You are on page 1of 207

Finite Element Method for

Agricultural Machinery
Engineering
ANSYS VERSION

PONTHEP VENGSUNGNLE
Rajamangala University of Technology Esan

คำนำ
เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้เป็นเอกสารที่ใช้ในการเรียนวิชาวิธีไฟไนท์อีลิเมนต์เบื้องต้น
สาหรับวิศวกรรมเกษตร ซึ่งถูกจัดทาขึ้นโดยรวบรวมเอาเนื้อหามาจากหนังสือหลากหลายเล่ม เนื้อหา
ส่ ว นใหญ่ เ น้ น การฝึ ก ปฏิ บั ติ โ ดยน าเอาปั ญ หาจริ ง มาวิ เ คราะห์ เ ป็ น หลั ก เพื่ อ ท าให้ นั ก ศึ ก ษามี
ประสบการณ์ในการนาเอาระเบียบการทางไฟไนต์เอลิเมนต์ไปใช้ในการวิ เคราะห์ ออกแบบ แก้ไข
ปัญหาและพัฒนางานให้มีความสมบูรณ์ต่อการใช้งานมากที่สุด
สุดท้ายผู้เขียนขอขอบพระคุณ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ ที่คอยให้คาชี้แนะและสละเวลาในการ
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารประกอบการสอนเล่ มนี้ ซึ่งผู้เขียนตระหนักดีว่าถึงแม้เอกสาร
ประกอบการสอนที่ผ่านการตรวจทานจากผู้เขียนอย่างเข้มข้น และผ่านพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ แต่
เอกสารเล่มนี้ก็อาจจะมีจุดที่ผิดพลาดบ้างซึ่งหากผู้เขียนพบก็จะได้นาเอาไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป
และหวังว่านักศึกษาที่เข้าเรียนและได้นาเอาเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้มาใช้ประกอบกับการเรียน
จะได้ผลประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเพื่อให้สมกับเป็นวิศวกรนักปฏิบัติต่อไปในอนาคต

(นายพลเทพ เวงสูงเนิน)
ผู้จัดทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

สำรบัญ

หน้าที่
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญรูปภาพ จ
สารบัญตาราง ต
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ถ
ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ท
ลักษณะรายวิชา ธ
การแบ่งหน่วยเรียน น
จุดประสงค์การสอน ป
กาหนดการสอน ม
การประเมินผลรายวิชา ร
ตารางกาหนดน้าหนักคะแนน ล
หน่วยที่ 1 การจาลองสถานการณ์ทางด้านวิศวกรรม 2
1.1. แนวคิดเบื้องต้น 2
1.2. ไฟไนต์เอลิเมนต์ 3
1.3. การวิเคราะห์คาน 6
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 16
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น 20
2.1. งานทางกล 20
2.2. การวิเคราะห์งานทางกล 23
2.3. การวิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ 30
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 36

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ 40
3.1. วัสดุ 40
3.2. การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน 41
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 50
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์โครงถัก 54
4.1. โครงถัก 54
4.2. การวิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ 57
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 66
หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบ 70
5.1. งานประกอบ 70
5.2. การวิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน 72
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 80
หน่วยที่ 6 การแก้ไขงานประกอบก่อนการวิเคราะห์ 84
6.1. แบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์ 84
6.2. การวิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง 87
6.3. การวิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ 96
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 105
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน 109
7.1. การวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ 109
7.2. การวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง 110
7.3. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน 118
7.4. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก 124
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 131
หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน 135
8.1. การถ่ายเทความร้อน 135

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

8.2. การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง 139


8.3. การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความร้อน 143
8.4. การวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี 148
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 154
หน่วยที่ 9 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล 158
9.1. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms 159
9.2. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้าน 164
9.3. การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่ของ Slider Crank
Mechanisms ที่มีแรงต้าน 166
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 169
บรรณานุกรม 172

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

สำรบัญรูปภำพ

หน้าที่
รูปที่ 1-1 แบบจาลองทางไฟไนต์เอลิเมนต์ที่แสดงผลลัพธ์ 2
รูปที่ 1-2 simple pendulum 3
รูปที่ 1-3 ตัวอย่างการแบ่งส่วนย่อยของปัญหาในการวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ 4
รูปที่ 1-4 การนาความร้อนในครีบระบายความร้อน 4
รูปที่ 1-5 การเสียรูปของครีบระบายความร้อน 5
รูปที่ 1-6 เอลิเมนต์แบบ 2 มิติของแผ่นสี่เหลี่ยมเจาะรู 5
รูปที่ 1-7 คานเหล็กที่ถูกนามาใช้ในการวิเคราะห์ 6
รูปที่ 1-8 เครื่องมือ Workbench ในโปรแกรม ANSYS 6
รูปที่ 1-9 ส่วนประกอบของโปรแกรม 7
รูปที่ 1-10 หน้าต่างของโปรแกรม 7
รูปที่ 1-11 การเลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 8
รูปที่ 1-12 การบันทึกงาน 8
รูปที่ 1-13 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 8
รูปที่ 1-14 ชื่อวัสดุที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์ 9
รูปที่ 1-15 คุณสมบัติของวัสดุที่ถูกนามาใช้ในการวิเคราะห์ 9
รูปที่ 1-16 การนาเข้าแบบจาลองที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์ 10
รูปที่ 1-17 แบบจาลองเหล็กเส้น 10
รูปที่ 1-18 การสร้างเอลิเมนต์ 11
รูปที่ 1-19 แบบจาลองที่ผ่านการสร้างเอลิเมนต์แล้ว 11
รูปที่ 1-20 การเลือกจุดยึด 12
รูปที่ 1-21 การเลือกภาระที่เกิดขึ้นบนแบบจาลอง 12
รูปที่ 1-22 การกรอกค่าแบบจาลอง 12
รูปที่ 1-23 การเลือกผลที่ต้องการทราบ 12
รูปที่ 1-24 การเลือกค่า Total Deformation 13
รูปที่ 1-25 การเลือกค่า Equivalent (von-Mises) Strain 13
รูปที่ 1-26 การเลือกค่า Equivalent (von-Mises) Stress 13

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 1-27 การเลือกค่า Safety Factor 13


รูปที่ 1-28 ตัวแปรที่ต้องการทราบค่ารอการวิเคราะห์ 14
รูปที่ 1-29 ค่าการเสียรูป (Total Deformation) ของคานเหล็ก 14
รูปที่ 1-30 ค่า Equivalent Elastic Strain ของคานเหล็ก 14
รูปที่ 1-31 ค่า Equivalent Stress ของคานเหล็ก 15
รูปที่ 1-32 ค่า Safty Factor ของคานเหล็ก 15
รูปที่ 1-33 คานที่ใช้วิเคราะห์ในบทที่ 1 16
รูปที่ 2-1 แบบจาลองที่ผ่านการทดสอบ 20
รูปที่ 2-2 การเขียนแผนผังแรงลูกกลิ้งบนพื้นเอียง 21
รูปที่ 2-3 ประเภทของแรงปฏิกิริยาอันเนื่องมาจากการเชื่อมต่อ 21
รูปที่ 2-4 รถแทร็กเตอร์ 23
รูปที่ 2-5 ชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ 23
รูปที่ 2-6 ส่วนประกอบของชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ 24
รูปที่ 2-7 ส่วนประกอบของชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ที่จะทาการวิเคราะห์ 24
รูปที่ 2-8 เลือกหน่วยในการวิเคราะห์ 24
รูปที่ 2-9 ดึงแบบจาลองมาใช้ในการวิเคราะห์ 25
รูปที่ 2-10 หน้าต่างที่ดึงแบบจาลองมาเรียบร้อยแล้ว 25
รูปที่ 2-11 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 25
รูปที่ 2-12 คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 26
รูปที่ 2-13 การสร้างเอลิเมนต์ให้แบบจาลอง 26
รูปที่ 2-14 การเลือกรูปแบบในการกาหนดทิศทางของแรง 26
รูปที่ 2-15 การกาหนดแรงในแต่ละทิศทาง 27
รูปที่ 2-16 การกาหนดค่าแรงโน้มถ่วงของโลก 27
รูปที่ 2-17 ขอบเขตเงื่อนไขที่มีการกาหนด 27
รูปที่ 2-18 เลือกคาตอบที่ต้องการทราบ 28
รูปที่ 2-19 หน้าต่างของคาตอบที่รอการคานวณ 28
รูปที่ 2-20 ทาการวิเคราะห์โดยกด Solve 28
รูปที่ 2-21 หน้าต่างของคาตอบที่ผ่านการคานวณ 28
รูปที่ 2-22 ค่า Equivalent Stress ของแบบจาลอง 29

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 2-23 ค่า Equivalent Stress ของแบบจาลอง ต่าสุด สูงสุดและค่าเฉลี่ย 29


รูปที่ 2-24 แรงปฏิกริยาลัพธ์ที่กระทาต่อชิ้นงาน 29
รูปที่ 2-25 เอลิเมนต์แบบแผ่นใน 3 มิติ 31
รูปที่ 2-26 ชิ้นงานที่เตรียมวิเคราะห์โดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ 31
รูปที่ 2-27 ชิ้นงานที่มีการแบ่งเอลิเมนต์ 2 มิติเรียบร้อยแล้ว 32
รูปที่ 2-28 การกาหนดเงื่อนไขในการวิเคราะห์โดยใช้เอลิเมนต์ 2 มิติ 32
รูปที่ 2-29 การเลือกคาตอบที่สนใจ 32
รูปที่ 2-30 คาตอบที่รอการวิเคราะห์ 33
รูปที่ 2-31 เลือก solution information 33
รูปที่ 2-32 สรุปรายละเอียดในการวิเคราะห์ 33
รูปที่ 2-33 ค่า total deformation 34
รูปที่ 2-34 ค่า equivalent elastic strain 34
รูปที่ 2-35 ค่า equivalent von-mises stress 34
รูปที่ 2-36 ค่า safety factor 35
รูปที่ 2-37 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 2 36
รูปที่ 3-1 การทดสอบรูปภาพ 40
รูปที่ 3-2 ชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ 41
รูปที่ 3-3 ส่วนของงานประกอบที่สนใจ 42
รูปที่ 3-4 ชิ้นส่วนที่ต้องการวิเคราะห์ 42
รูปที่ 3-5 เลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 42
รูปที่ 3-6 เลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 43
รูปที่ 3-7 เลือก General Material 43
รูปที่ 3-8 เลือก Aluminum Alloy 43
รูปที่ 3-9 เลือก Titanium Alloy 44
รูปที่ 3-10 ชิ้นส่วนที่ทาการวิเคราะห์เมื่ออยู่ในโหมดของ Model 44
รูปที่ 3-11 เลือกวัสดุที่ต้องการทดสอบ 44
รูปที่ 3-12 เลือก Cylindrical Support เพื่อกาหนดเงื่อนไขที่มียึดติดโดยโบลท์ และสกรู 45
รูปที่ 3-13 เลือก Force เพื่อกาหนดเงื่อนไขแรงที่กระทาต่อชิ้นงาน 45
รูปที่ 3-14 เลือกผิวที่แรงกระทา 45

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 3-15 กาหนดแรงที่กระทาในแต่ละทิศทาง 46


รูปที่ 3-16 เลือกคาตอบที่ต้องการ 46
รูปที่ 3-17 หน้าต่างของคาตอบที่รอการคานวณ 46
รูปที่ 3-18 กด Solve เพื่อเริ่มคานวณ 46
รูปที่ 3-19 ค่าความปลอดภัยของชิ้นงานที่ผ่านการวิเคราะห์ 47
รูปที่ 3-20 กด Duplicate เพื่อคัดลอกโปรเจ็คเดิม 47
รูปที่ 3-21 กด Rename เพื่อเปลี่ยนชื่อของโปรเจ็ค 47
รูปที่ 3-22 กด Model -> Material -> Assignment 48
รูปที่ 3-23 เลือก Titanium Alloy 48
รูปที่ 3-24 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 3 50
รูปที่ 4-1 โครงถักที่ใช้ทาเสาหรือคาน 54
รูปที่ 4-2 โครงสร้างจริงและโครงสร้างอย่างง่าย 54
รูปที่ 4-3 ตัวอย่างการวิเคราะห์โครงถัก 55
รูปที่ 4-4 โครงถักที่มีชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ 57
รูปที่ 4-5 โครงถักที่มีชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ 57
รูปที่ 4-6 โครงถักอย่างง่ายที่ใช้ในการวิเคราะห์ 58
รูปที่ 4-7 ตัวอย่างแบบจาลอง 58
รูปที่ 4-8 หน้าต่างของโปรแกรม 58
รูปที่ 4-9 การ import geometry โครงถัก 59
รูปที่ 4-10 การปรับแก้หน้าตัดโครงถัก 59
รูปที่ 4-11 เลือกหน้าตัดโครงถัก 59
รูปที่ 4-12 ปรับเปลี่ยนหน่วยในการวิเคราะห์ 60
รูปที่ 4-13 แบ่งเอลิเมนต์ของแบบจาลอง 60
รูปที่ 4-14 เลือกเงื่อนไขแรงที่ใช้ในการวิเคราะห์ 60
รูปที่ 4-15 เลือกเงื่อนไขจุดยึดที่ใช้ในการวิเคราะห์ 61
รูปที่ 4-16 เลือกตัวกรองเป็นจุด (vertex) 61
รูปที่ 4-17 เงื่อนไขที่ดาเนินการเลือกเรียบร้อยแล้ว 61
รูปที่ 4-18 เลือก Tools-> Beam Tool ซึ่งเป็นคาตอบที่ต้องการทราบ 62
รูปที่ 4-19 ผลของการเลือก 62

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 4-20 เลือกภาระทั้ง 4 ส่วน เพื่อแสดงคาตอบที่ต้องการทราบ 62


รูปที่ 4-21 หน้าต่างโปรแกรมก่อนการวิเคราะห์ 63
รูปที่ 4-22 การเสียรูปของโครงถัก 63
รูปที่ 4-23 ความเค้นที่เกิดขึ้นบนโครงถัก 63
รูปที่ 4-24 โมเมนต์ที่เกิดขึ้นบนโครงถัก 64
รูปที่ 4-25 แรงในแนวแกนที่เกิดขึ้นบนโครงถักบนเหล็ก channel 64
รูปที่ 4-26 แรงในแนวแกนที่เกิดขึ้นบนโครงถักบนเหล็กท่อ 64
รูปที่ 4-27 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 4 66
รูปที่ 5-1 งานประกอบชุดต่อพ่วง 70
รูปที่ 5-2 ตัวอย่างชิ้นงานที่สัมผัสกัน 70
รูปที่ 5-3 งานประกอบและการเชื่อมต่อ 71
รูปที่ 5-4 คู่ของการเชื่อมติดของงานประกอบ 71
รูปที่ 5-5 การเปลี่ยนชื่อของการเชื่อมติด 71
รูปที่ 5-6 หลังจากการเปลี่ยนชื่อของการเชื่อมติด 72
รูปที่ 5-7 แบบจาลองรถแทร็กเตอร์ด้านหน้า 72
รูปที่ 5-8 แบบจาลองรถแทร็กเตอร์ด้านหลัง 72
รูปที่ 5-9 ส่วนของแบบจาลองที่สนใจ 73
รูปที่ 5-10 แบบจาลองที่ต้องการนามาวิเคราะห์ 73
รูปที่ 5-11 ชื่อของการเชื่อมต่อทั้งหมด 73
รูปที่ 5-12 กาหนดชื่อของการเชื่อมต่อ 74
รูปที่ 5-13 การแบ่งเอลิเมนต์ 74
รูปที่ 5-14 การเลือกเงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์ 74
รูปที่ 5-15 ก่อนขั้นตอนกาหนดเงื่อนไขในการวิเคราะห์ 75
รูปที่ 5-16 กาหนดแรงที่กระทาบนชิ้นงาน 75
รูปที่ 5-17 เลือกชุดของคาตอบที่ต้องการ 75
รูปที่ 5-18 ชุดของคาตอบที่รอการคานวณ 76
รูปที่ 5-19 เลือกคาตอบแบบเจาะจงชิ้นงาน 76
รูปที่ 5-20 เลือกคาตอบแบบเจาะจงชิ้นงานให้ครบทุกชิ้น 76
รูปที่ 5-21 เลือกรูปแบบของการแสดงผล 77

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 5-22 ค่า Total Deformation ของงานประกอบทุกชิ้น 77


รูปที่ 5-23 ค่า Equivalent Elastic Strain ของงานประกอบทุกชิ้น 77
รูปที่ 5-24 ค่า Equivalent Stress ของงานประกอบทุกชิ้น 78
รูปที่ 5-25 ค่า Safety Factor ของงานประกอบทุกชิ้น 78
รูปที่ 5-26 ค่าแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน 78
รูปที่ 5-27 ค่าแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานที่เชื่อมต่อแขนล่าง 79
รูปที่ 5-28 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 5 80
รูปที่ 6-1 งานประกอบที่มีขนาดประกอบกันพอดี 84
รูปที่ 6-2 งานประกอบที่มีขนาดประกอบกันไม่พอดี 84
รูปที่ 6-3 เพลาและตลับลูกปืนที่มีขนาดเข้ากันพอดี 85
รูปที่ 6-4 เพลาและตลับลูกปืนที่มีขนาดเข้ากันไม่พอดี 85
รูปที่ 6-5 งานประกอบชิ้นส่วนของปากกาคีบที่สมบูรณ์ 86
รูปที่ 6-6 งานประกอบชิ้นส่วนของปากกาคีบที่ไม่สมบูรณ์ 86
รูปที่ 6-7 วาวล์และลูกสูบ 86
รูปที่ 6-8 ระยะระหว่างวาวล์และลูกสูบ 87
รูปที่ 6-9 การ Restore Archive 87
รูปที่ 6-10 การกาหนดหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 88
รูปที่ 6-11 การกาหนดคุณสมบัติของวัสดุ 88
รูปที่ 6-12 จุดยึดทั้ง 4 จุด 88
รูปที่ 6-13 แรงที่กระทาที่ก้านสูบ 89
รูปที่ 6-14 ผิวของลูกสูบ 89
รูปที่ 6-15 ผลการวิเคราะห์เมื่อไม่ได้กาหนดระยะห่าง 89
รูปที่ 6-16 การเลือกและตรวจสอบคุณสมบัติ 90
รูปที่ 6-17 คุณสมบัติของงานที่เลือก 90
รูปที่ 6-18 การเพิ่มเครื่องมือสัมผัสที่ถูกต้อง 90
รูปที่ 6-19 การเพิ่มเครื่องมือสัมผัสที่ผิด 90
รูปที่ 6-20 ผลของการวิเคราะห์ระยะระหว่างผิวงาน 91
รูปที่ 6-21 ค่าที่ได้จากการวิเคราะห์ระยะระหว่างผิวงาน 91
รูปที่ 6-22 ระยะระหว่างผิวงาน 91

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 6-23 ระยะระหว่างผิวงานที่ยังไม่ได้กาหนด 91


