You are on page 1of 415

แผนการจัดการเรียนรู้

มุ่งเน้ นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล
รหัสวิชา 3105-2105
หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู ง (ปวส.) พุทธศักราช 2557
ประเภท ช่ างอุตสาหกรรม
สาขาวิชาช่ างอิเล็กทรอนิกส์

จัดทําโดย
นายวิระศักดิ์ วัตถุ
ผู้เรียบเรียง

วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้
มุ่งเน้ นสมรรถนะอาชีพ
วิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล
รหัสวิชา 3105-2105

จัดทําโดย
 นายวิระศักดิ์ วัตถุ
คํานํา

แผนจัดการเรี ยนรู ้รายวิชา “การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า” เรี ยบเรี ยงขึ้นเพื่อให้ตรงตาม


หลักสู ตรประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจัดการเรี ยนรู ้น้ ี ได้กล่าวถึงการควบคุมไฟฟ้ าที่สาํ คัญและการโปรแกรม โดยแบ่งเป็ น
13 หน่วย ได้แก่ ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PLC, โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC, พื้นฐานทาง
ดิจิตอลของ PLC, คุณสมบัติของ PLC, การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล, คําสัง่ พื้นฐาน, คําสัง่ พิเศษ,
การใช้งานโปรแกรม SYSWIN 3.4, การออกแบบโปรแกรม, การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอด
ไฟฟ้ า, การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ , การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิ วเมติกส์ ,การ
แก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม ในแต่ละหน่วยจะแทรกใบงานกิจกรรม และแบบประเมิน ผลการ
เรี ย นรู ้ เพื่ อ เป็ นประโยชน์ ต่ อ การเรี ย นการสอน และการประเมิ น ผล นอกจากนี้ ผูเ้ รี ย บเรี ย งได้
ยกตัวอย่างประกอบหลักหลายและใช้ภาษที่อ่านแล้วทําความเข้าใจได้ง่าย เพื่อให้เหมาะกับนักเรี ยน
ในระดับนี้
สําหรั บ แผนการสอนรายวิ ชานี้ ผูจ้ ดั ทําได้ทุ่มเทกําลังกาย กําลัง ใจและเวลาในการศึ กษา
ค้นคว้า ทดลอง ตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 จนถึงปั จจุบนั เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพต่อการเรี ยนการสอน
และการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง
ท้ายที่สุดนี้ ผูจ้ ดั ทําขอขอบคุณผูท้ ี่สร้างแหล่งความรู ้ และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ ยวข้องต่าง ๆ ซึ่ งเป็ น
ส่ วนสําคัญที่ทาํ ให้แผนการสอนวิชา ภาษาไทยธุ รกิจ เล่มนี้ เสร็ จสมบูรณ์เป็ นที่เรี ยบร้อย และหาก
ผูใ้ ช้พบข้อบกพร่ องหรื อมีขอ้ เสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผูจ้ ดั ทําทราบด้วย จักขอบคุณยิง่

ผูเ้ รี ยบเรี ยง
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ รายวิชา
ชื่อรายวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล
รหัสวิชา 3105-2105 (ท-ป-น) 2-2-3
ระดับชั้น ปวช สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา สามัญ
หน่ วยกิต 3 จํานวนคาบรวม 72 คาบ
ทฤษฏี 2 คาบ/สั ปดาห์ ปฏิบัติ 2 คาบ/สั ปดาห์
ภาคเรียนที่.....................2..................ปี การศึกษา...........................2562.............................
จุดประสงค์ รายวิชา
1. รู ้ เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่ วนประกอบการป้ อนคําสั่ง โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
2. มีทกั ษะเกี่ยวกับการใช้คาํ สั่ง แก้ไข ปรับปรุ งโปรแกรมงานควบคุมประเภทต่างๆ
3. มีเจตคติและกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน มีความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็ นระเบียบ สะอาด ตรง
ต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ
สมรรถนะฐานรายวิชา
1. แสดงความรู ้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทํางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
2. ใช้ชุดคําสัง่ ควบคุมงานไฟฟ้ า
3. ต่อวงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์ ระบบนิวเมติกส์ และอุปกรณ์ไฟฟ้ า
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่ วนประกอบของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ คําสั่งการป้ อน
ข้อมูล วงจรการใช้งานควบคุมมอเตอร์ และอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่างๆ วงจรควบคุมระบบนิ วเมติกส์ การแก้ไขและ
ปรับปรุ งโปรแกรมป้ อนข้อมูล
รายการหน่ วย ชื่อหน่ วย และสมรรถนะประจําหน่ วย
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PLC สมรรถนะ:
- เลือก PLC ได้เหมาะสมกับงาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. สรุ ปประวัติและความเป็ นมาของ PLC ได้
2. บอกคุณสมบัติ PLC ที่มีใช้ในปั จจุบนั ได้

ด้ านทักษะ
3. แก้ปัญหาการแบ่งขนาดของ PLC ได้

ด้ านจิตพิสัย
4. เลือกใช้ PLC สําหรับงานควบคุมได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. ตระหนักถึงความสําคัญของชนิด PLC เพื่อใช้งานได้
อย่างเหมาะสม
ชื่อเรื่ อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
บทที่ 2 โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC สมรรถนะ:
- ใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้ านความรู้
1. อธิบายหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลางได้
2. บอกความแตกต่างของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตการใช้งานอุปกรณ์เอาท์พตุ ได้

ด้ านจิตพิสัย
4. อภิปรายการใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLCได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. รู ้ ถึ ง ความสํ า คัญ ของอุ ป กรณ์ อิ น พุ ต และสามารถ
นําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 3 พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC สมรรถนะ:
- ทํางานลอจิกประเภทต่าง ๆ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้ านความรู้
1. แปลความหมายเบอร์ของรี เลย์เพื่อใช้งานได้
2. ระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆได้

ด้ านทักษะ
3. เปรี ยบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเลขฐานต่าง ๆได้

ด้ านจิตพิสัย
4. ประพฤติตามโครงสร้างข้อมูลได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLC
นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 4 คุณสมบัติของ PLC สมรรถนะ:
- เลือกรุ่ นของ PLC ได้เหมาะกับแรงดัน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้ านความรู้
1. อธิบายคุณสมบัติของ PLCได้
2. บอกชนิ ดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่ตอ้ งการใช้งาน
ได้

ด้ านทักษะ
3. เปลี่ ย นแปลงจํา นวนอิ น พุ ต เอาท์พุ ต และอุ ป กรณ์ ต่ อ
ขยายของ PLC ได้

ด้ านจิตพิสัย
4. ใช้เหตุผลในการเลือกรุ่ นของ PLC ให้เหมาะกับแรงดัน
ใช้งานทัว่ ไปได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. รู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อ
นําไปใช้ให้ถูกวิธี
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 5 การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล สมรรถนะ :
- ตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซล

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. อธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ ได้
2. บอกหน้าที่และส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซล
ได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตการเรี ยกใช้งานคําสัง่ พิเศษได้

ด้ านจิตพิสัย
4. เลือกใช้งานคําสั่งต่าง ๆได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้
เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 6 คําสัง่ พื้นฐาน สมรรถนะ:
- เขียนโปรแกรมโดยใช้คาํ สัง่ พื้นฐาน

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้ านความรู้
1. ขยายความหมายของคําสัง่ พื้นฐานได้

ด้ านทักษะ
2. สาธิตวิธีการเขียนโปรแกรมโดยใช้คาํ สัง่ พื้นฐานได้

ด้ านจิตพิสัย
3. ผสมผสานโครงสร้างและสัญลักษณ์ของคําสัง่ พื้นฐาน
ได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
4. มีเจตคติที่ดีต่อการเขียนโปรแกรม และนําความรู ้ไป
ใช้งานอย่างสร้างสรรค์
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 7 คําสัง่ พิเศษ สมรรถนะ :
- เขียนโปรแกรมโดยใช้คาํ สัง่ พิเศษ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. อธิบายความหมายของคําสัง่ พิเศษได้

ด้ านทักษะ
2. เขียนโปรแกรมโดยใช้คาํ สัง่ พิเศษได้

ด้ านจิตพิสัย
3. จําแนกโครงสร้างและสัญลักษณ์ของพิเศษได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
4. ตระหนักถึงความสําคัญของการเปรี ยบเทียบโครงสร้าง
และสัญลักษณ์ของพิเศษ และนํามาประยุกต์ใช้ได้
ถูกต้องเหมาะสม
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 8 การใช้งานโปรแกรม SYSWIN 3.4 สมรรถนะ :
- สัง่ งาน PLC ผ่านทางจอแสดงผล

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. บอกลักษณะของโปรแกรม SYSWIN 3.4 ได้
2. บอกความแตกต่างระหว่าง Download และUpload
Program ของ PLC ได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตการสัง่ งาน PLC ผ่านทางจอแสดงผลได้

ด้ านจิตพิสัย
4. อภิปรายการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของโปรแกรม SYSWIN
3.4 เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 9 การออกแบบโปรแกรม สมรรถนะ :
- ออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. บอกคุณสมบัติของการออกแบบโปรแกรมจาก
วงจรรี เลย์ได้
2. บอกลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุมได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตการออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่ ได้

ด้ านจิตพิสัย
4. จําแนกโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางานได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม
และนํามาใช้ให้เหมาะสมกับงานในอนาคต
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 10 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอด สมรรถนะ :
ไฟฟ้ า - ควบคุมไฟจราจร

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. บอกลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่งได้
2. บอกความแตกต่างระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับ
PLC ควบคุมไฟวิ่งได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตการออกแบบการใช้ PLC ควบคุมไฟจราจรได้

ด้ านจิตพิสัย
4. เลือกแบบการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์
ได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC
เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 11 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ สมรรถนะ :
- ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. บอกคุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
กระแสตรงได้

ด้ านทักษะ
2. สาธิตการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1
เฟสได้

ด้ านจิตพิสัย
3. จําแนกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และ
นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 12 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิว สมรรถนะ :
เมติกส์ - ควบคุมระบบนิวเมติกส์

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วย
สปริ งได้

ด้ านทักษะ
2. เปรี ยบเทียบวงจรควบคุมวาล์ว  5/2 กับวงจรควบคุม
วาล์ว 3/2 ได้

ด้ านจิตพิสัย
3. อภิปรายวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วย
ไฟฟ้ าได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
4. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้
เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
บทที่ 13 การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม สมรรถนะ :
- ถอดและประกอบ PLC

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้ านความรู้
1. อธิบายวิธีการเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รองได้
2. บรรยายลักษณะของการประกอบ PLCได้

ด้ านทักษะ
3. สาธิตเขียนโปรแกรมเพือ่ ทดสอบความผิดพลาดของ
โปรแกรมได้

ด้ านจิตพิสัย
4. อภิปรายใช้งานโปรแกรม CX-ONEได้

ด้ านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรม
และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
รายชื่อหน่ วยการสอน/การเรียนรู้

หน่วยการสอน/การเรี ยนรู ้
วิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล
รหัส... 3105 - 2105......คาบ/สัปดาห์.....4.......คาบ
รวม......72…… คาบ
จํานวนคาบ
หน่วยที่ ชื่อหน่วย ทฤษฎี
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PLC 1 3
2 โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC 1 3
3 พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC 1 3
4 คุณสมบัติของ PLC 1 3
5 การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล 2 6
6 คําสัง่ พื้นฐาน 1 3
7 คําสัง่ พิเศษ 1 3
8 การใช้งานโปรแกรม SYSWIN 3.4 2 6
9 การออกแบบโปรแกรม 2 6
10 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า 2 6
11 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ 2 6
12 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิ วเมติกส์ 1 3
13 การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม 1 3

รวม 72
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 1
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
1
ชื่อหน่วย ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PLC คาบรวม 4

ชื่อเรื่อง ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PLC จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. ความเป็ นมาของ PLC
2. PLC ที่มีใช้ในปั จจุบนั
ด้านทักษะ
3. ขนาดของ PLC
ด้านจิตพิสยั
4. PLC สําหรับงานควบคุม
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. ตระหนักถึงความสําคัญของชนิด PLC เพื่อใช้งานได้อย่างเหมาะสม

สาระสํ าคัญ
เมื่อปี พ.ศ. 2511 บริ ษทั General Motors ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้คิดค้นอุปกรณ์ควบคุมแบบใหม่เพื่อใช้
ทดแทนวงจรรี เลย์นนั่ คือ PLC คุณสมบัติของ PLC มีขอ้ ดีกว่าระบบรี เลย์อยูห่ ลายประการ เช่น PLC เป็ นการ
ทํางานในรู ปซอฟท์แวร์ ทําให้ลดปั ญหาเรื่ องสายไฟฟ้ าและหน้าสัมผัสลงได้ PLC ที่มีใช้ในปั จจุบนั มีหลายยีห่ อ้
ให้เลือกใช้งาน เช่น Omron, Allen Bradley ตัวอย่างงานที่ควบคุมด้วย PLC เช่น การควบคุมปั๊ มนํ้าการควบคุม
ระบบขนถ่าย สิ นค้าระบบนิวแมติกส์
การแบ่งขนาดของ PLC ตามขนาดของหน่วยอินพุตและเอาท์พตุ สําหรับการเลือกใช้ PLCสําหรับงาน
ควบคุมนั้น เราต้องศึกษาองค์ประกอบของงานหลายอย่าง ว่าเหมาะสมที่จะใช้ PLC หรื อไม่และใช้ PLC ชนิดใด
จึงจะคุม้ ค่าที่สุด
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- เลือก PLC ได้เหมาะสมกับงาน

คําศัพท์ สําคัญ
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 2
ชื่อวิชา โปรแกมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
2
ชื่อหน่วย โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC คาบรวม 8

ชื่อเรื่อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. หน่วยประมวลผลกลาง
2. หน่วยความจําชนิดต่าง ๆ
ด้านทักษะ
3. อุปกรณ์เอาท์พตุ
ด้านจิตพิสยั
4. แหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. รู ้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน

สาระสํ าคัญ
  1. หน่วยประมวลผลกลางหรื อ CPU ทําหน้าที่ รับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุตมาประมวลผลแล้วส่ งผลนั้น
ออกไปทางเอาท์พตุ ต่อไป
2. หน่วยความจํานั้นแบ่งได้ 2 แบบคือหน่วยความจําชัว่ คราวและหน่วยความจําถาวร
3. หน่วยอินพุตทําหน้าที่ รับสัญญาณจากอุปกรณ์อินพุต ที่ต่อเข้ามาจากภายนอก เข้ามาเพื่อแปลงเป็ น
ระดับสัญญาณที่เหมาะสมให้กบั PLC
4. หน่วยเอาท์พุตของ PLC จะทําหน้าที่รับคําสั่งจากหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อทําหน้าที่ส่งสัญญาณ
ออกไปขับโหลด
5. แหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC จะเป็ นแบบ Switching Power Supply ซึ่ งจะใช้หลักการแปลงไฟฟ้ า
กระแสสลับเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง เพื่อจ่ายให้กบั วงจรภายในของ PLC  
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
2.2.1 หน่ วยความจําชั่วคราว (Random Access Memory: RAM) RAM เป็ นหน่วยความจําที่ใช้สาํ หรับ
เก็บโปรแกรมที่ผใู ้ ช้งานสร้างขึ้นแล้วป้ อนให้กบั PLC หน่วยความจํานี้ถา้ ไม่มีไฟเลี้ยงจะทําให้ขอ้ มูลเกิดการสู ญ
หายได้ RAM จะใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ทาํ งานจากการสั่ง RUN/STOP ของ PLC ดังนั้นใน PLC จึงมี
แบตเตอรี่ สาํ รอง (Backup Battery) ไว้สาํ หรับกรณี ที่ไฟเลี้ยงหลักไม่จ่ายให้กบั ตัว PLC
2.2.2 หน่ วยความจําถาวร (Read Only Memory: ROM)ROM เป็ นหน่วยความจําที่ใช้สาํ หรับเก็บข้อมูล
ข้อมูลใน ROM นี้ไม่จาํ เป็ นต้องมีไฟเลี้ยง ROMใช้จดั เก็บซอฟท์แวร์ของระบบและเป็ นชุดสํารองโปรแกรมและ
ข้อมูลเพื่อป้ องกันกรณี ที่โปรแกรมและข้อมูลใน RAM สู ญหาย ผูใ้ ช้งานสามารถถ่ายโปรแกรมและข้อมูลเข้าใน
RAM ได้ใหม่ROMนั้นแบ่งออกได้ 3 ชนิด

