You are on page 1of 3

form and analysis week1 (12 June 2007)

figure, motive และ semi-phrase 2. Sequence

figure คือหนวยยอยที่เล็กที่สุดของทำนองเพลง ซึ่งอาจ


ประกอบดวยโนตตั้งแต 2-12 ตัว สังเกตการแบง figure จาก
ตัวอยางดานลาง:

motive (motif) มีความหมายตางจาก figure และมักจะ


หมายถึงการเปนทำนองหลัก (theme) ในขณะที่ figure มัก
หมายถึงดนตรีในสวนของ accompaniment หรือรูปทรงยอยๆ ที่
ทำหนาที่ในลักษณะ pattern ประกอบเทานั้น นอกจากนั้น mo-
tive ยัง: 3. Alternation
1. อาจประกอบขึ้นจาก figure มากกวา 1 figure (สังเกตลักษณะที่เปน semi-phrase)
2. มักหมายถึง subject สั้นๆ ในดนตรีประเภท invention
สวน semi-phase ก็คือการประกอบกันเขาของ motive
และสรางกลุมของดนตรีที่ใหญกวาขึ้นมา ซึ่งอาจพูดไดวา figure
หลายอันสราง motive, motives สราง semiphrase และ
semi-phrases สราง phrase นั่นเอง
figure ที่พบอาจมีหลายรูปแบบที่เปนไปได:
1. Repetition 4. Contrary Motion
semi-phrase คือ figure หลายชุดที่คลายกับมีจุดพัก แตยัง
เร็วเกินไปที่จะเปน cadence:

หรือซ้ำเฉพาะในสวน rhythmic:

1
form and analysis week1 (12 June 2007)

5. Retrograde 10. ใชในลักษณะ imitative

6. Corresponding metric grouping


อาจขามหองในลักษณะ:

หมายเหตุ
7. Interlocking หรือ Overlapping semi-phrase อาจมีความยาวและไมสามารถแบงยอยเปน
figure เล็กๆ ได สังเกตตัวอยางตอไปนี้:

8. figure group
หลาย figure ที่แตกตางกันสรางเปน phrase:
cadence
1. authentic: V-I (V อาจหมายถึงคอรด dominant ในรูป
อื่นก็ได เชน V7, vii7)
S 1.1 perfect authentic
S 1.2 imperfect authentic
2. plagal: IV-I (มักพบใน modal music)
3. deceptive: I-VI หรือ V-คอรดอื่นๆ
4. half: คอรดอะไรก็ไดที่นำไปสู V (แตในบางกรณีในดนตรี
9. multiple figures สมัยใหมอาจพบการลงดวยคอรด II หรือ III หรือ IV ก็ได)
ใชหลาย figure ในเวลาเดียวกัน:
S ปกติแลว cadence chord จะอยูที่ beat แรกของหอง
สุดทาย นอกจากกรณีเฉพาะตอไปนี้:

2
form and analysis week1 (12 June 2007)

1. shifted cadence 4. extended cadence


พบไดในดนตรี Baroque ตอนตนๆ ถา cadence chord หมายถึงการที่ cadence chord มีความยาวมากกวาปกติ
ปรากฏบน weak beat เรียกวา feminine ending ดวยการ:
shifted cadence อาจพบใน polonaise และ sarabande ใน S 4.1 arpeggiation
ชวงคริสตศตวรรษที่ 18 ไดดวย
Schumann, Curious Story, Op. 15

/ 4.2 prolongation

2. delayed cadence
พบมากในดนตรีสไตล Galant ซึ่งนิยมการใช appoggiatura
Paradies, Sonata in A major
/ 4.3 chordal treatment
/ หมายถึงการที่มี cadence chord มากกวา 1 bar ซึ่ง
มักเกิดที่ชวงทาย introduction หรือตอนจบของเพลง (ดูหอง
ทายๆ ของ symphony หมายเลข 1, 3, และ 5 ของ Beetho-
ven)
แตก็อาจพบในงานสมัยใหมดวย: 5. implied cadence
Kuhlau, Sonatina, Op. 20, No.1 คือกรณีที่ cadence ขาด root:

3. elided cadence 6. evaded cadence


cadence ชนิดนี้เหลื่อมซอนกับประโยคเพลงถัดไป: คือ cadence ที่นำไปสูคอรดที่ผิดจากรูปแบบทั่วๆ ไป มัก
เกิดในชวงเปลี่ยน key

You might also like