รูปที่ 6-24 การกาหนดระยะระหว่างผิวงาน 91
รูปที่ 6-25 เลือกคาตอบทีต้องการทราบ 92
รูปที่ 6-26 การเลือก Deformation -> Total 92
รูปที่ 6-27 การเลือก Stress -> Equivalent (von-Mises) 92
รูปที่ 6-28 เลือกเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าความปลอดภัย 92
รูปที่ 6-29 คาตอบก่อนการวิเคราะห์ 93
รูปที่ 6-30 ค่า Total deformation ทั้งหมด 93
รูปที่ 6-31 ค่า Equivalent von-Mises stress ของงานทั้งหมด 93
รูปที่ 6-32 การเพิ่มค่า Total deformation 93
รูปที่ 6-33 การเลือกเฉพาะส่วนของแบบจาลอง 94
รูปที่ 6-34 การเลือก filter body ก่อนเลือกวัตถุ 94
รูปที่ 6-35 ผลของการเสียรูปที่เกิดขึ้นเฉพาะบนวาล์ว 94
รูปที่ 6-36 การตรวจสอบค่าสูงสุด-ต่าสุดที่ Tabular Data 94
รูปที่ 6-37 การตรวจสอบค่าสูงสุด-ต่าสุดที่ detail 95
รูปที่ 6-38 การใช้เครื่องมือวิเคราะห์ผิวสัมผัส 95
รูปที่ 6-39 ผลของการวิเคราะห์ผิวสัมผัส 95
รูปที่ 6-40 งานประกอบที่ประกอบไปด้วย 4 ชิ้นส่วน 96
รูปที่ 6-41 การกาหนดหน่วยก่อนการวิเคราะห์ 96
รูปที่ 6-42 ผิวสัมผัสที่ปรากฎขึ้นมาแบบอัตโนมัติโดยโปรแกรม 96
รูปที่ 6-43 การสร้างกลุ่มของการสัมผัสตัวใหม่ 97
รูปที่ 6-44 การเปลี่ยนจาก contact เป็น joint 97
รูปที่ 6-45 การสร้างจุดเชื่อมต่อแบบอัตโนมัติ 97
รูปที่ 6-46 จุดเชื่อมต่อที่ถูกสร้างขึ้นแบบอัตโนมัติ 97
รูปที่ 6-47 ตัวอย่างของจุดที่เชื่อมต่อกัน 98
รูปที่ 6-48 ตัวอย่างชิ้นงานที่สัมผัสกัน 98
รูปที่ 6-49 การเปลี่ยนชื่อจุดเชื่อมต่อ 98
รูปที่ 6-50 จุด Revolute - Pin To Piston 98
รูปที่ 6-51 จุดที่ทาการลบออกจากการวิเคราะห์ 99

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 6-52 การลบจุดที่นาออก 99


รูปที่ 6-53 จุดที่สองที่ทาการลบออก 99
รูปที่ 6-54 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Fixed Support 100
รูปที่ 6-55 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Fixed Support 100
รูปที่ 6-56 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Cylindrical Support 100
รูปที่ 6-57 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Cylindrical Support 100
รูปที่ 6-58 การเปลี่ยนเงื่อนไขจาก Fixed ไปเป็น Free 101
รูปที่ 6-59 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Frictionless Support 101
รูปที่ 6-60 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Frictionless Support 101
รูปที่ 6-61 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ถูกความดันกระทา 101
รูปที่ 6-62 ผิวที่ทาการกาหนดให้ถูกความดันกระทา 102
รูปที่ 6-63 การกาหนดความดัน 102
รูปที่ 6-64 กดให้โปรแกรมเริ่มทาการวิเคราะห์ 102
รูปที่ 6-65 การแสดงผลการเสียรูป (Total Deformation) 103
รูปที่ 6-66 การแสดงผลความเค้นที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน 103
รูปที่ 6-67 การเลือกเพื่อตรวจสอบแรงที่เกิดขึ้นบนจุดที่มีการเชื่อมต่อ สัมผัสหรือยึด 103
รูปที่ 6-68 การเปลี่ยนชื่อของผลการวิเคราะห์เพื่อให้สอบคล้องกับชื่อของจุดยึด 103
รูปที่ 6-69 ที่ทั้งหมดที่เกิดขื้นบนจุดยึด 104
รูปที่ 6-70 การตรวจสอบแรงที่เกิดขึ้นบนจุดยึดแบบ Tubular Data 104
รูปที่ 6-71 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 105
รูปที่ 7-1 ฟังก์ชั่นพีริออดิก (a periodic function) 109
รูปที่ 7-2 ลูกตุ้มแขวน 109
รูปที่ 7-3 แบบจาลองขนาด 10 mm x 10 mm x 10 111
รูปที่ 7-4 แบบจาลองขนาดอื่นๆ 111
รูปที่ 7-5 ความสูงของแบบจาลองแต่ละชิ้น 111
รูปที่ 7-6 แบบจาลองเมื่อถูกยึดไว้กับสปริง 112
รูปที่ 7-7 เลือกหน่วยในการวิเคราะห์ 112
รูปที่ 7-8 เปิด Restore Archive… 113
รูปที่ 7-9 การตั้งชื่อไฟล์ตามด้วยรหัสนักศึกษา 113

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 7-10 เลือกการวิเคราะห์แบบ Modal 113


รูปที่ 7-11 แบบจาลองก่อนการวิเคราะห์ 114
รูปที่ 7-12 ตรวจสอบคุณสมบัติของสปริง 114
รูปที่ 7-13 ตรวจสอบคุณสมบัติของแบบจาลอง 114
รูปที่ 7-14 support Faces 115
รูปที่ 7-15 ผิวที่กาหนดขอบเขตการเคลื่อนที่ 115
รูปที่ 7-16 การเลือกจานวนของ vibration mode 115
รูปที่ 7-17 ผลการวิเคราะห์การสั่นสะเทือน 116
รูปที่ 7-18 การเลือกความถี่ทั้งหมดที่ต้องการแสดง 116
รูปที่ 7-19 การสร้างผลของความถี่ที่เกิดกับแบบจาลอง 116
รูปที่ 7-20 การเสียรูปในแต่ละความถี่ของแบบจาลอง 117
รูปที่ 7-21 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ 117
รูปที่ 7-22 กราฟผลการวิเคราะห์ 117
รูปที่ 7-23 กราฟผลการวิเคราะห์เมื่อทาการเพิ่มสัดส่วนของการหน่วง 118
รูปที่ 7-24 เปิดการวิเคราะห์ 118
รูปที่ 7-25 เลือกการวิเคราะห์ 2 ส่วน 119
รูปที่ 7-26 เลือกวัสดุที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์ 119
รูปที่ 7-27 หน้าต่างวัสดุ 119
รูปที่ 7-28 การเลือกประเภทของวัสดุในการวิเคราะห์ 119
รูปที่ 7-29 เลือกหน่วย 120
รูปที่ 7-30 แบบจาลองปีกเครื่องบิน 120
รูปที่ 7-31 กาหนดจุดยึด 120
รูปที่ 7-32 กาหนดจุดที่มีแรงดัน 121
รูปที่ 7-33 กาหนดขนาดของแรงดัน 121
รูปที่ 7-34 การเลือกการแสดงผล 121
รูปที่ 7-35 ผลการวิเคราะห์ Equivalent Stress 121
รูปที่ 7-36 การเลือกจานวนโหมดของแบบจาลอง 122
รูปที่ 7-37 เลือกให้มีการวิเคราะห์ Stress และ Strain 122
รูปที่ 7-38 เลือกความถี่ทั้งหมดที่ต้องการแสดงการสั่นสะเทือนของปีกเครื่องบิน 122

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 7-39 สร้างผลการวิเคราะห์ความถี่ของปีกเครื่องบิน 123


รูปที่ 7-40 หลักจากทาการคานวณหาค่าการสั่นในแต่ละรูปแบบของปีกเครื่องบิน 123
รูปที่ 7-41 การเสียรูปของปีกเครื่องบินในความถี่ 1772 Hz 123
รูปที่ 7-42 การเกิดความเค้นของปีกเครื่องบินในความถี่ขนาด 1772 Hz 123
รูปที่ 7-43 การเลือกแบบจาลองที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ 124
รูปที่ 7-44 แบบจาลองที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ 124
รูปที่ 7-45 ตรวจสอบผิวสัมผัสทั้งหมด 124
รูปที่ 7-46 ตรวจสอบผิวสัมผัสบางส่วน 125
รูปที่ 7-47 เลือก filter เฉพาะ edge 125
รูปที่ 7-48 เลือกเส้นขอบที่ต้องการ 125
รูปที่ 7-49 การตั้งชื่อกลุ่มของเส้นขอบ 125
รูปที่ 7-50 เลือกผิวที่ต้องการ 126
รูปที่ 7-51 เลือกการตั้งชื่อกลุ่ม 126
รูปที่ 7-52 การตั้งชื่อกลุ่มของผิวที่ต้องการ 126
รูปที่ 7-53 การเลือกรู และตั้งชื่อกลุ่มของรูที่ต้องการ 126
รูปที่ 7-54 ผลของการตั้งชื่อกลุ่ม 127
รูปที่ 7-55 กาหนดขอบเขตของการเคลื่อนที่ 127
รูปที่ 7-56 เลือกประเภทของการเลือกขอบเขต 127
รูปที่ 7-57 กาหนดขอบเขต 127
รูปที่ 7-58 กาหนดจานวนโหมดของการวิเคราะห์ 128
รูปที่ 7-59 เลือกความถี่ที่ต้องการแสดงผล 128
รูปที่ 7-60 สร้างการแสดงผลของความถี่ 128
รูปที่ 7-61 หน้าต่างก่อนการวิเคราะห์ผล 129
รูปที่ 7-62 ผลการวิเคราะห์ 129
รูปที่ 7-63 คัดลอกการวิเคราะห์ 129
รูปที่ 7-64 เปลี่ยนชื่อของการวิเคราะห์ 129
รูปที่ 7-65 กาหนดพื้นที่ของการยึดเป็นแบบ 4 รู 130
รูปที่ 7-66 เปรียบเทียบการสั่นสะเทือนของทั้งสองเงื่อนไข 130
รูปที่ 7-67 เปรียบเทียบการสั่นสะเทือนทั้งหมด 130

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 7-68 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7 131


รูปที่ 8-1 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนบนเครื่องบิน 135
รูปที่ 8-2 พื้นฐานการถ่ายเทความร้อน 135
รูปที่ 8-3 การเย็นตัวของไข่ต้มโดยการพาความร้อนแบบบังคับ และการถ่ายโอนความร้อนแบบอิสระ
137
รูปที่ 8-4 แบบจาลองผนัง 139
รูปที่ 8-5 ประเภทของการวิเคราะห์ปัญหาทางความร้อน 139
รูปที่ 8-6 การเลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์ 140
รูปที่ 8-7 การเลือกวัสดุและการกาหนดคุณสมบัติวัสดุ 140
รูปที่ 8-8 ขนาดของผนัง 140
รูปที่ 8-9 ความหนาของผนัง 140
รูปที่ 8-10 พื้นที่ที่กาหนดอุณหภูมิ 141
รูปที่ 8-11 อุณหภูมิของผนัง 141
รูปที่ 8-12 การเลือกฟลัคความร้อน 141
รูปที่ 8-13 การกาหนดค่าฟลัคความร้อน 141
รูปที่ 8-14 เริ่มดาเนินการวิเคราะห์ 141
รูปที่ 8-15 ผลการวิเคราะห์การกระจายของอุณหภูมิผ่านฝาผนัง 142
รูปที่ 8-16 ค่าสูงสุดต่าสุดของอุณหภูมิที่เกิดขึ้นบนแบบจาลอง 142
รูปที่ 8-17 แบบจาลองที่ใช้ในการวิเคราะห์แบบผนังสองชั้น 142
รูปที่ 8-18 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 143
รูปที่ 8-19 กาหนดวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 143
รูปที่ 8-20 ผลการวิเคราะห์ 143
รูปที่ 8-21 อุปกรณ์ระบายความร้อน 144
รูปที่ 8-22 ท่อระบายความร้อนแบบมีครีบ 144
รูปที่ 8-23 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์ 145
รูปที่ 8-24 ท่อตรง 145
รูปที่ 8-25 การกาหนดขนาดของเอลิเมนต์ 145
รูปที่ 8-26 การเลือกกาหนดขอบเขตที่มีการพาความร้อน 146
รูปที่ 8-27 กาหนดขอบเขตที่ทราบอุณหภูมิ 146

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 8-28 ผลการกาหนดขอบเขตในการวิเคราะห์ 146


รูปที่ 8-29 ท่อแบบมีครีบ 147
รูปที่ 8-30 ขอบเขตของท่อแบบมีครีบ 147
รูปที่ 8-31 ผลการวิเคราะห์ 147
รูปที่ 8-32 การเลือกคานวณพลังงานที่สูญเสีย 148
รูปที่ 8-33 ผลการวิเคราะห์ท่อแบบมีครีบ 148
รูปที่ 8-34 การเลือกคานวณพลังงานที่สูญเสียของท่อแบบมีครีบ 148
รูปที่ 8-35 เตาความร้อนภายในบ้าน 149
รูปที่ 8-36 แบบจาลองเตาความร้อนภายในบ้าน 149
รูปที่ 8-37 ขนาดของแบบจาลองเตาความร้อนภายในบ้าน 149
รูปที่ 8-38 พื้นผิวที่กาหนดให้วิเคราะห์แบบสมมาตร 150
รูปที่ 8-39 ตัวอย่างของเอลิเมนต์ 150
รูปที่ 8-40 ขอบเขตเงื่อนไขในการวิเคราะห์ 150
รูปที่ 8-41 พลังงานความร้อนในเตา 151
รูปที่ 8-42 การแผ่รังสีจากเตา 151
รูปที่ 8-43 การพาความร้อนในผนัง 151
รูปที่ 8-44 การแพร่รังสีจากผนัง 151
รูปที่ 8-45 การเลือกผลการวิเคราะห์การแผ่รังสีของเตาสู่ผนัง 152
รูปที่ 8-46 ผลการวิเคราะห์การแผ่รังสีของเตาสู่ผนัง 152
รูปที่ 8-47 ผลการวิเคราะห์อุณหภูมิที่เกิดบนกาแพง 152
รูปที่ 8-48 พลังงานทั้งหมดที่แผ่รังสีจากเตา 152
รูปที่ 8-49 พลังงานที่สูญเสียออกจากผนัง 153
รูปที่ 8-50 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 154
รูปที่ 9-1 Slider Crank Mechanisms 158
รูปที่ 9-2 Diagrams of an eccentric-and-rod mechanism 158
รูปที่ 9-3 แบบจาลองที่ใช้ในการวิเคราะห์ 159
รูปที่ 9-4 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ที่เกิดบน connecting rod 159
รูปที่ 9-5 ส่วนประกอบของแบบจาลองทั้งหมด 160
รูปที่ 9-6 ส่วนประกอบชิ้นงาน 160

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

รูปที่ 9-7 จุดอ้างอิง 160


รูปที่ 9-8 การกาหนดจุดเชื่อมต่อ 161
รูปที่ 9-9 จุดเชื่อมระหว่าง wheel และ connecting rod1 161
รูปที่ 9-10 จุดเชื่อมระหว่าง wheel และ ground 161
รูปที่ 9-11 จุดเชื่อมระหว่าง connecting rod1 และ connecting rod2 162
รูปที่ 9-12 จุดเชื่อมระหว่าง connecting rod2 และ slot 162
รูปที่ 9-13 จุดเชื่อมระหว่าง slot และ ground 162
รูปที่ 9-14 กาหนดโมเมนต์ให้กับ wheel 162
รูปที่ 9-15 ทดสอบการหมุนโดยเลือกที่ Configure 163
รูปที่ 9-16 ทดสอบการเคลื่อนที่ของระบบกลไก 163
รูปที่ 9-17 กาหนดแรงโน้มถ่วงของโลก 163
รูปที่ 9-18 กาหนดความเร็วรอบ 163
รูปที่ 9-19 ผลการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่ไม่มีแรงต้าน 164
รูปที่ 9-20 สร้างจุดอ้างอิงเพิ่มเติม 164
รูปที่ 9-21 กาหนดพิกัดจุดอ้างอิง 164
รูปที่ 9-22 กาหนดทิศทางของแกนอ้างอิง 165
รูปที่ 9-23 กาหนดสปริง 165
รูปที่ 9-24 ภาพของจุดเชื่อมแบบสปริง 165
รูปที่ 9-25 ปสริงที่เกิดขึ้นในโปรแกรม 165
รูปที่ 9-26 ผลการวิเคราะห์ 166
รูปที่ 9-27 ผลการวิเคราะห์แรงของสปริงในแนวแกน X 166
รูปที่ 9-28 เลือก connecting rod1 167
รูปที่ 9-29 กาหนดให้เป็น Flexible 167
รูปที่ 9-30 ทาการวิเคราะห์อีกครั้งเพื่อดูผลลัพธ์ 167
รูปที่ 9-31 ผลลัพธ์ที่แสดงเป็นกราฟ 168
รูปที่ 9-32 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 169

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

สำรบัญตำรำง

หน้าที่
ตารางที่ 1-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 1 16
ตารางที่ 2-1 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงาน 29
ตารางที่ 2-2 แรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น 30
ตารางที่ 2-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 2 36
ตารางที่ 3-1 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นเหล็ก 48
ตารางที่ 3-2 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นอลูมิเนียม 49
ตารางที่ 3-3 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นไทเทเนียม 49
ตารางที่ 3-4 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 3 50
ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะห์โครงถัก 65
ตารางที่ 4-2 แรงปฏิกิริยาที่กระบนจุดยึดติด 65
ตารางที่ 4-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 4 66
ตารางที่ 5-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 5 80
ตารางที่ 6-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 6 105
ตารางที่ 7-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 7 131
ตารางที่ 8-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 8 154
ตารางที่ 9-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 9 169

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ ประเด็นยุทธศำสตร์ของมหำวิทยำลัย


1) วิสัยทัศน์ (Vision)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คุณภาพชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อพัฒนาชุมชน
และสังคม
2) พันธกิจ (Mission)
1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพตาม
มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ
2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การ
ผลิตการบริการ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ
3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม
4. ทานุบารุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม
5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทางานขององค์กร
3) เป้าประสงค์ (Goals)
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการ ที่มีความเข้มแข็งด้านวิชาการ เป็นที่พึ่งของประชาชนในทุกพื้นที่ ให้สามารถเรียนรู้ได้
ตลอดชีวิต
2. ผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพ ที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มีคุณธรรม และปฏิบัติงานได้
อย่างมืออาชีพ
3. ประชาชนมีศักยภาพในการสร้างงานด้านวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยี ที่สามารถแข่งขันได้
4) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
1. ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความเข้มแข็ง
2. สร้างคนดี คนเก่ง ที่มีทักษะในการทางานทาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human capital) ของ
ประเทศ
3. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการที่ได้ มาตรฐาน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

ปรัชญำ ควำมสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญา
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นผู้นาด้านการปฏิบัติ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานวิศวกรรม
เครื่องจักรกลเกษตร ตลอดจนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม จริยธรรม

2) วัตถุประสงค์
1) เพื่อผลิ ตวิศวกรปฏิ บั ติ การระดั บปริ ญญาตรีที่ มี คุณ สมบัติ เหมาะสม สามารถปฏิบั ติ ง าน
วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรในสภาพปัจจุบัน
2) เพื่อผลิตวิศวกรด้านเครื่องจักรกลเกษตร ที่มีความสามารถปฏิบั ติงานเฉพาะด้าน สามารถใช้
หลักวิชาเพื่อแก้ปัญหาในด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ขั้น
พื้ น ฐานทางด้ า นวิศ วกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ สั ง คมศาสตร์ แ ละอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ น ามา
ประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรได้เป็นอย่างดี สามารถปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมใน
ลั ก ษณะที่ เ พิ่ ม พู น ประสิ ท ธิ ภ าพ เพิ่ ม ผลผลิ ต ทางการเกษตร การรั ก ษาสภาวะแวดล้ อ มและ
ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
3) เพื่อฝึกฝนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้า
อยู่เสมอ สามารถวางแผนเพื่อกาหนดการปฏิบัติงานและควบคุมที่ถูกหลักวิชาการ ซึ่งจะก่อให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลาและมีคุณภาพ
4) เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียรความสานึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

ลักษณะรำยวิชำ
1. รหัสและชื่อวิชา 04-083-403 วิธีไฟไนท์อีลิเมนต์เบื้องต้นสาหรับวิศวกรรมเกษตร
(Introduction to Finite Element Method for Agricultural
Engineering)
2. สภาพรายวิชา วิชาชีพเลือก
3. ระดับรายวิชา ชั้นปีที่ 4
4. วิชาบังคับก่อน ไม่มี
5. เวลาเรียน ทฤษฎี 15 คาบ ปฏิบัติ 45 คาบต่อสัปดาห์และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษา
ค้นคว้านอกเวลา 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
6. จานวนหน่วยกิต 2 (1-3-3) หน่วยกิต
7. จุดประสงค์รายวิชา 1. รู้และเข้าใจการใช้วิธีการแปรผัน และวิธีส่ วนคงเหลือถ่วงน้าหนัก การ
สร้างสมการไฟไนท์อีลิเมนต์ เทคนิคการสร้างเมทริกซ์ ลักษณะเฉพาะของไฟ
ไนต์อีลิเมนต์ และการประกอบเมทริกซ์เข้าด้วยกัน
2. วิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น พร้อมทั้งสามารถวิเคราะห์เมื่อเปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติวัสดุได้
3. วิเคราะห์โครงถัก วิเคราะห์งานประกอบ พร้อมทั้งแก้ไขงานประกอบ
ก่อนการวิเคราะห์ได้
4. วิเคราะห์การสั่นสะเทือน วิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน และวิเคราะห์
การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลได้
8. คาอธิบายรายวิชา การใช้วิธีการแปรผัน และวิธีส่วนคงเหลือถ่วงน้าหนัก การสร้างสมการไฟ
ไนท์อีลิเมนต์ เทคนิคการสร้างเมทริกซ์ ลักษณะเฉพาะของไฟไนต์อีลิเมนต์
และการประกอบเมทริกซ์เข้าด้วยกัน การประยุกต์ปัญหา ในการวิเคราะห์
ความเค้น ความร้อน และการไหลของของไหล ในระบบระนาบ 1 มิติ และ 2
มิติ การใช้คอมพิวเตอร์กับวิธีไฟไนท์อีลิเมนต์เพื่องานวิศวกรรมเกษตร

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

กำรแบ่งหน่วยเรียน

ชั่วโมงเรียน
รำยกำร
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หน่วยที่ 1 การจาลองสถานการณ์ทางด้านวิศวกรรม
1.1. แนวคิดเบื้องต้น
1 3
1.2. ไฟไนต์เอลิเมนต์
1.3. การวิเคราะห์คาน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น
2.1. งานทางกล
1 3
2.2. การวิเคราะห์งานทางกล
2.3. การวิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ
3.1. วัสดุ 1 3
3.2. การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์โครงถัก
4.1. โครงถัก 1 3
4.2. การวิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ
หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบ
5.1. งานประกอบ 1 3
5.2. การวิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
หน่วยที่ 6 การแก้ไขงานประกอบก่อนการวิเคราะห์
6.1. แบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
2 6
6.2. การวิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
6.3. การวิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน 3 9

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

ชั่วโมงเรียน
รำยกำร
ทฤษฎี ปฏิบัติ
7.1. การวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.2. การวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง
7.3. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
7.4. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
8.1. การถ่ายเทความร้อน
8.2. การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง 2 6
8.3. การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความร้อน
8.4. การวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
หน่วยที่ 9 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล
การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank
9.1. Mechanisms
การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank 3 9
9.2. Mechanisms ที่มีแรงต้าน
การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่ของ
9.3. Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้าน
รวมทฤษฎี 15 ชม.
รวมปฏิบัติ 45 ชม.
ทดสอบ 6 ชม.
รวม 66 ชม.