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการอธิบายหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลาง(ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกความแตกต่างของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆ (ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการใช้งานอุปกรณ์เอาท์พตุ (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการอภิปรายการใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. รู ้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน (ด้ าน
คุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. อธิบายหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลางได้ (ด้ านความรู้ )
2. บอกความแตกต่างของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆได้ (ด้ านความรู้ )
3. สาธิตการใช้งานอุปกรณ์เอาท์พตุ ได้ (ด้ านทักษะ)
4. อภิปรายการใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLCได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. รู ้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน (ด้ าน
คุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
ในหัวข้อนี้ จะกล่าวถึงการศึกษาโครงสร้ างและส่ วนประกอบของ PLC ชนิ ดบล็อกเท่านั้น
การศึกษาโครงสร้างและส่ วนประกอบเป็ นส่ วนสําคัญในการเลือกใช้งานและการต่อใช้งานโดยปกติโครงสร้าง
ของ PLC ประกอบด้วยส่ วนสําคัญต่าง ๆ แสดงดังรู ปต่อไปนี้

รู ปที่ 2.1 ไดอะแกรมภายในของ PLC

รู ปที่ 2.2 ลักษณะของ PLC ยีห่ อ้ OMRON


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
2.1 หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
CPU หรื อหน่วยประมวลผลกลางของ PLC นั้นใช้ไมโครโปรเซสเซอร์เป็ นตัวประมวลผลโดยทําหน้าที่
รับข้อมูลด้านอินพุตเข้ามาแล้วทําการประมวลผลและส่ งผลที่ได้ไปยังเอาท์พุต แล้วจะกลับมารอรับข้อมูลด้าน
อินพุตใหม่ แล้วกระทําซํ้าเหมือนเดิมอยูเ่ รื่ อย ๆ การทํางานในแต่ละรอบเรี ยกว่าการสแกน (Scan) การประมวลผล
จะเร็ ว หรื อช้า นั้นขึ้ นอยู่กบั ขนาดของโปรแกรมถ้า โปรแกรมมี ข นาดใหญ่การสแกนในแต่ล ะรอบจะช้า กว่ า
โปรแกรมที่มีขนาดเล็กและขนาดของCPUโดยทัว่ ไป CPU จะใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต 8 บิต 16 บิต 32
บิต 64 บิตหรื อ 128 บิตซึ่ง CPU แต่ละขนาดนั้นจะมีความสามารถแตกต่างกันออกไป
2.2 หน่ วยความจํา (Memory Unit)
หน่วยความจําใช้สาํ หรับเก็บโปรแกรมและข้อมูลในการทํางาน ขนาดของหน่วยความจํานั้นเป็ นตัวบ่ง
บอกความสามารถของ PLC ด้วย โดยหน่วยความจําใน PLC นั้นแบ่งได้2 แบบดังนี้
2.2.1 หน่วยความจําชัว่ คราว (Random Access Memory: RAM) RAM เป็ นหน่วยความจําที่ใช้สาํ หรับ
เก็บโปรแกรมที่ผใู ้ ช้งานสร้างขึ้นแล้วป้ อนให้กบั PLC หน่วยความจํานี้ถา้ ไม่มีไฟเลี้ยงจะทําให้ขอ้ มูลเกิดการสู ญ
หายได้ RAM จะใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ทาํ งานจากการสั่งRUN/STOP ของ PLC ดังนั้นใน PLC จึงมี
แบตเตอรี่ สํ า รอง (Backup Battery) ไว้สํ า หรั บ กรณี ที่ ไ ฟเลี้ ยงหลัก ไม่ จ่ า ยให้ ก ับ ตัว PLC
2.2.2 หน่วยความจําถาวร (Read Only Memory: ROM)ROM เป็ นหน่วยความจําที่ใช้สาํ หรับเก็บข้อมูล
ข้อมูลใน ROM นี้ไม่จาํ เป็ นต้องมีไฟเลี้ยง ROMใช้จดั เก็บซอฟท์แวร์ของระบบและเป็ นชุดสํารองโปรแกรมและ
ข้อมูลเพื่อป้ องกันกรณี ที่โปรแกรมและข้อมูลใน RAM สู ญหาย ผูใ้ ช้งานสามารถถ่ายโปรแกรมและข้อมูลเข้าใน
RAM ได้ใหม่ROMนั้นแบ่งออกได้ 3 ชนิดดังนี้
2.2.2.1 PROM (Programmable ROM) เป็ นหน่วยความจํารุ่ นแรกที่เขียนข้อมูลลงในชิพได้ครั้ง
เดียว ถ้าข้อมูลที่เขียนไม่สมบูรณ์ชิพจะเสี ยทันที
2.2.2.2 EPROM (Erasable Programmable ROM) หน่วยความจําที่พฒั นาต่อจาก PROM โดย
สามารถเขียนข้อมูลลงในชิพได้หลายครั้ง การลบข้อมูลทําโดยนําชิพไปฉายแสงอัลตราไวโอเลต
2.2.2.3 EEPROM (Electrical Erasable Programmable Rom) EEPROM เป็ นหน่วยความจําอ่านอย่าง
เดียวหากต้องการแก้ไข จะต้องใช้สัญญาณไฟฟ้ าลบ แล้วบันทึกของใหม่ลงไปหน่วยความจําชนิ ดนี้จะเก็บข้อมูล
ไว้ได้แม้วา่ ไม่มีไฟเลี้ยง
2.3 หน่ วยอินพุต (Input Unit)
หน่วยอินพุตทําหน้าที่รับสัญญาณจากอุปกรณ์อินพุต ที่ต่อเข้ามาจากภายนอก เช่นอุปกรณ์จาํ พวกสวิทช์
ต่าง ๆ เข้ามาเพื่อแปลงเป็ นระดับสัญญาณที่เหมาะสมให้กบั PLC และทําหน้าที่แยกสัญญาณจากภายนอกและ
ภายในออกจากกันเพื่อป้ องกันความเสี ยหายที่ อาจเกิ ดขึ้ นเนื่ องจากการลัดวงจรทางด้า นอิ นพุตเมื่ อได้ระดับ
สัญญาณที่เหมาะสมก็จะส่ งสัญญาณให้กบั หน่วยประมวลผลกลางทําหน้าที่ต่อไป
รู ปที่ 2.3 แสดงจุดต่ออินพุตของ PLC
ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551

อุปกรณ์ที่สามารถต่อกับหน่วยอินพุตของ PLC ได้แสดงดังตารางต่อไปนี้


ตารางที่ 2.1 อุปกรณ์อินพุตของ PLC
ตารางที่ 2.1 อุปกรณ์อินพุตของ PLC (ต่อ)

2.3.1 อินพุตแบบดิจิตอล (Digital Input) เป็ นอินพุตที่รับค่า ON - OFF เท่านั้น เช่น การนําสวิทช์
หน้าสัมผัสแบบธรรมดามาต่อกับอินพุตของ PLC หรื ออุปกรณ์ใดก็ได้ที่เป็ นลักษณะของหน้าสัมผัสถือเป็ น
ดิจิตอลอินพุตทั้งหมดตามลักษณะโครงสร้างของอินพุตแบบดิจิตอลนั้นแบ่งได้ 2 แบบคือ
2.3.1.1 อินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current Input) จะใช้อุปกรณ์ที่ทาํ งานด้วย
แรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง

รู ปที่ 2.4 วงจรอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสตรง

จากรู ปที่ 2.4 ภาคอินพุตจะใช้วงจรลดทอนแรงดันเพื่อขับให้ออปโตทรานซิ สเตอร์ ทาํ งานเมื่อออปโต


ทรานซิ สเตอร์ ทาํ งานจะส่ งสัญญาณให้ CPU ทําการประมวลผลต่อไปการใช้ออปโตทรานซิ สเตอร์ เพื่อแยก
สัญญาณกราวด์ ของภาคอินพุตออกจากวงจรภายในเป็ นการป้ องกัน CPUเสี ยหายเนื่องจากการลัดวงจรทางภาค
อินพุตของวงจรภายนอกนัน่ เอง
ตารางที่ 2.2 คุณสมบัติต่าง ๆ ของวงจรภาคอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสตรง

2.3.1.2 อินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternating Current Input) จะใช้ไฟฟ้ ากระแสสลับเพื่อลดปั ญหา


เนื่ องจากแรงดันตกคร่ อมในสายมากเกินไป PLC บางรุ่ นได้แบ่งแรงดันด้านอินพุตเป็ น 2 ระดับคือ 100 - 120
โวลต์ และ 200 – 240 โวลต์ วงจรภาคอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสลับและการต่อวงจรดูได้จากตัวอย่างด้านล่าง
ดังต่อไปนี้

รู ปที่ 2.8 การต่อวงจรอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสลับ

สาระน่ารู ้ : ภาคอินพุตและภาคเอาท์พุตเมื่อเราต่อวงจรผิดจะไม่ทาํ ให้เกิดความเสี ยหายต่อCPU เพราะ


ไม่ได้ต่อถึงกันทางกล
ตารางที่ 2.3 คุณสมบัติต่าง ๆ ของวงจรภาคอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสลับ

2.3.2 อินพุตแบบอนาล็อก (Analog Input) อินพุตแบบอนาล็อกเป็ นอินพุตที่สามารถรับสัญญาณที่


เปลี่ยนแปลงค่าได้จากอุปกรณ์อินพุตอื่น ๆ ที่มีสญ
ั ญาณเอาท์พตุ เป็ นแบบอนาล็อก เช่น 0 – 10 VDC, ±10 VDC, 1
– 5 V (4 – 20 mA)

รู ปที่ 2.9 สัญญาณเอาท์พตุ แบบอนาล็อก


สัญญาณอนาล็อกทั้ง 3 รู ปแบบนั้นเป็ นสัญญาณมาตรฐานที่กาํ หนดไว้ใช้ในอุตสาหกรรมโดยอุปกรณ์ที่มี
ภาคเอาท์พุตแบบอนาล็อกนั้นอาจมี เอาท์พุตแบบใดแบบหนึ่ งหรื อมี ท้ งั 3 แบบ อยู่ในตัวเดียวกันก็ได้ ซึ่ งการ
เลือกใช้งานอุปกรณ์เหล่านี้กบั PLC นั้น ภาคอินพุตของ PLC ต้อง รับค่าอนาล็อกได้เช่นเดียวกัน
2.4 หน่ วยเอาท์ พุต (Output Unit)
เอาท์พุตของ PLC จะทําหน้าที่รับคําสั่งจากหน่วยประมวลผลกลาง ตามที่ได้เขียนคําสั่งไว้เพื่อทําหน้าที่
ส่ งสัญญาณออกไปขับโหลดอุปกรณ์ที่สามารถต่อกับหน่วยเอาท์พตุ ของ PLC ได้ แสดงดังตารางที่ 2.4

รู ปที่ 2.10 แสดงจุดต่อเอาท์พตุ ของ PLC


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551

ตารางที่ 2.4 อุปกรณ์เอาท์พตุ ของ PLC


ตารางที่ 2.4 อุปกรณ์เอาท์พตุ ของ PLC (ต่อ)

2.4.1 เอาท์ พุตแบบดิจิตอล (Digital Output) เอาท์พุตแบบดิจิตอลนั้นสามารถสั่งงานได้เพียงสภาวะ


“เปิ ด” หรื อ “ปิ ด” เท่านั้น แบ่งได้เป็ น 3 แบบคือ
2.4.1.1 เอาท์ พุตแบบรีเลย์ (Relay Output) เป็ นเอาท์พุตที่สามารถขับโหลดได้ท้ งั แบบไฟฟ้ า
กระแสตรงและไฟฟ้ ากระแสสลับหน้าสัมผัสเอาท์พุตทนกระแสได้ไม่เกิน 2 A การต่อใช้งานควรต้องพิจารณา
กระแสของโหลด ถ้าโหลดมีกระแสสู งนิยมต่อเอาท์พตุ ผ่านรี เลย์

รู ปที่ 2.11 วงจรเอาท์พตุ แบบรี เลย์


สาระน่ ารู้ : อุปกรณ์บางตัวเป็ นได้ท้ งั อุปกรณ์อินพุตและเอาท์พุต เช่น ตัวตั้งเวลา ตัวนับจํานวน
ปัญหา น่ าคิด : เทอร์ โมคัปเปิ ลเป็ นอุปกรณ์ที่ตอ้ งต่อกับหน่วยอินพุตหรื อเอาท์พุต และเป็ นอินพุตหรื อ
เอาท์พตุ ประเภทใด (ดิจิตอลอนาล็อก)
ตารางที่ 2.5 คุณสมบัติของเอาท์พตุ แบบรี เลย์

2.4.1.2 เอาท์ พุตแบบทรานซิสเตอร์ (Transistor Output) เอาท์พุตแบบนี้เหมาะสําหรับโหลดแบบไฟฟ้ า


กระแสตรงที่ตอ้ งการการเปิ ด ปิ ดบ่อยครั้ง เช่น การขับสเต็ปปิ้ งมอเตอร์ การขับเซอร์โวมอเตอร์ หรื อการขับ 7-
Segment เอาท์พตุ แบบทรานซิ สเตอร์แบ่งได้ 2 ชนิดคือชนิด NPN และชนิด PNP
1) เอาท์ พุตแบบทรานซิสเตอร์ ชนิด NPN

รู ปที่ 2.13 วงจรภายในของเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด NPN


จากรู ปที่ 2.13 ออปโต้ทรานซิสเตอร์ จะเป็ นตัวแยกสัญญาณกราวด์ออกจากเอาท์พุต เพื่อป้ องกันอันตราย
ที่อาจเกิดขึ้นกับ CPU เมื่อเอาท์พตุ ด้านโหลดเกิดลัดวงจร

รู ปที่ 2.14 วงจรการต่อเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด NPN


จากรู ปที่ 2.14 เป็ นการต่อโหลดแบบซิ งก์ (Sink Type) คือการดึงกระแสเข้าสู่ ภาคเอาท์พุต ซึ่ ง
ทรานซิ สเตอร์ตอ้ งทนการแสซิ งก์ได้ถา้ เอาท์พุตขับโหลดไม่พร้อมกัน จะขับโหลดได้สูงถึง 300 mA ที่แรงดัน 24
VDC ถ้ากรณี ขบั โหลดพร้อมกันทนกระแส (Ic) ได้เพียง 4.8 mA / โหลด
ตารางที่ 2.6 คุณสมบัติเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด NPN
2. เอาท์ พุตแบบทรานซิสเตอร์ ชนิด PNP

รู ปที่ 2.15 วงจรภายในของเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด PNP

รู ปที่ 2.16 วงจรการต่อเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด PNP


จากรู ปที่ 2.16 เป็ นการต่อวงจรแบบซอร์ส (Source Type) โดยทรานซิ สเตอร์Q1 จะต้องทนกระแส ที่จ่าย
ให้โหลดได้ เพราะฉะนั้นการต่อโหลดต้องคํานึงถึงกระแสส่ วนนี้ดว้ ยใน PLC แต่ละรุ่ นก่อนใช้งานต้องศึกษา
คู่มือการใช้งานก่อนทุ กครั้ ง เพราะเอาท์พุตแต่ละแบบมี การต่อใช้งานไม่ เหมือนกัน เช่ นเอาท์พุตแบบ
ทรานซิสเตอร์ถา้ เราต่อใช้งานแบบเอาท์พตุ รี เลย์น้ นั อาจทําให้เอาท์พตุ ของ PLC ได้รับความเสี ยหายได้ สาระน่ า
รู้ : เอาทพ์ ◌ุ ตของ PLC สว่ นใหญท่ นกระแสไดน้ อ้ ยไมส่ ามารถทีมี่กระแสสงู เชน่ มอเตอร์ไดโดยตรง

