You are on page 1of 14

ข้ อสอบเก่ าแพ่ ง 1

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1  และวิธีตอบคำถามที่ถู กต้ อง

เด็กชายดี อายุ 14 ปี เป็ นเด็กมี ความประพฤติด ีและสอบได้ คะแนนดี นายเด่ นบิดาจึงซื ้ อจักรยานเสื อ
ภู เขาให้ 1 คัน ราคา 5,000 บาท เด็กชายดีขี่จักรยานผ่ านหน้ าบ้ านนายดัง (นั กศึ กษาปริ ญญาเอก) ทุ กวัน
ๆ ละหลาย ๆ รอบ นายดังชอบรถจักรยานคันนั้ นและแอบรู้ ว่ าเด็กชายดีเป็ นคนขี ้เบื่อ -เชื่ อคนง่ ายจึงสอน
ให้ เด็กชายดีขี่มอเตอร์ ไซค์ จนเป็ น เด็กชายดีเบื่อรถจักรยานและอยากได้ มอเตอร์ ไซค์ แทน นายดังจึง
ออกตัวว่ าสงสารเด็กชายดีและจะรั บซื่ อรถจักรยานเองแต่ ขอให้ ขายราคาถู กเพียง 2,000 บาท เด็กชายดี
ดีใจ จึงรี บขายทันที แล้ วทุบกระปุกออมสิ นได้ เงินมากพอไปซื ้ อมอเตอร์ ไซค์ นายเด่ นบิดาโกรธหาว่ า
นายดังหลอกเด็กจึงพามาพบท่ านในฐานะทนายความ ท่ านจะแนะนำนายเด่ นว่ าอย่ างไร

(แนวคำตอบ) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์  หลักวางว่า


มาตรา 21 ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใด ๆ ต้องได้รั บ ความยินยอม ของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อนการใด ๆ ที่ ผ ู ้
เยาว์ได้ทำ ลงปราศจาก ความยินยอมเช่ นว่านั้ นเป็ นโมฆี ยะ เว้นแต่ จะบัญญัติ ไว้เป็ นอย่างอื่ น  

มาตรา 175 โมฆี ยะกรรมนั้ น บุ คคลต่ อไปนี้ จะบอกล้างเสี ยก็ได้


 (1) ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผู เ้ ยาว์ซ่ึ งบรรลุ นิ ติ ภ าวะแล้ว แต่ ผู เ้ ยาว์จะบอกล้างก่ อนที่ ตนบรรลุ
นิ ติ ภาวะก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอม ของผู แ้ ทน โดยชอบธรรม
 (2)บุคคลซึ่ งศาลสั่งให้เป็ นคนไร้ ความสามารถ หรื อคนเสมื อนไร้ ความสามารถ เมื่ อบุ คคลนั้ นพ้นจาก
การเป็ นคนไร้ ความสามารถหรื อ คนเสมื อนไร้ ความสามารถแล้ว หรื อผู อ้ นุ บ าลหรื อผู พ้ ิ ท กั ษ์ แล้วแต่
กรณี แต่ คนเสมื อนไร้ ความสามารถจะบอกล้างก่ อนที่ ตนจะพ้นจากการเป็ น คนเสมื อนไร้ ความสามารถ
ก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอมของผู พ้ ิ ท กั ษ์
 (3) บุ คคลผู แ้ สดงเจตนาเพราะสำคัญผิด หรื อถูกกลฉ้อ ฉล หรื อ ถูกข่มขู่
 (4) บุ คคลวิกลจริ ตผู ก้ ระทำนิ ติ กรรมอันเป็ นโมฆี ยะตาม มาตรา 
30 ในขณะที่ จริ ตของบุ คคลนั้ นไม่ วิกลแล้ว
ถ้าบุ คคลผู ทำ
้ นิ ติ กรรมอันเป็ นโมฆี ยะถึงแก่ ความตาย ก่ อนมี การ บอกล้างโมฆี ยะกรรม ทายาทของ
บุ คคลดังกล่ าวอาจบอกล้าง โมฆี ยะกรรมนั้ นได้ 

- การให้สัตยาบันต่ อนิ ติ กรรมที่ผ ู เ้ ยาว์ได้ทำ ไปโดยไม่ ได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบ


ธรรมนั้ นย่อมกระทำได้โดยแสดงเจตนาต่ อคู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ งและมี ผลให้นิ ติ กรรมดังกล่ าวสมบูรณ์
ตลอดไป
- การบอกล้างนิ ติ กรรมที่ ผ ู เ้ ยาว์ได้ทำ ไปโดยไม่ ได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมนั้ น
ย่อมกระทำได้โดยแสดงต่ อคู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ ง มี ผลให้นิ ติ กรรมดังกล่ าวตกเป็ นโมฆะคื อเสี ยเปล่ ามาแต่
เริ่ มแรก และให้ผ ู เ้ ป็ นคู่กรณี กลับ คืนสู่ ฐานะเดิ ม ถ้าเป็ นการพ้นวิสัยจะให้กลับ คืนเช่ นนั้ นได้ ก็ให้ได้รั บ
ค่าเสี ยหายชดใช้แ ทนนอกจากนี้ หากผู ม้ ี สิ ทธิ บอกล้างโมฆี ยะกรรมมิ ได้ใช้สิ ทธิ บอกล้างเมื่ อพ้นหนึ่ งปี
นับแต่ เวลาที่ อาจให้สัตยาบันได้หรื อเมื่ อพ้นเวลาสิ บปี นับแต่ ได้ทำ นิ ติ กรรมอันเป็ นโมฆี ยะนั้ น
(ย่อหน้าที่ สอง เน้นหนักไปในทางวินิ จฉัย หรื อปรั บบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริ ง ภาษา
กฎหมายมาตรานั้ น วรรคนั่น เขาเรี ยกว่าอะไรก็เรี ยกไปตามนั้น)
กรณี ตามปั ญหาวินิ จฉัยดังนี้ เด็กชายดี อายุ 14 ปี ผู เ้ ยาว์ในฐานะผู ข้ ายตกลงขายรถจักรยานเสื อ
ภูเขา ซึ่ งนายเด่ นบิ ดาซื้ อมาให้ตนในราคา 5,000 บาท แก่ นายดังผู ซ้ ื้ อในราคาเพียง 2,000 บาท โดยยังไม่
ได้รั บความยินยอมจากนายเด่นบิ ดาของเด็กชายดี ในฐานะผู แ้ ทนโดยชอบธรรมของเด็กชายดี ผ ู เ้ ยาว์
ทำให้นิ ติ กรรมซึ่ งก็หมายถึงสัญญาซื้ อขายรถจักรยานเสื อภูเขาระหว่างเด็กชายดี ผ ู ข้ ายกับนายดังผู ซ้ ื้ อนั้ น
ตกเป็ นโมฆี ยะ เมื่ อนายเด่ นมาปรึ กษาข้าพเจ้าในฐานะทนายความข้าพเจ้าจะแนะนำให้นายเด่ นพิจารณา
ทางเลื อกเป็ น 2 แนวทางดังนี้
ก.ทางเลือกที่ หนึ่ ง หากนายเด่นตัดสิ นใจยอมรั บนิ ติ กรรมซึ่ งหมายถึ งสัญญาซื้ อขายที่ เด็กชายดี
บุ ตรของตนในฐานะผู ข้ ายได้ทำ ขึ้ นกับนายดังในฐานะผู ซ้ ื้ อ นายเด่นสามารถให้สัตยาบันแก่ นิ ติ กรรม
หรื อสัญญาซื้ อขายนั้ นได้ด ว้ ยการแสดงเจตนายินยอมให้น ายดังรั บ ทราบ หรื อบอกระยะเวลาออกไปให้
พ้นหนึ่ งปี นับแต่ เวลาที่ อาจให้สัตยาบันได้หรื อเมื่ อพ้นสิ บปี นับแต่ เด็กชายดี และนายดังทำนิ ติ กรรมซึ่ ง
หมายถึ งสัญญาซื้ อขายนั้น
ข. ทางเลือกที่ สอง หากนายเด่ นตัดสิ นใจไม่ ยอมรั บนิ ติ กรรมซึ่ งหมายถึ งสัญญาซื้ อขายที่ เด็กชาย
ดี บุ ตรของตนในฐานะผู ข้ ายได้ทำ ขึ้ นกับนายดังในฐานะผู ซ้ ื้ อ นายเด่นสามารถบอกล้างนิ ติ กรรมหรื อ
สัญญาซื้ อขายนั้นได้ด ้วยการแสดงเจตนาบอกล้างให้น ายดังทราบ มี ผลให้นิ ติ กรรมซึ่ งหมายถึ งสัญญา
ซื้ อขายนั้นตกเป็ นโมฆะมาแต่ เริ่ มแรกและให้เด็กชายดี และนายดังคู่กรณี กลับ คื นสู่ ฐานะเดิ มคื อเด็กชายดี
ต้องคื นราคาคือเงิ น ค่าซื้ อรถจักรยานที่ ได้รั บจากนายดังให้แก่ นายดังไป และนายดังต้องคื นรถจักรยาน
คันที่ เด็กชายดี ส่ งมอบให้เพราะเป็ นการปฏิ บ ตั ิ ตามการซื้ อขาย และถ้าเป็ นการพ้นวิสัย ที่ จะได้คืน เช่ น
นายดังทำให้รถจักรยานพังเสี ยหาย นายดังก็ต อ้ งชดใช้ค่าเสี ยหายแก่ เด็กชายดี
(ย่อหน้าที่ สาม สรุ ปสั้ น ๆ ตามคำถามที ละประเด็นให้ครบถ้วน)