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

จุดประสงค์กำรสอน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
หน่วยที่ 1 การจาลองสถานการณ์ทางด้านวิศวกรรม 1 3
1.1. รู้แนวคิดเบื้องต้นของการจาลองสถานการณ์
1.1.1. บอกความหมายพื้นฐานของการจาลอง
สถานการณ์ได้
1.1.2. บอกความหมายแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ได้
1.2. รู้แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับไฟไนต์เอลิเมนต์
1.2.1. บอกความหมายแนวคิดเบื้องต้นได้
1.2.2. บอกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทั่วไปได้
1.2.3. บรรยายตัวอย่างพื้นฐานโปรแกรมวิเคราะห์ทางไฟ
ไนต์เอลิเมนต์ได้
1.3. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์คาน
1.3.1. บอกแนวคิดเบื้องต้นได้
1.3.2. บอกขั้นตอนในการวิเคราะห์ได้
1.3.3. บรรยายผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น 1 3
2.1. รู้พื้นฐานงานทางกล
2.1.1. บอกความหมายของสถิตศาสตร์ได้
2.1.2. บอกความหมายของกลศาสตร์วัสดุได้
2.2. เข้าใจพื้นฐานการวิเคราะห์งานทางกล
2.2.1. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นได้
2.2.2. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
2.2.3. อธิบายผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
2.3. วิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
2.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
2.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
2.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ 1 3
3.1. รู้พื้นฐานวัสดุ
3.1.1. บอกความหมายของวัสดุ
3.1.2. บอกความรู้พื้นฐานวัสดุวิศวกรรม
3.1.3. บอกประเภทของวัสดุ
3.2. เข้าใจพื้นฐานการวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่
แตกต่างกัน
3.2.1. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นได้
3.2.2. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
3.2.3. อธิบายผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์โครงถัก 1 3
4.1. รู้พื้นฐานโครงถัก
4.1.1. บอกความหมายโครงถักอย่างง่ายได้
4.1.2. บอกระเบียบวิธีการในการวิเคราะห์จุดเชื่อมต่อได้
4.1.3. บอกความหมายชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ได้
4.2. วิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ
4.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
4.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
4.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบ 1 3

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
5.1. รู้พื้นฐานงานประกอบ
5.1.1. บอกความหมายของผิวสัมผัสได้
5.1.2. บอกการกาหนดชื่อและประเภทของการเชื่อมต่อ
ได้
5.2. วิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
5.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
5.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
5.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 6 การแก้ไขงานประกอบก่อนการวิเคราะห์ 2 6
6.1. รู้พื้นฐานแบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
6.1.1. บอกความหมายของขนาดชิ้นงานประกอบกันไม่
พอดี
6.1.2. บอกความหมายของขนาดของเพลาไม่สามารถ
สวมตลับลูกปืนได้
6.1.3. บอกความหมายของขนาดของชิ้นงานยาวเกิน
ชิ้นงานที่จะประกอบกัน
6.1.4. บอกความหมายของการควบคุมระยะระหว่าง
ผิวสัมผัส
6.2. วิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
6.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
6.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
6.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
6.3. วิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
6.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
6.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
6.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน 3 9
7.1. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.1.1. บอกความสาคัญของการวิเคราะห์พลศาสตร์
7.1.2. บอกความหมายของการสั่นสะเทือน
7.1.3. บอกประเภทของการสั่น
7.2. วิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง
7.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
7.3. วิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
7.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
7.4. วิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
7.4.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.4.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.4.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน 2 6
8.1. รู้พื้นฐานการถ่ายเทความร้อน
8.1.1. บอกความหมายการนาความร้อน
8.1.2. บอกความหมายการพาความร้อน
8.1.3. บอกความหมายการแผ่รังสี

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
8.2. วิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง
8.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
8.3. วิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความ
ร้อน
8.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
8.4. วิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
8.4.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.4.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.4.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หน่วยที่ 9 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล 3 9
9.1. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider
Crank Mechanisms
9.1.1. บอกแนวคิดเบื้องต้นได้
9.1.2. บอกขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.1.3. บรรยายผลการวิเคราะห์
9.2. วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank
Mechanisms ที่มีแรงต้าน
9.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
9.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

เวลำเรียน
หน่วยที่ รำยกำร ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
9.3. การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการ
เคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มี
แรงต้าน
9.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
9.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

กำหนดกำรสอน

ชั่วโมงเรียน
สัปดำห์ที่ รำยกำร
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หน่วยที่ 1 การจาลองสถานการณ์ทางด้านวิศวกรรม
1.1. แนวคิดเบื้องต้น
1 1 3
1.2. ไฟไนต์เอลิเมนต์
1.3. การวิเคราะห์คาน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น
2.1. งานทางกล
2 1 3
2.2. การวิเคราะห์งานทางกล
2.3. การวิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ
3 3.1. วัสดุ 1 3
3.2. การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์โครงถัก
4 4.1. โครงถัก 1 3
4.2. การวิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ
หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบ
5 5.1. งานประกอบ 1 3
5.2. การวิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
หน่วยที่ 6 การแก้ไขงานประกอบก่อนการวิเคราะห์
6 6.1. แบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
2 6
6.2. การวิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
7 6.3. การวิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
8 สอบกลางภาค

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

ชั่วโมงเรียน
สัปดำห์ที่ รำยกำร
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน
9 7.1. การวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.2. การวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง 3 9
10 7.3. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
11 7.4. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
12 8.1. การถ่ายเทความร้อน
8.2. การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง 2 6
การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบาย
13 8.3. ความร้อน
8.4. การวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
หน่วยที่ 9 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล
14 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank
9.1. Mechanisms

15 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank 3 9


9.2. Mechanisms ที่มีแรงต้าน
การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการ
16 เคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรง
9.3. ต้าน
17 สอบปลายภาค

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

กำรประเมินผลรำยวิชำ
1. เกณฑ์การพิจารณา
รายวิชานี้แบ่งเป็น 10 หน่วยเรียน การวัดและประเมินผลรายวิชาดาเนินการแยกเป็น 3 ส่วน
โดยแบ่งแยกคะแนนแต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้
1.1 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 40 คะแนน หรือร้อยละ 40 โดยจัดแบ่งน้าหนักคะแนนใน
แต่ละหน่วยตามตารางกาหนดน้าหนักคะแนน
1.2 ผลงานที่มอบหมาย 20 คะแนน หรือร้อยละ 20
1.3 การทดสอบกลางภาค และทดสอบปลายภาค 40 คะแนน หรือร้อยละ 40
2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา
ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง
2.1 มีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
2.2 คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม
3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน
การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
3.1 พิจารณาตามเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2 ผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน
จ หรือ F
3.2 ผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้ ก หรือ A
คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+
คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B
คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค+ หรือ C+
คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C
คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+
คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D
คะแนนร้อยละ 49 ลงไป ได้ จ หรือ F

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

ตำรำงกำหนดนำหนักคะแนน

น้าหนักคะแนน

คะแนนรายหน่วย
พุทธพิสัย
เลขที่หน่วย

ชื่อหน่วย

ทักษะพิสัย
การนาไปใช้
ความเข้าใจ
ความรู้

สูงกว่า
การจาลองสถานการณ์ทางด้าน
1
วิศวกรรม 4 4
2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น 4 1 1 1 1
3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ 4 2 2
4 การวิเคราะห์โครงถัก 4 1 1 1 1
5 การวิเคราะห์งานประกอบ 4 1 1 1 1
การแก้ไขงานประกอบก่อนการ
6
วิเคราะห์ 5 1 1 1 2
7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน 5 1 1 1 2
8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน 5 1 1 1 2
การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ
9
เครื่องจักรกล 5 1 1 1 2
คะแนนการทดสอบแต่ละหน่วย

เรียน 40 13 9 7 11
ข คะแนนผลงานที่มอบหมาย 20
คะแนนทดสอบกลางภาค และ

ทดสอบปลายภาค 40
รวมทั้งสิ้น 100

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
1

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 8 ชั่วโมง
1-2
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 1 การจาลองสถานการณ์ทางด้านวิศวกรรม
1.1. แนวคิดเบื้องต้น
1.2. ไฟไนต์เอลิเมนต์
1.3. การวิเคราะห์คาน
จุดประสงค์การสอน
1.1. รู้แนวคิดเบื้องต้นของการจาลองสถานการณ์
1.1.1. บอกความหมายพื้นฐานของการจาลองสถานการณ์ได้
1.1.2. บอกความหมายแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ได้
1.2. รู้แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับไฟไนต์เอลิเมนต์
1.2.1. บอกความหมายแนวคิดเบื้องต้นได้
1.2.2. บอกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทั่วไปได้
1.2.3. บรรยายตัวอย่างพื้นฐานโปรแกรมวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ได้
1.3. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์คาน
1.3.1. บอกแนวคิดเบื้องต้นได้
1.3.2. บอกขั้นตอนในการวิเคราะห์ได้
1.3.3. บรรยายผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
2

หน่วยที่ 1 กำรจำลองสถำนกำรณ์ทำงด้ำนวิศวกรรม
การจ าลองสถานการณ์ (simulation) ทางด้ า นวิ ศ วกรรมด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยทางด้ า น
วิศวกรรม (computer aided engineering: CAE) ถือเป็นหั ว ข้อที่มีแนวโน้มที่มีผู้ ส นใจมากยิ่ ง ขึ้ น
เนื่องจากสามารถช่วยให้ วิศวกรหรือผู้ ออกแบบ สามารถออกแบบได้โดยลดต้นทุนที่เป็นเงิน และ
ทางด้านเวลา CAE มีการใช้ระเบียบวิธีการหลากหลาย เช่น ระเบียบวิธีการทางไฟไนต์เอลิ เ มนต์
(finite element method: FEM) พลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณ (computational fluid dynamic:
CFD) ระเบี ย บวิ ธี ก ารผลต่ า งสื บ เนื่ อ ง (finite difference method: FDM) ฯลฯ ในการจ าลอง
สถานะการณ์ถูกนามาใช้ในงานทางด้านวิศวกรรมอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นงานทางด้านการ
ขนส่ง การจัดการโรงงาน การบิน การออกแบบโครงสร้างอาคาร การออกแบบเครื่องจักรกล ฯลฯ ซึ่ง
ในรายวิชานี้จะเป็นการประยุกต์นาเอาระเบียบวิธีการทางไฟไนต์เอลิเมนต์มาใช้ในการออกแบบทาง
วิศวกรรมเป็นหลัก โดยผ่านทางคอมพิวเตอร์กราฟฟิคซึ่งตัวอย่างสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-1

รูปที่ 1-1 แบบจาลองทางไฟไนต์เอลิเมนต์ที่แสดงผลลัพธ์


1.1. แนวคิดเบื้องต้น
1.1.1. พื้นฐานของการจาลองสถานการณ์
ส่งที่สาคัญที่สุดของการพิจารณาปัญหาทางวิทยาศาสตร์หรือทางด้านวิศวกรรมคือ
การสร้ า งแบบจ าลองทางคณิ ต ศาสตร์ (mathematical models) ไม่ ว่ า จะเป็ น ปรากฏการทาง
ธรรมชาติ พลศาสตร์ของไหล การเกิดปฏิกริยาเคมี การอธิบายพฤติกรรมทางกลของเครื่องจักรกล
ต่างๆ ล้วนแต่ถูกนาเสนอผ่านสมการทางคณิตศาสตร์ และบางปัญหาจะต้องใช้สมการคณิตศาสตร์ขั้น
สูงคือสมการอนุพันธ์ที่ต้องใช้เทคนิคต่างๆ ในการแก้สมการเพื่อหาผลเฉลย เช่น การหาค่าความเค้น
ในวัตถุ การหาความเร็วของอากาศที่ไหวผ่านวัตถุ การหาอุณหภูมิของของไหลเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลง
ไป พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์โดยสมการทางคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
3

เมื่อพฤติกรรมของธรรมชาติที่ผ่านสมมติฐานให้เป็นสมการรทางคณิตศาสตร์แล้ว
กระบวนการต่ อ มาจะเป็ น การประมาณค่า โดยระเบี ยนวิธี ก ารเชิ งตัว เลข (numerical method)
จากนั้นจึงถูกนาเสนอผ่านคอมพิวเตอร์กราฟฟิคเพื่อให้ผู้ออกแบบได้เห็นภาพอีกที
1.1.2. แบบจาลองทางคณิตศาสตร์
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์สามารถสร้างได้โดยสมมติฐานเบื้องต้นรวมกับทฤษฎี
ทางฟิสิกส์หรือกฎของฟิสิกส์เพื่อใช้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่นสมการการเคลื่อนที่
ของลูกตุ้มนาฬิกาดังรูปที่ 1-2 จะได้ฟังก์ชั่นผลเฉลยดังสมการที่ (1-1) (Reddy, 20006) เมื่อ   t 
คือมุมของลูกตุ้มนาฬิกาที่กระทาในแนวดิ่ง

รูปที่ 1-2 simple pendulum


(“Simple Pendulums,” 2017)
0
 t   sin t  0 cos t (1-1)

1.2. ไฟไนต์เอลิเมนต์
1.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับไฟไนต์เอลิเมนต์ คือการหาคาตอบของปัญหาทางวิศวกรรม
ที่มีความซับซ้อนโดยใช้การหาคาตอบโดยการประมาณค่าแทนการหาคาตอบด้วยผลเฉลยแม่นตรง
(exact solution) เนื่องจากเทคนิคทางคณิตศาสตร์ไม่สามารถหาผลเฉลยแม่นตรงได้จึงเป็นที่มาของ
ระเบียบวิธีการทางไฟไนต์เอลิ เมนต์ ในกระบวนทางไฟไนต์เอลิเมนต์จะเริ่มจากการแบ่งส่ว นของ
ปัญหาออกเป็นส่วนย่อยเล็กๆ ตัวอย่างการแบ่งส่วนของปัญหาออกเป็นส่วนย่อยสามารถแสดงได้ดัง
รูปที่ 1-3

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
4

รูปที่ 1-3 ตัวอย่างการแบ่งส่วนย่อยของปัญหาในการวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์


(Rao, 2011)
1.2.2. การประยุกต์ใช้ทั่วไป
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว ระเบี ย บวิ ธี ก ารทางไฟไนต์ เ อลิ เ มนต์ จ ะถู ก น าไป
ประยุกต์ใช้กับปัญหาโครงสร้างทางกล (structural mechanics) แต่ในความเป็ นจริงแล้วสามารถ
ใช้ได้กับทุกๆ ปัญหาทางด้านวิศวกรรม (Rao, 2011; Reddy, 20006) ไม่ว่าจะเป็นการนาความร้อน
พลศาสตร์ของไหล ปัญหาทางไฟฟ้า หรือปัญหาทางแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ตัวอย่างสามารถแสดงได้
ดังรูปที่ 1-4 และรูปที่ 1-5

รูปที่ 1-4 การนาความร้อนในครีบระบายความร้อน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
5

รูปที่ 1-5 การเสียรูปของครีบระบายความร้อน

1.2.3. พื้นฐานโปรแกรมวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์
การวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์มีพื้นฐานที่สาคัญ 3 ส่วนได้แก่ ส่วนของการเตรียม
กระบวนการ (preprocessing phase) การหาคาตอบ (solution phase) และการแสดงผล (post-
processing phase) ซึ่งมีขั้นตอนย่อยดังนี้ (Moaveni, 2008)
1) สร้ างโดเมนของคาตอบที่นามาใช้ในแบบจาลอง นั่นก็คือการสร้างเอลิ
เมนต์และโหนดที่ใช้ในการวิเคราะห์ ดังรูปที่ 1-6 เป็นแบบการสร้างเอลิเมนต์
เพื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์แบบจาลอง

รูปที่ 1-6 เอลิเมนต์แบบ 2 มิติของแผ่นสี่เหลี่ยมเจาะรู


2) สมมติฐานฟังชั่นก์รูปร่างเพื่อใช้ในการทานายพฤติกรรมของเอลิเมนต์
3) สร้างสมการที่เกี่ยวข้องกับเอลิเมนต์
4) สมมติฐ านพื้นฐานของปัญหา แล้ ว นามาสร้างเป็นเมตทริก ซ์ใ นการหา
คาตอบ
5) กาหนดค่าขอบเขตเงื่อนไขต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
6

6) แก้เซตของสมการที่ใช้ในการวิเคราะห์
7) นาเอาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์
1.3. การวิเคราะห์คาน
1.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
ในตัวอย่างนี้เป็นการวิเคราะห์พฤติกรรมของคานภายใต้ภาระที่มากระทาเพื่อใช้ใน
การทานาย และออกแบบคานให้สามารถทางานภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดได้อย่างปลอดภัย โดยคานที่
นามาใช้ในการวิเคราะห์สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-7

รูปที่ 1-7 คานเหล็กที่ถูกนามาใช้ในการวิเคราะห์


1.3.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
โปรแกรมที่ น ามาใช้ ในการเรีย นวิช านี้เ ป็ นโปรแกรม ANSYS โดยใช้ เ ครื่อ งมื อที่
เรียกว่า ANSYS Workbench ในการวิเคราะห์ สัญลักษณ์สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-8

รูปที่ 1-8 เครื่องมือ Workbench ในโปรแกรม ANSYS

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
7

รูปที่ 1-9 ส่วนประกอบของโปรแกรม

รูปที่ 1-10 หน้าต่างของโปรแกรม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
8

รูปที่ 1-11 การเลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 1-12 การบันทึกงาน