ปัญหาน่ าคิด : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงควรใช้เอาท์พตุ ของ PLC ควรเป็ นแบบใด


ตารางที่ 2.7 คุณสมบัติเอาท์พตุ แบบทรานซิสเตอร์ชนิด NPN

2.4.1.3 เอาท์ พุตแบบโซลิดสเตทรีเลย์ (Solid State Relay Output)เป็ น เอาท์พุตที่เหมาะกับโหลด


ที่เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับ ที่ตอ้ งการเปิ ด-ปิ ดบ่อยครั้ง การใช้เอาท์พุตแบบโซลิดสเตทรี เลย์จะช่วยลดการอาร์คได้
โดยเอาท์พุตแบบนี้จะใช้ไตรแอคเป็ นสวิตช์ควบคุมโหลด และจะมีวงจรทริ กเกอร์ ทาํ หน้าที่ควบคุมมุมในการ
ทํางานของไตรแอก

รู ปที่ 2.17 วงจรภายในของเอาท์พตุ แบบโซลิดสเตทรี เลย์


รู ปที่ 2.18 วงจรการต่อเอาท์พตุ แบบโซลิดสเตทรี เลย์
2.4.2 เอาท์ พุตแบบอนาล็อก (Analog Output) เอาท์พุตแบบอนาล็อกของ PLC นั้นจะส่ งสัญญาณได้ 2
แบบคือ สัญญาณแบบแรงดันไฟฟ้ า และสัญญาณแบบกระแสไฟฟ้ า โดยค่าที่ส่งออกไปนั้นเป็ นค่าสัญญาณ
มาตรฐาน เช่นเดียวกับอินพุตแบบอนาล็อก คือ 0 – 10 VDC, ± 10 VDC, 1 – 5 V ( 4 – 20 mA )การต่อ
สายสัญญาณเพื่อเลือกว่าเป็ นสัญญาณแบบกระแสหรื อแบบแรงดันนั้นให้ สังเกตสัญลักษณ์ที่เอาท์พตุ ของ PLC

รู ปที่ 2.19 สัญญาณแบบกระแสและสัญญาณแบบแรงดันของเอาท์พตุ แบบอนาล็อก


รู ปที่ 2.20 ตําแหน่งขั้วอนาล็อกเอาท์พตุ

2.5 แหล่ งจ่ ายพลังงาน (Power Supply Unit)


PLC ที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั นั้นใช้กบั แหล่งจ่ายพลังงาน 2 แบบคือแบบไฟฟ้ ากระแสตรงและแบบไฟฟ้ า
กระแสสลับโดยดูที่รหัสตัวสุ ดท้ายของ PLC รุ่ นนั้นเช่น รุ่ น CPM2A-20CDR-A ตัวอักษรA หมายถึงใช้แหล่งจ่าย
ไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC) ส่ วนในรุ่ น CPM2A-20CDR-D นั้นจะใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง (DC)
แหล่งจ่ายไฟของ PLC รุ่ น CPM2A นั้นจะเป็ นแบบ Switching Power Supply ซึ่งจะใช้หลักการแปลง
ไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง เพื่อจ่ายให้กบั วงจรภายในของ PLC
แหล่งจ่ายพลังงานนั้นแบ่งออกเป็ น 2 ชุด คือชุดที่จ่ายให้กบั วงจรภายในของ PLC และอีกชุดสําหรับเป็ น
แหล่งพลังงานเพื่อใช้ทว่ั ไป อาจใช้เป็ นแหล่งพลังงานของภาคอินพุตหรื อเอาท์พุตก็ได้ โดยมีขนาดแรงดันเท่ากับ
24 VDC แหล่งจ่ายนี้จะจ่ายกระแสได้จาํ กัด ไม่เหมาะสําหรับจ่ายโหลดให้กบั ภาคเอาท์พตุ ส่ วนใหญ่ใช้เป็ นแหล่ง
พลังงานของภาคอินพุตเพียงอย่างเดียว

รู ปที่ 2.21 ไดอะแกรมแหล่งจ่ายพลังงานของ PLC


รู ปที่ 2.22 โมดูล Power Supply รุ่ นต่าง ๆ
ที่มา : www.omron-ap.co.th

ตารางที่ 2.8 รายละเอียดโมดูล Power Supply

สาระน่ ารู้ : แหล่งจ่ายที่ตวั PLC สามารถจ่ายโหลดได้จาํ กัดส่ วนใหญ่จ่ายโหลดอินพุตได้เพียงอย่างเดียว


โหลดเอาท์พตุ ต้องใช้จากแหล่งจ่ายภายนอกเครื่ อง
ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 2
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. รู ้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที )
1. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนทํา ความเข้า ใจเรื่ องที่ จ ะ 1. ผู ้เ รี ยนทํา ความเข้า ใจเรื่ องที่ จ ะศึ ก ษา ของ
ศึ ก ษา ของเอกสารประกอบการสอนวิ ช าการ เอกสารประกอบการสอนวิ ช า การโปรแกรมและ
โปรแกรมและควบคุ ม ไฟฟ้ า หน่ ว ยที่ 2 เรื่ อง ควบคุ ม ไฟฟ้ า หน่ ว ยที่ 2 เรื่ อง โครงสร้ า งและ
โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC หน้าที่ 27 ส่ วนประกอบของ PLC หน้าที่ 27
2. ผูส้ อนให้ ผูเ้ รี ย นสรุ ป ความเข้า ใจโดยร่ ว ม 2. ผู ้เ รี ยนสรุ ปความเข้า ใจโดยร่ วมก่ อ นเข้า สู่
ก่ อ นเข้า สู่ บ ทเรี ยน แล้ว บัน ทึ ก ลงในแบบบัน ทึ ก บทเรี ยน แล้ว บัน ทึ ก ลงในแบบบัน ทึ ก คะแนนการ
คะแนนการปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน ปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน

2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที )


1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนร่ วมกัน บอกความแตกต่าง 1. ผู ้ เ รี ยนร่ วมกั น บอกความแตกต่ า งของ
ของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆ ศึกษาจาก PowerPoint หน่ วยความจํ า ชนิ ดต่ าง ๆ ตา มที่ ได้ ศึ กษาจา ก
2. ผูส้ อนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ PowerPoint
ข้อสงสัยจากเนื้อหา โดยครู เป็ นผูต้ อบปัญหาที่เกิดขึ้น 2. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้น
ระหว่างการเรี ยนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทําใบงานที่ 2 เรื่ อง 1. ผู ้เ รี ยนทํา กิ จ กรรมการทดลองหน่ ว ยที่ 2
โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC หน้าที่ 48 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC หน้าที่ 48
2. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนที่ 2. ผู ้เ รี ยนทํา แบบแบบทดสอบหลัง เรี ยนที่ 2
2 เรื่ อง โครงสร้ า งและส่ ว นประกอบของ PLC เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC หน้าที่
หน้าที่ 52 52
3. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 3. ผูเ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (15 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 15 นาที )
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับ กัน ตรวจใบงานและ 2. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ใ บ ง า น แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 240 นาที หรื อ 1 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 2
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 2 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 2 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 2
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 2 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 2

คําถาม
1. อุปกรณ์ใดทําหน้าที่เหมือนสมองของมนุษย์
2. ข้อใดคือหน้าที่ของ CPU
3. ข้อใดคือหน้าที่ของหน่วยอินพุต
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 2 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 2 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC ที่จดั ทําขึ้นได้ทาํ
ให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ใน
การเรี ยน การทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 2 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 2 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC

สื่ อของจริง
โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่
1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตน
ทางสังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้
2. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
3. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 2
3. ตรวจใบงานที่ 2

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 2

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 2 เรื่ อง โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 อธิบายหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลางได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายหน้าที่ของหน่วยประมวลผลกลางได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกความแตกต่างของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกความแตกต่างของหน่วยความจําชนิดต่าง ๆได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 สาธิตการใช้งานอุปกรณ์เอาท์พตุ ได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตการใช้งานอุปกรณ์เอาท์พตุ ได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 อภิปรายการใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLCได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อภิปรายการใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLCได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 รู ้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจําวัน
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : รู้ถึงความสําคัญของอุปกรณ์อินพุต และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจําวัน จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 2
หน่ วยที่ 2 เรื่ องโครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. อธิบายความหมายของหน่วยประมวลผลกลางมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
2. อธิบายคุณสมบัติของหน่วยความจําชัว่ คราวมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
3. อธิบายคุณสมบัติของหน่วยความจําถาวรมาพอเข้าใจพร้อมยกตัวอย่าง (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
4. อธิบายหน้าที่ของหน่วยอินพุตมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์อินพุตของ PLC มา 5 อย่าง (5 คะแนน)
5.1 ............................................................................................................................
5.2 ............................................................................................................................
5.3 ............................................................................................................................
5.4 ............................................................................................................................
5.5 ............................................................................................................................
6. อธิบายหน้าที่ของหน่วยเอาท์พตุ มาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
7. ยกตัวอย่างอุปกรณ์เอาท์พตุ ของ PLC มา 5 อย่าง (5 คะแนน)
7.1 ............................................................................................................................
7.2 ............................................................................................................................
7.3 ............................................................................................................................
7.4 ............................................................................................................................
7.5 ............................................................................................................................
8. จงเขียนวงจรอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสตรง (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
9. อธิบายการทํางานของอินพุตแบบดิจิตอลมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
10. จงเขียนวงจรการต่อใช้งานเอาท์พตุ แบบรี เลย์กบั ไฟฟ้ ากระแสสลับ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
11. ยกตัวอย่างโมดูลแหล่งจ่ายพลังงานของ PLC มา 3 โมดูล (2 คะแนน)
11.1 ..........................................................................................................................
11.2 ..........................................................................................................................
ใบงานที่ 2
หน่ วยที่ 2 โครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
เรื่อง อุปกรณ์ดา้ นอินพุตและเอาท์พตุ

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ของ PLC

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกชื่ออุปกรณ์อินพุตของ PLC ได้
2. บอกชื่ออุปกรณ์เอาท์พตุ ของ PLC ได้
3. นักเรี ยนมีความตรงต่อเวลา

รายการสอน
1. อุปกรณ์ดา้ นอินพุตและเอาท์พตุ

เครื่องมือ
1. คอมพิวเตอร์

วัสดุอุปกรณ์
-

ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
ให้นกั เรี ยนค้นคว้าเรื่ องอุปกรณ์ดา้ นอินพุตและเอาท์พตุ ของ PLC โดยนํารู ปมาติดในใบงาน
พร้อมบอกชื่อของอุปกรณ์ให้เรี ยบร้อย
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 2 เรื่ องโครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 15 ข้อ

1. อุปกรณ์ ใดทําหน้ าทีเ่ หมือนสมองของมนุษย์


ก. Ram ข. CPU
ค. I/O Unit ง. Peripheral

2. ข้ อใดคือหน้ าทีข่ อง CPU


ก. ทําหน้าที่ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเวิร์ด
ข. ใช้สาํ หรับเก็บโปรแกรมการทํางานของระบบ
ค. รับข้อมูลจากหน่วยประมวลผลมาจัดการ
ง. รับข้อมูลจากอินพุต – ประมวลผล – สัง่ งานเอาท์พตุ

3. หน่ วยความจําแบบใดต้ องมีแบตเตอรี่สํารอง


ก. RAM ข. EPROM
ค. ROM ง. EEPROM

4. ข้ อใดกล่ าวถูกต้ องเกีย่ วกับหน่ วยความจํา


ก. RAM ใช้สาํ หรับเก็บข้อมูลและเป็ นชุดสํารองข้อมูล
ข. ROM ใช้เก็บโปรแกรมผูใ้ ช้
ค. ROM ใช้จดั เก็บซอฟท์แวร์ระบบ
ง. ROM จะใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ทาํ งานจากการสัง่ RUN

5. ข้ อใดคือหน้ าทีข่ องหน่ วยอินพุต


ก. ใช้เก็บโปรแกรมผูใ้ ช้งาน
ข. รับสัญญาณจากสวิตช์แล้วส่ งสัญญาณให้ CPU
ค. รับคําสัง่ จาก CPU
ง. ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก
6. ข้ อใดคือหน้ าทีข่ องหน่ วยเอาท์ พุต
ก. ใช้เก็บโปรแกรมผูใ้ ช้งาน
ข. รับสัญญาณจากสวิตช์แล้วส่ งสัญญาณให้ CPU
ค. รับคําสัง่ จาก RAM
ง. รับคําสัง่ จาก CPU แล้วสัง่ งานโหลด

7. อุปกรณ์ ใดทําหน้ าทีป่ ้ องกัน CPU เสี ยหายเนื่องจากการลัดวงจรทางอินพุต


ก. ไดโอด ข. โฟโตทรานซิสเตอร์
ค. ออปโตทรานซิสเตอร์ ง. ความต้านทาน

8. อุปกรณ์ ใดสามารถต่ อกับหน่ วยอินพุตได้

ก. ข.

ค. ง.

9. อุปกรณ์ ใดที่เป็ นได้ ท้งั อินพุตและเอาท์ พุต

ก. ข.