สรุ ปหรื อธง


ข้าพเจ้าแนะนำให้นายเด่ นพิจารณาทางเลื อกตาม ก. หรื อ ข. ด้วยเหตุ ผลตามที่ กล่ าวมาแล้วข้าง
ต้น

โจทย์
นายแสวงขับรถโดยประมาทเลินเล่ อ ชนนางอรชรหญิงหม้ ายซึ่ งตั้ ง ครรภ์ ได้ 7 เดือนเศษ เป็ น
เหตุ ให้ สมองของทารกในครรภ์ ได้ รั บการกระทบกระเทือนอย่ างรุ นแรง ต่ อมานางอรชรได้ คลอดบุ ตร
ออกมา คือ ด.ช.ประสาท ปรากฎว่ า ด.ช.ประสาทมีอาการวิกลจริ ตเพราะสมองได้ รั บ ความกระทบ
กระเทือนขณะอยู่ ในครรภ์ นางอรชรจึงได้ ยื่นฟ้ องนายแสวงต่ อศาลแทน ด.ช.ประสาท เรี ยกค่ าสิ นไหม
ทดแทน โดยอ้ างว่ านายแสวงประมาทเลินเล่ อ ทำให้ ด.ช.ประสาทวิกลจริ ต นายแสวงให้ การต่ อสู้ คดีว่ า
ด.ช.ประสาทไม่ มีสิ ทธิได้ รั บ ค่ าสิ นไหมทดแทน เพราะในขณะที่ตนขับรถชนนางอรชรนั้ น ด.ช.ประสาท
ยังไม่ มีสภาพบุ คคล จึงยังไม่ มีสิ ทธิใดๆ ให้ ผ ู้ อื่นละเมิดได้ ขอให้ ศาลยกฟ้ อง ข้ อต่ อสู้ ของนายแสวงฟั ง
ขึ ้นหรื อไม่ เพราะเหตุ ใด
อนึ่ ง เมื่อ ด.ช.ประสาทมีอายุ 17 ปี เศษ ได้ ซื ้ อรองเท้ าจากร้ านศึ กษาภัณฑ์ พานิ ชมา 1 คู่ ในราคา
35 บาท สั ญญาซื ้อขายรายนี ้จะมีผลสมบู รณ์ หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด (1/2520)

1. สิ ทธิ ของทารกในครรภ์มารดา
2. ความสามารถในการทำนิ ติ กรรมของผู เ้ ยาว์
3. ความสามารถในการทำนิ ติ กรรมของคนวิกลจริ ต

หลักกฎหมายบัญญัติ อยู่ใน ป.พ.พ. ดังนี้


มาตรา 15วางหลักว่า สภาพบุ คคลย่อมเริ่ มขึ้ นแต่ เมื่ อคลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทารกและสิ ้ นสุ ดลง
เมื่ อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมี สิ ทธิ ได้หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทารก
มาตรา 19วางหลักว่า บุ คคลจะพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิ ติ ภ าวะเมื่ ออายุ 20ปี บริ บูรณ์
มาตรา 21วางหลักว่า ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใดๆ จะต้องได้รั บ ความยินยอมจากผู แ้ ทนโดยชอบ
ธรรม มิ ฉะนั้ นนิ ติ กรรมตกเป็ นโมฆี ยะ
มาตรา 24วางหลักว่า ผู เ้ ยาว์สามารถทำนิ ติ กรรมได้ห ากว่าเป็ นการสมแก่ ฐานานุ รู ปแห่ งตนและ
เป็ นการจำเป็ นในการดำรงชี พตามสมควร
มาตรา 30วางหลักว่า นิ ติ กรรมที่ คนวิกลจริ ตทำขึ้ นในขณะจริ ตวิกล และคู่กรณี อี กฝ่ ายหนึ่ งรู ้ ถึ ง
ความวิกลจริ ตในขณะทำนิ ติ กรรม นิ ติ กรรมนั้ นย่อมตกเป็ นโมฆี ยะ

วินิ จฉั ย
ข้อเท็จจริ งตามปั ญหาขณะที่ น ายแสวงทำละเมิ ด ดช.ประสาทเป็ นทารกในครรภ์มารดา ตาม
มาตรา 15ว.1บุ คคลจะมี สิ ทธิ ได้ก ็ต่ อเมื่ อมี สภาพบุ คคล และสภาพบุ คคลจะเกิ ดขึ้ นได้ก ็ต่ อเมื่ อคลอดและ
อยู่รอดเป็ นทารก เมื่ อปรากฏว่าขณะถูกชนดช.ประสาทยังไม่ คลอด คื อ เป็ นทารกในครรภ์มารดา
ด.ช.ประสาทย่อมยังไม่ มี สภาพบุ คคล จึ งไม่ อาจมี สิ ทธิ ใดๆ ให้น ายแสวงละเมิ ดได้ อย่างไรก็ตามการที่
ต่ อมา ด.ช.ประสาท คลอดและอยู่รอดเป็ นทารก ตามมาตรา 15ว.2 ด.ช.ประสาทย่อมมี สิ ทธิ ย อ้ นหลังไป
ในขณะที่ เป็ นทารกอยู่ในครรภ์มารดา ดังนั้นเมื่ อ ด.ช.ประสาทถูกละเมิ ดสิ ทธิ ในร่ างกายขณะเป็ นทารก
ในครรภ์มารดา ย่อมสามารถฟ้ องร้ องนายแสวงฐานะละเมิ ดได้ นางอรชรในฐานะผู แ้ ทนโดยชอบธรรม
จึ งสามารถฟ้ องให้น ายแสวงรั บชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน แทน ด.ช.ประสาทได้
ต่ อมาเมื่ อ ด.ช.ประสาท อายุได้ 17ปี เศษ ได้ไปซื้ อร้ องเท้ามา 1คู่ ในเวลานั้ น ด.ช.ประสาทอายุ
ยังไม่ ครบ 20ปี บริ บูรณ์จึ งยังเป็ นผู เ้ ยาว์ตามมาตรา 19 การที่ ด.ช.ประสาทไปซื้ อรองเท้าเป็ นการทำ
นิ ติ กรรม เมื่ อไม่ ปรากฏว่าได้รั บความยินยอมจากผู แ้ ทนโดยชอบธรรม คื อ นางอรชร นิ ติ กรรมย่อมตก
เป็ นโมฆี ยะตามมาตรา 21อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากนิ ติ กรรมการซื้ อรองเท้าดังกล่ าวข้าพเจ้าเห็ นเป็ นการ
ซื้ อทรั พย์ที่ ราคาที่ ราคาไม่ สู ง และด.ช.ประสาทอาจจะนำรองเท้าดังกล่ าวมาไว้ใส่ ซึ่ งผู เ้ ยาว์ท ัว่ ๆไปก็
ควรมี รองเท้าใส่ จึ งเป็ นกรณี ที่ ผ ู เ้ ยาว์ทำ นิ ติ กรรมที่ สมแก่ ฐานานุ รู ปและจำเป็ นต่ อการดำรงชี พตาม
สมควร นิ ติ กรรมการซื้ อรองเท้านี้ จึ งมี ผลสมบูรณ์ ต ามมาตรา 24
กรณี ต อ้ งพิจ ารณาด้วยว่าการทำนิ ติ กรรมซื้ อรองเท้านั้นตกเป็ นโมฆี ยะเพราะความเป็ นคน
วิกลจริ ตของ ดช.ประสาทหรื อไม่ เห็ นว่าตามข้อเท็จจริ งแม้ ด.ช.ประสาทจะมี อาการวิกลจริ ตตั้งแต่ เกิ ด
และอาจยังคงมี อาการวิกลจริ ตอยู่ แต่ ไม่ ปรากฏข้อเท็จจริ งว่าผู ข้ ายรู ้ ถึ งความวิกลจริ ตของ ด.ช.ประสาท
ในขณะทำนิ ติ กรรม นิ ติ กรรมจึ งไม่ ตกเป็ นโมฆี ยะตาม มาตรา 30แต่ อย่างใด