รูปที่ 1-13 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
9

รูปที่ 1-14 ชื่อวัสดุที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 1-15 คุณสมบัติของวัสดุที่ถูกนามาใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
10

รูปที่ 1-16 การนาเข้าแบบจาลองที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 1-17 แบบจาลองเหล็กเส้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
11

รูปที่ 1-18 การสร้างเอลิเมนต์

รูปที่ 1-19 แบบจาลองที่ผ่านการสร้างเอลิเมนต์แล้ว

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
12

รูปที่ 1-20 การเลือกจุดยึด

รูปที่ 1-21 การเลือกภาระที่เกิดขึ้นบนแบบจาลอง

รูปที่ 1-22 การกรอกค่าแบบจาลอง

รูปที่ 1-23 การเลือกผลที่ต้องการทราบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
13

รูปที่ 1-24 การเลือกค่า Total Deformation

รูปที่ 1-25 การเลือกค่า Equivalent (von-Mises) Strain

รูปที่ 1-26 การเลือกค่า Equivalent (von-Mises) Stress

รูปที่ 1-27 การเลือกค่า Safety Factor

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
14

รูปที่ 1-28 ตัวแปรที่ต้องการทราบค่ารอการวิเคราะห์


1.3.3. ผลการวิเคราะห์
การวิเคราะห์คานตามขั้นตอนที่ผ่านมาสามารถนาเสนอผ่านผลการวิเคราะห์
เบื้องต้นคือค่าการเสียรูป (Total Deformation) ค่า Equivalent Elastic Strain ค่า Equivalent
Stress และค่าค่า Safty Factor

รูปที่ 1-29 ค่าการเสียรูป (Total Deformation) ของคานเหล็ก

รูปที่ 1-30 ค่า Equivalent Elastic Strain ของคานเหล็ก

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
15

รูปที่ 1-31 ค่า Equivalent Stress ของคานเหล็ก

รูปที่ 1-32 ค่า Safty Factor ของคานเหล็ก

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
16

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 1
จงวิเคราะห์งานเมื่อมีแรง (Force) มากระทาที่ปลาย และปลายอีกด้านหนึ่งยึดติดกับผนัง โดย
นักศึกษาในแต่ละคนจะได้เงื่อนไขดังตาราง เพื่อคานวณหาค่าการเสียรูป Total Deformation (min
max) ความเครียด Equivalence von-Mises Strain ( min max ) ความเค้น Equivalence von-
Mises Stress (min max ) และค่าความปลอดภัยที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้นบนงาน ทารายงานสรุป 1 หน้า
สไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

Force

รูปที่ 1-33 คานที่ใช้วิเคราะห์ในบทที่ 1

ตารางที่ 1-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 1


No. ID Name Force (N)
1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 1,042
2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 2,291
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 1,400
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 1,317

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
17

ตารางที่ 1-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 1


No. ID Name Force (N)
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 1,000
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 1,243
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 1,259
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 1,725
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 1,589
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 1,489
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 2,290
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 1,756
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 1,978
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 1,509
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 2,025
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 1,335
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 1,303
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 1,327

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
18

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 4 ชั่วโมง
2
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์งานทางกลเบื้องต้น
2.1. งานทางกล
2.2. การวิเคราะห์งานทางกล
2.3. การวิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
จุดประสงค์การสอน
2.1. รู้พื้นฐานงานทางกล
2.1.1. บอกความหมายของสถิตศาสตร์ได้
2.1.2. บอกความหมายของกลศาสตร์วัสดุได้
2.2. เข้าใจพื้นฐานการวิเคราะห์งานทางกล
2.2.1. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นได้
2.2.2. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
2.2.3. อธิบายผลการวิเคราะห์
2.3. วิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
2.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
2.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
2.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
19

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 1
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 1 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
20

หน่วยที่ 2 กำรวิเครำะห์งำนทำงกลเบืองต้น
การวิเคราะห์งานทางกลจาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานในวิชา หรือศาสตร์นั้นๆ ก่อนที่ผู้ออกแบบ
จะทาการวิเคราะห์ เหตุผลที่ความรู้พื้นฐานเป็นส่วนที่สาคัญที่จาเป็นต้องมี เนื่องจากในทุกขั้นตอนของ
การวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรมโดยการใช้ระเบียบวิธีการทางไฟไนต์เอลิเมนต์นั้นจะต้องดาเนินการ
ด้ว ยความเข้าใจ ไม่ว่าจะเป็ น การสร้างแบบจาลอง การแบ่งส่ ว นย่อยของแบบจาลอง การสมมติ
ฟังก์ชั่นประมาณค่า การกาหนดขอบเขตเงื่อนไขเบื้องต้น การแปลความหมายของค่าที่ได้ รวมไปถึง
การนาผลที่ได้ไปใช้ในการออกแบบ

รูปที่ 2-1 แบบจาลองที่ผ่านการทดสอบ


2.1. งานทางกล
2.1.1. สถิตศาสตร์
กลศาสตร์วิศวกรรม (engineering mechanics) เป็นวิชาที่เป็นแขนงหนึ่งของวิชา
ทางฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์วัตถุที่อยู่นิ่งและเคลื่อนที่เมื่อมีแรงมากระทา (R. C. Hibbeler,
2016) หนึ่งในแขนงย่อยได้แก่วิชาสถิตศาสตร์ (static) ถือเป็นวิชาพื้นฐานที่วิศวกรส่วนใหญ่ได้เรียนรู้
เนื่องจากมีความสาคัญต่อไปการนาไปใช้ในการวิเคราห์ในวิชาอื่นๆ ต่อไป โดยพื้นฐานของวิชาสถิต
ศาสตร์ได้แก่การสมดุล (equilibrium) ซึ่งสมการที่ใช้สามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-1) และ (2-2)
โดยจะต้องมีการสร้างแผนภาพแรงเพื่อทาการวิเคราะห์ก่อนดังรูปที่ 2-2

F0 (2-1)
M  0 (2-2)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
21

รูปที่ 2-2 การเขียนแผนผังแรงลูกกลิ้งบนพื้นเอียง


(R. C. Hibbeler, 2016)
ก่อนการสร้างแผนผังของแรง วิศวกรจาเป็นต้องทราบถึงพฤติกรรมของแรงปฎิกริยา
อันเนื่องมาจากลักษณะของจุดเชื่อมต่อซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 2-3

รูปที่ 2-3 ประเภทของแรงปฏิกิริยาอันเนื่องมาจากการเชื่อมต่อ


(R. C. Hibbeler, 2017)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
22

ตัวอย่างที่ 2-1 จงหาแรงปฏิกิริยา

(R. C. Hibbeler, 2016)


วิธีทา

2.1.2.
กลศาสตร์วัสดุ
กลศาสตร์วัสดุเป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีและแนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะห์
การเสียหายของวัดสุภายใต้ภาระที่มากระทา โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ความเค้น ความเครียด ไป
จนถึงทฤษฎีการเสียหายของวัสดุ การวิเคราะห์ค่าเหล่านี้จาเป็นต้องมีพื้นฐานมาจากวิชาสถิตศาสตร์
ก่อนจึงจะสามารถเข้าใจหลักของวิชานี้ได้ง่ายขึ้น พื้นฐานสมการที่ใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นและ
ความเครียดสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-3) และ (2-4)

F
 (2-3)
A

 (2-4)
L

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
23

2.2. การวิเคราะห์งานทางกล
2.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
ในการวิเคราะห์ความแข็งแรงของชิ้นส่วนที่ใช้ในการประกอบขึ้นเป็นเครื่องจักร หรือ
อุปกรณ์ใดๆ สามารถทาให้แบบจาลองเป็นแบบจาลองอย่างง่ายก่อนจึงดาเนินการวิเคราะห์ ตัวอย่ าง
เช่น การวิเคราะห์ความแข็งแรงของรถแทร็กเตอร์ดัง รูปที่ 2-4 สามารถแยกวิเคราะห์เป็นส่วนๆ ได้
เช่นเดียวกันกับชุดต่อพ่วงของรถแทร็กเตอร์

รูปที่ 2-4 รถแทร็กเตอร์

รูปที่ 2-5 ชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
24

รูปที่ 2-6 ส่วนประกอบของชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์

รูปที่ 2-7 ส่วนประกอบของชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ที่จะทาการวิเคราะห์


2.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
ดาเนินการเปิดโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์ จากนั้นทาการเลือกระบบหน่วยที่ใช้ใน
การวิเคราะห์จะได้หน้าต่างดังรูปที่ 2-8

รูปที่ 2-8 เลือกหน่วยในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
25

ทาการนาเข้าแบบจาลองที่ใช้ในการวิเคราะห์โดยเลือกที่ Geometry -> Import


Geometry -> Browse… -> เลื อ กแบบจ าลองที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ จากนั้ น โปรแกรมจะท าการ
ปรับปรุงหน้าต่างให้เป็นดังรูปที่ 2-10

รูปที่ 2-9 ดึงแบบจาลองมาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 2-10 หน้าต่างที่ดึงแบบจาลองมาเรียบร้อยแล้ว


ทาการเลือกวัสดุที่นามาใช้ในการวิเคราะห์โดยเลือกที่ tab Engineering Data ดัง
รูปที่ 2-11 จากนั้นทาการเลือกคุณสมบัติของวัสดุ โดยวัสดุที่เลือกสามารถตรวจสอบคุณสมบัติได้ดัง
รูปที่ 2-12

รูปที่ 2-11 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
26

รูปที่ 2-12 คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 2-13 การสร้างเอลิเมนต์ให้แบบจาลอง

รูปที่ 2-14 การเลือกรูปแบบในการกาหนดทิศทางของแรง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
27

รูปที่ 2-15 การกาหนดแรงในแต่ละทิศทาง

รูปที่ 2-16 การกาหนดค่าแรงโน้มถ่วงของโลก

รูปที่ 2-17 ขอบเขตเงื่อนไขที่มีการกาหนด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
28

รูปที่ 2-18 เลือกคาตอบที่ต้องการทราบ

รูปที่ 2-19 หน้าต่างของคาตอบที่รอการคานวณ

รูปที่ 2-20 ทาการวิเคราะห์โดยกด Solve

รูปที่ 2-21 หน้าต่างของคาตอบที่ผ่านการคานวณ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
29

รูปที่ 2-22 ค่า Equivalent Stress ของแบบจาลอง

รูปที่ 2-23 ค่า Equivalent Stress ของแบบจาลอง ต่าสุด สูงสุดและค่าเฉลี่ย

รูปที่ 2-24 แรงปฏิกริยาลัพธ์ที่กระทาต่อชิ้นงาน


ตารางที่ 2-1 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงาน
ลาดับ ตัวแปร หน่วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย
1 Total mm 0. 3.3629e-002 1.0425e-002
Deformation
2 Equivalent MPa 2.7715x10-7 1.9565 x10-4 2.6987 x10-5
Elastic Strain

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
30

3 Equivalent MPa 2.4161 x10-2 39.128 2.4161 x10-2


(Von-mises)
Stress
4 Safety Factor - 6.3893 15. 14.707

ตารางที่ 2-2 แรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น


ลาดับ ตัวแปร หน่วย X Y Z Total
1 แรงปฏิกิริยาที่ N 1979.3 -4.6905 107.62 1982.3
รูยึดแขนล่าง
2 แรงปฏิกิริยาที่ N 20.666 -22.297 -7.6168 31.341
รูยึดแขนบน
2.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
ในการวิเคราะห์ชิ้นส่วนของชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์ในการวิเคราะห์นี้แสดงให้เห็นว่า
เมื่อมีแรงปฏิกิริยาขึ้นบนรูที่ใช้ยึดแขนล่างเท่ากับ 31.341 N และแรงปฏิกิริยาที่รูยึดแขนบนเท่ากับ
1982.3 N เกิดการเสียรูปเฉลี่ยเท่ากับ 1.04x10-2 mm เกิดค่าความเค้นเฉลี่ ยเท่ากับ 4.33 N มีค่า
ความปลอดภัยที่ต่าที่สุดเท่ากับ 6.39 นั่นหมายถึงชิ้นงานนี้ยังสามารถใช้งานได้และมีความปลอดภัย
ต่อการเสียหาย
2.3. การวิเคราะห์งานทางกลโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ
2.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
ในการวิเคราะห์ชิ้นงานเชิงกลบางครั้งจาเป็นต้องมีการใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ เพื่อ
ลดเวลาและทรั พยากรที่ใช้ในการวิเคราะห์ รวมไปถึงการใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติยังช่วยลดความ
ผิดพลาดในการคานวณเชิงตัวเลขอีกด้วย การวิเคราะห์งานเป็นแผ่นบางแบบ 2 มิตินั้นใช้เอลิเมนต์
แบบแผ่นบาง (shell elements) ซึ่งมีทั้งแบบ 3 หรือ 6 โหนดในเอลิเมนต์แบบสามเหลี่ยม และแบบ
4 หรือ 8 โหนดในเอลิเมนต์แบบสี่เหลี่ยมดังรูปที่ 2-25 ในการหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์เพื่อให้
คาตอบลู่เข้า การใช้เอลิเมนต์แบบ 4 โหนดจะต้องมีขนาดที่เล็กและความหนาแน่นของเอลิ เ มนต์
มากกว่าแบบ 8 โหนด (“Shell Element - an overview | ScienceDirect Topics,” n.d.)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
31

รูปที่ 2-25 เอลิเมนต์แบบแผ่นใน 3 มิติ


ดังนั้นในตัวอย่างนี้จึงมุ่งเน้นที่จะใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติมาใช้ในการวิเคราะห์เหมือน
แบบจาลองที่ผ่านมา ชิ้นงานที่เตรียมวิเคราะห์สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 2-26

รูปที่ 2-26 ชิ้นงานที่เตรียมวิเคราะห์โดยใช้เอลิเมนต์แบบ 2 มิติ


2.3.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการวิเคราะห์เริ่มจากการนาเข้าแบบจาลองเข้าสู่โปรแกรม หลังจากนั้น
ดาเนินการสร้างเอลิเมนต์ให้แก่แบบจาลองที่ต้องการนามาวิเคราะห์ ผลของการสร้างแบบจาลอง
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 2-27

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
32

รูปที่ 2-27 ชิ้นงานที่มีการแบ่งเอลิเมนต์ 2 มิติเรียบร้อยแล้ว

รูปที่ 2-28 การกาหนดเงื่อนไขในการวิเคราะห์โดยใช้เอลิเมนต์ 2 มิติ

รูปที่ 2-29 การเลือกคาตอบที่สนใจ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
33

รูปที่ 2-30 คาตอบที่รอการวิเคราะห์


2.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
หลังจากการวิเคราะห์เสร็จสิ้นแล้ว ผู้ใช้สามารถที่จะตรวจสอบข้อมูลทั้งหมดที่ใช้ใน
การวิเคราห์ได้ที่ solution information ดังรูปที่ 2-31 จะเห็นได้ว่าเวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์ลดลงดัง
รูปที่ 2-32

รูปที่ 2-31 เลือก solution information

รูปที่ 2-32 สรุปรายละเอียดในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
34

จากนั้นจึงดาเนินการตรวจสอบผลการวิเคราะห์ทั้งหมดโดยค่า total deformation,


ค่า equivalent elastic strain ค่า equivalent von-mises stress และค่า safety factor ได้ดังรูป
ที่ 2-33 ถึงรูปที่ 2-36

รูปที่ 2-33 ค่า total deformation

รูปที่ 2-34 ค่า equivalent elastic strain

รูปที่ 2-35 ค่า equivalent von-mises stress

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
35

รูปที่ 2-36 ค่า safety factor

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
36

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 2
จงวิเคราะห์ งาน model week2.scdoc เมื่อมีแรง (Force) ในแนวแกน X และแกน Z มา
กระทาที่ จุ ดยึ ด อุป กรณ์ ต่ อ พ่ว ง และอีกสองรู ยึด กับ แขนล่ างและแขนบนของรถแทร็ กเตอร์ โดย
นักศึกษาในแต่ละคนจะได้เงื่อนไขดัง ตารางที่ 2-3 เพื่อคานวณหาค่าการเสียรูป Total Deformation
(min max) ความเครียด Equivalence von-Mises Strain ( min max ) ความเค้น Equivalence
von-Mises Stress (min max ) และค่าความปลอดภัยที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้นบนงาน ทารายงานสรุป 1
หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

ForceX

ForceZ

รูปที่ 2-37 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 2

ตารางที่ 2-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 2


No. ID Name ForceX (N) ForceZ (N)
1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา -272 -920
2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี -2,684 -465
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ -355 -842
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ -311 -309
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข -2,501 -769

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
37

ตารางที่ 2-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 2


No. ID Name ForceX (N) ForceZ (N)
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล -661 -490
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช -863 -976
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ -2,757 -225
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม -753 -758
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด -1,150 -823
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง -1,865 -271
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร -780 -707
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี -1,281 -851
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง -123 -651
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก -1,217 -315
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา -1,067 -445
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร -1,544 -237
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง -1,871 -743

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
38

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 4 ชั่วโมง
3
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ
3.1. วัสดุ
3.2. การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน
จุดประสงค์การสอน
3.1. รู้พื้นฐานวัสดุ
3.1.1. บอกความหมายของวัสดุ
3.1.2. บอกความรู้พื้นฐานวัสดุวิศวกรรม
3.1.3. บอกประเภทของวัสดุ
3.2. เข้าใจพื้นฐานการวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน
3.2.1. อธิบายแนวคิดเบื้องต้นได้
3.2.2. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
3.2.3. อธิบายผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
39

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 2
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 2 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
40

หน่วยที่ 3 กำรเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุ
ในการออกแบบชิ้นส่วนทางด้านวิศวกรรมนั้น ในบางกรณีผู้ออกแบบจาเป็นต้องคานึงถึงการ
เลือกใช้วัสดุทีเหมาะสมด้วย เนื่องจากวัสดุแต่ละตัวมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความแข็ง
ความต้านทานการเสียรูป ความยืดหยุ่น หรือสภาพการนาความร้อนเป็นต้น ซึ่ง หากเลือกใช้ได้อย่าง
เหมาะสมก็จะทาให้การใช้งานมีประสิทธิภาพสูงสุด

รูปที่ 3-1 การทดสอบรูปภาพ


3.1. วัสดุ
3.1.1. ความหมายของวัสดุ
สสารต่างๆ ที่มนุ ษย์นามาประกอบขึ้นหรือผลิ ตขึ้น ให้ เป็นผลิ ตภัณฑ์ เครื่องมื อ
เครื่ องใช้ สิ่ งประดิษฐ์ สิ่ งก่อสร้ างต่างๆ วัส ดุพื้นฐานที่เป็นที่รู้จัก เช่น คอนกรีต เหล็ ก แก้ว ยาง
อลูมิเนียม ทองแดง กระดาษ พลาสติก เป็นต้น
3.1.2. วัสดุวิศวกรรม
วัสดุวิศวกรรม (Engineering materials) คือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสิ่งของเครื่ อ งใช้
เครื่องมือเครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ ที่เราได้ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันรอบๆ ตัวเราโดยที่วัสดุเหล่านี้
จะต้องสามารถที่จะต้องทางานตามหน้าที่ที่ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์นั้นได้รับการออกแบบมา หรืออีกนัย
หนึ่งวัสดุวิศวกรรมก็คือวัสดุหนึ่งๆ ที่ได้ถูกนับมาใช้งานโดยผ่านการออกแบบและการคานวณทาง
วิศวกรรมที่เกี่ยวกับโครงสร้างของวัสดุนั้นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งสมบัติที่ได้ถูกกาหนดเอาไว้ในกระบวนการ
ออกแบบชิ้นงานทางวิศวกรรมชิ้นหนึ่ง
3.1.3. ประเภทของวัสดุ
วัสดุสามารถแบ่งได้ 4 กลุ่มใหญ่ (Marikani, 2017) ได้แก่
1) โลหะ (metals หรือ alloys) มีธาตุโลหะเป็นองค์ประกอบหลัก หรืออาจมีธาตุ
อโลหะเป็นองค์ประกอบบ้างบางส่วน เช่น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ อลูมิเนียมอัลลอย ทองแดงอัลลอย
สังกะสีอัลลอย ไทเทเนียม อัลลอย เป็นต้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
41