ค. ง.
รู ปที่ 2.1 ใช้ตอบคําถามข้อ 10
10. อุปกรณ์ ต่อไปนีต้ ้ องต่ อกับส่ วนใดของ PLC
ก. CPU ข. เอาท์พุต
ค. อินพุต ง. Peripheral

11. ข้ อดีของอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสลับคือข้ อใด


ก. เวลาตอบสนองเร็ ว ข. ลดปัญหาเรื่ องแรงดันตก
ค. สัญญาณมีความเรี ยบ ง. ปรับระดับแรงดันได้ง่าย

12. โหลดไฟฟ้ากระแสสลับทีม่ กี ารเปิ ด-ปิ ดบ่ อยครั้งควรต่ อกับอุปกรณ์ ใด


ก. เอาท์พตุ แบบโซลิดสเตท ข. เอาท์พุตแบบทรานซิ สเตอร์
ค. อินพุตแบบอนาล็อก ง. เอาท์พตุ แบบรี เลย์

13. อุปกรณ์ ใดทีต่ ้ องใช้ งานกับอินพุตแบบอนาล็อก


ก. อุปกรณ์ที่มีการเปิ ดปิ ดบ่อยครั้ง
ข. อุปกรณ์ประเภทสวิตช์ต่าง ๆ
ค. อุปกรณ์ประเภทเซ็นเซอร์
ง. อุปกรณ์ที่มีสญ
ั ญาณแรงดันหรื อกระแสออกมา

14. ถ้ าต้ องการใช้ แหล่ งจ่ ายไฟขนาด 30 วัตต์ 24 โวลต์ กระแส 1.3 แอมป์ ต้ องใช้ แหล่ งจ่ ายไฟ Model ใด
ก. S8VS-06024 ข. S8VS-03024
ค. S8VS-18024 ง. S8VS-01512

15. แหล่ งจ่ ายไฟ S8VS-24024 จ่ ายกระแสได้ กแี่ อมป์


ก. 5.5 แอมป์ ข. 7.5 แอมป์
ค. 8 แอมป์ ง. 10 แอมป์
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
วิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัสวิชา 2104 - 2114
หน่ วยที่ 2 เรื่อง โครงสร้ างและส่ วนประกอบของ PLC
1. อธิบายความหมายของหน่วยประมวลผลกลางมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
ตอบ CPU หรื อหน่ วยประมวลผลกลางของ PLC นั้น ใช้ ไมโครโปรเซสเซอร์ เป็ นตัว ประมวลผล โดยทําหน้ าที่รับ
ข้ อมูลด้ านอินพุทเข้ ามาแล้ วทําการประมวลผลและส่ งผลที่ได้ ไปยัง เอาท์ พุท แล้ วจะกลับมารอรั บข้ อมูลด้ านอินพุท
ใหม่ แล้ วกระทําซํ้าเหมือนเดิมอยู่เรื่ อย ๆ การทํางานในแต่ ละรอบเรี ยกว่ าการสแกน (Scan)

2. อธิบายคุณสมบัติของหน่วยความจําชัว่ คราวมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)


ตอบ RAM เป็ นหน่ วยความจําทีใ่ ช้ สําหรั บเก็บโปรแกรมทีผ่ ้ ใู ช้ งานสร้ างขึน้ แล้ วป้ อน ให้ กบั PLC
หน่ วยความจํานี้ถ้าไม่ มีไฟเลีย้ งจะทําให้ ข้อมูลเกิดการสู ญหายได้ RAM จะใช้ เก็บ โปรแกรมและข้ อมูลทีท่ าํ งาน
จากการสั่ง RUN/STOP ของ PLC
3. อธิบายคุณสมบัติของหน่วยความจําถาวรมาพอเข้าใจพร้อมยกตัวอย่าง (1 คะแนน)
ตอบ ROM เป็ นหน่ วยความจําทีใ่ ช้ สําหรั บเก็บข้ อมูล ข้ อมูลใน ROM นี้ไม่ จาํ เป็ นต้ องมี ไฟเลีย้ ง ROM ใช้ จดั เก็บ
ซอฟท์ แวร์ ของระบบ และเป็ นชุดสํารองโปรแกรม และข้ อมูลเพือ่ ป้ องกันกรณีที่ โปรแกรมและข้ อมูลใน RAM
สู ญหาย ผู้ใช้ งานสามารถถ่ ายโปรแกรมและข้ อมูลเข้ าใน RAM ได้ ใหม่

4. อธิบายหน้าที่ของหน่วยอินพุตมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
ตอบ หน่ วยอินพุตทําหน้ าที่รับสัญญาณจากอุปกรณ์ อินพุต ทีต่ ่ อเข้ ามาจากภายนอก เข้ า มาเพือ่ แปลงเป็ นระดับ
สัญญาณทีเ่ หมาะสมให้ กบั PLC และทําหน้ าทีแ่ ยกสัญญาณจากภายนอก และภายในออกจากกัน เพือ่ ป้ องกัน
ความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึ้นเนื่องจากการการลัดวงจรทางด้ าน อินพุต เมื่อได้ ระดับสัญญาณทีเ่ หมาะสมก็จะส่ ง
สัญญาณให้ กบั หน่ วยประมวลผลกลางทํา หน้ าทีต่ ่ อไป
5. ยกตัวอย่างอุปกรณ์อินพุตของ PLC มา 5 อย่าง (5 คะแนน)

5.1 Proximity Switch


5.2 Photoelectric Sensor
5.3 Encoder
5.4 Digital signal Control
5.5 Temperature Control
6. อธิบายหน้าที่ของหน่วยเอาท์พตุ มาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
ตอบ เอาท์ พุตของ PLC จะทําหน้ าทีร่ ั บคําสั่งจากหน่ วยประมวลกลาง ตามทีไ่ ด้ เขียนคําสั่ง ไว้ เพือ่ ทําหน้ าทีส่ ่ ง
สัญญาณออกไปขับโหลด

7. ยกตัวอย่างอุปกรณ์เอาท์พตุ ของ PLC มา 5 อย่าง (5 คะแนน)


7.1 รี เลย์ , แมกเนติกส์
7.2 ตัวควบคุมอุณหภูมิ
7.3 หลอดสัญญาณ
7.4 มอเตอร์
7.5 วาล์ วนิวแมติกส์ และไฮดรอลิกส์ ไฟฟ้ า

8. จงเขียนวงจรอินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสตรง (1 คะแนน)

9. อธิบายข้อแตกต่างระหว่างอินพุตแบบดิจิตอบและอินพุตแบบอนาล็อกมาพอเข้าใจ (1 คะแนน)
ตอบ อินพุตจะใช้ วงจรลดทอนแรงดัน เพือ่ ให้ ขับให้ ออปโตทรานซิสเตอร์ ทาํ งาน เมื่อ ออปโตทรานซิสเตอร์
ทํางานจะส่ งสัญญาณให้ CPU ทํางาน เพือ่ ทําการประมวลผลต่ อไป
อินพุตแบบไฟฟ้ ากระแสสับ (Alternating Current Input) จะใช้ ไฟฟ้ ากระแสสลับเพือ่ ลดปัญหาเนื่องจาก
แรงดันตกคร่ อมในสายมากเกินไปเมื่อใช้ ไฟฟ้ ากระแสตรง
10. จงเขียนวงจรการต่อใช้งานเอาท์พตุ แบบรี เลย์กบั ไฟฟ้ ากระแสสลับ (1 คะแนน)

11. ตัวอย่างโมดูลแหล่งจ่ายพลังงานของ PLC มา (2 คะแนน)

11.1 S8VS-01512
11.2 S8VS-06024
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1. ข
2. ง
3. ก
4. ค
5. ข
6. ง
7. ค
8. ก
9. ข
10. ค
11. ข
12. ก
13. ง
14. ข
15. ง
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 2 โครงสร้ างและส่ วนประกอบของ PLC

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนใช้งานแหล่งจ่ายไฟฟ้ าของ PLC ได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 3
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
3
ชื่อหน่วย พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC คาบรวม 12

ชื่อเรื่อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. เบอร์ของรี เลย์เพื่อใช้งาน
2. เลขฐานชนิดต่าง ๆ
ด้านทักษะ
3. ข้อแตกต่างระหว่างเลขฐาน
ด้านจิตพิสยั
4. โครงสร้างข้อมูล
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLC นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน

สาระสํ าคัญ
1. เลขฐานที่เราใช้กนั อยูโ่ ดยทัว่ ไปนั้น ได้แก่ เลขฐานสิ บประกอบด้วยตัวเลขทั้งหมดสิ บตัว คือ 0, 1, 2, 3,
4, 5, 6, 7, 8, 9 และเลขฐานที่ใช้กนั เกี่ยวกับงานด้านคอมพิวเตอร์ PLC และไมโครโปรเซสเซอร์ ได้แก่
เลขฐานสอง เลขฐานแปด และเลขฐานสิ บหก
2. การแปลงเลขฐานนั้นสามารถแปลงจากเลขฐานหนึ่งเป็ นฐานหนึ่งได้ วิธีที่สะดวกที่สุดน่าจะแปลงผ่าน
เลขฐานสิ บก่อนแล้วจึงแปลงเป็ นเลขฐานอื่น
3. โครงสร้างของข้อมูลใน PLC นั้น ประกอบด้วย บิต ดิจิต ไบต์ และเวิร์ดหรื อชาแนล
4. พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC คือพื้นฐานทางลอจิกต่าง ๆ ซึ่งต้องศึกษาการทํางานของลอจิกเกตต่าง ๆ
เช่น AND Gate, OR Gate, NOT Gate เป็ นต้น
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ทํางานลอจิกประเภทต่าง ๆ

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
สั ญญาเช่ าซื้อ
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 572 บัญญัติว่า “อันว่าเช่าซื้ อนั้น คือสัญญาซึ่ ง
เจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คาํ มัน่ ว่าจะขายทรัพย์สิน หรื อจะให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็ นสิ ทธิแก่ผเู ้ ช่า โดย
เงื่อนไขที่ผเู ้ ช่าได้ใช้เงินเป็ นจํานวนเท่านั้นเท่านี้คราว” ทั้งนี้กรรมสิ ทธิ์ในสิ นทรัพย์เช่าซื้ อยังคงอยูก่ บั ผูใ้ ห้เช่าซื้ อ
จนกว่าผูเ้ ช่าซื้ อได้ใช้เงินจนครบเงื่อนไขตามสัญญา กรรมสิ ทธิ์จึงโอนไปยังผูเ้ ช่าซื้อ แต่เจตนารมณ์ของสัญญาเช่า
ซื้อ อาจวินิจฉัยได้วา่ เป็ นการ “ขาย” เพียงแต่มีเงื่อนไขการชําระเงินที่ยาวนานกว่าปกติ

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการแปลความหมายเบอร์ของรี เลย์เพื่อใช้งาน(ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องวิธีระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆ (ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะเปรี ยบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเลขฐานต่าง ๆ (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการประพฤติตามโครงสร้างข้อมูล (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อเห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLC นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน (ด้ านคุณธรรม
จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. แปลความหมายเบอร์ของรี เลย์เพือ่ ใช้งานได้ (ด้ านความรู้ )
2. ระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆได้ (ด้ านความรู้ )
3. เปรี ยบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเลขฐานต่าง ๆได้ (ด้ านทักษะ)
4. ประพฤติตามโครงสร้างข้อมูลได้ (ด้านจิตพิสยั )
5. เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLCนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน (ด้ านคุณธรรม
จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
3.1 ระบบเลขฐาน
เลขฐานที่เราใช้กนั อยูโ่ ดยทัว่ ไปนั้นได้แก่เลขฐานสิ บประกอบด้วยตัวเลขทั้งหมดสิ บตัว คือ0, 1, 2, 3, 4,
5, 6, 7, 8, 9 ซึ่งเหมาะกับกระทําการทางคณิ ตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ และหาร ยังมีเลขฐานอื่น ๆ ที่ใช้งานเฉพาะ
ด้านหรื อเฉพาะกลุ่มบุคคลบางกลุ่มเท่านั้นคือ เลขฐานสอง เลข ฐานแปดและเลขฐานสิ บหกการกระทําการทาง
คณิ ตศาสตร์สามารถกระทําได้เช่นเดียวกับเลขฐานสิ บแต่มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ระบบเลขฐานดังกล่าว
นิยมใช้กบั ระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ และ PLC เป็ นต้นระบบเลขฐานต่าง ๆ นั้นสามารถ
แปลงเป็ นเลขฐานอื่น ๆ กลับไปมาได้ ในการเขียนเลขฐานนั้นไม่ว่าเลขฐานใดนิยมเขียนตัวเลขแล้วห้อยท้ายด้วย
เลขฐาน เช่น การเขียนเลขฐานสอง 01102 หรื อการเขียนเลขฐานแปด 1258 เป็ นต้น
3.1.1 เลขฐานสอง (Binary Numbers) เลขฐานสองประกอบด้วยตัวเลขจํานวนสองตัวคือ0 และ 1 เท่านั้น
การนําเลขฐานสองไปใช้งานเกี่ยวกับระบบดิจิตอลนั้นจะสะดวกกว่าเลขฐานสิ บการเขียนเลขฐานสองนั้นจะเขียน
ตัวเลขและมีเลขฐานห้อยท้ายอยู่ เช่น 10112 หรื อ 1110112
ตัวเลขแต่ละหลักนิยมเรี ยกว่าบิต (Binary Digital: Bit ) เช่น 11112 เราเรี ยกว่าเลขฐานสองจํานวน 4 บิต
แต่ ละบิ ต ความสํา คัญ ต่ า งกัน โดยบิ ต ขวาสุ ด จะนับ เป็ นบิ ต แรกและมี ค วามสํา คัญ ตํ่า สุ ด และบิ ต ซ้า ยมื อ จะมี
ความสําคัญมากเป็ นลําดับ
ตารางที่ 3.1 เปรี ยบเทียบเลขฐานสองกับฐานสิ บ
3.1.2 เลขฐานแปด (Octal Numbers) เลขฐานแปดประกอบด้วยตัวเลขจํานวนแปดตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5,
6, 7 การเขียนเลขฐานแปดนั้นจะเขียนตัวเลขและมีเลขฐานห้อยท้ายอยู0่ 12378 หรื อ 012345678
ตารางที่ 3.2 เปรี ยบเทียบเลขฐานสิ บกับฐานแปด

3.1.3 เลขฐานสิ บหก (Hexadecimal Numbers) เลขฐานสิ บหกประกอบด้วยตัวเลขจํานวนสิ บตัวและ


ตัวอักษรภาษาอังกฤษพิมพ์ใหญ่อีกหกตัวคือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, A, B, C, D,E, F การเขียนเลขฐานสิ บหกนั้น
จะเขียนเลขและมีเลขฐานห้อยท้ายอยู่ เช่น F9116 หรื อ AB16
ปัญหาน่ าคิด : เลขฐานอื่น ๆ เช่น ฐาน 3 ฐาน 5 มีหรื อไม่
ตารางที่ 3.3 เปรี ยบเทียบเลขฐานสิ บกับฐานสิ บหก
ตารางที่ 3.4 เปรี ยบเทียบระหว่างเลขฐานต่าง ๆ

3.2 การแปลงเลขฐาน
3.2.1 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขจํานวนเต็มสําหรับการแปลงเลขฐานสองเป็ น
เลขฐานสิ บมีหลักการคือ นําตัวเลขฐานสองในแต่ละบิตคูณกับ 2n-1 โดย n เริ่ มตั้งแต่1 แล้วนําค่าที่ได้รวมกัน เช่น
ต้องการแปลง 101102 ให้เป็ นเลขฐานสิ บ

ตารางที่ 3.5 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขจํานวนเต็ม

ต้องการแปลงเลขฐานสอง 111001002 เป็ นเลขฐานสิ บ


ตารางที่ 3.6 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขจํานวนเต็ม

3.2.2 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขทศนิยมกรณี เป็ นตัวเลขทศนิยม


จะใช้ตวั เลขในบิตนั้น ๆ คูณกับ 2-n โดย n จะเริ่ มที่ 1 บิตหลังจุดทศนิยม จะเป็ นบิตแรกต้องการแปลง
เลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บ เช่น 0.1102

ตารางที่ 3.7 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขทศนิยม

ต้องการแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บ เช่น 111.0112

ตารางที่ 3.8 การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิ บกรณี เป็ นเลขทศนิยม

3.2.3 การแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานสองให้นาํ สองหารเลขฐานสิ บแล้วนําเศษที่ได้มา


เป็ นผลลัพธ์ โดยเรี ยงลําดับตัวเลขของเศษด้านบนสุ ดที่หารได้ เป็ นตัวเลขบิตที่หนึ่ง (บิตขวาสุ ด)ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
แปลงเลข 3510 เป็ นเลขฐานสอง
3.2.4 การแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานแปดการแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานแปดทําโดยนําเลข 8 มา
หารเลขฐานสิ บแล้วนําเศษที่ได้ท้ งั หมดมาเรี ยงเป็ นเลขฐานแปด
3.2.5 การแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสิ บนําตัวเลขฐานแปดในแต่ละบิตคูณกับ 8n-1โดย n เริ่ มตั้งแต่ 1
แล้วนําค่าที่ได้รวมกันแสดงดังตัวอย่างแปลง 1768 ให้เป็ นเลขฐานสิ บ
ตารางที่ 3.9 การแปลงเลขฐานแปดเป็ นเลขฐานสิ บ

1768 มีค่าเท่ากับ 12610


แปลง 2648 ให้เป็ นเลขฐานสิ บ
3.2.6 การแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานสิ บหกการแปลงเลขฐานสิ บเป็ นเลขฐานสิ บหกทําโดยนําเลข 16
มาหารเลขฐานสิ บแล้วนําเศษที่ได้ท้ งั หมดมาเรี ยงลําดับเป็ นเลขฐานสิ บหกดัง
3.2.7 การแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสิ บ นําตัวเลขฐานแปดในแต่ละบิตคูณกับ16n-1โดย n เริ่ ม
ตั้งแต่ 1 แล้วนําค่าที่ได้รวมกันแสดงดังตัวอย่างแปลง 3D916 ให้เป็ นเลขฐานสิ บ
ตารางที่ 3.11 การแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสิ บ