สรุ ป
ข้อต่ อสู ้ของนายแสวงฟั งไม่ ข้ึ นเพราะด.ช.ประสาทมี สิ ทธิ ย อ้ นหลังตั้งแต่ เวลาที่ เป็ นทารกใน
ครรภ์มารดา ตามมาตรา 15ว.2จึ งถูกทำละเมิ ดได้ และมี สิ ทธิ เรี ยกให้น ายแสวงรั บผิดฐานละเมิ ด
สัญญาซื้ อรองเท้ามี ผลสมบูรณ์เพราะเป็ นนิ ติ กรรมที่ ผ ู เ้ ยาว์ทำ ขึ้ นเป็ นการสมแก่ ฐานุ รู ปและจำเป็ นต่ อ
การดำรงชี พตาม มาตรา 24และไม่ ตกเป็ นโมฆี ยะเพราะความวิกลจริ ตของผู เ้ ยาว์ตามมาตรา 30เพราะไม่
ปรากฏว่าคู่กรณี อีกฝ่ ายรู ้ ถึงความวิกลจริ ตของ ด.ช.ประสาทในขณะทำนิ ติ กรรม

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1

นายท้ ากกี ้ ขายสุ นัขชื่ อนางด่ างหางแดงให้ นายเนวิน โดยไม่ มีใ ครทราบว่ านางด่ างหางแดงท้ อง
ในวันที่ ๑ ตกลงจะส่ งมอบนางด่ างหางแดงวันที่ ๓ โดยนายท้ ากกี ้ ชำระเงินให้ นายเนวิน ในวันที่ ทำ
สั ญญาแล้ ว ต่ อมาคืนวันที่ ๑ นางด่ างหางแดงคลอดลูกสุ นั ข ๑ ตัว วันที่ ๓ นายเนวินมารั บนางด่ างหาง
แดง จึงทราบว่ านางด่ างหางแดงคลอดลูก ถามว่ า ใครมีสิ ทธิ ในตัวลูกของนางด่ างหางแดง และหากนาง
ด่ างหางแดงถู กงู กัดตายโดยไม่ ใช่ ความผิดของนายท้ ากกี ้ ถามว่ า ใครจะต้ องรั บบาปเคราะห์ ในความตาย
ของนางด่ างหางแดง

หลักการวินิ จฉัย ควรฝึ กแยกพิจ ารณาที ละประเด็น


1.คู่สัญญาตกลงซื้ อนางด่ างหางแดง
2.แม้ย งั ไม่ มี การส่ งมอบวัตถุ แห่ งหนี้ สัญญาซื้ อขายย่อมสมบูรณ์ น ับแต่ ว นั ทำสัญญา ลูกหนี้ -เจ้าหนี้
มี หน้าที่ ต อ้ งชำระหนี้ อ นั พึงชำระต่ อกันแล้ว รอเพียงให้ถึ ง กำหนดเวลาชำระเท่านั้ น
3.ลูกสุ น ัขเป็ นดอกผลธรรมดา(เปิ ดดูประมวลว่าลูกสุ น ัขเป็ นของใคร)
4.หากนางด่ างหางแดงตายโดยไม่ ใช่ ความผิดของผู ใ้ ด การชำระหนี้ กลายเป็ นพ้นวิสัย ไม่ มี ผ ู ใ้ ดต้องรั บ
ผิด
5.นายท้ากกี้ เป็ นผู ร้ ั บบาปเคราะห์ในความตายของนางด่ างหางแดง
จะเรี ยกร้ องให้น ายเนวิน ชำระหนี้ ไม่ ได้(โจทย์ไม่ ได้ให้รายละเอี ยดมาว่านางด่ างหางแดงตายในวัน ที่
เท่ าใด อนุ มานเอาว่าตายก่ อนมี การส่ งมอบ ถ้าตายหลังส่ งมอบก็ต อ้ งพิจ ารณาเป็ นกรณี ไปอี กว่าตาย
เพราะเหตุ ใด)  คำแนะนำนี้ เป็ นหลักในการพิจารณาตอบข้อสอบเท่ านั้น ไม่ ใช่ วิธี ตอบข้อสอบ 
ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1

1. ต้ อย อายุ 14 ปี คุ ณตาเห็นว่ าต้ อยกำพร้ าแม่ จึงยกเครื่ องเพชรให้ 1 ชุ ด ต่ อมาต้ อยคิดจะขายเครื่ อง


เพชรหนึ่ งชิ ้ นเพื่อ นำเงินไปเป็ นค่ าเรี ยนคอมพิวเตอร์ จึงไปปรึ กษาพ่ อ พ่ อจึงบอกว่ า “ เครื่ องเพชรชุ ดนี ้
คุ ณตายกให้ ลูกแล้ ว ลูกจะเอาไปทำอะไร ก็แล้ วแต่ ล ูกจะเห็นสมควรเถอะ พ่ อไม่ ขัดข้ องอะไรทั้ งสิ ้ น “ ต่ อ
มาต้ อยอยากได้ โทรศั พท์ มือถือจึง นำเครื่ องเพชรชิ ้ นที่ 2 ไปขาย โดยไม่ ได้ ขออนุ ญาต พ่ อก่ อน ต่ อมา
ต้ อยป่ วยคิดว่ าตนเองเป็ นไข้ หวัดนกคงไม่ รอดแน่  เกิดสิ ้ นหวังในชี ว ิตจึง ทำพินั ยกรรมยกเครื่ องเพชร
ชิ ้ นสุ ดท้ ายที่เหลืออยู่ ให้ คุ ณตาเพราะคิดว่ าเครื่ องเพชรเป็ นของคุ ณตาก็ควรจะคืนให้ คุ ณตาไป ระหว่ างที่
นั่ งรถประจำทางไปหาหมอเกิดมีว ัยรุ่ นทะเลาะวิวาทกันโยนระเบิดใส่ รถโดยสารทำให้ ต้ อยถึงแก่ ความ
ตาย ภายหลังบิดา ทราบเรื่ องว่ าต้ อยขายเครื่ องเพชรชิ ้ นที่ 2ไปในราคาที่ถู กมากจึงต้ องการบอกล้ าง
นิ ติกรรมการซื ้อขาย เพชร และยกเลิกพินั ยกรรม จงวินิ จฉั ยว่ า บิดาสามารถบอกล้ างนิ ติกรรมการขาย
เพชรครั้ งที่ 2 และ ยกเลิกพินัยกรรมของต้ อยได้ หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

หลักกฎหมาย
มาตรา 19บุ คคลย่อมพ้นจากภาวะผู เ้ ยาว์และบรรลุ นิ ติ ภ าวะเมื่ อมี อ ายุย ี่สิ บปี บริ บูรณ์
มาตรา 21 ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใด ๆ ต้องได้รั บ ความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อน การ
ใด ๆ ที่ ผ ู เ้ ยาว์ได้ทำ ลงปราศจากความยินยอมเช่ นว่านั้ นเป็ นโมฆี ยะ เว้นแต่ จะบัญญัติ ไว้เป็ นอย่างอื่ น
มาตรา 25ผู เ้ ยาว์อาจทำพิน ัยกรรมได้เมื่ ออายุสิ บห้าปี บริ บูรณ์
มาตรา 26ถ้าผู แ้ ทนโดยชอบธรรมอนุ ญ าตให้ผ ู เ้ ยาว์จำ หน่ ายทรั พย์สิ นเพื่อการอันใดอันหนึ่ งอัน
ได้ระบุ ไว้ ผู เ้ ยาว์จะจำหน่ ายทรั พย์สิ นนั้ นเป็ นประการใดภายในขอบของการที่ ระบุ ไว้น้ ั นก็ทำ ได้ตามใจ
สมัคร อนึ่ ง ถ้าได้รั บอนุ ญาตให้จำ หน่ ายทรั พย์สิ นโดยมิ ได้ระบุ ว ่าเพื่อการอันใดผู เ้ ยาว์ก ็จำ หน่ ายได้
ตามใจสมัคร