2) พอลิเมอร์ (polymers) มีสมบัติทางกลที่ค่อนข้างดีในขณะที่มีความหนาแน่นต่า


เมื่อเทียบกับวัสดุประเภทอื่นๆจึ งทาให้ พอลิเมอร์เป็นหนึ่งในวัสดุตัวเลื อกที่ส าคัญประเภทหนึ่ง ใน
ชิ้นส่วนที่ไม่ต้องการความแข็งแรงสูงมากแต่ต้องการให้มีน้าหนักน้อย เป็นปัจจัยสาคัญและชิ้นส่ วนที่
ผลิตจากพอลิเมอร์มีความสามารถในการแข็งขันทางด้านราคาที่ดี ในการผลิตชิ้นงานจานวนมากเมื่อ
เทียบกับวัสดุประเภทอื่นเนื่องจากพอลิเมอร์มีราคาไม่สูงมาก และมีการขึ้นรูปได้ง่าย เช่น พอลิเอธิลีน
พอลิโพรพิลีน พอลิคาร์บอเนต
3) เซรามิกส์ (ceramics) เป็นวัสดุอโลหะและอนินทรีย์ และมีสมบัติจาเพาะเด่นๆ
หลายประการ เช่นวัสดุเซรามิกส์มีความแกร่ง ความแข็งสูง และมีความต้านทานการสึกหรอกที่ดี เช่น
อลูมีน่า ซิลิกอนคาร์ไบด์ ซิลิกอนไนไตรด์ เซอร์โคเนีย
4) วัสดุเชิงประกอบ (composite materials) เป็นประเภทของวัสดุที่ได้รั บ การ
ประสานกันระหว่างประเภทของวัสดุหลักประเภทอื่นเพื่อให้ได้สมบัติที่ดีขึ้นโดยเทียบกับน้าหนักที่
ลดลง เช่น วัสดุเชิงประกอบเสริมใยคาร์บอน คอนกรีตเสริมเหล็ก
3.2. การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีวัสดุที่แตกต่างกัน
3.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
การออกแบบอุปกรณ์บางชิ้นส่วนต้องการเลือกวัสดุให้มีความเหมาะสมกับการใช้
งาน มีทั้งความแข็งแรงและมีน้าหนักเบา ในบางครั้งต้องมีความยืดหยุ่นตัวสูง และมีราคาต่าด้วย ซึ่ง
ความต้องการเหล่านี้นักออกแบบจาเป็นต้องนามาประกอบกับการออกแบบทั้งหมด เพื่อหาเงื่อนไขที่
คาดว่าเป็นเงื่อนไขที่เหมาะสมที่สุดในการใช้งานจริง

รูปที่ 3-2 ชุดต่อพ่วงรถแทร็กเตอร์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
42

รูปที่ 3-3 ส่วนของงานประกอบที่สนใจ

รูปที่ 3-4 ชิ้นส่วนที่ต้องการวิเคราะห์

3.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์

รูปที่ 3-5 เลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
43

รูปที่ 3-6 เลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 3-7 เลือก General Material

รูปที่ 3-8 เลือก Aluminum Alloy

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
44

รูปที่ 3-9 เลือก Titanium Alloy

รูปที่ 3-10 ชิ้นส่วนที่ทาการวิเคราะห์เมื่ออยู่ในโหมดของ Model

รูปที่ 3-11 เลือกวัสดุที่ต้องการทดสอบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
45

รูปที่ 3-12 เลือก Cylindrical Support เพื่อกาหนดเงื่อนไขที่มียึดติดโดยโบลท์ และสกรู

รูปที่ 3-13 เลือก Force เพื่อกาหนดเงื่อนไขแรงที่กระทาต่อชิ้นงาน

รูปที่ 3-14 เลือกผิวที่แรงกระทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
46

รูปที่ 3-15 กาหนดแรงที่กระทาในแต่ละทิศทาง

รูปที่ 3-16 เลือกคาตอบที่ต้องการ

รูปที่ 3-17 หน้าต่างของคาตอบที่รอการคานวณ

รูปที่ 3-18 กด Solve เพื่อเริ่มคานวณ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
47

รูปที่ 3-19 ค่าความปลอดภัยของชิ้นงานที่ผ่านการวิเคราะห์

รูปที่ 3-20 กด Duplicate เพื่อคัดลอกโปรเจ็คเดิม

รูปที่ 3-21 กด Rename เพื่อเปลี่ยนชื่อของโปรเจ็ค

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
48

รูปที่ 3-22 กด Model -> Material -> Assignment

รูปที่ 3-23 เลือก Titanium Alloy


3.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
จากการวิเคราะห์สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ได้ดัง ตารางที่ 3-1 ถึงตารางที่ 3-3
โดยเรียงการวิเคราะห์จากวัสดุที่ทาโดยเหล็ก อลูมิเนียมและไทเทเนียมตามลาดับ
ตารางที่ 3-1 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นเหล็ก
ลาดับ ตัวแปร หน่วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย
1 Total mm 0. 18.669 7.5399
Deformation
2 Equivalent MPa 8.8345e-007 6.4763e-004 2.0504e-004
Elastic Strain
3 Equivalent MPa 5.4541e-002 121.93 29.685
(Von-mises)
Stress

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
49

ตารางที่ 3-1 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นเหล็ก


ลาดับ ตัวแปร หน่วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย
4 Safety Factor - 2.0504 15. 10.684

ตารางที่ 3-2 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นอลูมิเนียม


ลาดับ ตัวแปร หน่วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย
1 Total mm 0. 52.456 21.174
Deformation
2 Equivalent MPa 2.464e-006 1.8362e-003 5.7654e-004
Elastic Strain
3 Equivalent MPa 5.7081e-002 122.3 29.628
(Von-mises)
Stress
4 Safety Factor - 2.2895 15. 11.01

ตารางที่ 3-3 ผลการวิเคราะห์ชิ้นงานเมื่อใช้วัสดุเป็นไทเทเนียม


ลาดับ ตัวแปร หน่วย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย
1 Total mm 0. 38.679 15.603
Deformation
2 Equivalent MPa 1.8025e-006 1.3667e-003 4.2544e-004
Elastic Strain
3 Equivalent MPa 5.9936e-002 122.73 29.558
(Von-mises)
Stress
4 Safety Factor - 7.5776 15. 14.281

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
50

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 3
จงวิเคราะห์ งาน model week3.scdoc เมื่อมีแรง (Force) ในแนวแกน X และแกน Z มา
กระทาที่จุดยึดอุปกรณ์ต่อพ่วง และอีกรูยึดแน่น โดยนักศึกษาในแต่ละคนจะได้เงื่อนไขดังตารางที่ 3-4
เพื่อคานวณหาค่าการเสี ย รู ป Total Deformation (min max) ความเครียด Equivalence von-
Mises Strain ( min max ) ความเค้น Equivalence von-Mises Stress (min max ) และค่าความ
ปลอดภัยที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้น บนงาน ทารายงานสรุป 1 หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการ
ทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

ForceZ

ForceX

รูปที่ 3-24 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 3


ตารางที่ 3-4 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 3
No. ID Name ForceX (N) ForceZ (N)
1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา -2,466 -712
2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี -2,333 -774
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ -1,117 -730
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ -1,363 -437
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข -1,192 -649
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล -1,360 -253
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช -1,761 -430

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
51

ตารางที่ 3-4 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 3


No. ID Name ForceX (N) ForceZ (N)
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ -2,124 -948
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม -1,472 -757
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด -2,928 -335
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง -271 -990
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร -472 -812
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี -2,044 -644
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง -2,954 -490
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก -2,153 -719
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา -1,287 -491
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร -640 -840
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง -1,078 -475

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
52

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 4 ชั่วโมง
4
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 4 การวิเคราะห์โครงถัก
4.1. โครงถัก
4.2. การวิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ
จุดประสงค์การสอน
4.1. รู้พื้นฐานโครงถัก
4.1.1. บอกความหมายโครงถักอย่างง่ายได้
4.1.2. บอกระเบียบวิธีการในการวิเคราะห์จุดเชื่อมต่อได้
4.1.3. บอกความหมายชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ได้
4.2. วิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ
4.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
4.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
4.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
53

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 3
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 3 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
54

หน่วยที่ 4 กำรวิเครำะห์โครงถัก
ในการออกแบบโครงสร้างเพื่อใช้สาหรับรับภาระเชิงกลในบางกรณีจาเป็นต้องออกแบบโดย
การใช้โครงถัก (truss) เพื่อลดภาระทางด้านน้าหนักของโครงสร้างและยังคงความแข็งแรงเพื่อให้ได้
ตามเงื่อนไขที่กาหนด โครงถักเป็นโครงสร้างที่ประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนตรงยาวเชื่อมกันด้วยจุดต่อ
(joint) โดยส่วนใหญ่ที่เห็นอาจจะเป็นไม้หรือโลหะก็ได้ ในบทนี้เป็นการกล่าวถึงการวิเคราะห์โครงถัก
โดยระเบียบวิธีการทางไฟไนต์เอลิเมนต์

รูปที่ 4-1 โครงถักที่ใช้ทาเสาหรือคาน


4.1. โครงถัก
4.1.1. โครงถักอย่างง่าย
โครงถักอย่างง่ายเป็นการวิเคราะห์โครงถักในรูปแบบสองมิติ โดยในแต่ละชิ้นส่วน
ที่มาประกอบเป็นโครงถักจะเป็นชิ้นส่วนตรงยาวเชื่อมต่อกันด้วยจุดต่อ รูปที่ 4-2 แสดงให้เห็นภาพ
โครงสร้างจริง และภาพโครงถักอย่างง่ายที่นามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 4-2 โครงสร้างจริงและโครงสร้างอย่างง่าย


(R. C. Hibbeler, 2016)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
55

4.1.2. ระเบียบวิธีการในการวิเคราะห์จุดเชื่อมต่อ
ในการวิเคราะห์โครงถักหากต้องการที่จะทราบแรงที่กระทาภายในชิ้นส่วนแต่ละ
ชิ้นส่วนนั้นสามารถวิเคราะห์ได้หลายวิธี หนึ่งในนั้นก็คือการวิเคราะห์จุดเชื่อมต่อโดยระเบียบวิธีการนี้
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสมดุล หมายถึงแรงที่กระทาบนจุดเชื่อมต่อทั้งหมดมีผลรวมของแรงเท่ากับ
ศูนย์ดังสมการที่ (4-1) ซึ่งตัวอย่างสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 4-3

F 0 (4-1)

รูปที่ 4-3 ตัวอย่างการวิเคราะห์โครงถัก


(R. C. Hibbeler, 2016)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
56

ตัวอย่างที่ 4-1 จงวิเคราะห์แรงภายในชิ้นส่วนแต่ละชิ้นและแสดงให้เห็นว่าในแต่ละชิ้นเป็นแรง


ดึงหรือแรงกด

(R. C. Hibbeler, 2016)


วิธีทา

4.1.3. ชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์
การวิเคราะห์ปัญหาโครงถักในบางกรณีสามารถพิจารณาให้ชิ้นส่วนบางชิ้นส่วนมีแรง
กระทาที่เป็นศูนย์ (zero-force members) ได้ หลักในการพิจารณาคือถ้าจุดเชื่อมต่อของโครงข้อถัก
เกิดจากการเชื่อมต่อกันโดยชิ้นส่วนสองชิ้นและไม่มีแรงกระทาที่จุดต่อแล้วชิ้นส่วนทั้งสองจะเป็น
ชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ดัง รูปที่ 4-4 อีกรูปแบบหนึ่งคือถ้าจุดเชื่อมต่อของโครงถักประกอบไป
ด้วยชิ้นส่วน 3 ชิ้นส่วน โดยมี 2 ชิ้นส่วนอยู่ในแนวเดียวกันแล้วไม่มีแรงภายนอกมากระทาที่จุดเชื่อม
ต่อชิ้นส่วนที่เหลือจะเป็นชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์ดังรูปที่ 4-5

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
57

รูปที่ 4-4 โครงถักที่มีชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์

รูปที่ 4-5 โครงถักที่มีชิ้นส่วนที่มีแรงกระทาเป็นศูนย์

4.2. การวิเคราะห์โครงถักโดยใช้เอลิเมนต์แบบ 1 มิติ


4.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
ตัวอย่างนี้เป็นการวิเคราะห์โครงถักอย่างง่ายดัง รูปที่ 4-6 มีแรง P1 เท่ากับ 20 kN
และมีแรง P2 เท่ากับ 10 kN จุด A และ B ถูกยึดด้วยสลักที่สามารถหมุนได้ ซี่งสามารถแสดงได้ดังรูป
ที่ 4-6 ซึ่งในการวิเคราะห์ปัญหาลักษณะนี้จะใช้เอลิเมนต์แบบหนึ่งมิติในการวิเคราะห์แทนการใช้เอลิ
เมนต์แบบหนึ่งมิติ เนื่องจากทาให้การใช้ทรัพยากรณ์ทางคอมพิวเตอร์ลดลง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
58

รูปที่ 4-6 โครงถักอย่างง่ายที่ใช้ในการวิเคราะห์

4.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์

รูปที่ 4-7 ตัวอย่างแบบจาลอง

รูปที่ 4-8 หน้าต่างของโปรแกรม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
59

รูปที่ 4-9 การ import geometry โครงถัก

รูปที่ 4-10 การปรับแก้หน้าตัดโครงถัก

รูปที่ 4-11 เลือกหน้าตัดโครงถัก

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
60

รูปที่ 4-12 ปรับเปลี่ยนหน่วยในการวิเคราะห์

รูปที่ 4-13 แบ่งเอลิเมนต์ของแบบจาลอง

รูปที่ 4-14 เลือกเงื่อนไขแรงที่ใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
61

รูปที่ 4-15 เลือกเงื่อนไขจุดยึดที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 4-16 เลือกตัวกรองเป็นจุด (vertex)

รูปที่ 4-17 เงื่อนไขที่ดาเนินการเลือกเรียบร้อยแล้ว

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
62

รูปที่ 4-18 เลือก Tools-> Beam Tool ซึ่งเป็นคาตอบที่ต้องการทราบ

รูปที่ 4-19 ผลของการเลือก

รูปที่ 4-20 เลือกภาระทั้ง 4 ส่วน เพื่อแสดงคาตอบที่ต้องการทราบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
63

รูปที่ 4-21 หน้าต่างโปรแกรมก่อนการวิเคราะห์

รูปที่ 4-22 การเสียรูปของโครงถัก

รูปที่ 4-23 ความเค้นที่เกิดขึ้นบนโครงถัก

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
64

รูปที่ 4-24 โมเมนต์ที่เกิดขึ้นบนโครงถัก

รูปที่ 4-25 แรงในแนวแกนที่เกิดขึ้นบนโครงถักบนเหล็ก channel

รูปที่ 4-26 แรงในแนวแกนที่เกิดขึ้นบนโครงถักบนเหล็กท่อ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
65

ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะห์โครงถัก


ลาดับ ตัวแปร ค่าสูงสุด ค่าต่าสุด ค่าเฉลี่ย
1 Total Deformation 0.00 1.41x10-3 8.45 x10-4
2 Axial Force -36.66 33.31 -366.78
3 Total Bending Moment 8.82 x10-14 13.02 653.58
4 Torsional Moment 0.00 0.00 0.00
5 Total Shear Force 1.92 x10-3 1.59 x10-2 0.98
6 Direct Stress -3.89 x10-2 3.53 x10-2 -3.08 x10-3

ตารางที่ 4-2 แรงปฏิกิริยาที่กระบนจุดยึดติด


ลาดับ จุด Fx (N) Fy (N) Fz (N) Ftotal (N)
1 C 26.66 19.99 8.29 x10-31 33.33
2 D -36.66 4.86x10-3 -4.42 x10-32 36.66

4.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์โครงถักที่ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนจานวน 4 ชิ้น แสดงให้เห็นว่าโครง
ถักที่ใช้เหล็กท่อขนาดรัศมีภายนอกเท่ากับ 20 mm และรัศมีภายในเท่ากับ 10 mm มีการเสียรูป
สูงสุดเท่ากับ 1.415x10-3 mm และมีการเสียรูปเฉลี่ยเท่ากับ 8.456x10-4 mm

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
66

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 4
จงวิเคราะห์โครงถักงาน truss week4.scdoc โดยนักศึกษาในแต่ละคนจะได้เงื่อนไขของแรง
กระจายที่ ก ระท าบนชิ้ น ส่ ว นของโครงถั ก ดั ง ตารางที่ 4-3 เพื่ อ ค านวณหาค่ า การเสี ย รู ป Total
Deformation (min max), Axial Force, Total Bending Moment, Torsional Moment แ ล ะ
Total Shear Force ของส่วนประกอบแต่ละชิ้นที่ประกอบเป็นโครงถัก ทารายงานสรุป 1 หน้าสไลด์
Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

รูปที่ 4-27 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 4


ตารางที่ 4-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 4
No. ID Name ForceX (N) ForceY (N) ForceZ (N)

1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 281 -4,036 2,890

2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี -824 -4,066 2,036

3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 813 -6,969 661

4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ -2,901 -6,422 334

5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข -2,289 -7,333 1,429

6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 1,760 -5,985 1,745

7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช -2,631 -5,444 -1,811

8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 170 -6,800 1,224

9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม -129 -4,266 2,466

10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 1,495 -7,110 875

11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง -712 -5,173 -1,097

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
67

ตารางที่ 4-3 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 4


No. ID Name ForceX (N) ForceY (N) ForceZ (N)

12 60172310334-0 นายธนพล สุพร -1,025 -5,019 2,083

13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี -2,019 -5,065 1,172

14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง -2,567 -7,513 1,393

15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก -1,938 -7,761 -1,120

16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา -1,954 -5,710 -1,998

17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 1,524 -6,649 -1,571

18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง -2,252 -7,739 -1,752

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
68

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 4
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
69

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 4 ชั่วโมง
5
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์งานประกอบ
5.1. งานประกอบ
5.2. การวิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
จุดประสงค์การสอน
5.1. รู้พื้นฐานงานประกอบ
5.1.1. บอกความหมายของผิวสัมผัสได้
5.1.2. บอกการกาหนดชื่อและประเภทของการเชื่อมต่อได้
5.2. วิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
5.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
5.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
5.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
70

หน่วยที่ 5 กำรวิเครำะห์งำนประกอบ
ในบทนี้เป็นการวิเคราะห์งานประกอบซึ่งจะมีชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป การวิเคราะห์จะต้องมี
การพิจารณาในเรื่องของการสัมผัส (contact) การเลือกเอลิเมนต์และการเลือกประเภทของการสัมผัส

รูปที่ 5-1 งานประกอบชุดต่อพ่วง


(Voigtländer, 2017)
5.1. งานประกอบ
5.1.1. ผิวสัมผัส
การวิเคราะห์งานประกอบจาเป็นต้องมีความเข้าใจในเรื่องการผิวสัมผัสก่อนว่ามี
ลั กษณ์อย่ างไร ผิ ว สั มผั ส มีทั้งแบบเชิงเส้ น และไม่เป็นเชิงส้ น ด้านหนึ่งของผิ ว เรียนกว่าผิ ว สั มผั ส
(contact) และอีกด้านหนึ่งเรียกว่าผิวเป้าหมาย (target)

รูปที่ 5-2 ตัวอย่างชิ้นงานที่สัมผัสกัน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
71

5.1.2.การกาหนดชื่อและประเภทของการเชื่อมต่อ
การวิเคราะห์ ชิ้น งานที่มีผิ วสัมผั ส จาเป็นต้องมีการกาหนดชื่อของการสั มผัส และ
ประเภทของการสัมผัสก่อนการวิเคราห์เพื่อทาให้ผู้วิเคราะห์สามารถวิเคราะห์งานได้อย่างถูกต้องต้อง
และรวดเร็ว

รูปที่ 5-3 งานประกอบและการเชื่อมต่อ

รูปที่ 5-4 คู่ของการเชื่อมติดของงานประกอบ

รูปที่ 5-5 การเปลี่ยนชื่อของการเชื่อมติด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
72