3D916 มีค่าเท่ากับ 98510


แปลง 8A516 ให้เป็ นเลขฐานสิ บ

ตารางที่ 3.12 การแปลงเลขฐานสิ บหกเป็ นเลขฐานสิ บ

8A516 มีค่าเท่ากับ 221310


3.3 โครงสร้ างของข้ อมูล
ข้อมูลที่ใช้ใน PLC มีชื่อเรี ยกเฉพาะ เช่น บิต (Bit), ดิจิต (Digit), ไบต์ (Byte), เวิร์ด (Word)ข้อมูลเหล่านี้มี
ความสําคัญเป็ นอย่างมากในการนํามาใช้งานหรื อการเขียนโปรแกรมให้กบั PLCเพราะเราต้องกําหนดข้อมูลให้
ถูกต้องตรงกับความต้องการ ซึ่งความหมายของข้อมูลดังกล่าวมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
4 บิต = 1 ดิจิต
8 บิต = 1 ไบต์
16 บิต = 1 เวิร์ด
ข้อมูลในแต่ละเวิร์ดนั้นประกอบด้วยข้อมูลที่เป็ นเลขฐานสอง จํานวน16 บิต ถ้าแบ่งข้อมูลออกเป็ น 4 บิต
เราเรี ยกว่าดิจิต เพราะฉะนั้นข้อมูล 1 เวิร์ดประกอบด้วย 4 ดิจิต

ตารางที่ 3.13 แสดงโครงสร้างของข้อมูลในหนึ่งเวิร์ด

0 หมายถึง สภาวะหยุดทํางาน 1 หมายถึง สภาวะทํางาน

3.3.1 การกําหนดเบอร์ของรี เลย์เพื่อใช้งานการอ้างถึงเบอร์รีเลย์ต่าง ๆ เพื่อเรี ยกใช้งานจะแทนด้วยตัวเลข


จํานวน 5 หลัก โดย3 หลักแรกเรี ยกว่า เวิร์ด สองหลักที่เหลือเรี ยกว่าบิตการเรี ยกใช้งานต้องทราบก่อนว่ารี เลย์น้ นั
คือเวิร์ดที่เท่าไร โดยในแต่ละเวิร์ดนั้นประกอบด้วยบิตจํานวน 16 บิต เช่น ถ้าเราต้องการเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายใน
(IR) เวิร์ด 001 บิตที่ 05 จะมีความหมายดังตารางที่ 3.13
ตารางที่ 3.14 แสดงโครงสร้างของข้อมูลรี เลย์ภายใน (IR) เวิร์ด 001บิตที่ 05 (00105)

ตัวอย่าง ถ้าเขียนว่า 01007 เราจะหมายความว่าเราเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายใน เวิร์ด 10 บิตที่ 07

ตารางที่ 3.15 แสดงโครงสร้างของข้อมูล รี เลย์ภายใน (IR) เวิร์ด 010 บิตที่ 07

การใช้งาน PLC เราต้องกําหนดเวิร์ดและบิตให้ถูกต้องด้วย เช่น ถ้าเราต้องการเรี ยกพบนักเรี ยนเราต้อง


กําหนดชั้นปี (เปรี ยบเทียบกับเวิร์ด) ของนักเรี ยนและเลขที่ของนักเรี ยน (บิต)ให้ถูกต้อง มิฉะนั้นเราจะไม่พบ
นักเรี ยนคนที่ตอ้ งการ
สาระน่ ารู้ : อินพุตและเอาท์พตุ ของ PLC จะมี 16 บิต แต่อาจต่อใช้งานได้บางบิตหรื อทั้งหมดแล้วแต่รุ่น
หรื อยีห่ อ้ ของ PLC ด้วย

3.4 พืน้ ฐานทางดิจติ อล


การทํางานของดิจิตอลจะมีความสัมพันธ์กบั ลอจิก โดยมีตวั เลขที่เกี่ยวข้องอยูส่ องตัว คือ 0และ 1 โดย 0
เปรี ยบเทียบได้กบั สภาวะต่าง ๆ เช่น ปิ ดหรื อหยุดทํางาน (OFF), ผิด (False) และ1 เปรี ยบเทียบได้กบั สภาวะต่าง
ๆ เช่น เปิ ดหรื อทํางาน (ON) ถูก (True)รายละเอียดต่อไปนี้เป็ นลอจิกเกตต่าง ๆ และการทํางานเบื้องต้น ซึ่ ง
กําหนดให้อินพุต แทนด้วยสัญลักษณ์ A, B และ C และให้เอาท์พตุ แทนด้วยสัญลักษณ์Y
3.4.1 บัฟเฟอร์ เกต (Buffer Gate) เป็ นเกตที่มีหนึ่งอินพุต หนึ่งเอาท์พุต ค่าทางเอาท์พุตจะมีค่าตรงกับค่า
อินพุตแสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.1 และสมการลอจิกที่ (1)

3.4.2 นอตเกต (NOT Gate) เป็ นเกตที่มีหนึ่ งอินพุต หนึ่งเอาท์พุต ค่าทางเอาท์พุตจะมีค่าตรงข้ามกับ


อินพุตมีลกั ษณะคล้ายบัฟเฟอร์เกตแต่เอาท์พตุ ตรงข้ามกัน แสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.2 และสมการลอจิกที่ (2)

3.4.3 แอนด์ เกต (AND Gate) เป็ นเกตที่มีต้ งั แต่สองอินพุตขึ้นไปและมีหนึ่งเอาท์พุตการทํางานของแอนด์


เกตคืออินพุตต้องมีค่าเท่ากับ 1 ทั้งหมดเอาท์พุตจึงจะมีค่าเท่ากับ 1 แอนด์เกตเปรี ยบเทียบได้เท่ากับวงจรอนุกรม
แสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.3 และสมการลอจิกที่ (3)

3.4.4 ออร์ เกต (OR Gate) เป็ นเกตที่มีต้ งั แต่สองอินพุตขึ้นไปและมีหนึ่งเอาท์พุต การทํางานของออร์เกต


คืออินพุตใดมีค่าเท่ากับ 1 เอาท์พุตจะมีค่าเท่ากับ 1 ออร์เกตเปรี ยบเทียบได้เท่ากับวงจรขนานแสดงสัญลักษณ์ดงั
รู ป 3.4 และสมการลอจิกที่ (4)

3.4.5 แนนด์ เกต (NAN Gate) เป็ นเกตที่ประกอบด้วยแอนด์เกตและนอตเกตเพิ่มเข้าไปทางเอาท์พุต การ


ทํางานของแนนด์เกตถ้าอินพุตใดเป็ น0เอาท์พุตจะเป็ น 1 ถ้าทุกอินพุตเป็ น 1เอาท์พุตจะเป็ น 0 แสดงสัญลักษณ์ดงั
รู ป 3.5 และสมการลอจิกที่ (5)
3.4.6 นอร์ เกต (NOR Gate)เป็ นเกตที่ประกอบด้วยออร์ เกตและนอตเกตเพิ่มเข้าไปทางเอาท์พุต การ
ทํางานของนอร์เกตถ้าอินพุตเป็ น0 ทั้งหมดเอาท์พุตจึงจะมีค่าเป็ น1แต่ถา้ อินพุตใดอินพุตหนึ่งมีค่าเป็ น 1 จะทําให้
เอาท์พตุ มีค่าเป็ น 0 แสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.6 และสมการลอจิกที่ (6)

3.4.7 เอ๊ กซ์ คลูซีฟออร์ เกต (Exclusive OR Gate)เป็ นเกตที่มีสองอินพุตและหนึ่งเอาท์พุตการทํางานของ


เกตชนิดนี้ ถ้าอินพุตทั้งสองมีค่าต่างกันจึงจะมีเอาท์พตุ ออก ถ้าอินพุตมีค่าเหมือนกัน เอาท์พุตจะไม่มีสัญญาณออก
แสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.7 และสมการลอจิกที่ (7)
3.4.8 เอ๊ กซ์ คลูซีฟนอร์ เกต (Exclusive NOR Gate)เป็ นเกตที่มีสองอินพุตและหนึ่งเอาท์พุต การทํางาน
ของเกตชนิ ดนี้ ถ้าอินพุตทั้งสองมีค่าต่างกันเอาท์พุตจะไม่มีสัญญาณออกแต่ถา้ อินพุตทั้งสองมีค่าเหมือนกัน
เอาท์พตุ จะมีสญั ญาณออก แสดงสัญลักษณ์ดงั รู ป 3.8 และสมการลอจิกที่ (8)

ปัญหาน่ าคิด : ถ้าเราสั่งนักเรี ยนว่าให้สมชายหรื อวิชาญไปซื้อของให้ครู เดี๋ยวนี้ ถ้าเปลี่ยนคําสั่งเป็ นเกต


ทางดิจิตอลจะมีเกตตัวใดเกี่ยวข้องบ้าง
สาระน่ ารู้ : ถ้าเราต้องการให้มนัสออกไปนอกห้องเรี ยนเราจะพูดว่า “มนัสออกไปนอกห้องเรี ยน” ถ้าสัง่
แบบดิจิตอลหรื อ PLC เราต้องบอกว่า “มนัสออกไปนอกห้องเรี ยนและคนอื่น ๆที่เหลือนัง่ อยูใ่ นห้องเรี ยน”
ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 3
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน
ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLCนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผู ้เ รี ย นอ่ า นเอกสารประกอบการ 1. ผูเ้ รี ยนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชาการ
สอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 3 โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐาน
เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC หน้าที่ 57 ในส่ วน ท า ง ดิ จิ ต อลขอ ง PLC หน้ า ที่ 57 ใ น ส่ ว นข อ ง
ของสาระสําคัญ สาระสําคัญ
2. ผูส้ อนแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรี ยน เรื่ อง 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของ
พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC การเรี ยน เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
3. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง 3. ผูเ้ รี ยนระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆ

2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนเปิ ดเอกสารประกอบการสอน การ 1. ผู ้เ รี ยนเปิ ดเอกสารประกอบการสอนการ
โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐาน โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐาน
ทางดิจิตอลของ PLC หน้าที่ 58 - 72 พร้อมอธิบายเนื้อหา ทางดิจิตอลของ PLC หน้าที่ 58 - 72 พร้อมกับจดบันทึก
ให้ผเู ้ รี ยนฟังทีละหน้า เนื้อหาที่ได้เรี ยน
2. ผูส้ อนอธิ บายความรู ้ เพิ่มเติม เรื่ อง พื้นฐาน 2. ผูเ้ รี ยนฟั งผูส้ อนอธิ บายความรู ้ เพิ่มเติ ม เรื่ อง
ทางดิจิตอลของ PLC พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
3. ผูส้ อนเปิ ดโอกาส ให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ 3. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยจากเนื้อหาโดยครู เป็ นผู ้
ข้อ สงสั ย จากเนื้ อ หา โดยครู เป็ นผู ้อ ธิ บ าย เรื่ อง อธิบายเรื่ อง สัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้ อ
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 3 1. ผูเ้ รี ยนทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 3 เรื่ อง การ
เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC หน้าที่ 73 พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC หน้าที่ 73
2. ผูส้ อนทําแบบประเมินผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยน 2. ผูเ้ รี ยนดูแบบประเมินผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยนพร้อม
3. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนสื บค้น ข้ อ มู ล จาก Web ปรับปรุ งตัวเอง
Guide หรื อหาความรู ้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต 3. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจาก Web
Guide หรื อหาความรู ้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (15 นาที )
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 15 นาที )
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
หน่วยที่ 3 หน้า 80 2. ผูเ้ รี ย นทํา แบบทดสอบหลัง เรี ย นหน่ ว ยที่ 3
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ หน้า 80
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น
(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 240 นาที หรื อ 1 คาบเรี ยน) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 3
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 3 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 3 เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ใบงานที่ 3
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. แบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 3

คําถาม
1. ข้อใดคือการเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายในเวิร์ดที่ 03 บิตที่ 04
2. ข้อใดคือการเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายในเวิร์ดที่ 10 บิตที่ 7
3. 01303 มีความหมายตรงกับข้อใด
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ทํางานลอจิกประเภทต่าง ๆ

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 3 เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC ที่จดั ทําขึ้นได้ทาํ ให้ผเู ้ รี ยน
มีความรู ้ เพิ่มเกี่ยวกับ พื้นฐานทางดิ จิตอลของ PLC ทําให้ผูเ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การ
ทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 3 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 3 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC

สื่ อของจริง
พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
2. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 3
3. ตรวจใบงานที่ 3

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 3

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วย ที่ 3 เรื่ อง พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 แปลความหมายเบอร์ของรี เลย์เพือ่ ใช้งานได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : แปลความหมายเบอร์ของรี เลย์เพือ่ ใช้งานได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 ระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ระบุตวั อย่างเลขฐานชนิดต่าง ๆได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 เปรี ยบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเลขฐานต่าง ๆได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : เปรี ยบเทียบข้อแตกต่างระหว่างเลขฐานต่าง ๆได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 ประพฤติตามโครงสร้างข้อมูลได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ประพฤติตามโครงสร้างข้อมูลได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLCนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : เห็นคุณค่า และความสําคัญของดิจิตอลของ PLCนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวัน จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 3
หน่ วยที่ 3 เรื่ องพื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. เลขฐานสองประกอบด้ วยตัวเลขทั้งหมด ………… ตัวคือ ...............................................
...................................................................................................................................
(1 คะแนน)
2. เลขฐานแปดประกอบด้ วยตัวเลขทั้งหมด ………… ตัวคือ ...............................................
...................................................................................................................................
(1 คะแนน)
3. เลขฐานสิ บหกประกอบด้ วย (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
4. จงแปลง 101101102 เป็ นเลขฐานสิ บ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
5. จงแปลง 18910 เป็ นเลขฐานสอง (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
6. จงแปลง 6738 เป็ นเลขฐานสิ บ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
7. จงแปลง 14310 เป็ นเลขฐานแปด (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
8. จงแปลง 3CD16 เป็ นเลขฐานสิ บ (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
9. จงแปลง 24310 เป็ นเลขฐานสิ บหก (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
10. ข้ อมูล 16 บิตมีค่าเท่ ากับ ……......… ดิจติ ข้ อมูล 2 ดิจิตมีค่าเท่ ากับ ................................. บิต
(1 คะแนน)
11. จากรู ปทีก่ าํ หนดให้ จงเติมค่ าลงในตารางให้ สมบูรณ์ (2 คะแนน)
12. จากรู ปทีก่ าํ หนดให้ จงเติมค่ าลงในตารางให้ สมบูรณ์ (2 คะแนน)

13. จงเขียนรู ปวงจรลอจิกเกตจากสมการลอจิกทีก่ ําหนดให้ ต่อไปนี้


(1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ใบงานที่ 3
หน่ วยที่ 3 พื้นฐานทางดิจิตอลของ PLC
เรื่อง ลอจิกเกต

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับลอจิกเกตต่าง ๆ

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกชื่อไอซีลอจิกเกตต่าง ๆ ได้
2. เขียนวงจรภายในของลอจิกเกตต่าง ๆ ได้
3. นักเรี ยนมีความซื่อสัตย์สุจริ ต

รายการสอน
1. ไอซีลอจิกเกต

เครื่องมือ
1. IC ลอจิกเกต

วัสดุอุปกรณ์
-

ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
ให้นกั เรี ยนติดต่ออาจารย์ผสู ้ อนวิชาดิจิตอล เพื่อขอยืมไอซีลอจิกเกตต่าง ๆ และคู่มือ โดย ให้นกั เรี ยน
เขียนเบอร์ของไอซีลอจิกเกตต่าง ๆ พร้อมวงจรภายในวงในตารางให้สมบูรณ์
แบบทดสอบหลังเรี ยน
หน่ วยที่ 2 เรื่ องโครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย กากบาท ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 20 ข้อ