ข้ อวินิ จฉั ย
การที่ ต อ้ ยผู เ้ ยาว์ได้ขออนุ ญาตบิ ดาซึ่ งเป็ นผู แ้ ทนโดยชอบธรรมเพื่อขายเครื่ องเพชรชิ ้ นที่ หนึ่ ง
ซึ่ งได้รั บมาจากคุณตาหนึ่ งชุ ด โดยต้องการนำเงิ นไปเป็ นค่าเรี ยนคอมพิวเตอร์ และบิ ด าได้อนุ ญาต โดย
บอกว่า “ เครื่ องเพชร..ชุ ดนี้ ..คุณตายกให้ลูกแล้ว ลูกจะเอาไปทำอะไร ก็แล้วแต่ ลูกจะเห็ นสมควรเถอะ
พ่อไม่ ข ดั ข้องอะไรทั้งสิ ้ น “ ย่อมเป็ นการที่ ต อ้ ยผู เ้ ยาว์ได้รั บอนุ ญ าตจากผู แ้ ทนโดยชอบธรรมให้จำ หน่ าย
ทรั พย์สิ นโดยมิ ได้ระบุว ่าเพื่อการอันใด ต้อยผู เ้ ยาว์ก ็ย ่อมจำหน่ ายได้ตามใจสมัคร ดังนั้นแม้ว ่าภายหลัง
บิ ดาจะทราบว่าต้อยขายเครื่ องเพชรชิ ้ นที่ สองไปในราคาถูกมากก็ไม่ สามารถบอกล้างนิ ติ กรรมการซื้ อ
ขายได้ ส่ วนการทำพิน ัยกรรมตามประมวลกฎหมายนี้ วางหลักว่าผู เ้ ยาว์อาจทำพิน ัยกรรมได้เมื่ ออายุครบ
15 ปี บริ บูรณ์ แต่ ต อ้ ยทำพิน ัยกรรมยกเครื่ องเพชรชิ ้ นสุ ดท้ายให้คุ ณตาในขณะที่ มี อายุ 14 ปี การทำ
พิน ัยกรรม ตกเป็ นโมฆะ ไม่ มี ผลบังคับทางกฎหมาย บิ ดาของต้อยจึ งไม่ จำ เป็ นต้องยกเลิ กพิน ัยกรรมแต่
อย่างใด
สรุ ป 
1. บิ ดาไม่ สามารถบอกล้างนิ ติ กรรมการขายเพชรครั้ งที่ 2 ได้ เพราะได้ให้ความยินยอมไว้แล้ว
2. พิน ัยกรรมเป็ นโมฆะ บิ ด าจึ งไม่ จำ เป็ นต้องยกเลิ กแต่ ประการใด

2. นาย สติ ได้ ทราบข่ าวว่ านาย ปั ญญาเพื่อนนั กเรี ยนเก่ ารุ่ นเดียวกัน กำลังลำบากตกทุ กข์ ได้ ยากจึง
ต้ องการช่ วยเหลือ จึงได้ ไปขอซื ้อรถยนต์ ของนายปั ญญาโดยซื ้ อในราคาซึ่ งสู งกว่ าท้ องตลาด แต่ ต่ อมา
นายสติทราบว่ านายปั ญญามิได้ ยากจนอย่ างที่เข้ าใจแต่ มีฐานะร่ำรวยเสี ยด้ วยซ้ำ จึงรู้ สึ กโกรธต้ องการ
อยากได้ เงินของตนคืนนายสติจะบอก เลิกสั ญญาซื ้ อขายรถยนต์ ได้ หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

หลักกฎหมาย
มาตรา 157 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของบุ คคลหรื อทรั พย์สิ นเป็ นโมฆี ยะ
ความสำคัญผิดตามวรรคหนึ่ ง ต้องเป็ นความสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ซึ่ งตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระสำคัญ
ซึ่ งหากมิ ได้มี ความสำคัญผิดดังกล่ าว การอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น

ข้ อวินิ จฉั ย
การที่ ส. คิดว่า ท.ซึ่ งเป็ นเพื่อนนักเรี ยนรุ ่ นเดี ยวกันกำลังตกทุ กข์ได้ย าก และอยากจะช่ วยเหลื อ
จึ งติ ดต่ อขอซื้ อรถยนต์ของ ส.ในราคาที่ สู งกว่าท้องตลาดนั้ น แต่ ต่ อมาทราบว่า ท.มิ ได้เป็ นคนยากจน
ตามที่ เข้าใจ จึ งเป็ นการที่ ส.สำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของ ท. อย่างไรก็ตาม คุ ณสมบัติ ด งั กล่ าวมิ ได้เป็ น
คุ ณสมบัติ ที่ ปกติ ถือเป็ นสาระสำคัญ (เช่ นสำคัญผิดคิ ดว่าเป็ นผู ค้ า้ รถยนต์ แต่ ไม่ ได้เป็ น) 
สรุ ป ดังนั้ น สัญญาซื้ อขายรถยนต์จึ งไม่ ตกเป็ นโมฆี ยะ ส.จึ งเรี ยกเงิ น คื นไม่ ได้

3. นาย เอ เขียนจดหมาย เสนอขายรถยนต์ ให้ นาย บี เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2547 ราคา 500000 บาท
โดยบอกว่ าถ้ านาย บี ตกลงซื ้อให้ ส่ ง คำตอบภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2547 ต่ อมาวันที่ 1 มีนาคม 2547
นายบี ส่ งจดหมายถึงนาย เอ ว่ าต้ องการซื ้ อรถและส่ งเงิน ชำระค่ ารถยนต์ มาบางส่ วนเป็ นจำนวนเงิน
20000 บาท นาย ซี ซึ่ งไม่ พอใจนาย เอ อยู่ จึงเอาระเบิดไปโยนใส่ รถยนต์ ค ันดังกล่ าวเสี ยหายทั้ ง คัน นาย
เอ ทวงเงิน ค่ ารถยนต์ ที่เหลืออีก 480000 บาทจากนายบี โดยบอกว่ า สั ญญาซื ้ อขายสมบู รณ์ แล้ วนายบี
ต้ องชำระราคาทั้ งหมด

จงวินิ จฉั ยว่ า สั ญญาซื ้อขายรถยนต์ สมบู รณ์ หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด และนายบีต้ องชำระเงินที่เหลือหรื อไม่
เพราะเหตุ ใด

หลักกฎหมาย
มาตรา 357คำเสนอใดเขาบอกปั ดไปยังผู เ้ สนอแล้วก็ดี หรื อมิ ได้สนองรั บภายในเวลากำหนดดัง
กล่ าวมาในมาตราทั้งสามก่ อนนี้ ก็ดี คำเสนอนั้ นท่านว่าเป็ นอันสิ ้ นความผูกพันแต่ น้ ั นไป
มาตรา 359ถ้าคำสนองมาถึงล่ วงเวลา ท่ านให้ถื อว่าคำสนองนั้นกลายเป็ นคำเสนอขึ้ นใหม่ คำ
สนองอันมี ข อ้ ความเพิ่มเติ ม มี ข อ้ จำกัด หรื อมี ข อ้ แก้ไขอย่างอื่ นประกอบด้วยนั้ น  ท่ านให้ถื อว่าเป็ นคำ
บอกปั ดไม่ รั บ ทั้งเป็ นคำเสนอขึ้ นใหม่ ด ้วยในตัว
มาตรา 361อันสัญญาระหว่างบุ คคลซึ่ งอยู่ห่ างกันโดยระยะทางนั้น ย่อมเกิ ดเป็ นสัญญาขึ้ นแต่
เวลาเมื่ อคำบอกกล่ าวสนองไปถึงผู เ้ สนอ
ถ้าตามเจตนาอันผู เ้ สนอได้แสดง หรื อตามปกติ ประเพณี ไม่ จำ เป็ นจะต้องมี คำ บอกกล่ าวสนอง
ไซร้ ท่านว่าสัญญานั้นเกิ ดเป็ นสัญญาขึ้ นในเวลาเมื่ อมี การอันใดอันหนึ่ งขึ้ น อันจะพึงสันนิ ษฐานได้ว ่า
เป็ นการแสดงเจตนาสนองรั บ

วินิ จฉั ย
จากปั ญหามี ประเด็น ที่ ต อ้ งวินิ จฉัย คือ
1. สัญญาซื้ อขายสมบูรณ์หรื อยัง
2. นายบี ต อ้ งชำระราคาที่เหลือหรื อไม่  
นาย เอ เขียนจดหมาย เสนอขายรถยนต์ให้น าย บี เมื่ อวัน ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2547 ราคา 500000
บาท โดยบอกว่าถ้านาย บี ตกลงซื้ อให้ส่ งคำตอบภายในวัน ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2547 แต่ นายบี ไม่ ได้ตอบ
ไปตามกำหนดเวลา
คำเสนอของนายเอจึ งไม่ ได้รั บการแสดงเจตนาตอบรั บจากนายบี ในเวลาที่ กำ หนดคำเสนอนั้น
ท่ านว่าเป็ นอันสิ ้ นความผูกพัน ส่ วนการที่ ต่ อมาวันที่ 1 มี นาคม 2547 นายบี ส่ งจดหมายถึ งนาย เอ ว่า
ต้องการซื้ อรถและส่ งเงิ น ชำระค่ารถยนต์มาบางส่ วนเป็ นจำนวนเงิ น 20000 บาท จึ งเป็ นคำเสนอของนาย
บี ที่ เสนอขอซื้ อรถยนต์ของนายเอ ขึ้ นใหม่ และยังไม่ มี ผลผูกพันเนื่ องจากยังมิ ได้รั บ คำสนองตอบจาก
นายเอแต่ อย่างใด เมื่ อ คำเสนอของนายบี ย งั มิ ได้มี คำ สนองตอบ นั ่นคื อคำเสนอ และคำสนองยังไม่ ถูก
ต้องตรงกัน สัญญาจึ งยังไม่ เกิ ดขึ้ น เมื่ อนายซี  ซึ่ งไม่ พอใจนาย เอ อยู่เอาระเบิ ดไปโยนใส่ รถยนต์ค นั ดัง
กล่ าวเสี ยหายทั้งคัน นายเอ จะมาทวงเงิ น ค่ารถยนต์ ที่ เหลื ออี ก 480000 บาทจากนายบี โดยบอกว่า
สัญญาซื้ อขายสมบูรณ์แล้วนายบี ต้องชำระราคาทั้งหมด นั้ นจึ งไม่ ถูกต้อง ตามหลักกฎหมายข้างต้น