รูปที่ 5-6 หลังจากการเปลี่ยนชื่อของการเชื่อมติด

5.2. การวิเคราะห์งานประกอบพื้นฐาน
5.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์ในตัวอย่างนี้เป็นการวิเคราะห์ชิ้นส่วนของรถแทร็กเตอร์

รูปที่ 5-7 แบบจาลองรถแทร็กเตอร์ด้านหน้า

รูปที่ 5-8 แบบจาลองรถแทร็กเตอร์ด้านหลัง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
73

รูปที่ 5-9 ส่วนของแบบจาลองที่สนใจ

รูปที่ 5-10 แบบจาลองที่ต้องการนามาวิเคราะห์

5.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
เปิดไฟล์แบบจาลองชิ้นส่วนของแทร็กเตอร์

รูปที่ 5-11 ชื่อของการเชื่อมต่อทั้งหมด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
74

รูปที่ 5-12 กาหนดชื่อของการเชื่อมต่อ

รูปที่ 5-13 การแบ่งเอลิเมนต์

รูปที่ 5-14 การเลือกเงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
75

รูปที่ 5-15 ก่อนขั้นตอนกาหนดเงื่อนไขในการวิเคราะห์

รูปที่ 5-16 กาหนดแรงที่กระทาบนชิ้นงาน


ทาการเลือกชุดคาตอบที่ต้องการ เช่น Deformation -> Total

รูปที่ 5-17 เลือกชุดของคาตอบที่ต้องการ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
76

รูปที่ 5-18 ชุดของคาตอบที่รอการคานวณ

รูปที่ 5-19 เลือกคาตอบแบบเจาะจงชิ้นงาน

รูปที่ 5-20 เลือกคาตอบแบบเจาะจงชิ้นงานให้ครบทุกชิ้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
77

รูปที่ 5-21 เลือกรูปแบบของการแสดงผล

รูปที่ 5-22 ค่า Total Deformation ของงานประกอบทุกชิ้น

รูปที่ 5-23 ค่า Equivalent Elastic Strain ของงานประกอบทุกชิ้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
78

รูปที่ 5-24 ค่า Equivalent Stress ของงานประกอบทุกชิ้น

รูปที่ 5-25 ค่า Safety Factor ของงานประกอบทุกชิ้น

รูปที่ 5-26 ค่าแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
79

รูปที่ 5-27 ค่าแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานที่เชื่อมต่อแขนล่าง

5.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
จากผลการวิเคราะห์งานประกอบในบทนี้แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนของการพิจารณา
งานประกอบ ขั้นตอนการวิเคราะห์และผลของการวิเคราะห์ จากการวิเคราะห์ แสดงให้เห็นว่าเกิด
total deformation สู ง สุ ด ที่ lower arm เท่ า กั บ 8.90 mm ค่ า Equivalent Stress สู ง สุ ด มี ค่ า
เท่ า กั บ 283.22 MPa ค่ า Safety Factor ต่ าสุ ด มี ค่ า เท่ า กั บ 0.88 ซึ่ ง ต่ ากว่ า เกณฑ์ ดั ง นั้ น จึ ง ควร
ออกแบบให้ cylinder มีขนาดโตขึ้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
80

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 5
จงวิเคราะห์งาน model week5.scdoc เมื่อมีแรง (Force) ในแนวแกน X แกน Y และแกน Z
มากระทาที่จุดยึดอุปกรณ์ต่อพ่วง และอีกรูยึดแน่น โดยนักศึกษาในแต่ละคนจะได้เงื่อนไขดัง ตารางที่
3-4 เพื่ อ ค านวณหาค่ า การเสี ย รู ป Total Deformation (min max) ความเครี ย ด Equivalence
von-Mises Strain ( min max ) ความเค้น Equivalence von-Mises Stress (min max ) และค่า
ความปลอดภัยที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้นบนงานแต่ละชิ้น ทารายงานสรุป 1 หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อม
ทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

ForceZ

ForceX
รูปที่ 5-28 ชิ้นงานที่ใช้ในการวิเคราะห์ในบทที่ 5
ตารางที่ 5-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 5
No. ID Name ForceX (N) ForceY (N) ForceZ (N)

1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 1,652 1,877 -3,154

2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 2,281 3,489 -2,208

3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 3,454 -1,584 -1,679

4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 3,881 1,186 -2,915

5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 3,618 980 -3,567

6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 3,264 -2,910 -1,179

7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 2,463 -1,035 -2,926

8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 1,503 -1,307 -2,123

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
81

9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 3,123 -914 -3,132

10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 3,281 -1,182 -2,357

11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 1,822 -2,326 -2,978

12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 4,012 3,913 -1,413

13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 2,498 3,168 -1,771

14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 1,875 3,972 -2,295

15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 3,034 -3,695 -1,482

16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 4,023 128 -1,371

17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 3,769 1,013 -2,264

18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 3,177 -3,789 -2,579

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
82

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 5
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
83

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 8 ชั่วโมง
6-7
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 6 การแก้ไขงานประกอบก่อนการวิเคราะห์
6.1. แบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
6.2. การวิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
6.3. การวิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
จุดประสงค์การสอน
6.1. รู้พื้นฐานแบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
6.1.1. บอกความหมายของขนาดชิ้นงานประกอบกันไม่พอดี
6.1.2. บอกความหมายของขนาดของเพลาไม่สามารถสวมตลับลูกปืนได้

6.1.3. บอกความหมายของขนาดของชิ้นงานยาวเกินชิ้นงานที่จะประกอบกัน
6.1.4. บอกความหมายของการควบคุมระยะระหว่างผิวสัมผัส
6.2. วิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
6.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
6.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
6.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
6.3. วิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
6.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
6.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
6.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
84

หน่วยที่ 6 กำรแก้ไขงำนประกอบก่อนกำรวิเครำะห์
การวิเคราะห์งานประกอบที่มีชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป หากการเตรียมแบบจาลองมีความ
ผิดพลาด เช่น ขนาดชิ้นงานไม่สามารถประกอบกันได้พอดี ขนาดของเพลาไม่สามารถสวมตลับลูกปืน
ได้พอดี ขนาดของชิ้นงานยาวเกินกว่าที่จะประกอบกันได้ ฯลฯ การวิเคราะห์งานเหล่านี้จาเป็นต้องมี
การปรับแต่ค่าต่างๆ ในโปรแกรมการวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ก่อนการวิเคราะห์จริง ไม่ว่าจะเป็น
การปรับแบบจาลองโดยตรง การปรับสมการในการวิเคราะห์ การปรับเงื่อนไขในการวิเคราะห์ หรือ
การปรับรูปแบบของการเชื่อมติด เป็นต้น
6.1. แบบจาลองที่ไม่สมบูรณ์
6.1.1. ขนาดชิ้นงานประกอบกันไม่พอดี
ในบางกรณีการเขียนแบบสามมิติอาจเกิดข้อผิดพลาดจากผู้เขียนแบบส่งผลให้การ
เขียนแบบสามมิติอาจมีข้อผิดพลาดเมื่อนางานมาประกอบกันอาจจะไม่พอดีดัง รูปที่ 6-1 เป็นการ
ประกอบของชิ้นงานสองชิ้นที่พอดี ส่วนรูปที่ 6-2 เป็นรูปของชิ้นงานที่ไม่พอดีกัน เมื่อนามาประกอบ
จึงเกิดช่องว่างระหว่างชิ้นงานเกิดขึ้น

รูปที่ 6-1 งานประกอบที่มีขนาดประกอบกันพอดี

รูปที่ 6-2 งานประกอบที่มีขนาดประกอบกันไม่พอดี

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
85

6.1.2. ขนาดของเพลาไม่สามารถสวมตลับลูกปืนได้
ในการออกแบบเครื่องจักรกล ชิ้นส่วนที่สาคัญส่วนหนึ่งได้แก่ชิ้นส่วนที่มีการหมุน
และส่วนที่ทาให้เครื่องจักรหมุนได้คือส่วนที่มีตลับลูกปืน รูปที่ 6-3 แสดงให้เห็นถึงการประกอบกัน
ของเพลาและตลับลูกปืนที่มีขนาดพอดีกัน ส่วนรูปที่ 6-4 เป็นแบบจาลองที่แสดงให้เห็นถึงเพลาและ
ตลับลูกปืนที่มีขนาดไม่เท่ากัน ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างเพลาและลูกปืนขึ้น แบบจาลองแบบนี้หาก
นามาวิเคราะห์ในโปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์อาจส่งผลให้เกิดความผิดพลาดในการวิเคราะห์ขึ้นได้

รูปที่ 6-3 เพลาและตลับลูกปืนที่มีขนาดเข้ากันพอดี

รูปที่ 6-4 เพลาและตลับลูกปืนที่มีขนาดเข้ากันไม่พอดี

6.1.3. ขนาดของชิ้นงานยาวเกินชิ้นงานที่จะประกอบกัน
กรณีที่ผู้ออกแบบมีการออกแบบชิ้นงานที่ประกอบกันแล้วมีชิ้นใดชิ้นหนึ่งเกิดมีขนาด
ที่ผิดพลาดไปจากที่ออกแบบภาพร่างไว้ ในกรณีนี้งานประกอบที่นามาวิเคราะห์ จะเกิดความผิดพลาด
ขึ้นในการวิเคราะห์ได้ รูปที่ 6-5 แสดงให้เห็นถึงงานประกอบที่สมบูรณ์ซึ่งหากมีการให้ขนาดชิ้นส่วนใด
ผิดขนาดดังรูปที่ 6-6 ก็จะส่งผลให้การวิเคราะห์ทางโปรแกรมดาเนินการผิดพลาดได้

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
86

รูปที่ 6-5 งานประกอบชิ้นส่วนของปากกาคีบที่สมบูรณ์

รูปที่ 6-6 งานประกอบชิ้นส่วนของปากกาคีบที่ไม่สมบูรณ์

6.1.4. การควบคุมระยะระหว่างผิวสัมผัส
การวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีผิวสัมผัสที่ไม่สัมผัสกันพอดีจาเป็นต้องมีการปรับค่าระยะ
ระหว่างงานให้มีการสัมผัสกันพอดีดังรูปที่ 6-7 และรูปที่ 6-8

รูปที่ 6-7 วาวล์และลูกสูบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
87

รูปที่ 6-8 ระยะระหว่างวาวล์และลูกสูบ

6.2. การวิเคราะห์งานประกอบที่แบบจาลองมีจุดบกพร่อง
6.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์งานประกอบที่มีชิ้นงานตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป หากการเตรียมแบบจาลองมี
ความผิดพลาด เช่น ขนาดชิ้นงานไม่สามารถประกอบกันได้พอดี ขนาดของเพลาไม่สามารถสวมตลับ
ลู กปื น ได้พอดี ขนาดของชิ้น งานยาวเกิ น กว่า ที่จ ะประกอบกัน ได้ ฯลฯ การวิเคราะห์ งานเหล่ า นี้
จาเป็นต้องมีการปรับแต่ค่าต่างๆ ในโปรแกรมการวิเคราะห์ทางไฟไนต์เอลิเมนต์ก่อนการวิเคราะห์จริง
ไม่ว่าจะเป็นการปรับแบบจาลองโดยตรง การปรับสมการในการวิเคราะห์ การปรับเงื่อนไขในการ
วิเคราะห์ หรือการปรับรูปแบบของการเชื่อมติด เป็นต้น
6.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
ตัวอย่างของการวิเคราะห์ในหัวข้อนี้เริ่มจากการเปิดไฟล์ที่ผู้สอนได้เตรียมไว้ให้ชื่อ
Contact_Interface.wbpz โดยทาการ Restore Archive ดังรูปที่ 6-9

รูปที่ 6-9 การ Restore Archive


ในการวิเคราะห์ชิ้นงานเริ่มจากกาหนดหน่วยที่ต้องการและกาหนดคุณสมบัติของ
วัสดุดงั รูปที่ 6-10 และรูปที่ 6-11 ตามลาดับ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
88

รูปที่ 6-10 การกาหนดหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 6-11 การกาหนดคุณสมบัติของวัสดุ


ทาการกาหนดขอบเขตเงื่อนไขในการวิเคราะห์ กาหนดให้เกิดการยึดที่รูปเจาะทั้ง 4
รู ที่ปลายของก้านลูกสูบมีแรงกระทาในทิศ Y และผิวของลูกสูบสามารถเคลื่อนที่ได้ตามแกน Y และ
หมุนได้ตามแกน Z ดังรูปที่ 6-12 ถึงรูปที่ 6-14

รูปที่ 6-12 จุดยึดทั้ง 4 จุด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
89

รูปที่ 6-13 แรงที่กระทาที่ก้านสูบ

รูปที่ 6-14 ผิวของลูกสูบ

รูปที่ 6-15 ผลการวิเคราะห์เมื่อไม่ได้กาหนดระยะห่าง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
90

รูปที่ 6-16 การเลือกและตรวจสอบคุณสมบัติ

รูปที่ 6-17 คุณสมบัติของงานที่เลือก

รูปที่ 6-18 การเพิ่มเครื่องมือสัมผัสที่ถูกต้อง

รูปที่ 6-19 การเพิ่มเครื่องมือสัมผัสที่ผิด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
91

รูปที่ 6-20 ผลของการวิเคราะห์ระยะระหว่างผิวงาน

รูปที่ 6-21 ค่าที่ได้จากการวิเคราะห์ระยะระหว่างผิวงาน

รูปที่ 6-22 ระยะระหว่างผิวงาน

รูปที่ 6-23 ระยะระหว่างผิวงานที่ยังไม่ได้กาหนด

รูปที่ 6-24 การกาหนดระยะระหว่างผิวงาน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
92

รูปที่ 6-25 เลือกคาตอบทีต้องการทราบ

รูปที่ 6-26 การเลือก Deformation -> Total

รูปที่ 6-27 การเลือก Stress -> Equivalent (von-Mises)

รูปที่ 6-28 เลือกเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าความปลอดภัย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
93

รูปที่ 6-29 คาตอบก่อนการวิเคราะห์

รูปที่ 6-30 ค่า Total deformation ทั้งหมด

รูปที่ 6-31 ค่า Equivalent von-Mises stress ของงานทั้งหมด

รูปที่ 6-32 การเพิ่มค่า Total deformation

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
94

รูปที่ 6-33 การเลือกเฉพาะส่วนของแบบจาลอง

รูปที่ 6-34 การเลือก filter body ก่อนเลือกวัตถุ

รูปที่ 6-35 ผลของการเสียรูปที่เกิดขึ้นเฉพาะบนวาล์ว

รูปที่ 6-36 การตรวจสอบค่าสูงสุด-ต่าสุดที่ Tabular Data

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
95

รูปที่ 6-37 การตรวจสอบค่าสูงสุด-ต่าสุดที่ detail

รูปที่ 6-38 การใช้เครื่องมือวิเคราะห์ผิวสัมผัส

รูปที่ 6-39 ผลของการวิเคราะห์ผิวสัมผัส


6.2.3. สรุปการวิเคราะห์
การวิเคราะห์การเสียรูปของลูกสูบและกระบอกสูบที่มีแบบจาลองไม่ชิดกัน พอดี
ส่งผลให้จาเป็นต้องมีการปรับปรุงแบบจาลองก่อนการวิเคราะห์ จากการปรับปรุงสมการที่ใช้ในการ
ทานายระยะหากสามารถวิเคราะห์ได้ตามวัตถุประสงค์ของการสร้างแบบจาลอง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
96

6.3. การวิเคราะห์งานประกอบโดยใช้จุดเชื่อมต่อ
6.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์งานที่มีการประกอบกันตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปที่มีการประกอบกันแบบไม่
ยึดติด มีการเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนที่สามารถวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์จุดเชื่อมต่อได้ดังรูปที่ 6-59

รูปที่ 6-40 งานประกอบที่ประกอบไปด้วย 4 ชิ้นส่วน


6.3.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
ในการวิเคราะห์ปัญหาชิ้นงานประกอบเริ่มจากเปิดโปรแกรมและเลือกหน่วยในการ
วิเคราะห์ดังรูปที่ 6-41

รูปที่ 6-41 การกาหนดหน่วยก่อนการวิเคราะห์

รูปที่ 6-42 ผิวสัมผัสที่ปรากฎขึ้นมาแบบอัตโนมัติโดยโปรแกรม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
97

รูปที่ 6-43 การสร้างกลุ่มของการสัมผัสตัวใหม่

รูปที่ 6-44 การเปลี่ยนจาก contact เป็น joint

รูปที่ 6-45 การสร้างจุดเชื่อมต่อแบบอัตโนมัติ

รูปที่ 6-46 จุดเชื่อมต่อที่ถูกสร้างขึ้นแบบอัตโนมัติ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
98

รูปที่ 6-47 ตัวอย่างของจุดที่เชื่อมต่อกัน

รูปที่ 6-48 ตัวอย่างชิ้นงานที่สัมผัสกัน

รูปที่ 6-49 การเปลี่ยนชื่อจุดเชื่อมต่อ

รูปที่ 6-50 จุด Revolute - Pin To Piston

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
99

รูปที่ 6-51 จุดที่ทาการลบออกจากการวิเคราะห์

รูปที่ 6-52 การลบจุดที่นาออก

รูปที่ 6-53 จุดที่สองที่ทาการลบออก

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
100

รูปที่ 6-54 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Fixed Support

รูปที่ 6-55 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Fixed Support

รูปที่ 6-56 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Cylindrical Support

รูปที่ 6-57 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Cylindrical Support

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
101

รูปที่ 6-58 การเปลี่ยนเงื่อนไขจาก Fixed ไปเป็น Free

รูปที่ 6-59 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้เป็น Frictionless Support

รูปที่ 6-60 ผิวที่ทาการกาหนดให้เป็น Frictionless Support

รูปที่ 6-61 การเลือกเงื่อนไขที่ต้องการให้ถูกความดันกระทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
102

รูปที่ 6-62 ผิวที่ทาการกาหนดให้ถูกความดันกระทา

รูปที่ 6-63 การกาหนดความดัน

รูปที่ 6-64 กดให้โปรแกรมเริ่มทาการวิเคราะห์


6.3.3. ผลการวิเคราะห์
การวิเคราะห์งานประกอบเกี่ยวกับลูกสูบที่มีการเคลื่อนที่สามารถแสดงผลการ
วิเคราะห์ค่า Total Deformation ค่า Equivalent Strain ค่า Equivalent Stress ค่า Safety
Factor และแรงปฏิกิริยาได้ดังนี้

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
103

รูปที่ 6-65 การแสดงผลการเสียรูป (Total Deformation)

รูปที่ 6-66 การแสดงผลความเค้นที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน

รูปที่ 6-67 การเลือกเพื่อตรวจสอบแรงที่เกิดขึ้นบนจุดที่มีการเชื่อมต่อ สัมผัสหรือยึด

รูปที่ 6-68 การเปลี่ยนชื่อของผลการวิเคราะห์เพื่อให้สอบคล้องกับชื่อของจุดยึด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
104

รูปที่ 6-69 ที่ทั้งหมดที่เกิดขื้นบนจุดยึด

รูปที่ 6-70 การตรวจสอบแรงที่เกิดขึ้นบนจุดยึดแบบ Tubular Data

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
105

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 6
จงใช้ ข้ อ มู ล ที่ ก าหนดให้ เ พื่ อ ค านวณหา Total Deformation (min max) Equivalence
von-Mises Strain ( min max ) Equivalence von-Mises Stress (min max ) ค่าความปลอดภัย
ที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานแต่ละชิ้น และแรงปฏิกิริยาที่จุดยึดและจุดเชื่อมต่อทุกจุด ทารายงานสรุป
1 หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

รูปที่ 6-71 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6


ตารางที่ 6-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 6
No. ID Name Pressure (MPa)
1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 0.76
2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 2.09
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 1.07
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 2.43
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 0.34
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 2.96
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 2.85
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 2.42
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 2.01
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 2.48

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
106

ตารางที่ 6-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 6


No. ID Name Pressure (MPa)
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 3.00
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 0.94
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 1.79
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 2.34
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 2.17
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 2.48
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 2.36
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 1.01

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
107

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 6
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 6 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
108

