคมที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงได้ง่าย และมีหลาก
หลายรูปแบบและหลายหลายประเภท โดยมีประเภทการเผยแพร่ตัวตน
เผยแพร่ผลงาน ร่วมกันทำงาน การเล่นเกมในรูปแบบออนไลน์ ให้เลือก
ในการใช้งาน เมื่อสังคมเกิดการพูดคุย หรือแสดงความเห็นย่อมมีการ
แสดงวามคิดเห็นได้ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ซึ่งการแสดงความเห็นในเชิงลบ
ย่อมมีปั ญหาต่าง ๆ ตามมาไม่ว่าจะเป็ นการเกิด Cyberbullying ที่
เป็ นการกลั่นแกล้ง รังแก ว่าร้าย ให้ข้อมูลที่เป็ นเท็จทำให้บุคคลอื่น
อับอาย หรือความขัดแย้งทางความคิดเห็นในสื่อออนไลน์ สิ่งเหล่านี้ล้วน
เกิดผลกระทบไม่ว่าจะเป็ นทั้งทางร่างกายหรือจิตใจ จึงมีวิธีจัดการกับการ
แสดงความเห็นในเชิงลบ ดังนี้ ในด้านกฎหมายสามารถฟ้ องร้องโดยเป็ น
ความผิดฐานหมิ่นประมาท หรือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น ด้านกฎ
ระเบียบ สามารถแจ้งเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมกับผู้ให้บริการ อาจ
มีการลงโทษด้วยวิธีการต่าง ๆ ของแพลตฟอร์มนั้น ด้านความคิดต้องมี
การสร้างความตระหนักในการใช้หรือรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ หรือ
สร้างหลักการรับมือกับความเห็นในเชิงลบ ในสังคมจึงควรแก้ปั ญหาที่
เหมาะสมต่อไป

ผู้จัดทำมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการกับความคิดเห็นในสื่อ
สังคมมออนไลน์ ดังนี้
(1)ในด้านกฎหมายภาครัฐควรมีการเพิ่มมาตราการลงโทษของผู้กระทำ
ให้มากขึ้น และควรมีความรวดเร็วในการดำเนินนการจัดการ
(2)ควรมีพื้นที่ในการสร้างการตระหนัก การรู้เท่าทันให้มากขึ้น ไม่ว่าจะ
เป็ นการเพิ่มเนื้อหาในชั้นเรียน การรณรงค์ หรือการจัดอบรมให้ความรู้
เอกสารอ้างอิง

กผร.สพร.สปช.ทบ. cyberbullying การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 4

ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์


://oac.rta.mi.th/data/2020/03/2003020805810904058109-
cyberbullying-.pdf

ปั ญจพร เกื้อนุ้ย. พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์และการรู้เท่าทันสื่อ


สังคมออนไลน์ของนักเรียน โรงเรียนช้างกลางประชานุกูล จังหวัด
นครศรีธรรมราช SOCIAL MEDIA USE BEHAVIOR AND SOCIAL
MEDIA LITERACY AMONG STUDENTS IN
CHANGKLANGPRACHANUKUL SCHOOL NAKHON SI
THAMMARAT PROVINCE. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 9(6). สืบค้นเมื่อ
4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/download/2
62070/174398/982729

อิมรอน แวมง. (2559). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เครือข่ายสังคม


ออนไลน์(Social Network). คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://wb.yru.ac.th/bitstream/yru/4241/1/%E0%B9%80%E0%
B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD
%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8
%AA
%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8
%AD%E0%B8%AD
%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9
%8C.pdf

SONGSUE MEDIA LAB.(2565). สื่อสังคมออนไลน์ เมื่อเกิดความขัดแย้ง


ทางความคิด. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://themodernist.in.th/digital-empathy/

Aukrathorn.A.(2023). รู้จัก เรียนรู้ และเข้าใจกลุ่มคนทั้ง 5 ช่วงวัยในวัน


ที่ generation gap เริ่มชัดเจนมากขึ้น. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จาก
เว็บไซต์ https://brandinside.asia/5-generations

Cyberbullying การกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ตคืออะไร. สืบค้นเมื่อ 4


ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://www.bitdefender.co.th/post/cyberbullying/
ดร.สรานนท์ อินทนนท์.(2563). การกลั่นแกล้งบนโลก

ไซเบอร์(Cyberbullying).สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์


http://cclickthailand.com/wp-content/uploads/2020/04/cyber
bullying_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E
%E0%B9%8C
%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8
%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%883.pdf

อัปเดตเรื่องการตรวจจับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและบทลงโทษใน
VALORANT. สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://playvalorant.com/th-th/news/dev/valorant-behavior-
detection-and-penalty-updates/

สุธิดา ผิวขาว. (2563). การหมิ่นประมาททางสื่อสังคม


ออนไลน์DEFAMATION ON SOCIAL MEDIA. วารสารวนัมฎองแหรก
พุทธศาสตรปริทรรศน์. 7(1). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/Vanam_434/article/view/
246140/167272

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน
จอมบึง.พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์.
สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2566, จากเว็บไซต์
http://arit.mcru.ac.th/index.php/th/regulations/act

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2565). การบูลลี่ทางไซเบอร์. [Online]. สืบค้นเมื่อ


4 ตุลาคม 2566, จาก https://www.happyhomeclinic.com/mh12-
cyberbullying.html

You might also like