สรุ ป 
1. สัญญาซื้ อขายยังไม่ สมบูรณ์ เพราะคำเสนอและคำสนองยังไม่ ถูกต้อ งตรงกัน สัญญาจึ งยังไม่ เกิ ดขึ้ น
2. นายบี ไม่ ต อ้ งชำระราคารถยนต์ที่ เหลือเพราะสัญญาซื้ อขายยังไม่ เกิ ด 

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1  ภาค 1 /2548

1.นายโหน่ งอายุ 18 ปี ถู กศาลสั่ งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ โดยให้ อยู่ ในความอนุ บาลของนางหนุ่ ยผู้
เป็ นมารดา นายโหน่ งได้ .ขออนุ ญาตนางหนุ่ ยไปซื ้ อเครื่ องเล่ นเกมส์ นางหนุ่ ยไม่ ว่ าอะไรหยิบเงินให้ ไป
500 บาท นายโหน่ งจึงไปซื ้อเครื่ องเล่ นเกมส์ ที่ร้ านนายสุ ข นายสุ ขไม่ รู้ ว่ านายโหน่ งเป็ นบุ คคลไร้ ความ
สามารถจึงขายเครื่ องเล่ นเกมส์ ให้ ไป นายโหน่ งเมื่อรั บเงินทอนแล้ วจึงไปซื ้ อกระเป๋ าสตางค์ เพื่อนำไปให้
นางหนุ่ ย นางหนุ่ ยเห็นกระเป๋ าสตางค์ ก็ด ีใจหยิบไปใช้ ทันที กรณีนี ้  ท่ านเห็นว่ านิ ติกรรมการซื ้ อเครื่ อง
เล่ นเกมส์ และกระเป๋ าสตางค์ ของนายโหน่ งมีผลอย่ างไร

2.นายเอกทราบว่ านายเดชา บุ ตรชายอายุ 19 ปี 11 เดือน 20 วัน ไปซื ้ อรถยนต์ ราคา 300,000 บาท นาย
เอกโกรธมากจึงมีหนังสื อบอกล้ างโมฆียะกรรมไปยังบริ ษัทรถยนต์ โดยส่ งเป็ นจดหมายทางไปรษณีย์
และขณะเดินข้ ามถนนจะกลับบ้ านก็ถ ู กรถชนตาย ต่ อมาอีก 2 วัน จดหมายไปถึงบริ ษัทรถยนต์ ต่ อมาอีก
15 วัน บริ ษัทรถยนต์ นำ เงิน 300,000 บาท มาคืน นายเดชาไม่ ยอมรั บ คืน พร้ อมกับบอกว่ า จดหมายที่ส่ ง
ไปตนไม่ รู้ เรื่ องและพ่ อก็ตายแล้ ว ตนไม่ ค ืนรถและจะยืนยันตามสั ญญาเดิมแต่ บริ ษัทรถยนต์ บอกว่ าได้
ตกลงขายรถยนต์ ให้ คนอื่นไปแล้ ว ท่ านเห็ นว่ าการไม่ ค ืนรถยนต์ ของนายเดชาจะมีผลเป็ นอย่ างไร

3.นายสวัสดิ์ ได้ ตกลงเช่ ารถยนต์ หมายเลขเครื่ อง 007 สี แดง จากนายสมศั กดิ์ โดยตกลงค่ าเช่ ากันวันละ
1,000 บาท เป็ นเวลา 10 วัน โดยนายสวัสดิ์ ต้ องจ่ ายค่ าเช่ าล่ วงหน้ า 10,000 บาท นายสวัสดิ์ บอกว่ าจะมา
รั บรถในวันรุ่ งขึ ้น พอตกกลางคืนเกิดฟ้ าผ่ าโรงรถนายสมศั กดิ์ ทำ ให้ เกิดไฟไหม้ รถคันที่นายสวัสดิ์ เช่ า
เสี ยหายหมด นายสวัสดิ์ ขอเงิน ค่ าเช่ ารถคืน แต่ นายสมศั กดิ์ ไม่ ยอมคืนให้ โดยอ้ างว่ าไม่ ใช่ ความผิดของ
ตน ท่ านเห็ นว่ าข้ ออ้ างของนายสวัสดิ์ ฟั งขึ ้นหรื อไม่

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1

1.นายแดงอายุ 15 ปี เป็ นบุ ตรชายของนายดำ ประสบอุบัติเหตุ สมองได้ รั บความกระทบกระเทือนทำให้


กลายเป็ นคนวิกลจริ ต ต่ อมาในวันที่ 1 มกราคม 2549 นายดำบิดาได้ ยื่น คำร้ องขอให้ ศาลสั่ งให้ นายแดง
เป็ นคนไร้ ความสามารถ ในระหว่ างพิจารณาคดีนายแดง ได้ ไปซื ้ อเครื่ องเล่ นวีซี ด ีในราคา 5,000 บาท
จากนางขาว โดยนางขาวทราบว่ า นายแดงวิกลจริ ต ครั้ นต่ อมาในวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 ศาลมีคำ สั่ ง
ให้ นายแดงตกเป็ นคนไร้ ความสามารถ จากนั้ นนายแดงเกิดไปหลงรั กนางสาวบุษบา จึงยกเครื่ องเล่ นวี
ซี ด ีด ังกล่ าวให้ นางสาวบุ ษบาไป  ดังนั้ นให้ ท่ านวินิจฉั ยว่ า นายดำบิดานายแดงจะขอบอกล้ างการซื ้ อ
เครื่ องเล่ นวีซี ด ีกับนางขาวได้ หรื อไม่ และจะเรี ยกเครื่ องเล่ นวีซี ด ีค ืนจากนางสาวบุ ษบาได้ หรื อไม่

2.นายแดงอายุ 17 ปี ทำพินัยกรรมยกรถยนต์ ของตนให้ นางสาวขาว กิ๊กสาวอายุ 17 ปี ต่ อมาอีก 4 ปี นาย


แดงถู กรถชนสมองได้ รั บ ความกระทบกระเทือนตกเป็ นคนวิกลจริ ต นายแดงได้ ขายนาฬิ กาให้ กับนายดำ
โดยนายดำไม่ ทราบว่ านายแดงวิกลจริ ต ต่ อมาอีก 1 ปี ศาลมี คำ สั่ งให้ นายแดงตกเป็ นคนไร้ ความสามารถ
นายดำทราบว่ านายแดงถู กศาลสั่ งดังกล่ าว ครั้ นเมื่อผู้ อนุ บาลของนายแดงทราบเรื่ องการซื ้ อขายนาฬิ กา
ระหว่ างนายแดงกับนายดำ  ดังนั้ นให้ ท่ านวินิ จฉั ยว่ า พินั ยกรรมที่นายแดงทำมีผลตามกฎหมายหรื อไม่
และผู้ อนุ บาลจะบอกล้ างสั ญญาซื ้อขายนาฬิ กาได้ หรื อไม่

3.ยายทำหนั งสื อจดทะเบียนยกที่ด ินแปลงหนึ่งให้ ม่ วงอายุ 19 ปี หลานชาย ต่ อมาอีก 5 เดือน ม่ วงได้


ตกลงกับขาวซึ่ งเป็ นเจ้ าของที่ด ิน ค้ างเคียงยอมเปิ ดทางในที่ด ินส่ วนของตนที่ได้ รั บมา เพื่อจะเป็ นทางที่
ขาวจะใช้ เป็ นทางสาธารณะ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการที่ขาวโอนหุ้ นในบริ ษัทชิ น คอร์ ปฯ ให้  หลังจากทำ
สั ญญาแลกเปลี่ยนได้ 5 เดือน ขาวมาพบม่ วงอีก ขอให้ ทำ หนั งสื อสั ตยาบันกับสั ญญาแลกเปลี่ยนนั้ น ม่ วง
ทำให้ ตามขอ บิดาม่ วงไม่ พอใจเพราะม่ วงไม่ ยอมบอก จึงบอกล้ างนิ ติกรรมทั้ งสอง ม่ วงต่ อสู้ ว่ าตนบรรลุ
นิ ติภาวะแล้ ว บิดาบอกล้ างไม่ ได้ และตนได้ ให้ สั ตยาบันแก่ สั ญญาแลกเปลี่ยนแล้ ว  ดังนั้ นให้ ท่ านวินิ จฉั ย
ว่ า ข้ อต่ อสู้ ของม่ วงฟั งขึ ้นหรื อไม่  