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 12 ชั่วโมง
9-11
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์การสั่นสะเทือน
7.1. การวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.2. การวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง
7.3. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
7.4. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
จุดประสงค์การสอน
7.1. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.1.1. บอกความสาคัญของการวิเคราะห์พลศาสตร์
7.1.2. บอกความหมายของการสั่นสะเทือน
7.1.3. บอกประเภทของการสั่น
7.2. วิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง
7.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
7.3. วิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
7.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
7.4. วิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
7.4.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
7.4.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
7.4.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
109

หน่วยที่ 7 กำรวิเครำะห์กำรสั่นสะเทือน
การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนถือเป็นส่วนที่สาคัญในการออกแบบทางกล หากผู้ออกแบบได้
คานึงถึงการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นในการดาเนินงานชิ้นส่วนทางกลหรือเครื่องจักรก็จะส่งผลให้การ
ออกแบบมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

รูปที่ 7-1 ฟังก์ชั่นพีริออดิก (a periodic function)


(Rao, 2004)
7.1. การวิเคราะห์ทางพลศาสตร์
7.1.1. ความสาคัญของการวิเคราะห์พลศาสตร์
ในการวิเคราะห์ทางสถิติศาสตร์อาจจะแสดงให้เห็นถึงการออกแบบชิ้นส่วนทางกลที่
สามารถทางานได้ในกรณีที่ภาระมีค่าคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา แต่ในความเป็นจริงแล้วในบางกรณีภาระที่
กระทาบนชิ้นส่ว นทางกลอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดเมื่อเวลาเปลี่ ยนไป ดังนั้นการวิเคราะห์
ชิ้นส่วนทางกลในเชิงของพลศาสตร์จึงจาเป็นสาหรับการวิเคราะห์ปัญหาให้ครบทุกมิติ
7.1.2. การสั่นสะเทือน
การเคลื่อนที่ที่มีการเคลื่อนที่ซ้าไปมาเป็นรอบเรียกการสั่นสะเทือน (vibration) หรือ
การสั่ น (oscillation) เช่น การเคลื่ อนที่ของตุ้ มนาฬิ การหรื อการดี ด กีต้า เป็นต้น การศึกษาการ
สั่นสะเทือนเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุและความสัมพันธ์ของแรงที่เกิดขึ้นเป็นหลัก

รูปที่ 7-2 ลูกตุ้มแขวน


(Rao, 2004)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
110

7.1.3. ประเภทของการสั่น
7.1.3.1. การสั่นแบบอิสระ
การสั่นแบบอิสระ (free vibration) คือการสั่นของระบบในลักษณะที่
ไม่มีแรงภายนอกมากระทา ตัวอย่างของการสั่นอย่างอิสระ ได้แก่ การสั่นของลูกตุ้มนาฬิกา การแกว่ง
ของชิงช้า เป็นต้น โดยการเคลื่อนที่ของระบบที่มี การสั่นแบบอิสระสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (7-1)
(Inman, 2007) ซึ่งพจน์ทางด้านซ้ายมือหมายถึงลักษณะของระบบที่ประกอบไปด้วยมวล ตัวหน่วง
ของการสั่นสะเทือน และค่าคงที่ของสปริง
mx  t   cx  t   kx  t   0 (7-1)

7.1.3.2. การสั่นแบบบังคับ
การสั่นสะเทือนแบบบังคับ (Force vibration) เป็นการสั่นสะเทือนซึ่ง
เกิดเนื่องจากพลังงานภายนอกกระทากับระบบระหว่างการสั่นสะเทือน โดยพลังงานภายนอกที่กระทา
นั้นอาจจะอยู่ในรูปของแรง แรงบิดหรืออาจเป็นการขจัดเพื่อบังคับให้เกิดการสั่นก็ได้ โดยลักษณะการ
เคลื่อนที่ของระบบที่มีการสั่นแบบบังคับสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (7-2) (Bottega, 2006)

mx  t   cx  t   kx  t   F  t  (7-2)

7.2. การวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง
7.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของการวิเคราะห์มวลที่ติดบนสปริง เพื่อให้มีความ
เข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีผลต่อความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) โดยความถี่ธรรมชาติ
สามารถคานวณได้ดังสมการที่ (7-3)

1 k
f (7-3)
2 m
โดยที่
f หมายถึงความถี่ (Hz)
k หมายถึงค่าคงที่ของสปริง (N/m)
m หมายถึงมวลของวัตถุ (kg)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
111

7.2.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการสั่นสะเทือนในบทนี้เริ่มจากการสร้างแบบจาลอง
รูปทรงลูกบาศก์ขนาด 10 mm x 10 mm x 10 mm ดังรูปที่ 7-3

รูปที่ 7-3 แบบจาลองขนาด 10 mm x 10 mm x 10

รูปที่ 7-4 แบบจาลองขนาดอื่นๆ

รูปที่ 7-5 ความสูงของแบบจาลองแต่ละชิ้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
112

รูปที่ 7-6 แบบจาลองเมื่อถูกยึดไว้กับสปริง

รูปที่ 7-7 เลือกหน่วยในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
113

รูปที่ 7-8 เปิด Restore Archive…

รูปที่ 7-9 การตั้งชื่อไฟล์ตามด้วยรหัสนักศึกษา

รูปที่ 7-10 เลือกการวิเคราะห์แบบ Modal

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
114

รูปที่ 7-11 แบบจาลองก่อนการวิเคราะห์

รูปที่ 7-12 ตรวจสอบคุณสมบัติของสปริง

รูปที่ 7-13 ตรวจสอบคุณสมบัติของแบบจาลอง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
115

รูปที่ 7-14 support Faces

รูปที่ 7-15 ผิวที่กาหนดขอบเขตการเคลื่อนที่

รูปที่ 7-16 การเลือกจานวนของ vibration mode

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
116

7.2.3. ผลการวิเคราะห์
หลังจากการวิเคราะห์ในส่วนของ modal vibration เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ผู้วิเคราะห์
สามารถเลือกดูได้ว่าต้องการดูลั กษณะของการสั่นในรูปแบบใด และแต่ละรูปแบบมีเกิดขึ้น เมื่ อมี
ความถี่เท่าใด กราฟผลการวิเคราะห์สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 7-17

รูปที่ 7-17 ผลการวิเคราะห์การสั่นสะเทือน

รูปที่ 7-18 การเลือกความถี่ทั้งหมดที่ต้องการแสดง

รูปที่ 7-19 การสร้างผลของความถี่ที่เกิดกับแบบจาลอง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
117

รูปที่ 7-20 การเสียรูปในแต่ละความถี่ของแบบจาลอง

รูปที่ 7-21 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์

รูปที่ 7-22 กราฟผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
118

รูปที่ 7-23 กราฟผลการวิเคราะห์เมื่อทาการเพิ่มสัดส่วนของการหน่วง


7.3. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนปีกเครื่องบิน
7.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของการวิเคราะห์ ปีกเครื่องบินเพื่อให้มีความเข้าใจใน
การออกแบบปีกเครื่องบินที่สามารถใช้ในการสภาวะที่เกิดภาระที่เป็นลักษณะเป็นรอบได้
7.3.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการวิเคราะห์รูปแบบการสั่นของปีกเครื่องบินเริ่มจากการเปิดโปรแกรม
และเลือกการวิเคราะห์แบบ static structural เพื่อเริ่มการวิเคราะห์

รูปที่ 7-24 เปิดการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
119

รูปที่ 7-25 เลือกการวิเคราะห์ 2 ส่วน

รูปที่ 7-26 เลือกวัสดุที่จะนามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 7-27 หน้าต่างวัสดุ

รูปที่ 7-28 การเลือกประเภทของวัสดุในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
120

รูปที่ 7-29 เลือกหน่วย

รูปที่ 7-30 แบบจาลองปีกเครื่องบิน

รูปที่ 7-31 กาหนดจุดยึด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
121

รูปที่ 7-32 กาหนดจุดที่มีแรงดัน

รูปที่ 7-33 กาหนดขนาดของแรงดัน

รูปที่ 7-34 การเลือกการแสดงผล

รูปที่ 7-35 ผลการวิเคราะห์ Equivalent Stress

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
122

รูปที่ 7-36 การเลือกจานวนโหมดของแบบจาลอง

รูปที่ 7-37 เลือกให้มีการวิเคราะห์ Stress และ Strain


7.3.3. ผลการวิเคราะห์
หลั งจากทาการกาหนดเงื่อนไขในการวิเ คราะห์ ลั กษณะการสั่ นสะเทื อนของปี ก
เครื่องบิน แล้วทาการวิเคราะห์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ค่าความถี่ที่ทาให้เกิดการสั่นของปีกเครื่องบิน
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 7-38

รูปที่ 7-38 เลือกความถี่ทั้งหมดที่ต้องการแสดงการสั่นสะเทือนของปีกเครื่องบิน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
123

รูปที่ 7-39 สร้างผลการวิเคราะห์ความถี่ของปีกเครื่องบิน

รูปที่ 7-40 หลักจากทาการคานวณหาค่าการสั่นในแต่ละรูปแบบของปีกเครื่องบิน

รูปที่ 7-41 การเสียรูปของปีกเครื่องบินในความถี่ 1772 Hz

รูปที่ 7-42 การเกิดความเค้นของปีกเครื่องบินในความถี่ขนาด 1772 Hz

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
124

7.4. การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถัก
7.4.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์การสั่นสะเทือนบนโครงถักเพื่อให้มีความเข้าใจในการออกแบบโครงถัก
ที่สามารถใช้ในการสภาวะที่เกิดภาระที่เป็นลักษณะเป็นรอบได้
7.4.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการวิเคราะห์รูปแบบการสั่นสะเทือนของโครงถักเริ่มจากการ import
ไฟล์โครงถักที่ต้องการวิเคราะห์มาในโปรแกรม

รูปที่ 7-43 การเลือกแบบจาลองที่นามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 7-44 แบบจาลองที่นามาใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 7-45 ตรวจสอบผิวสัมผัสทั้งหมด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
125

รูปที่ 7-46 ตรวจสอบผิวสัมผัสบางส่วน

รูปที่ 7-47 เลือก filter เฉพาะ edge

รูปที่ 7-48 เลือกเส้นขอบที่ต้องการ

รูปที่ 7-49 การตั้งชื่อกลุ่มของเส้นขอบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
126

รูปที่ 7-50 เลือกผิวที่ต้องการ

รูปที่ 7-51 เลือกการตั้งชื่อกลุ่ม

รูปที่ 7-52 การตั้งชื่อกลุ่มของผิวที่ต้องการ

รูปที่ 7-53 การเลือกรู และตั้งชื่อกลุ่มของรูที่ต้องการ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
127

รูปที่ 7-54 ผลของการตั้งชื่อกลุ่ม

รูปที่ 7-55 กาหนดขอบเขตของการเคลื่อนที่

รูปที่ 7-56 เลือกประเภทของการเลือกขอบเขต

รูปที่ 7-57 กาหนดขอบเขต

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
128

รูปที่ 7-58 กาหนดจานวนโหมดของการวิเคราะห์


7.4.3. ผลการวิเคราะห์
เมื่อดาเนินการวิเคราะห์เป็นที่เรียบร้อยแล้วจากนั้นจึงดาเนินการเลือกความถี่ที่ทา
ให้โครงถักเกิดการสั่นสะเทือนดังรูปที่ 7-59

รูปที่ 7-59 เลือกความถี่ที่ต้องการแสดงผล

รูปที่ 7-60 สร้างการแสดงผลของความถี่

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
129

รูปที่ 7-61 หน้าต่างก่อนการวิเคราะห์ผล

รูปที่ 7-62 ผลการวิเคราะห์

รูปที่ 7-63 คัดลอกการวิเคราะห์

รูปที่ 7-64 เปลี่ยนชื่อของการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
130

รูปที่ 7-65 กาหนดพื้นที่ของการยึดเป็นแบบ 4 รู

รูปที่ 7-66 เปรียบเทียบการสั่นสะเทือนของทั้งสองเงื่อนไข

รูปที่ 7-67 เปรียบเทียบการสั่นสะเทือนทั้งหมด

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
131

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 7
จงคานวณหาค่าการสั่นสะเทือนของโครงสร้างในแต่ละรูปแบบ โดยแสดงค่าการสั่นสะเทือน
รู ป แบบของการสั่ น ใน 10 รู ป แบบแรกและแสดงกราฟการตอบสนองของชิ้ น งานเมื่ อ ความถี่
เปลี่ยนแปลง โดยนักศึกษาจะได้รับเงินไขความหนาแน่นและค่า Young's Modulus ที่แตกต่างกัน
ทารายงานสรุป 1 หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

รูปที่ 7-68 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7


ตารางที่ 7-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 7
No. ID Name Density kg/m3 Young's Modulus (MPa)

1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 7,063.74 959.09


2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 7,183.20 274.74
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 5,804.46 966.78
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 1,823.65 207.41
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 3,362.20 663.33
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 5,114.50 754.51
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 6,868.45 569.89
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 1,797.53 939.60
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 8,760.14 234.35
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 6,872.79 174.98
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 3,725.52 807.79
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 6,711.27 592.64
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 2,608.41 434.83

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
132

ตารางที่ 7-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 7


No. ID Name Density kg/m3 Young's Modulus (MPa)
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 1,041.23 412.79
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 3,123.71 137.48
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 2,299.79 299.58
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 7,542.42 553.25
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 2,404.08 919.97

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
133

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 7
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 7 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
134

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 8 ชั่วโมง
12-13
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 8 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
8.1. การถ่ายเทความร้อน
8.2. การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง
8.3. การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความร้อน
8.4. การวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
จุดประสงค์การสอน
8.1. รู้พื้นฐานการถ่ายเทความร้อน
8.1.1. บอกความหมายการนาความร้อน
8.1.2. บอกความหมายการพาความร้อน
8.1.3. บอกความหมายการแผ่รังสี
8.2. วิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง
8.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
8.3. วิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความร้อน
8.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์
8.4. วิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
8.4.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
8.4.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
8.4.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
135

หน่วยที่ 8 กำรวิเครำะห์กำรถ่ำยเทควำมร้อน
การถ่ายเทความร้อน (heat transfer) พื้นฐานมีอยู่สามรูปแบบด้วยกัน ได้แก่ การนาความร้อน
(heat conduction) การพาความร้อน (heat convection) และการแผ่ รังสี (radiation) ตัว อย่าง
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 8-1

รูปที่ 8-1 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนบนเครื่องบิน


8.1. การถ่ายเทความร้อน
การถ่ายเทความร้อนเป็นการเคลื่อนที่ของพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งซึ่งเป็นไปตามกฎ
ของเทอร์โมไดนามิกส์ ซึ่งพื้นฐานมีอยู่ 3 ลักษณะด้วยกัน ได้แก่ การนาความร้อน (conduction) การ
พาความร้อน (convection) และการแผ่รังสี (radiation)

รูปที่ 8-2 พื้นฐานการถ่ายเทความร้อน


8.1.1. การนาความร้อน
การนาความร้อนเป็นการเคลื่อนที่ของพลังงานจากแหล่งหนึ่งไปแหล่งหนึ่งจากแหล่ง
พลังงานสูงไปยังแหล่งพลังงานต่า ปรากฎการณ์นี้สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งของแข็ง ของไหล และก๊าซ
(Cengel & Ghajar, 2015) สามารถคานวณอัตราการถ่ายเทความร้อนโดยการนาความร้อนได้จาก
สมการที่ (8-1)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
136

dT
Qcond  kA (8-1)
dn
โดยที่
Qcond หมายถึงพลังงานในการถ่ายเทความร้อนโดยการนา
k หมายถึงสภาพการนาความร้อน
A หมายถึงพื้นที่ผิวของวัตถุที่พิจารณา

ตัวอย่างที่ 8-1 The inner and outer surfaces of a 4-m x 7-m brick wall of thickness
3 0 cm and thermal conductivity 0 . 6 9 W/m °C are maintained at
temperatures of 26 °C and 8 °C, respectively. Determine the rate of
heat transfer through the wall, in W.

(Cengel & Ghajar, 2015)


วิธีทา

8.1.2.
การพาความร้อน
การพาความร้อนเป็นการถ่ายเทความร้อนจากแหล่งหนึ่งไปแหล่งหนึ่ง โดยเป็นการ
ถ่ายเทความร้อนระหว่างของแข็งและของไหล (ของเหลง หรือก๊าซ) ซึ่งเกิดขึ้นจากอิทธิพลของการนา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
137

ความร้อนและการเคลื่อนที่ของของไหล ของไหลที่เคลื่อนที่เร็วกว่าจะส่งผลให้อัตราการถ่ายโอนความ
ร้อนมีค่ามากกว่า สามารถคานวณได้จากสมการที่ (8-2)
Qconv  hAs dT (8-2)
โดยที่
Qconv หมายถึงพลังงานในการถ่ายเทความร้อนโดยการพา
h หมายถึงสัมประสิทธิ์การพาความร้อน
As หมายถึงพื้นที่ผิวของวัตถุที่พิจารณา

รูปที่ 8-3 การเย็นตัวของไข่ต้มโดยการพาความร้อนแบบบังคับ และการถ่ายโอนความร้อนแบบอิสระ


(Cengel & Ghajar, 2015)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
138

ตัวอย่างที่ 8-2 A 1.4-m-long, 0.2-cm-diameter electrical wire extends across a room


that is maintained at 20°C. Heat is generated in the wire as a result
of resistance heating, and the surface temperature of the wire is
measured to be 240°C in steady operation. Also, the voltage drops
and electric current through the wire are measured to be 110 V and
3 A, respectively. Disregarding any heat transfer by radiation,
determine the convection heat transfer coefficient for heat transfer
between the outer surface of the wire and the air in the room

(Çengel, 2002)
วิธีทา

8.1.3.
การแผ่รังสี
การแผ่ รั งสี เป็น การกระจายพลั งงานโดยกลไกของเคลื่อนแม่เหล็กทาให้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายในโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง สามารถคานวณได้จากสมการที่ (8-3)
Qrad   As  Ts4  Tsur4  (8-3)
โดยที่
Qrad หมายถึงพลังงานในการถ่ายเทความร้อนโดยการแผ่รังสี
 หมายถึงค่าคงที่ของ Stefan–Boltzmann (5.670 x 10-8 W/m2 K4)
 หมายถึงความสามารถในการแผ่รังสีความร้อน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
139

As หมายถึงพื้นที่ผิวของวัตถุที่พิจารณา

8.2. การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาผนัง
8.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
ตัวอย่างการวิเคราะห์ การถ่ายเทความร้อนผ่านฝาหนังเป็นการวิเคราะห์การถ่ายเท
ความร้อนที่เกิดจากการนาความร้อนและการพาความร้อน โดยมีแบบจาลองดังรูปที่ 8-4

รูปที่ 8-4 แบบจาลองผนัง


8.2.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนโดยใช้ระเบียบไฟไนต์เอลิเมนต์เริ่มจากการเลือก
module ที่ชื่อ Steady-State Thermal

รูปที่ 8-5 ประเภทของการวิเคราะห์ปัญหาทางความร้อน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
140

รูปที่ 8-6 การเลือกหน่วยที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 8-7 การเลือกวัสดุและการกาหนดคุณสมบัติวัสดุ

รูปที่ 8-8 ขนาดของผนัง

รูปที่ 8-9 ความหนาของผนัง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
141

รูปที่ 8-10 พื้นที่ที่กาหนดอุณหภูมิ

รูปที่ 8-11 อุณหภูมิของผนัง

รูปที่ 8-12 การเลือกฟลัคความร้อน

รูปที่ 8-13 การกาหนดค่าฟลัคความร้อน

รูปที่ 8-14 เริ่มดาเนินการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
142

8.2.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์ในส่วนของการถ่ายโอนความร้อนผ่านฝาผนังสามารถแสดงผลการ
วิเคราะห์ได้เป็นการกระจายของอุณหภู มิ ฟลัคซ์ความร้อนหรือปริมาณความร้อนที่ผ่านฝาผนังได้
ตัวอย่างการแสดงผลของการวิเคราะห์การกระจายตัวของอุณหภูมิสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 8-15