1. ข้อใดคือเลขฐานแปด
ก. 68 ข. 101
ค. 0A9 ง. 79

2. ข้อใดคือเลขฐานสอง
ก. 21 ข. 10
ค. 13 ง. 20

3. ข้อใดคือเลขฐานสิ บหก
ก. 1012 ข. 80
ค. 258 ง. 09116

4. จงแปลง 101102 เป็ นเลขฐานสิ บ


ก. 17 ข. 12
ค. 34 ง. 22

5. ข้อใดมีคา่ เท่ากับ 15010


ก. 111101 ข. 11000111
ค. 10010110 ง. 1111011

6. จงแปลง 678 เป็ นเลขฐานสิ บ


ก. 55 ข. 550
ค. 151 ง. 15
7. จงแปลง 18610 เป็ นเลขฐานแปด
ก. 172 ข. 231
ค. 272 ง. 105

8. จงแปลง A3D16 เป็ นเลขฐานสิ บ


ก. 4272 ข. 2621
ค. 2311 ง. 4533

9. จงแปลง 23510 เป็ นเลขฐานสิ บหก


ก. EB ข. 9D
ค. CA ง. D9

10. จงแปลง 1678 เป็ นเลขฐานสิ บ


ก. 77 ข. 119
ค. C5 ง. D2

11. จงแปลง AC16 เป็ นเลขฐานสอง


ก. 1111110 ข. 111011111
ค. 10101100 ง. 110000111

12. ข้อใดคือการเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายในเวิร์ดที่ 03 บิตที่ 04


ก. 00304 ข. 01304
ค. 01430 ง. 00403

13. ข้อใดคือการเรี ยกใช้งานรี เลย์ภายในเวิร์ดที่ 10 บิตที่ 7


ก. 00107 ข. 07010
ค. 01070 ง. 01007

14. 01303 มีความหมายตรงกับข้อใด


ก. บิตที่ 13 เวิร์ดที่ 03 ข. บิตที่ 01 เวิร์ดที่ 013
ค. เวิร์ดที่ 13 บิตที่ 3 ง. เวิร์ดที่ 01 บิตที่ 30
15. ถ้าควบคุมหลอดไฟฟ้ าโดยใช้สวิตช์สองตัวต่ออนุกรมกันมีหลักการทํางานเหมือนเกตตัวใด
ก. น็อตเกต ข. แอนด์เกต
ค. ออร์เกต ง. บัฟเฟอร์เกต

16. ถ้าอินพุตตัวใดตัวหนึ่งทํางานเอาท์พตุ จะทํางานเป็ นคุณสมบัติของเกตตัวใด


ก. น็อตเกต ข.แอนด์เกต
ค. ออร์เกต ง. เอ็กซ์คูลซีฟออร์

17. จากรู ปข้ อใดถูกต้ องทีส่ ุ ด


ก. A = 0, B = 1, C = 0 หลอดไฟฟ้ าสว่าง
ข. A = 1, B = 1, C = 0 หลอดไฟฟ้ าสว่าง
ค. A, B, C = 1 หลอดไฟฟ้ าสว่าง
ง. A = 0, B = 0, C = 1 หลอดไฟฟ้ าสว่าง

18. รู ปหลอดไฟฟ้ าสว่ างเมื่อใด


ก. A, B, C = 1 ข. A, B, C = 0
ค. A = 0, B = 0, C = 0 ง. A = 0, B = 1, C = 1

19. จากรู ปตรงกับสมการลอจิกใด


ข. A ⊕ B = Y
ค. A.B = Y

20. ข้ อใดคือสมการลอจิกของออร์ เกต


ก. A ⊕ B = Y ข. A.B = Y

ง. A + B = Y
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 3 เรื่อง พืน้ ฐานทางดิจิตอลของ PLC
1. เลขฐานสองประกอบด้วยตัวเลขทั้งหมด 2 ตัวคือ 0 , 1 ( 1 คะแนน)

2. เลขฐานแปดประกอบด้วยตัวเลขทั้งหมด 8 ตัวคือ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ( 1 คะแนน)

3. เลขฐานสิ บหกประกอบด้วย 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 9 , A , B , C ,D , E , F ( 1 คะแนน)

4. จงแปลง 101101102 เป็ นเลขฐานสิ บ ( 1 คะแนน)

5. จงแปลง 18910 เป็ นเลขฐานสอง ( 1 คะแนน)

18910 มีค่าเท่ ากับ 101111012


6. จงแปลง 6738 เป็ นเลขฐานสิ บ ( 1 คะแนน)

7. จงแปลง 14310 เป็ นเลขฐานแปด

14310 มีค่าเท่ ากับ 2178

8. จงแปลง 3CD16 เป็ นเลขฐานสิ บ ( 1 คะแนน)

9. จงแปลง 24310 เป็ นเลขฐานสิ บหก ( 1 คะแนน)

243 มีค่าเท่ ากับ E3


10 16
10. ข้อมูล 16 บิตมีค่าเท่ากับ 4 ดิจิต ข้อมูล 2 ดิจิตมีค่าเท่ากับ 8 บิต ( 1 คะแนน)

11. จากรู ปที่กาํ หนดให้จงเติมค่าลงในตารางให้สมบูรณ์ ( 2 คะแนน)

12. จากรู ปที่กาํ หนดให้จงเติมค่าลงในตารางให้สมบูรณ์ ( 2 คะแนน)


13. จงเขียนรู ปวงจรลอจิกเกตจากสมการลอจิกที่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ A⊕B.C = Y ( 1 คะแนน)
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ข
2. ข
3. ง
4. ง
5. ค
6. ก
7. ค
8. ข
9. ก
10. ข
11. ค
12. ก
13. ง
14. ค
15. ข
16. ค
17. ข
18. ก
19. ค
20. ง
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 3 พืน้ ฐานทางดิจิตอลของ PLC

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนทํางานลอจิกประเภทต่าง ๆ ได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
4
ชื่อหน่วย คุณสมบัติของ PLC คาบรวม 16

ชื่อเรื่อง คุณสมบัติของ PLC จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. คุณสมบัติของ PLC
2. ชนิดของรี เลย์ระบุหมายเลข
ด้านทักษะ
3. อินพุตเอาท์พุตและอุปกรณ์ต่อขยายของ PLC
ด้านจิตพิสยั
4. การเลือกรุ่ นของ PLC
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. รู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูกวิธี

สาระสํ าคัญ
1. ตําแหน่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ของPLC ที่สาํ คัญประกอบด้วย ส่ วนแสดงผล เช่น หลอดสัญญาณต่าง ๆ และ
ส่ วนของการต่อใช้งาน เช่น จุดต่ออินพุต/เอาท์พตุ จุดต่อขยายพอร์ตอนุกรม
2. พื้นที่หน่วยความจําของ PLC นั้นประกอบด้วยเบอร์และจํานวนรี เลย์ภายในต่าง ๆ ซึ่งมีให้เลือกใช้
อย่างมากมายโดยแต่ละรุ่ นมีจาํ นวนไม่เท่ากัน
3. จํานวนอินพุต / เอาท์พุตและอุปกรณ์ต่อขยาย จะขึ้นอยูก่ บั ขนาดและรุ่ นของ PLCเช่น PLC รุ่ น
CPM2A-20CDR นั้นมีจาํ นวนอินพุต/เอาท์พตุ 12/8 และใช้อุปกรณ์
ต่อขยายได้อีก 3 ชุด
4. CPU Unit เป็ นส่ วนสําคัญที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับรุ่ นจํานวนอินพุตและเอาท์พตุ แหล่งจ่ายพลังงาน
ชนิดของเอาท์พตุ  
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- เลือกรุ่ นของ PLC ได้เหมาะกับแรงดัน

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
รีเลย์ พเิ ศษ (Special Relay) เป็ นรี เลย์พิเศษที่ไม่สามารเปลี่ยนแปลงค่าได้ มีค่าอยูร่ ะหว่าง SR228 – SR
255 รวมทั้งหมด 28 เวิร์ด ในที่น้ ีจะขอยกตัวอย่างสําหรับที่จาํ เป็ นต้องใช้ งานเท่านั้น(เมื่อเขียนโปรแกรมเราไม่
ต้องป้ อนคําว่า SR ลงไปด้วย)

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการอธิบายคุณสมบัติของ PLC (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกชนิดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่ตอ้ งการใช้งาน(ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะเปลี่ยนแปลงจํานวนอินพุตเอาท์พุตและอุปกรณ์ต่อขยายของ PLC (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการใช้เหตุผลในการเลือกรุ่ นของ PLC ให้เหมาะกับแรงดันใช้งานทัว่ ไป
(ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อรู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูกวิธี (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. อธิบายคุณสมบัติของ PLCได้ (ด้ านความรู้ )
2. บอกชนิดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่ตอ้ งการใช้งานได้ (ด้ านความรู้ )
3. เปลี่ยนแปลงจํานวนอินพุตเอาท์พตุ และอุปกรณ์ต่อขยายของ PLC ได้ (ด้ านทักษะ)
4. ใช้เหตุผลในการเลือกรุ่ นของ PLC ให้เหมาะกับแรงดันใช้งานทัว่ ไปได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. รู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูกวิธี (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
4.1 ตําแหน่ งอุปกรณ์ ต่าง ๆ

รู ปที่ 4.1 ตําแหน่งอุปกรณ์ต่าง ๆ บน PLC

4.1.1 Power เป็ นแหล่งพลังงานของ PLC ในรุ่ นนี้ใช้แรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ 220 โวลต์
4.1.2 ไฟสถานะอินพุต จะติดเมื่อมีการต่อสวิตช์ภายนอกและสัง่ งานสวิตช์น้ นั
4.1.3 ไฟสถานการทํางาน เป็ นไฟโชว์สถานะของ PLC เช่น Power, Run, Comm, Error
4.1.4 จุดต่ออินพุต ใช้สาํ หรับต่ออุปกรณ์อินพุตจากภายนอก เช่น สวิตช์ต่าง ๆ
4.1.5 พอร์ตสื่ อสาร ใช้สาํ หรับสื่ อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กบั PLC หรื อ PLC กับ PLC
4.1.6 จุดต่อขยาย ใช้สาํ หรับต่อขยาย อินพุตและเอาท์พตุ เพิ่มเติม
4.1.7 Peripheral Port ใช้สาํ หรับต่อกับโปรแกรมมิ่งคอนโซล
4.1.8 ช่องเก็บแบตเตอรี่ สาํ รอง
4.1.9 แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง 24 โวลต์
4.1.10 ไฟสถานะเอาท์พตุ จะติดเมื่อมีการเขียนโปรแกรมและสัง่ งานเอาท์พตุ
4.1.11 จุดต่อเอาท์พุต ใช้สาํ หรับต่อโหลดจากภายนอก เช่น หลอดไฟฟ้ า แมกเนติกส์ฯ รี เลย์โซลินอยด์
วาล์ว
4.2 ชนิดต่ าง ๆ ของรีเลย์ และการระบุหมายเลขเพือ่ เรียกใช้ งาน
4.2.1 รี เลย์ภายใน (Internal Relay) รี เลย์ภายในประกอบด้วยรี เลย์ท้ งั หมด 50 เวิร์ดคือIR000 – IR49
แบ่งเป็ นรี เลย์สาํ หรับอินพุต10 เวิร์ดคือ IR000 – IR 009 รี เลย์สาํ หรับเอาท์พตุ 10 เวิร์ดคือ IR 010 – IR 019 และ
รี เลย์สาํ หรับใช้งานอื่น ๆ จํานวน 30 เวิร์ดคือ IR 020 – IR049 โดยในแต่ละเวิร์ดนั้นประกอบด้วยรี เลย์จาํ นวน 16
ตัวหรื อ 16 บิต คือบิตที่ 00 – 15

รู ปที่ 4.2 รี เลย์ภายในของอินพุต IR000 – IR009

รู ปที่ 4.3 รี เลย์ภายในของเอาท์พุต IR010 – IR019

รู ปที่ 4.4 ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ รี เลย์ภายใน


ตารางที่ 4.1 รี เลย์ภายใน (Internal Relay)

4.2.2 รี เลย์พิเศษ (Special Relay) เป็ นรี เลย์พิเศษที่ไม่สามารเปลี่ยนแปลงค่าได้ มีค่าอยูร่ ะหว่าง SR228 –
SR 255 รวมทั้งหมด 28 เวิร์ด ในที่น้ ีจะขอยกตัวอย่างสําหรับที่จาํ เป็ นต้องใช้งานเท่านั้น(เมื่อเขียนโปรแกรมเราไม่
ต้องป้ อนคําว่า SR ลงไปด้วย)
4.2.2.1 SR 25308 รี เลย์จะทํางานเมื่อแบตเตอรี่ สาํ รองมีแรงดันตํ่ากว่าปกติ โดยเราสามารถเขียน
โปรแกรมควบคุมรี เลย์เพือ่ ให้แสดงสภาวะของแบตเตอรี่ สาํ รองได้
4.2.2.2 SR 25309 รี เลย์น้ ีจะทํางานเมื่อค่าของ Scan time ของ PLC มีค่ามากเกินไป ซึ่ งจะทําให้การ
ตอบสนองของอินพุตช้าลง แต่โอกาสที่ค่าของ Scan timeมากเกินไปนั้นเกิดขึ้นได้นอ้ ยมาก
4.2.2.3 SR 25313 รี เลย์น้ ีจะทํางานตลอดเวลาขณะที่ PLC อยูใ่ นโหมด Monitorหรื อโหมด Run ใช้เพื่อ
ต้องการให้โปรแกรมทํางานทันทีเมื่อ PLC อยูใ่ นโหมด Monitor หรื อโหมดRun
4.2.2.4 SR 25314 รี เลย์น้ ีจะหยุดทํางานตลอดเวลา ไม่วา่ PLC จะอยูใ่ นโหมดใด
4.2.2.5 SR 25315 รี เลย์น้ ีจะทํางาน 1 Scan Time เมื่อ PLC อยูใ่ นโหมด Monitorหรื อโหมด Run ส่ วน
ใหญ่ใช้สาํ หรับรี เซ็ทค่าของอุปกรณ์ เช่น ตัวนับจํานวน

รู ปที่ 4.7 ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ SR 25315


4.2.2.6 SR 25400 รี เลย์น้ ีจะสร้างสัญญาณนาฬิกา ON-30 sec OFF-30 sec
4.2.2.7 SR 25401 รี เลย์น้ ีจะสร้างสัญญาณนาฬิกา ON-0.01 sec OFF-0.01 sec
4.2.2.8 SR 25501 รี เลย์น้ ีจะสร้างสัญญาณนาฬิกา ON-0.1 sec OFF-0.1 sec
4.2.2.9 SR 25502 รี เลย์น้ ีจะสร้างสัญญาณนาฬิกา ON-0.5 sec OFF-0.5 sec
4.2.2.10 SR 25505 รี เลย์น้ ีจะทํางานเมื่อผลการเปรี ยบเทียบค่า A > B
4.2.2.11 SR 25506 รี เลย์น้ ีจะทํางานเมื่อผลการเปรี ยบเทียบค่า A = B
4.2.2.12 SR 25507 รี เลย์น้ ีจะทํางานเมื่อผลการเปรี ยบเทียบค่า A < B
4.2.2.13 SR 25200 รี เลย์น้ ีเมื่อทํางานจะทําการรี เซ็ท High Speed Counter 0
4.2.2.14 SR 25215 รี เลย์น้ ีเมื่อทํางานจะทําการรี เซ็ท เอาท์พตุ ของ PLC ทั้งหมดให้หยุดทํางาน
ตารางที่ 4.2 รี เลย์พิเศษ (Special Relay)

4.2.3 TR Area (Temporary Relay) เป็ นหน่วยความจําชัว่ คราว มี 8 ตัว คือ TR0 – TR7ใช้เป็ นคําสั่งใน
การแยกสาขาย่อยของวงจรในหนึ่งรัง (Rung) เมื่อขึ้นรังใหม่สามารถใช้ TR0 – TR7ใหม่ได้ การเขียนโปรแกรม
ใน 1 รังห้ามใช้หมายเลขของ TR ซํ้ากัน