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1  ภาคการศึ กษาพิเศษ /2548

1.นาคเคน บุคคลที่ศาลสั่ งให้ เป็ นบุ คคลไร้ ความสามารถ อายุ 19 ได้ ให้ แหวนเพชรแก่ นางสาวแอน อายุ
17 ผู้ ที่ตนเองรั ก ไม่ รู้ ว่ าขณะที่นายเคนให้ แหวนนั้ นเป็ นคนไร้ ความสามารถ นางนกเป็ นมารดา และเป็ น
ผู้ อนุ บาลรู้ ภายหลัง จึงขอแหวนเพชร คืนจากนางสาวแอน นางสาวไม่ ให้ นางนกจะทำอย่ างไร (จำได้ เท่ า
นี ้ครั บ)

2.นายสมชายเอาพระปลอมมาแลกพระจริ งของนายสมศั กดิ์ แต่ พระของนายสมศั กดิ์ ชำ รุ ด หั กเสี ยหาย


นายสมศั กดิ์ ได้ ซ่ อมแล้ วบอกว่ าไม่ เ คยหักไม่ เ คยซ่ อม  หลังจากนั้ นนายสมศั กดิ์ เอาพระไปขายแล้ ว
ปรากฏว่ าพระของนายสมชายที่แลกมา นั้ นเป็ นพระปลอม จึงไปขอเอาพระที่แลกคืน แต่ นายสมชาย
บอกว่ าไม่ ให้ แล้ วบอกว่ า พระของนายสมศั กดิ์ ก็ ชำ ระเหมือนกัน เช่ นนี ้ นายสมศั กดิ์ ควรทำเช่ นไร

3.ต้ องกับแดงเป็ นเพื่อนกัน ต้ องถามนายแดงว่ าจะขายรถที่ใช้ อยู่ ให้ แดง ในราคา สามแสนบาท แดง
ตกลงจะซื ้ อในราคานั้ น และตกลงจะไปทำสั ญญาที่ สำ นั กงานทนายความของเพื่อน แต่ สำ นั กงานปิ ดจึง
ไม่ ได้ ทำ สั ญญาดังกล่ าว หลังจากนั้ น สามวันต้ องเจอแดงจึงถามให้ แดงชำระหนี ้ค่ าซื ้ อรถ แก่ ต้ อย
เพราะต้ อยถือว่ าสั ญญาได้ เกิดขึ ้นแล้ ว แต่ แดงปฏิเสธบอกว่ าสั ญญายังไม่ เกิดและยังไม่ ได้ ทำสั ญญา จึง
ไม่ ยอมชำระหนี ้ด ังกล่ าวแก่ ต้ อย ท่ านเห็นด้ วยกับต้ อย หรื อ แดง อธิ บาย 

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1

1.ด.ช.เก่ ง ตกลงขายโทรศั พท์ เ คลื่อนที่ของตน ให้ กับ ด.ช.ขวัญ ในราคา 1000 บาท ด.ช.ขวัญ จึงไปขอ
พ่ อของตนเพื่อที่จะซื ้อโทรศั พท์ จาก ด.ช.เก่ งและมีการซื ้ อขายเกิดขึ ้น หลังจากนั้ นไม่ นานบิดาของ ด.ช.
เก่ ง รู้ ว่ า ด.ช.เก่ ง นำโทรศั พท์ ไปขาย จึง นำเงิน จำนวน 1000 บาท มาคืนกับ บิดาของ ด.ช. ขวัญ บิดา
ด.ช.ขวัญ ไม่ ยอมรั บเงิน คืน แล้ วบอกกับบิดา ด.ช. เก่ งว่ า สั ญญาซื ้ อขายสมบู รณ์ แล้ ว และพ้ นวิสั ยที่จะ
คืนโทรศั พท์ ให้ ได้ เนื่องจาก ด.ช.ขวัญ ทำโทรศั พท์ นั้ นสู ญหาย ท่ านเห็ นด้ วยกับข้ ออ้ างกับ คำพูดของ
บิดา ด.ช.ขวัญหรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

ในข้อแรกม. 21+175
มาตรา 21ผู เ้ ยาว์จะทำนิ ติ กรรมใด ๆ ต้องได้รั บ ความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมก่ อน การ
ใด ๆ ที่ ผ ู เ้ ยาว์ได้ทำ ลงปราศจากความยินยอมเช่ นว่านั้ นเป็ นโมฆี ยะ เว้นแต่ จะบัญญัติ ไว้เป็ นอย่างอื่ น
มาตรา 175โมฆี ยะกรรมนั้ น บุ คคลต่ อไปนี้ จะบอกล้างเสี ยก็ได้
(1) ผู แ้ ทนโดยชอบธรรมหรื อผู เ้ ยาว์ซ่ึ งบรรลุ นิ ติ ภ าวะแล้ว แต่ ผ ู เ้ ยาว์จะบอกล้างก่ อนที่ ตนบรรลุ นิ ติ ภ าวะ
ก็ได้ถ า้ ได้รั บความยินยอมของผู แ้ ทนโดยชอบธรรมนิ ติ กรรมเป็ นโมฆี ยะ และผู แ้ ทนโดยชอบธรรมของ
เอก็บอกล้างแล้ว จึ งทำให้ คู่กรณี กลับ คืนสู่ ฐานะเดิ ม  
มาตรา 176 (แถม)โมฆี ยะกรรมเมื่ อบอกล้างแล้ว ให้ถื อว่าเป็ นโมฆะมาแต่ เริ่ มแรก และให้ผ ู เ้ ป็ น
คู่กรณี กลับ คืนสู่ ฐานะเดิ ม ถ้าเป็ นการพ้นวิสัยจะให้กลับ คื นเช่ นนั้ นได้ ก็ให้ได้รั บ ค่าเสี ยหาย ชดใช้ให้
แทน
บิ ดาบี ต อ้ งคื นมื อถือให้ แต่ มื อถือหายไป บิ ด าเอ ก็ต อ้ งได้รั บ ค่าเสี ยหาย ชดใช้ให้แ ทน

2.นายเอกชั ยต้ องการทำบุ ญเนื่องจากวัน คล้ ายวันเกิด จึงได้ ไปซื ้ อของเพื่อจะนำมาทำบุ ญ หลังจากนั้ นได้
พบพระรู ปหนึ่งจึงได้ นิมนต์ และทำการใส่ บาตร พอใส่ บาตรเสร็ จ นางสมศรี เพื่อนบ้ านเห็นจึงบอกว่ า
พระที่นายเอกชั ย ทำบุ ญด้ วยนั้ น แท้ ที่จริ ง คือนายวันชั ย ซึ่ งปลอมมาเป็ นพระ ( พระปลอม) นายเอกชั ยรู้
เข้ า จึงได้ เข้ าไปทวงสิ่ งของที่ตนใส่ บาตรคืนจากนายวันชั ย ท่ านว่ านายวันชั ยต้ องคืนของแก่ นายเอกชั ย
หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

ในข้อ 2อันนี้ ก้ำกึ่ ง แต่ ผมลงความเห็ นตี ไปเลยว่า157


มาตรา 157 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของบุ คคลหรื อทรั พย์สิ น เป็ นโมฆี ยะ
ความสำคัญผิดตามวรรค 1 ต้องเป็ นความสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ซ่ึ งตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระสำคัญ ซึ่ ง
หากมิ ได้มี ความสำคัญผิดดังกล่ าวการอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น
การที่ เอทำบุญตักบาตร ให้พระปลอมเป็ นการสำคัญผิดในตัวบุ คล (พระ) ความสำคัญผิดใน
คุ ณสมบัติ ของบุ คคลจะบอกล้างได้ต่ อเมื่ อเป็ นความสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ซ่ึ งตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระ
สำคัญ ซึ่ งหากมิ ได้มี ความสำคัญผิดดังกล่ าวการอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น
คื อถ้าเอรู ้ ว ่าเป็ นพระปลอมคงไม่ ได้ต กั บาตรกับพระรู ปนั้ นแน่ ๆ