รูปที่ 8-15 ผลการวิเคราะห์การกระจายของอุณหภูมิผ่านฝาผนัง

รูปที่ 8-16 ค่าสูงสุดต่าสุดของอุณหภูมิที่เกิดขึ้นบนแบบจาลอง

รูปที่ 8-17 แบบจาลองที่ใช้ในการวิเคราะห์แบบผนังสองชั้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
143

รูปที่ 8-18 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 8-19 กาหนดวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 8-20 ผลการวิเคราะห์


8.3. การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในท่อระบายความร้อน
8.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์ระบายความร้อนของเครื่องทา
ความเย็นเป็นการแสดงให้เห็นถึงการวิเคราะห์อุปกรณ์ระบายความร้อนที่มีครีบและไม่มีครีบ เพื่อ
เปรียบเทียบลักษณะของการกระจายตัวของอุณหภูมิ ฟลัคซ์ความร้อนและปริมาณความร้อนที่ถูก
ถ่ายเท

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
144

รูปที่ 8-21 อุปกรณ์ระบายความร้อน


(“Coils Gallery,” 2013)

รูปที่ 8-22 ท่อระบายความร้อนแบบมีครีบ


(“MEDIUM HIGH FINNED TUBES,” n.d.)
8.3.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
ในการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนเริ่มจากการ
เลือกวัสดุที่ใช้ในการทาท่อแลกเปลี่ยนความร้อน โดยในตัวอย่างนี้ใช้ ทองแดง (copper alloy) ในการ
วิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
145

รูปที่ 8-23 การเลือกวัสดุที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 8-24 ท่อตรง

รูปที่ 8-25 การกาหนดขนาดของเอลิเมนต์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
146

รูปที่ 8-26 การเลือกกาหนดขอบเขตที่มีการพาความร้อน

รูปที่ 8-27 กาหนดขอบเขตที่ทราบอุณหภูมิ

รูปที่ 8-28 ผลการกาหนดขอบเขตในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
147

รูปที่ 8-29 ท่อแบบมีครีบ

รูปที่ 8-30 ขอบเขตของท่อแบบมีครีบ


8.3.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในท่อระบายความร้อนที่ไม่มีครีบ และมีครีบ
สามารถแสดงได้ดังนี้

รูปที่ 8-31 ผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
148

รูปที่ 8-32 การเลือกคานวณพลังงานที่สูญเสีย

รูปที่ 8-33 ผลการวิเคราะห์ท่อแบบมีครีบ

รูปที่ 8-34 การเลือกคานวณพลังงานที่สูญเสียของท่อแบบมีครีบ


8.4. การวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสี
8.4.1. แนวคิดเบื้องต้น
ตัวอย่างนี้เป็นการวิเคราะห์ปัญหาการแผ่รังสีของเตาความร้อนภายในบ้านดังรูปที่
8-35

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
149

รูปที่ 8-35 เตาความร้อนภายในบ้าน


8.4.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
ขั้นตอนในการวิเคราะห์เริ่มจากทาการสร้างแบบจาลองดังรูปที่ 8-36 และ รูปที่
8-37

รูปที่ 8-36 แบบจาลองเตาความร้อนภายในบ้าน

รูปที่ 8-37 ขนาดของแบบจาลองเตาความร้อนภายในบ้าน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
150

รูปที่ 8-38 พื้นผิวที่กาหนดให้วิเคราะห์แบบสมมาตร

รูปที่ 8-39 ตัวอย่างของเอลิเมนต์

รูปที่ 8-40 ขอบเขตเงื่อนไขในการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
151

รูปที่ 8-41 พลังงานความร้อนในเตา

รูปที่ 8-42 การแผ่รังสีจากเตา

รูปที่ 8-43 การพาความร้อนในผนัง

รูปที่ 8-44 การแพร่รังสีจากผนัง


8.4.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์ในปัญหานี้จะเลือกดูการกระจายตัวของอุณหภูมิ และฟลัคซ์ความ
ร้อนที่เกิดขึ้นบนผนังห้อง และเตาดังรูปที่ 8-45

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
152

รูปที่ 8-45 การเลือกผลการวิเคราะห์การแผ่รังสีของเตาสู่ผนัง

รูปที่ 8-46 ผลการวิเคราะห์การแผ่รังสีของเตาสู่ผนัง

รูปที่ 8-47 ผลการวิเคราะห์อุณหภูมิที่เกิดบนกาแพง

รูปที่ 8-48 พลังงานทั้งหมดที่แผ่รังสีจากเตา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
153

รูปที่ 8-49 พลังงานที่สูญเสียออกจากผนัง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
154

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 8
จงใช้ ข้ อ มู ล ที่ ก าหนดให้ เ พื่ อ ค านวณหาพลั ง งานความร้ อ นที่ ท่ อ สามารถระบายออกได้
อุณหภูมิต่าสุด -สูงสุดและความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิสูงสุดต่าสุด เปรียบเทียบระหว่างท่อแบบ
เรียบและท่อแบบมีครีบ และเปรียบเทียบระหว่างใช้ท่อเหล็กและท่อทองแดง ทารายงานสรุป 1 หน้า
สไลด์ Powerpoint พร้อมทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

รูปที่ 8-50 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8


ตารางที่ 8-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 8
Temperature Film Ambient
No. ID Name of inner pipe Coefficient temperature
(K) (W/m2) (K)

1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 834.75 68.27 807.21

2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 573.11 59.74 728.45

3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 405.01 22.89 340.56

4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 449.65 46.03 963.22

5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 608.10 76.33 586.2

6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 377.20 49.37 590.76

7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 894.86 81.66 519.08

8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 562.17 63.45 552.52

9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 707.73 98.87 744.63

10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 400.37 92.89 926.61

11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 375.27 78.00 592.49

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
155

ตารางที่ 8-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 8


Temperature Film Ambient
No. ID Name of inner pipe Coefficient temperature
(K) (W/m2) (K)

12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 874.39 81.49 637.7

13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 421.80 33.11 990.94

14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 718.13 51.07 773.79

15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 555.68 41.76 340.28

16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 429.89 51.58 871.91

17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 646.30 83.77 566.58

18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 547.97 64.24 699.5

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
156

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 8
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 8 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
157

ใบเตรียมการสอน
สัปดาห์ที่
เวลาในการเรียน 12 ชั่วโมง
14-16
ชื่อบทเรียน
หน่วยที่ 9 การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล
9.1. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms
9.2. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้าน
การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่ของ Slider Crank
9.3. Mechanisms ที่มีแรงต้าน
จุดประสงค์การสอน

9.1. รู้พื้นฐานการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms


9.1.1. บอกแนวคิดเบื้องต้นได้
9.1.2. บอกขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.1.3. บรรยายผลการวิเคราะห์

9.2. วิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ทีม่ ีแรงต้าน


9.2.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
9.2.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.2.3. สรุปผลการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่ของ Slider Crank
9.3. Mechanisms ที่มีแรงต้าน
9.3.1. สรุปแนวคิดเบื้องต้นได้
9.3.2. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์ได้
9.3.3. สรุปผลการวิเคราะห์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
158

หน่วยที่ 9 กำรวิเครำะห์กำรเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกล
การวิเคราะห์ การเคลื่ อนที่ของเครื่องจักรกล หรือกลศาสตร์เครื่องจักรกล (mechanic of
machinery analysis) เป็ น การวิ เ คราะห์ ก ารเคลื่ อ นที่ ข องชิ้ น ส่ ว นทางกลที่ ป ระกอบกั น เป็ น
เครื่องจักรกล โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ Kinetics เป็นคาทีใ่ ช้ในสาขากลศาสตร์คลาสสิก
ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนไหวของวัตถุกับภาระที่กระทาได้แก่แรงและโมเมนต์
ส่วนการวิเคราะห์แบบ Kinematics เป็นการวิเคราะห์เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุและระบบ โดย
ไม่คานึงถึงมวลของแต่ละส่วนหรือแรงที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ ซึ่งการวิเคราะห์จะต้องมีการนิยามตัว
แปรต่างๆ ของการเคลื่อนไหวก่อนที่จะทาการวิเคราะห์ ตัวอย่างของเครื่องจักรกลที่ถูกนามาวิเคราะห์
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 9-1 และรูปที่ 9-2

รูปที่ 9-1 Slider Crank Mechanisms


(“Slider Crank Mechanisms,” 2017)

รูปที่ 9-2 Diagrams of an eccentric-and-rod mechanism


(“Diagrams of an eccentric-and-rod mechanism,” 2017)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
159

ซึ่งในการวิเคราะห์กลศาสตร์ของเครื่องจักรกลพื้นฐานมักพิจารณาให้เป็นวัตถุแข็งเกร็ง โดยมี
สมการการเคลื่ อ นที่ ดั ง สมการที่ (9-1) และสมการการเคลื่ อ นที่ แ ละหมุ น ดั ง สมการที่ (9-2)
(Chakrabarty & Dourmaskin, 2013)
d
F  mV  (9-1)
dt
T    ri  Fi 
N
(9-2)
i 1

9.1. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms


9.1.1. แนวคิดเบื้องต้น
ตั ว อย่ า งนี้ เ ป็ น การวิ เ คราะห์ ก ารเคลื่ อ นที่ ข อง Slider Crank Mechanisms ที่
ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนย่อย 4 ชิ้น ดังรูปที่ 9-3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจพื้นฐานของการ
เคลื่อนของชิ้นส่วนทางกลได้

รูปที่ 9-3 แบบจาลองที่ใช้ในการวิเคราะห์

รูปที่ 9-4 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ที่เกิดบน connecting rod

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
160

9.1.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์
การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms มีลาดับการวิเคราะห์
เริ่มจากทาการสร้างแบบจาลองภายในโปรแกรมดังรูปที่ 9-5

wheel
connecting rod1

slot

connecting rod2

รูปที่ 9-5 ส่วนประกอบของแบบจาลองทั้งหมด

รูปที่ 9-6 ส่วนประกอบชิ้นงาน

รูปที่ 9-7 จุดอ้างอิง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
161

รูปที่ 9-8 การกาหนดจุดเชื่อมต่อ

รูปที่ 9-9 จุดเชื่อมระหว่าง wheel และ connecting rod1

รูปที่ 9-10 จุดเชื่อมระหว่าง wheel และ ground

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
162

รูปที่ 9-11 จุดเชื่อมระหว่าง connecting rod1 และ connecting rod2

รูปที่ 9-12 จุดเชื่อมระหว่าง connecting rod2 และ slot

รูปที่ 9-13 จุดเชื่อมระหว่าง slot และ ground

รูปที่ 9-14 กาหนดโมเมนต์ให้กับ wheel

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
163

รูปที่ 9-15 ทดสอบการหมุนโดยเลือกที่ Configure

รูปที่ 9-16 ทดสอบการเคลื่อนที่ของระบบกลไก

รูปที่ 9-17 กาหนดแรงโน้มถ่วงของโลก

รูปที่ 9-18 กาหนดความเร็วรอบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
164

9.1.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 9-19

รูปที่ 9-19 ผลการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ทีไ่ ม่มีแรงต้าน


9.2. การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้าน
9.2.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้านสามารถ
วิเคราะห์ได้โดยกาหนดภาระภายนอกให้แก่ระบบ ในตัวอย่างนี้เป็นการวิเคราะห์ต่อจากตัวอย่างที่แล้ว
โดยการกาหนดสปริงให้แก่ระบบ
9.2.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์

รูปที่ 9-20 สร้างจุดอ้างอิงเพิ่มเติม

รูปที่ 9-21 กาหนดพิกัดจุดอ้างอิง

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
165

รูปที่ 9-22 กาหนดทิศทางของแกนอ้างอิง

รูปที่ 9-23 กาหนดสปริง

รูปที่ 9-24 ภาพของจุดเชื่อมแบบสปริง

รูปที่ 9-25 ปสริงที่เกิดขึ้นในโปรแกรม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
166

9.2.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มีแรงต้านโดยใช้
ปริงเป็นอุปกรณ์ในการสร้างแรงสามารถแสดงได้ดัง รูปที่ 9-26 หากต้องการทราบแรงที่กระทาใน
แนวแกน X ก็สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 9-27

รูปที่ 9-26 ผลการวิเคราะห์

รูปที่ 9-27 ผลการวิเคราะห์แรงของสปริงในแนวแกน X


9.3. การวิเคราะห์ ความเสียหายของชิ้นส่วนในการเคลื่อนที่ของ Slider Crank Mechanisms ที่มี
แรงต้าน
9.3.1. แนวคิดเบื้องต้น
การวิเคราะห์ในขั้นตอนที่ผ่านมาเป็นการวิเคราะห์โดยสมมติให้ชิ้นส่วนทางกลเป็น
ชิ้นส่วนที่เป็นวัตถุแข็งเกร็งไม่สามารถที่จะแสดงผลของภาระที่กระทากับชิ้นส่วนทางกลได้ แต่ใน
ตั ว อย่ า งนี้ เ ป็ น การวิ เ คราะห์ โ ดยก าหนดให้ ชิ้ น ส่ ว นบางชิ้น เป็ น ชิ้น ส่ ว นที่ มี พ ฤติ ก รรมการเปลี่ ยน
รูปแบบอิลาสติก (elastic deformation) เป็นการเปลี่ยนรูปเมื่อมีแรงกระทา แต่เมื่อปลดแรงกระทา
อะตอมซึ่งเคลื่อนไหวเนื่องจากผลของความเค้นจะเคลื่อนกลับเข้าตาแหน่งเดิม ทาให้วัสดุคงรูปร่าง
เดิมไว้ได้ ตัวอย่างเช่น ยางยืด สปริง เป็นต้น (Russell C. Hibbeler, 2017)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
167

9.3.2. ขั้นตอนในการวิเคราะห์
การวิ เ คราะห์ ค วามเสี ย หายของชิ้ น ส่ ว นในการเคลื่ อ นที่ ข อง Slider Crank
Mechanisms ที่ มี แ รงต้ า นสามารถวิ เ คราะห์ ไ ด้ โ ดยก าหนดภาระภายนอกให้ แ ก่ ร ะบบ จากนั้ น
กาหนดให้ชิ้นส่วนที่ต้องการวิเคราะห์เป็นชิ้นส่วนแบบ flexible

รูปที่ 9-28 เลือก connecting rod1

รูปที่ 9-29 กาหนดให้เป็น Flexible


9.3.3. ผลการวิเคราะห์
ผลการวิ เ คราะห์ ค วามเสี ย หายของชิ้ น ส่ ว นในการเคลื่ อ นที่ ข อง Slider Crank
Mechanisms ที่มีแรงต้านสามารถแสดงผลได้ดังรูปที่ 9-30 ซึ่งหากต้องการที่จะทราบค่าของแรงบิด
ที่กระทากับล้อก็สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 9-31

รูปที่ 9-30 ทาการวิเคราะห์อีกครั้งเพื่อดูผลลัพธ์

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
168

รูปที่ 9-31 ผลลัพธ์ที่แสดงเป็นกราฟ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
169

แบบฝึกหัดท้ำยบทที่ 9
จงใช้ ข้ อ มู ล ที่ ก าหนดให้ เ พื่ อ ค านวณหา Total Deformation (min max) Equivalence
von-Mises Strain ( min max ) Equivalence von-Mises Stress (min max ) ค่าความปลอดภัย
ที่ต่าที่สุดที่เกิดขึ้นบน connecting rod ทั้ง 2 ชิ้น ทารายงานสรุป 1 หน้าสไลด์ Powerpoint พร้อม
ทั้งสรุปการทางานเป็นคลิปวิดีโอส่ง

รูปที่ 9-32 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9


ตารางที่ 9-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 9
No. ID Name Angular velocity (rad/s)
1 59172110190-5 นายกฤตเมธ จรรยา 0.62
2 59172110218-1 นายสุวัฒนา ยอดมีสี 0.34
3 59172110251-2 นายณภทรพล แต่งทรัพย์ 0.11
4 59172110323-8 นายโทโมคาสุ โอตซูกะ 0.18
5 59172110470-6 นายนพรัตน์ ชอบสุข 0.13
6 59172110569-7 นายพุฒิพงศ์ ลิ่มสกุล 0.75
7 60172310048-1 นายสราวุธ มงคลพรมราช 0.67
8 60172310145-0 นายวุฒินันท์ นาคพิพัฒน์ 0.33
9 60172310252-6 นายอาชวินกร หอมอ้ม 0.70
10 60172310295-8 นายธีระพล เศษขุนทด 0.14

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
170

ตารางที่ 9-1 เงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์บทที่ 9


No. ID Name Angular velocity (rad/s)
11 60172310316-4 นางสาวพิมพ์ชนก แซ่อึง 0.14
12 60172310334-0 นายธนพล สุพร 0.61
13 60172310337-0 นายกิตติมศักดิ์ จันทราศรี 0.44
14 60172310343-8 นายอดิสรณ์ มุ่งย่อมกลาง 0.44
15 60172310347-8 นายยุทธการ สือจันทึก 0.75
16 60172310351-5 นายทักษิณ สีตา 0.85
17 60172310366-3 นายไกรนรินทร์ คาแสนโคตร 0.13
18 60172310368-3 นายชัชชัย ศูนย์กลาง 0.71

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
171

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีสอนและกิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
4. ทาแบบฝึกหัดการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมทางไฟไนต์เอลิเมนต์
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 9
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 8 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
172

บรรณำนุกรม
Bottega, W. J. (2006). Engineering Vibration. Taylor & Francis.
Çengel, Y. A. (2002). Heat and Mass Transfer (2nd ed.). New York: McGraw-Hill
Education.
Cengel, Y. A., & Ghajar, A. J. (2015). Heat and Mass Transfer (5th ed.). United States:
McGraw-Hill Education.
Chakrabarty, D., & Dourmaskin, P. (2013). Chapter 21 Rigid Body Dynamics : Rotation
and Translation about a Fixed Axis. In Classical Mechanics: MIT 8.01 Course
Notes (pp. 1–29). Retrieved from
http://web.mit.edu/8.01t/www/materials/modules/chapter21.pdf
Coils Gallery. (2013). Retrieved from http://test.davidpwilson.com/coils-gallery/
Diagrams of an eccentric-and-rod mechanism. (2017). Retrieved from
https://www.illustrationsource.com/stock/image/481015/diagrams-of-an-
eccentric-and-rod-mechanism-commonly-used-to-drive-the-valve-gears-of-
engines/
Hibbeler, R. C. (2016). Engineering Mechanics Static and Dynamics (14th ed.). United
Stated of America: Pearson Education Limited.
Hibbeler, R. C. (2017). Mechanics of Matherials (10th ed.). Pearson Education Limited.
Hibbeler, Russell C. (2017). Mechanics of Materials (10th ed.). United States: Pearson.
Inman, D. J. (2007). Engineering Vibrations (3rd ed.). Prentice Hall.
Marikani, A. (2017). Materials Science. Delhi: PHI Learning Private Limited.
MEDIUM HIGH FINNED TUBES. (n.d.). Retrieved from http://www.wieland-
thermalsolutions.com/internet/en/products/finned_tubes/mittelhochberippte_r
ohre/Mittelhochberippte_rohre.jsp
Moaveni, S. (2008). Finite Element Analysis: theory and application with ANSYS (3rd
ed.). United Stated of America: Pearson Education Limited.

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน
173

Rao, S. S. (2004). Mechanical Vibrations (5th ed.). Miami: Prentice Hall.


Rao, S. S. (2011). The Finite Element Method in Engineering. United Stated of
America: Elsevier Inc.
Reddy, J. N. (20006). An Introduction to the Finite Element Method (3rd ed.). United
Stated of America: McGraw-Hill Education.
Shell Element - an overview | ScienceDirect Topics. (n.d.). Retrieved June 17, 2019,
from https://www.sciencedirect.com/topics/engineering/shell-element
Simple Pendulums. (2017). Retrieved from
http://www.bbc.co.uk/schools/gcsebitesize/science/triple_aqa/using_physics_ma
ke_things_work/centre_of_mass/revision/2/
Slider Crank Mechanisms. (2017). Retrieved from
http://ocw.metu.edu.tr/pluginfile.php/3961/mod_resource/content/6/ch7/7-
2.htm
Voigtländer, M. (2017). Forest trailer. Retrieved from
https://grabcad.com/library/forest-trailer-2

เอกสารประกอบการสอนวิชา Finite Element Method for Agricultural Engineering โดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

You might also like