รู ปที่ 4.9 ตัวอย่างโปรแกรมการใช้คาํ สัง่ TR


ตารางที่ 4.3 TR Area (Temporary Relay)
4.2.4 HR Area (Holding Relay) เป็ นรี เลย์ที่มีคุณสมบัติคงสภาวะขณะทํางานนั้นไว้ แม้ไฟที่แหล่งจ่าย
ของ PLC จะดับลงก็ตาม พื้นที่ของ HR มีต้ งั แต่ HR 000 – HR 019

90 คุณสมบัติของ PLC
4.2.3 TR Area (Temporary Relay) เป็ นหน่วยความจําชัว่ คราว มี 8 ตัว คือ TR0 – TR7ใช้เป็ นคําสัง่ ใน
การแยกสาขาย่อยของวงจรในหนึ่งรัง (Rung) เมื่อขึ้นรังใหม่สามารถใช้ TR0 – TR7ใหม่ได้ การเขียนโปรแกรม
ใน 1 รังห้ามใช้หมายเลขของ TR ซํ้ากัน
4.2.4 HR Area (Holding Relay) เป็ นรี เลย์ที่มีคุณสมบัติคงสภาวะขณะทํางานนั้นไว้ แม้ไฟที่แหล่งจ่าย
ของ PLC จะดับลงก็ตาม พื้นที่ของ HR มีต้ งั แต่ HR 000 – HR 019 รู ปที่ 4.9 ตัวอย่ างโปรแกรมการใช้ คาํ สั่ง TR
ตารางที่ 4.4 HR Area (Holding Relay)

4.2.5 AR Area (Auxiliary Relay) เป็ นรี เลย์ที่ใช้งานในฟังก์ชนั่ พิเศษมีต้ งั แต่ AR 00- AR23ประกอบด้วย
รี เลย์จาํ นวน 348 บิต ในบทนี้จะยกตัวอย่างเพียงบางส่ วนเท่านั้น
4.2.5.1 AR 17 – AR 21 เป็ นรี เลย์นาฬิกา และปฏิทินซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

รู ปที่ 4.11 ตัวอย่างโปรแกรมการใช้คาํ สัง่ AR


ตารางที่ 4.5 AR Area (Auxiliary Relay)

4.2.6 LR Area (Link Relay) เป็ นรี เลย์ที่ใช้สาํ หรับรับและส่ งข้อมูลระหว่าง PLC กับ PLCพื้นที่ของรี เลย์
อยูร่ ะหว่าง LR 00 – LR 15 มีรีเลย์จาํ นวน 256 บิต

รู ปที่ 4.12 ตัวอย่างการใช้คาํ สัง่ LR

ตารางที่ 4.6 LR Area (Link Relay)


4.2.7 Timer / Counter Area เป็ นพื้นที่ของตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวนมีท้ งั หมด 256 ตัว คือ หมายเลข
000 – 255 ตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวนอยูใ่ นพื้นที่ความจําหน่วยเดียวกัน เมื่อเรี ยกใช้หมายเลขใดแล้ว ไม่สามารถ
เรี ยกใช้หมายเลขนั้นได้อีก ไม่ว่า จะเป็ นตัว ตั้ง เวลาหรื อ ตัวนับจํานวนควบเวลาของตัวตั้งเวลาเท่ากับ 0.1 ค่าการ
นับของตัวนับจํานวนเท่ากับ 1

รู ปที่ 4.13 ตัวอย่างการใช้คาํ สัง่ Timer / Counter


4.2.8 DM Area (Data Memory) ใช้สาํ หรับเก็บข้อมูลที่เป็ นตัวเลขและเรี ยกมาใช้งานได้ขอ้ มูลที่เก็บใน
DM Area จะรักษาค่าเดิมไว้แม้ไฟที่จ่ายให้กบั PLC จะดับลงก็ตาม

รู ปที่ 4.14 ตัวอย่างการใช้คาํ สัง่ DM Area


ตารางที่ 4.8 ตัวอย่างการกําหนดค่าใน DM Area

ตารางที่ 4.9 DM Area (Data Memory)

4.3 จํานวนอินพุตและเอาท์ พุตและอุปกรณ์ ต่อขยาย


เมื่อเราจําเป็ นต้องเลือกใช้งาน PLC สิ่ งสําคัญที่ตอ้ งพิจารณาคือจํานวนอินพุตเอาท์พุตและอุปกรณ์ต่อ
ขยาย เพราะเราสามารถเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับสภาพงานทั้งในปั จจุบนั และอนาคตสําหรับ PLC รุ่ น CPM2A
– 20 CDR – A มีจาํ นวนอินพุตทั้งหมด 16 บิตต่อใช้งานได้จาํ นวน12 บิตคือ 000.00 – 000.12 ส่ วนบิตที่ 000.13 –
000.15 เรี ยกใช้งานในการเขียนโปรแกรมได้เอาท์พุตมีท้ งั หมด 16 บิตต่อใช้งานได้จาํ นวน 8 บิตคือบิตที่ 010.00 –
010.07 ส่ วนบิตที่010.08 – 010.15 เรี ยกใช้งานในการเขียนโปรแกรมได้อุปกรณ์ต่อขยายสามารถต่อขยายได้อีก 3
ชุด โดยมีจาํ นวนอินพุตและเอาท์พุตเท่ากับ PLCหลักโดยอินพุตและเอาท์พุตจะมีเวิร์ดเรี ยงลําดับต่อจาก PLC
หลัก แสดงดังรู ป

รู ปที่ 4.15 อุปกรณ์ต่อขยายของ PLC รุ่ น CPM2A – 20 CDR


สาระน่ ารู้ : การซื้อตัวต่อขยายของ PLC จําเป็ นต้องดูรายละเอียดให้ดีโดยเฉพาะหมายเลขเช่น PLC ยีห่ อ้
Omron รุ่ น CPM2A – 20CDR – A ต้องใช้ตวั ต่อขยายรุ่ น CPM2A – 20EDR

ตารางที่ 4.10 จํานวนอินพุต / เอาท์พตุ และอุปกรณ์ต่อขยาย

4.4 CPU Unit


CPU Unit จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับ PLC เชน่ จํานวนอินพุต เอาทพ์อุตแหล่ง จ่ายพลังงานลักษณะของ
เอาท์พุตแต่ละรุ่ น ซึ่ งมีความจําเป็ นอย่างมากสําหรับการพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานและเป็ นคู่มือของ
ช่างที่ทาํ หน้าที่ควบคุมระบบงาน
ตารางที่ 4.11 CPU Unit

จากตารางจะเป็ นรายละเอียดของ PLC รุ่ น CPM2A ทั้งหมด จะมีต้ งั แต่อินพุต/เอาท์พุตจํานวน 20 จุด ถึง
60 จุด รุ่ นที่มีอินพุต/เอาท์พุต 20 จุด จะแบ่งเป็ น อินพุต 12 จุด/เอาท์พุต8 จุด และมีให้เลือกใช้ท้ งั แหล่งพลังงาน
ไฟฟ้ ากระแสตรงและไฟฟ้ ากระแสสลับ มีเอาท์พุต 2 แบบคือ เอาท์พุตแบบรี เลย์ (CPM2A-20CDR) และเอาท์พตุ
แบบทรานซิสเตอร์ (CPM2A-20CDT)
ปัญหาน่ าคิด : เอาท์พตุ แบบทรานซิ สเตอร์ เหมาะกับงานประเภทใด
ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 4
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. รู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูกวิธี
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที )
1. ผูส้ อนจัด เตรี ย มเอกสาร พร้ อ มกับ แนะนํา 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และฟั งครู ผูส้ อนแนะนํา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยน หน่วยที่ 4 เรื่ อง วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยน หน่วยที่ 4 เรื่ อง
คุณสมบัติของ PLC คุณสมบัติของ PLC
2. ผูส้ อนแจ้ง จุ ดประสงค์การเรี ยนของหน่ ว ย 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ ยวกับจุ ดประสงค์การ
เรี ยนที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC และขอให้ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC
ผูเ้ รี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมการเรี ยนการสอน 3. ผูเ้ รี ยนบอกชนิ ดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่
3. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนบอกชนิ ด ของรี เลย์ร ะบุ ต้องการใช้งาน โดยขอคําแนะนําจากผูส้ อนหรื อศึกษา
หมายเลขรี เ ลย์ที่ ต้อ งการใช้ง าน พร้ อ มให้เ หตุ ผ ล จากเอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและ
ประกอบ ควบคุมไฟฟ้ า
2. ขั้นให้ ความรู้ (115 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (115 นาที )
1. ผูส้ อนแนะนํา วิ ธี ก ารใช้ Power Point 1. ผูเ้ รี ยนศึกษา Power Point ประกอบกับเอกสาร
ประกอบกับ เอกสารประกอบการสอนวิ ช า การ ประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า
โปรแกรมและควบคุ ม ไฟฟ้ า หน่ วยที่ 4 เรื่ อ ง หน่วยที่ 4 เรื่ อง สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทําของ
คุณสมบัติของ PLC 2. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยที่ เ กิ ดขึ้ น ในเรื่ อง
2. ผูส้ อนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ คุณสมบัติของ PLC
ข้อสงสัยจากเนื้อหา โดยครู เป็ นผูต้ อบปั ญหาที่เกิดขึ้น 3. ผูเ้ รี ยนตั้งคําถามคนละ 1 ข้อ พร้อมเรี ยกเพื่อน
ระหว่างการเรี ยนการสอน เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC ตอบ
3. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนตั้งคําถามที่ได้จากการเรี ยน
การสอนคนละ 1 ข้อ และเรี ยกเพือ่ นตอบ
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ (115 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ (115 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทําใบงานที่ 4 เรื่ อง 1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทําใบงานที่ 4 เรื่ อง
คุณสมบัติของ PLC คุณสมบัติของ PLC
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนสื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ
อินเทอร์เน็ตหรื อแหล่งความรู ้ต่างๆ แหล่งความรู ้ต่างๆ
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (15 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 15 นาที )
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผู ้ส อนและผูเ้ รี ย นแบบทดสอบหลัง เรี ย น 2. ผูเ้ รี ยนแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 4 หน้า
หน่วยที่ 4 หน้า 103 103
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 240 นาที หรื อ 1 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 4
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 4 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 4
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 4

คําถาม
1. ถ้า PLC อยูใ่ นโหมดมอนิเตอร์รีเลย์หมายเลขใดจะทํางานตลอดเวลา
2. ถ้าต้องการทําไฟกระพริ บติด-ดับ 0.5 วินาทีตอ้ งใช้รีเลย์หมายเลขใด
3. รี เลย์หมายเลยใดแสดงค่า เดือนและปี
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ คุณสมบัติของ PLC
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- เลือกรุ่ นของ PLC ได้เหมาะกับแรงดัน

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC ที่จดั ทําขึ้นได้ทาํ ให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้
เพิ่มเกี่ ยวกับ คุ ณสมบัติของ PLCสัญญาจ้างทําของ ทําให้ผูเ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การ
ทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 4 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 4 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC

สื่ อของจริง
คุณสมบัติของ PLC (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตน
ทางสังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้
2. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 4
3. ตรวจใบงานที่ 4

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 4

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 4 เรื่ อง คุณสมบัติของ PLC
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 อธิบายคุณสมบัติของ PLCได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายคุณสมบัติของ PLCได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกชนิดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่ตอ้ งการใช้งานได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกชนิดของรี เลย์ระบุหมายเลขรี เลย์ที่ตอ้ งการใช้งานได้ จะได้ 2
คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 เปลี่ยนแปลงจํานวนอินพุตเอาท์พตุ และอุปกรณ์ต่อขยายของ PLC ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : เปลี่ยนแปลงจํานวนอินพุตเอาท์พตุ และอุปกรณ์ต่อขยายของ PLC ได้
จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 ใช้เหตุผลในการเลือกรุ่ นของ PLC ให้เหมาะกับแรงดันใช้งานทัว่ ไป


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้เหตุผลในการเลือกรุ่ นของ PLC ให้เหมาะกับแรงดันใช้งานทัว่ ไปได้
จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 : รู้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูก


วิธี
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : รู้จกั รวบรวมประโยชน์ของคุณสมบัติของ PLCเพื่อนําไปใช้ให้ถูกวิธี
จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 4
หน่ วยที่ 4 เรื่ องคุณสมบัติของ PLC
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. ให้นกั เรี ยนระบุชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์บนตัว PLC ตามหมายเลขต่างๆ ให้ถูกต้อง (5 คะแนน)

1.1 หมายเลข 1 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ...................................................


...................................................................................................................................
1.2 หมายเลข 2 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ...................................................
...................................................................................................................................
1.3 หมายเลข 4 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ...................................................
...................................................................................................................................
1.4 หมายเลข 5 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ...................................................
...................................................................................................................................
1.5 หมายเลข 7 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ....................................................
...................................................................................................................................

2. รี เลย์ภายในมีท้ งั หมด ............................................. เวิร์ด คือ .............................................


...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
(1 คะแนน)
3. อธิบายหน้าที่ของรี เลย์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)
3.1 SR 25313 ..........................................................................................................................
...................................................................................................................................
3.2 SR 25315 .........................................................................................................................
...................................................................................................................................
3.3 HR ...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
3.4 SR25507 ..........................................................................................................................
...................................................................................................................................
3.5 AR17 ...............................................................................................................................
...................................................................................................................................

4. ตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวน มีท้ งั หมด ............................................. ตัว ตั้งแต่หมายเลข


...................................................................................................................................
(3 คะแนน)

5. PLC รุ่ น CPM2A-20CDR-A ถ้าเราต่ออุปกรณ์ต่อขยายจนครบตามจํานวนสู งสุ ด จะมีอินพุตและเอาท์พตุ


ทั้งหมดกี่ตวั พร้อมระบุเวิร์ดต่าง ๆ มาพอเข้าใจ (3 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
6. PLC รุ่ น CPM2A-60CDR-A มีอินพุตและเอาท์พตุ ทั้งหมดกี่ตวั พร้อมระบุเวิร์ดต่าง ๆมาพอเข้าใจ (3
คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ใบงานที่ 4
หน่ วยที่ 4 คุณสมบัติของ PLC
เรื่อง ส่ วนประกอบของ PLC

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับส่ วนประกอบ ของ PLC

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกส่ วนประกอบของ PLC ได้
2. บอกหน้าที่ของส่ วนประกอบต่าง ๆ ของPLC ได้
3. นักเรี ยนปฏิบตั ิงานด้วยความระมัดระวัง

รายการสอน
1. ส่ วนประกอบของ PLC

เครื่องมือ
1. PLC

วัสดุอุปกรณ์
-

ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
ให้นกั เรี ยนเขียนรายละเอียดต่าง ๆ ที่อยูบ่ นตัว PLC ให้ถูกต้อง พร้อมทั้งบอกหน้าที่ของส่ วนประกอบ
ที่สาํ คัญและบันทึกลงในตารางให้สมบูรณ์
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 2 เรื่ องโครงสร้างและส่ วนประกอบของ PLC
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย กากบาท ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 20 ข้อ

รู ปที่ 4.1 ใช้ตอบคําถามข้อ 1 – 3


1. จากรู ปที่ 4.1 ตําแหน่งหมายเลขใดที่ใช้ต่อกับโปรแกรมมิ่งคอนโซล
ก. 5 ข. 6
ค. 1 ง. 2

2. จากรู ปที่ 4.1 ตําแหน่งหมายเลขใดที่ใช้ต่อกับสวิตช์ภายนอก


ก. 6 ข. 5
ค. 1 ง. 2

3. จากรู ปที่ 4.1 ตําแหน่งหมายเลขใดคือแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงขนาด 24 โวลต์


ก. 10 ข. 9
ค. 8 ง. 1

4. ข้อใดคือหมายเลขของรี เลย์สาํ หรับอินพุต


ก. 01102 ข. 01007
ค. 01000 ง. 00100
5. ข้อใดคือหมายเลขของรี เลย์สาํ หรับเอาท์พตุ
ก. 00110 ข. 00000
ค. 01100 ง. 00205