แนวคำตอบข้อ 2
มาตรา 157 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของบุ คคลหรื อทรั พย์สิ นเป็ นโมฆี ยะ
ความสำคัญผิดตามวรรคหนึ่ ง ต้องเป็ นความสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ซ่ึ งตามปกติ ถื อว่าเป็ นสาระสำคัญ ซึ่ ง
หากมิ ได้มี ความสำคัญผิดดังกล่ าวการอันเป็ นโมฆี ยะนั้ นคงจะมิ ได้กระทำขึ้ น
มาตรา 175โมฆี ยะกรรมนั้ น บุ คคลต่ อไปนี้ จะบอกล้างเสี ยก็ได้
(3) บุคคลผู แ้ สดงเจตนาเพราะสำคัญผิด หรื อ ........................
มาตรา 176โมฆี ยะกรรมเมื่ อบอกล้างแล้ว ให้ถื อว่าเป็ นโมฆะมาแต่ เริ่ มแรก และ
ให้ผ ูเ้ ป็ นคู่กรณี กลับ คืนสู่ ฐานะเดิ ม …….
นายเอกชัย พบพระรู ปหนึ่ งจึ งได้นิ มนต์และทำการใส่ บาตร พอใส่ บาตรเสร็ จ นางสมศรี เพื่อน
บ้านเห็ นจึ งบอกว่า พระที่ นายเอกชัย ทำบุ ญด้วยนั้ น แท้ที่ จริ งคื อนายวันชัย ซึ่ งปลอมมาเป็ นพระ ( พระ
ปลอม ) นายเอกชัยรู ้ เข้า จึ งได้เข้าไปทวงสิ่ งของที่ ตนใส่ บาตรคื นจากนายวันชัย การกระทำดังกล่ าวนาย
เอกชัยย่อมกระทำได้เพราะการที่น ายเอกชัยใส่ บาตรให้น ายวันชัยนั้ นนายเอกชัยเข้าใจว่านายวันชัยเป็ น
พระ ซึ่ งเป็ นคุณสมบัติ ของบุ คคลซึ่ งถ้านายวันชัยมิ ใช่ พระนายเอกชัยย่อมไม่นำ ของไปใส่ บาตรให้อย่าง
แน่ นอน เมื่ อการกระทำของนายเอกชัยเป็ นการแสดงเจตนาให้โดยสำคัญผิดในคุ ณสมบัติ ของบุ คคลซึ่ ง
เป็ นสาระสำคัญย่อมเป็ นโมฆี ยะ ตาม ม.157 ดังนั้นนายเอกชัยย่อมบอกล้างได้ตาม ม.175 ว.หนึ่ ง(3) และ
เมื่ อบอกล้างแล้วคู่กรณี ย ่อมกลับ คืนสู่ ฐานะเดิ มตาม ม.176 ...เมื่ อนายเอกชัยบอกล้างการให้แล้วนายวัน
ชัย(พระปลอม) ต้องคืนของแก่ นายเอกชัยตามหลักกฎหมายดังกล่ าวแล้วข้างต้น

3.ต้ อย ต้ องการซื ้อ สายสร้ อยเพื่อมอบเป็ นของขวัญในวันรั บปริ ญญาเพื่อน จึงได้ ไปหาซื ้ อสร้ อยคอ
ทองคำที่ร้ านทองแห่ งหนึ่ง และเห็นสร้ อยคอทองคำน้ำหนั ก 2 สลึงเส้ นหนึ่ ง จึงถามเจ้ าของร้ านว่ าราคา
เท่ าไหร่ เจ้ าของร้ านบอกว่ า 5500 บาท ต้ อยจึงตอบไปว่ า "ตกลงเ อาเส้ นนี ้" แต่ พอจะจ่ ายเงินกลับพบว่ า
ลืมนำกระเป๋ าเงินติดตัวไป ต้ อยจะให้ เจ้ าของร้ านส่ งมอบทองเส้ นดังกล่ าวให้ ก่ อนเพราะสั ญญาซื ้ อขาย
เกิดขึ ้นแล้ ว ส่ วนเจ้ าของร้ านบอกว่ าสั ญญายังไม่ เกิดขึ ้นเพราะไม่ ได้ ทำเป็ นหนังสื อ ให้ ว ินิ จฉั ยว่ าเห็ น
ด้ วยกับข้ ออ้ างของเจ้ าของร้ านหรื อไม่ และเจ้ าของร้ านต้ องส่ งมอบทองให้ ต้ อยหรื อไม่ เพราะเหตุ ใด 

แนวเฉลย

ข้อ3 เป็ นเรื่ องของ ผลของสัญญา 


ในส่ วนแรกต้องตี ความก่ อนว่า สัญญาเกิ ดขึ้ นแล้ว คำเสนอ(ร้ านขายทองบอกราคา)ตรงกันกับ
คำสนอง(เอตกลงซื้ อ ) ในเมื่ อสัญญาได้เกิ ดขึ้ นแล้วกรรมสิ ทธิ์ ในทอง ตกไปแก่ เอ ดังนั้ น ส่ วนข้ออ้าง
เจ้าของร้ านฟั งไม่ ข้ึ น 
แต่ ในเมื่ อเอยังไม่ ชำ ระราคา กฎหมายก็ได้วางหลักไว้ด งั นี้
มาตรา 369ในสัญญาต่ างตอบแทนนั้น คู่สัญญาฝ่ ายหนึ่ งจะไม่ ยอมชำระหนี้ จนกว่าอี กฝ่ ายหนึ่ ง
จะชำระหนี้ หรื อขอปฏิ บ ตั ิ ก ารชำระหนี้ ก ็ได้ แต่ ความข้อนี้ ท่ านมิ ให้ใช้บ งั คับ ถ้าหนี้ ของคู่สัญญาอี กฝ่ าย
หนึ่ งยังไม่ ถึ งกำหนด
ดังนั้ น เจ้าของร้ าน ทองจึ งสามารถที่ จะไม่ ยอมชำระหนี้ (เอาทองให้เอ) ได้ จนกว่าเอจะชำระ
หนี้ (จ่ ายเงิ น ) หรื อ ขอปฏิ บ ตั ิ ก ารชำระหนี้  

ข้ อสอบกฎหมายแพ่ ง 1

1.นาย ก. อายุ 18 ปี ได้ ตกลงทำสั ญญาเช่ าร้ านนาย ข. โดยเช่ าเพื่อเปิ ดกิจการร้ านขายและซ่ อม
คอมพิวเตอร์ ต่ อมากิจการที่ ทำ ไม่ ประสบความสำเร็ จนาย ค. ได้ เข้ ามาช่ วยบริ หารกิจการ จนไปได้ ด้ วยดี
ต่ อมานาย ก. ได้ ไปทำสั ญญาซื ้ออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิ กส์ เพื่อมาใช้ ในการซ่ อมคอมพิวเตอร์ กับนาย ง. ดัง
นั้ นอยากทราบว่ าสั ญญาที่นาย ก. ทำกับนาย ข. ผลเป็ นอย่ างไร และสั ญญาที่นาย ก. ทำกับนาย ง. ผล
เป็ นอย่ างไร

2.นาย ก. เข้ าไปร้ านขายก๋ วยเตี๋ยวและได้ สั่ งเส้ นเล็กลูกชิ ้ น กับนาง ข. ผู้ ขาย นาง ข. ไม่ ตอบอะไรเพราะ
ขณะนั้ น กำลังยุ่ งทำก๋ วยเตี๋ยวอยู่ ต่ อมานาง ข. ได้ ทำ ก๋ วยเตี๋ยวมาให้ นาย ก. แต่ เป็ นเส้ นใหญ่ แห้ ง ดังนั้ น
อยากทราบว่ าสั ญญาที่ นาย ก. และนาง ข. เป็ นอย่ างไร จงอธิ บาย

3.บริ ษัทแห่ งหนึ่งได้ ลงโฆษณาว่ าถ้ าจองห้ องพักระหว่ างวันที่ 1 ตุ ลาคม-30 ตุ ลาคม 2547 จะได้ ส่ วนลด
20 % นาย ก. ต้ องการจะไปเที่ยว จึงได้ โทรศั พท์ ไปจองห้ องพักดังกล่ าวในวันที่ 15 ตุ ลาคม 2547 และ
แจ้ งความประสงค์ ว่ าจะเข้ าพักในวันที่ 1-5 ธั นวาคม 2547 ต่ อมาในวันที่ 30 ตุ ลาคม 2547 เกิดภัยพิบัติ
ขึ ้น อยากทราบว่ าสั ญญาที่นาย ก. ทำขึ ้นมีผลอย่ างไร อธิ บาย 

4.นายหนุ่ ยอายุ 18 ปี ขอเงินนางสุ ขซึ่ งเป็ นแม่ เพื่อไปซื ้ อเกมส์ นางสุ ขได้ ให้ เงินไป 500บาท ไปซื ้ อเกมส์
จากนายหนู ขณะจะซื ้อ นายหนุ่ ยเกิดอาการคุ้ มคลั่ง นายหนู เห็นอาการเกิด ความสงสาร จึงขายให้ ใน
ราคา 500 บาท ต่ อมานายหนู เกิดความรู้ สึ กว่ าขายไปในราคาที่ถู กเกินไป จึงขอบอกเลิกสั ญญาและทวง
ของคืน ถามว่ าจะได้ หรื อไม่

5.นาย ก. มีหนี ้สิ นเยอะจึงแกล้ งขายรถให้ กับนาย ข. เพื่อหลบหนี เจ้ าหนี ้ นาย ข. เมื่อได้ รถไป ได้ มอบให้
กับน้ องสาวคือนาง ค. โดยที่นาง ค. ไม่ รู้ เรื่ องว่ าเป็ นการขายแบบหลอก ๆ ค. เห็นว่ ารถสภาพไม่ ด ี จึง นำ
ไปซ่ อม หมดเงินไป 10,000 บาท ต่ อมา นาย ก. เมื่อทราบ ก็เลยไปทวงรถคืนจากนาง ค. โดยอ้ างว่ า
สั ญญาที่ ทำ กับนาย ข. เป็ นสั ญญาหลอก ๆ ถามว่ าจะทวงคืนได้ หรื อไม่  

6.นาย ก. จะบอกเลิกสั ญญาเช่ าบ้ านกับนาย ข. จึงเขียนจดหมายเพื่อไปส่ งไปรษณีย์ แต่ ระหว่ างทางเจอ
นาย ข. ก่ อน จึงมอบจดหมายให้ และมิได้ กล่ าวอะไร ต่ อมานาย ก. เกิดเปลี่ยนใจ โทรไปบอกนาย ข. ว่ า
อ่ านจดหมายดังกล่ าวแล้ วหรื อยัง นาย ข. ซึ่ งยังไม่ ได้ อ่ าน จดหมายตอบนาย ก. จึงบอกว่ า จดหมายดัง
กล่ าวเป็ นจดหมายบอกเลิกสั ญญาเช่ าซึ่ งตอนนี ้ตนเกิดเปลี่ยนใจ ขอเหมือนเดิม ส่ วนนาย ข. ซึ่ งอยากบอ
เลิกสั ญญา อยู่ เหมือนกันจะบอกเลิกได้ หรื อไม่

7.ด.ช. กล้ าเสนอขายโทรศั พท์ มือถือให้ ด.ช. ขวัญ เป็ นเงิน 1,000 บาท ด.ช. ขวัญไม่ มีเงินจึงได้ ไปขอ
เงินจากบิดาเพื่อซื ้อโทรศั พท์ มือถือ และบิดาของ ด.ช. ขวัญ ก็ยินยอมให้ เงิน ด.ช. ขวัญเพื่อไปซื ้ อ
โทรศั พท์ มือถือ จาก ด.ช. กล้ า ต่ อมาเมื่อบิดาของ ด.ช. กล้ าทราบเรื่ อง จึงได้ ไปทวงถามโทรศั พท์ ค ืนจาก
บิดาของ ด.ช. ขวัญ บิดาของ ด.ช. ขวัญ ปฏิเสธที่จะคืนโทรศั พท์ ให้ และได้ บอกว่ าสั ญญานั้ นสมบู รณ์
และอีกอย่ างโทรศั พท์ นั้ นได้ หายไปเป็ นการพ้ นวิสั ย ถามว่ าบิดา ด.ช. กล้ า สามารถทวงโทรศั พท์ ค ืนได้
หรื อไม่ จงอธิบาย

8.ต้ อยต้ องการซื ้อของขวัญให้ แฟนสาวเพื่อเป็ นของขวัญวันรั บปริ ญญา ต้ อยจึงไปร้ านทองและขอซื ้ อ
ทอง ต้ อยถามว่ าเส้ นนั้ นราคาเท่ าไร เจ้ าของร้ านบอกว่ าสร้ อยเส้ นนั้ นหนั ก 2 สลึง ราคา 5,000 บาท ต้ อย
ตกลงซื ้ อ แต่ พอจะจ่ ายเงินต้ อยกลับลืมเอากระเป๋ าเงินมา และต้ อยได้ บอกกับเจ้ าของร้ านให้ ส่ งสร้ อยมา
ให้ ตนเพราะว่ าสั ญญาซื ้ อขายมีผล ท่ านเห็ นว่ าเป็ นอย่ างไร จงอธิ บาย

9.นายทองต้ องการทำบุ ญตักบาตรเนื่องในวัน คล้ ายวันเกิดของตนจึงได้ จัดหาเครื่ องของใส่ บาตรเพื่อ


ทำบุ ญ เช้ าต่ อมานายทองได้ เตรี ยมตัว ทำบุ ญใส่ บาตร พอดีเห็ นพระเดินมาจึงได้ นิมนต์ และใส่ บาตร ต่ อ
มานางศรี ได้ บอกนายทองว่ าพระที่นายทองใส่ บารตแท้ จริ งเป็ นนายวันชั ย ซึ่ งปลอมเป็ นพระมา พอนาย
ทองได้ ทราบจึงได้ ตามไปทวงของที่ใส่ บาตรคืน ถามว่ านายทองสามารถทวงของคืนได้ หรื อไม่ จง
อธิ บาย

1. ด.ช.เก่ ง ตกลงขายโทรศั พท์ เ คลื่อนที่ของตน ให้ กับ ด.ช.ขวัญ ในราคา 1000 บาท ด.ช.ขวัญ จึงไปขอ
พ่ อของตนเพื่อที่จะซื ้อโทรศั พท์ จาก ด.ช.เก่ งและมีการซื ้ อขายเกิดขึ ้น หลังจากนั้ นไม่ นานบิดาของ ด.ช.
เก่ ง รู้ ว่ า ดช.เก่ ง นำโทรศั พท์ ไปขาย จึง นำเงิน จำนวน 1000 บาท มาคืนกับ บิดาของ ด.ช. ขวัญ บิดา
ด.ช.ขวัญ ไม่ ยอมรั บเงิน คืน แล้ วบอกกับบิดา ด.ช. เก่ งว่ า สั ญญาซื ้ อขายสมบู รณ์ แล้ ว และพ้ นวิสั ยที่จะ
คืนโทรศั พท์ ให้ ได้ เนื่องจาก ด.ช.ขวัญ ทำโทรศั พท์ นั้ นสู ญหาย ท่ านเห็นด้ วยกับข้ ออ้ างกับ คำพูดของ
บิดา ด.ช.ขวัญหรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

2. นายเอกชั ยต้ องการทำบุ ญเนื่องจากวัน คล้ ายวันเกิด จึงได้ ไปซื ้ อของเพื่อจะนำมาทำบุ ญ หลังจากนั้ น
ได้ พบพระรู ปหนึ่งจึงได้ นิมนต์ และทำการใส่ บาตร พอใส่ บาตรเสร็ จ นางสมศรี เพื่อนบ้ านเห็ นจึงบอกว่ า
พระที่นายเอกชั ย ทำบุ ญด้ วยนั้ น แท้ ที่จริ ง คือนายวันชั ย ซึ่ งปลอมมาเป็ นพระ ( พระปลอม ) นายเอกชั ยรู้
เข้ า จึงได้ เข้ าไปทวงสิ่ งของที่ตนใส่ บาตรคืนจากนายวันชั ย ท่ านว่ านายวันชั ยต้ องคืนของแก่ นายเอกชั ย
หรื อไม่ เพราะเหตุ ใด
3. ต้ อย ต้ องการซื ้อ สายสร้ อยเพื่อมอบเป็ นของขวัญในวันรั บปริ ญญาเพื่อน จึงได้ ไปหาซื ้ อสร้ อยคอ
ทองคำที่ร้ านแห่ งหนึ่ง และได้ ตกลงซื ้อสร้ อยคอทองคำน้ำหนั ก 2 สลึงเส้ นหนึ่ งในราคา 5500 บาท แต่
พอจะจ่ ายเงินกลับพอว่ าในกระเป๋ าของตนไม่ มีเงิน จึงได้ บอกเจ้ าของร้ านว่ าให้ ส่ งสร้ อยมาก่ อนจะจ่ าย
เงินให้ ( ตรงนี ้จำ ไม่ ค่ อยได้ ) เจ้ าของร้ านรู้ ว่ าต้ อยไม่ มีเงิน จึงไม่ ยอมมอบสร้ อยให้ เจ้ าของร้ านต้ องส่ ง
มอบสร้ อยแก่ ตนเพราะสั ญญาซื ้อขายเกิดขึ ้นแล้ ว เจ้ าของร้ านก็เถียงว่ าเพียงแต่ ตกลงกันด้ วยวาจายัง
ไม่ มีหลักฐานเป็ นหนังสื อ สั ญญายังไม่ เกิดขึ ้น ตนไม่ จำ ต้ องส่ งมอบสร้ อยแก่ ต้ อย ข้ ออ้ างของต้ อยและ
เจ้ าของร้ านฟั งขึ ้นหรื อไม่ เพราะเหตุ ใด

You might also like