6. จากรู ปที่ 4.2 ตําแหน่ง A ควรเป็ นหมายเลขใด


ก. 01411 ข. 01907
ค. 01010 ง. 00010

7. จากรู ปที่ 4.2 ตําแหน่ง B ควรเป็ นหมายเลขใด


ก. 01301 ข. 00806
ค. 00203 ง. 00107

8. ถ้า PLC อยูใ่ นโหมดมอนิเตอร์รีเลย์หมายเลขใดจะทํางานตลอดเวลา


ก. SR25314 ข. SR25401
ค. SR25313 ง. SR25308

9. ถ้าต้องการทําไฟกระพริ บติด-ดับ 0.5 วินาทีตอ้ งใช้รีเลย์หมายเลขใด


ก. SR25505 ข. SR25508
ค. 25400 ง. SR25502

10. ข้อใดคือคุณสมบัติของ HR (Holding Relay)


ก. เป็ นรี เลย์นาฬิกา ข. เป็ นรี เลย์ใช้เปรี ยบเทียบข้อมูล
ค. เป็ นรี เลย์สร้างสัญญาณนาฬิกา ง. เป็ นรี เลย์คงสภาวะการทํางาน

11. รี เลย์หมายเลยใดแสดงค่า เดือนและปี


ก. AR21 ข. AR20
ค. AR18 ง. AR17
12. ถ้าต้องการส่ งข้อมูลระหว่าง PLC กับ PLC ต้องใช้รีเลย์ชนิดใด
ก. IR ข. LR
ค. SR ง. HR

13. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับตัวตั้งเวลาใน PLC


ก. ตัวตั้งเวลาหมายเลข 1- 100 คาบเวลา 0.01 วินาที
ข. มีจาํ นวนทั้งหมด 257 ตัว
ค. ตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวนใช้หมายเลขซํ้ากันได้
ง. ตัวตั้งเวลาหมายเลข 250 มีคาบเวลา 0.1 วินาที

14. ตัวตั้งเวลา หมายเลข 100 ตั้งเวลาสู งสุ ดเท่าไร


ก. 100 วินาที ข. 360 วินาที
ค. 999.9 วินาที ง. 1000

15. PLC รุ่ น CPM2A-20 CDR-A สามารถต่ออินพุตได้กี่จุด


ก. 50 บิต ข. 48 บิต
ค. 20 บิต ง. 12 บิต

16. PLC รุ่ น CPM2A-20 CDR-A สามารถต่ออุปกรณ์ต่อขยายได้กี่ชุด


ก. 5 ชุด ข. 3 ชุด
ค. 2 ชุด ง. 1 ชุด

17. อินพุตและเอาท์พตุ ของ PLC ใช้เวิร์ดใด


ก. 020 และ 000 ข. 000 และ 010
ค. 000 และ 001 ง. 010 และ 110

18. PLC รุ่ น CPM2A-40 CDR-A สามารถต่ออินพุตได้กี่จุด


ก. 40 จุด ข. 36 จุด
ค 24 จุด ง. 12 จุด
19. PLC รุ่ นใดใช้ Power Supply เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง
ก. CPM2A-20CDR-D ข. CPM2A-30CDT-A
ค. CPM2A-30CDR-A ง. CPM2A-20CDR-A

20. PLC รุ่ นใดที่มีเอาท์พตุ เป็ นแบบทรานซิสเตอร์แบบ Sink Type


ก. CPM2A-40CDT1-D ข. CPM2A-60CDR-D
ค. CPM2A-30CDT1-D ง. CPM2A-20CDT-D
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ าย
หน่ วยที่ 4 คุณสมบัติของ PLC

1. ให้นกั เรี ยนระบุชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์บนตัว PLC ตามหมายเลขต่างๆ ให้ถูกต้อง (5 คะแนน)

2. รี เลย์ภายในประกอบด้วยรี เลย์ท้ งั หมด 50 เวิร์ดคือIR000 – IR49แบ่งเป็ นรี เลย์สาํ หรับอินพุต10 เวิร์ดคือ IR000
– IR 009 รี เลย์สาํ หรับเอาท์พุต10 เวิร์ดคือ IR 010 – IR 019 และรี เลย์สาํ หรับใช้งานอื่น ๆ จํานวน 30 เวิร์ดคือ IR
020 – IR049 โดยในแต่ละเวิร์ดนั้นประกอบด้วยรี เลย์จาํ นวน 16 ตัวหรื อ 16 บิต คือบิตที่ 00 – 15

3. อธิบายหน้าที่ของรี เลย์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)


3.1 SR 25313 รี เลย์น้ ีจะทํางานตลอดเวลาขณะที่ PLC อยูใ่ นโหมด Monitorหรื อโหมด Run ใช้เพื่อต้องการให้
โปรแกรมทํางานทันทีเมื่อ PLC อยูใ่ นโหมด Monitor หรื อโหมดRun

3.2 SR 25315 รี เลย์น้ ีจะทํางาน 1 Scan Time เมื่อ PLC อยูใ่ นโหมด Monitorหรื อโหมด Run ส่ วนใหญ่ใช้
สําหรับรี เซ็ทค่าของอุปกรณ์ เช่น ตัวนับจํานวน

3.3 HR เป็ นรี เลย์ที่มีคุณสมบัติคงสภาวะขณะทํางานนั้นไว้ แม้ไฟที่แหล่งจ่ายของ PLC จะดับลงก็ตาม พื้นที่ของ


HR มีต้ งั แต่ HR 000 – HR 019
3.4 SR25507 รี เลย์น้ ีจะทํางานเมื่อผลการเปรี ยบเทียบค่า A < B

3.5 AR17 เป็ นรี เลย์นาฬิกา และปฏิทิน

4. ตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวน มีท้ งั หมด 256 ตัว ตั้งแต่หมายเลข 000 – 255

5. PLC รุ่ น CPM2A-20CDR-A ถ้าเราต่ออุปกรณ์ต่อขยายจนครบตามจํานวนสู งสุ ด จะมีอินพุตและเอาท์พตุ


ทั้งหมดกี่ตวั พร้อมระบุเวิร์ดต่าง ๆ มาพอเข้าใจ (3 คะแนน)
A มีจาํ นวนอินพุตทั้งหมด 16 บิตต่อใช้งานได้จาํ นวน12 บิตคือ 000.00 – 000.12 ส่ วนบิตที่ 000.13 –
000.15 เรี ยกใช้งานในการเขียนโปรแกรมได้เอาท์พตุ มีท้ งั หมด 16 บิตต่อใช้งานได้จาํ นวน 8 บิตคือบิตที่ 010.00
– 010.07 ส่ วนบิตที่010.08 – 010.15 เรี ยกใช้งานในการเขียนโปรแกรมได้อุปกรณ์ต่อขยายสามารถต่อขยายได้
อีก 3 ชุด โดยมีจาํ นวนอินพุตและเอาท์พตุ เท่ากับ PLCหลักโดยอินพุตและเอาท์พตุ จะมีเวิร์ดเรี ยงลําดับต่อจาก
PLC หลัก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ค
2. ก
3. ง
4. ค
5. ข
6. ค
7. ข
8. ก
9. ค
10. ง
11. ข
12. ข
13. ง
14. ง
15. ค
16. ก
17. ค
18. ข
19. ก
20. ข
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 4 คุณสมบัติของ PLC

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนเลือกรุ่ นของ PLC ได้เหมาะกับแรงดันได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 5
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
5-6
ชื่อหน่วย การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล คาบรวม 24

ชื่อเรื่อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล จํานวนคาบ 8


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. ความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ
2. ส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซล
ด้านทักษะ
3. การเรี ยกใช้คาํ สัง่ พิเศษ
ด้านจิตพิสยั
4. งานคําสั่งต่าง ๆ
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม

สาระสํ าคัญ
โปรแกรมมิ่งคอนโซล ประกอบด้วยจอแสดงผล สวิตช์เลือกโหมดการทํางาน ปุ่ มคําสัง่ ปุ่ มกําหนดการ
ทํางานและปุ่ มตัวเลข ปุ่ มคําสั่งต่าง ๆ ในโปรแกรมมิ่งคอนโซล นั้นใช้สาํ หรับเขียนโปรแกรมภาษาบูลีน ในหนึ่ง
ปุ่ มอาจมีมากกว่า หนึ่งคําสัง่ ได้ เมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล ให้ต่อสายของโปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้า
กับตัว PLC แล้วบิดสวิตช์กญ ุ แจไปที่โหมดโปรแกรม (Program Mode) แล้วจ่ายไฟเข้าเครื่ อง PLC 
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซล

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
5.2.3 ปุ่ มคําสั่ ง (Instruction Keys) เป็ นปุ่ มที่รวมคําสัง่ ต่าง ๆ มีอยูท่ ้ งั หมด 16 ปุ่ มคําสัง่ นี้จะมีพ้นื สี เทา
ตัวอักษรสี ดาํ
5.2.4 ปุ่ มกําหนดการทํางาน (Instruction Keys) เป็ นปุ่ มที่ใช้กาํ หนดการทํางาน เช่น การลบ แทรก แก้ไข
การบันทึกเป็ นต้น ประกอบด้วยปุ่ มทั้งหมด 13 ปุ่ ม ส่ วนใหญ่จะเป็ นปุ่ มที่มีพ้นื สี เหลืองตัวหนังสื อสี ดาํ
5.2.5 ปุ่ มตัวเลข (Numeric Keys) เป็ นปุ่ มที่ประกอบด้วยตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 9 ตั้งแต่ปุ่ม 0 ถึง 5 จะมี
ตัวอักษรภาษาอังกฤษรวมอยูด่ ว้ ย เพื่อใช้เป็ นเลขฐานสิ บหกได้

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการอธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกหน้าที่และส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซล (ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการเรี ยกใช้งานคําสัง่ พิเศษ (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการเลือกใช้งานคําสัง่ ต่างๆ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. อธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ ได้ (ด้ านความรู้ )
2. บอกหน้าที่และส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้ (ด้ านความรู้ )
3. สาธิตการเรี ยกใช้งานคําสั่งพิเศษได้ (ด้ านทักษะ)
4. เลือกใช้งานคําสัง่ ต่าง ๆได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม (ด้ าน
คุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
5.1 แนะนําโปรแกรมมิง่ คอนโซล (Programming Console)
โปรแกรมมิ่งคอนโซลเป็ นอุปกรณ์สาํ หรับป้ อนโปรแกรม (ภาษาบลูลีน) ให้กบั PLC โดยมีสายต่อจากตัว
โปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้ากับ Peripheral Port ของ PLCสําหรับโปรแกรมมิ่งคอนโซลที่ใช้งานกับ PLC ยีห่ อ้
OMRON รุ่ น CPM2A-20CDR-A มีสองรุ่ นคือ PRO01-E และ PRO27-E รายละเอียดแสดงดังรู ปที่ 5.1

รู ปที่ 5.1 แสดงรุ่ นของโปรแกรมมิ่งคอนโซล


ตารางที่ 5.1 ข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมมิ่งคอนโซลรุ่ น PRO001-E กับรุ่ น PRO27-E
5.2 ส่ วนประกอบของโปรแกรมมิง่ คอนโซล

รู ปที่ 5.2 ส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซลรุ่ น PRO01-E

5.2.1 จอแสดงผล (Liquid Crystal Display) จอแสดงผลเป็ นแบบจอ LCD (Liquid Crystal Display) จะ
แสดงผลเป็ นภาษาอังกฤษขนาด 16 ตัวอักษร 2 บรรทัดในการดูสภาวะต่าง ๆ ของคําสั่งสามารถดูได้ครั้งละ 3
คําสัง่ เท่านั้น
5.2.2 สวิตช์เลือกโหมดการทํางาน (Key Switch) โหมดการทํางานของ PLC แบ่งได้ 3โหมดตามลักษณะ
การใช้งานที่แตกต่างกันออกไปการเลือกโหมดทําได้โดยการบิดสวิตช์กญ ุ แจไปตามตําแหน่งต่าง ๆ แต่ในบางรุ่ น
จะเป็ นสวิตช์เลื่อนสําหรับการเลือกโหมดการทํางาน

รู ปที่ 5.3 แสดงโหมดการทํางานของ PLC


5.2.2.1 โหมดโปรแกรม (Program Mode) เป็ นโหมดสําหรับเริ่ มต้นการเขียนโปรแกรม
ตรวจสอบโปรแกรม ลบโปรแกรม แทรกและแก้ไขโปรแกรมในโหมดนี้ไม่สามารถสัง่ ให้PLC ทํางานได้ สวิตช์
กุญแจไม่สามารถถอดออกได้ถา้ อยูใ่ นโหมดนี้
5.2.2.2 โหมดมอนิเตอร์ (Monitor Mode) เป็ นโหมดสําหรับสั่งให้ PLC ทํางานตามที่เขียน
โปรแกรมไว้ ในโหมดนี้ใช้ดูค่าสแกนไทม์ได้ สามารถแก้ไขโปรแกรมได้บา้ งเช่นค่าของตัวตั้งเวลา ค่าของตัวนับ
จํานวน เป็ นต้น
5.2.2.3 โหมดรัน (Run Mode) เป็ นโหมดสั่งให้ PLC ทํางานเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไข
โปรแกรมได้ ในโหมดนี้สามารถดูค่าสแกนไทม์ได้เช่นกัน
5.2.3 ปุ่ มคําสั่ง (Instruction Keys) เป็ นปุ่ มที่รวมคําสั่งต่าง ๆ มีอยูท่ ้ งั หมด 16 ปุ่ มคําสั่งนี้จะมีพ้ืนสี เทา
ตัวอักษรสี ดาํ
5.2.4 ปุ่ มกําหนดการทํางาน (Instruction Keys) เป็ นปุ่ มที่ใช้กาํ หนดการทํางาน เช่น การลบ แทรก แก้ไข
การบันทึกเป็ นต้น ประกอบด้วยปุ่ มทั้งหมด 13 ปุ่ ม ส่ วนใหญ่จะเป็ นปุ่ มที่มีพ้นื สี เหลืองตัวหนังสื อสี ดาํ
5.2.5 ปุ่ มตัวเลข (Numeric Keys) เป็ นปุ่ มที่ประกอบด้วยตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 9 ตั้งแต่ปุ่ม0 ถึง 5 จะมี
ตัวอักษรภาษาอังกฤษรวมอยูด่ ว้ ย เพื่อใช้เป็ นเลขฐานสิ บหกได้

รู ปที่ 5.4 โปรแกรมมิ่งคอนโซล


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
5.3 ความหมายของปุ่ มคําสั่ งต่ าง ๆ ในโปรแกรมมิง่ คอนโซล
ในโปรแกรมมิ่งคอนโซลนั้นมีปุ่มคําสั่งทั้งหมด 39 ปุ่ ม แต่มีคาํ สั่งมากกว่า 100 คําสั่งโดยบางปุ่ มนั้นมี
มากกว่าสองคําสั่งอยูใ่ นปุ่ มเดียวกัน สําหรับปุ่ มที่มีสองคําสั่งถ้าต้องการเลือกใช้คาํ สั่งด้านล่างกดปุ่ มได้เลย แต่ถา้
ต้องการใช้คาํ สัง่ ด้านบนต้องกดปุ่ ม SHIFT ก่อนเสมอ
ตารางที่ 5.2 ปุ่ มคําสั่งใช้งานและความหมา
ตารางที่ 5.2 ปุ่ มคําสัง่ ใช้งานและความหมาย (ต่อ)

ตารางที่ 5.2 ปุ่ มคําสั่งใช้งานและความหมาย (ต่อ)


5.4 การใช้ งานคําสั่ งต่ าง ๆ
เมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซลให้ต่อสายของโปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้ากับตัว PLCแล้วบิด
สวิตช์กุญแจไปที่โหมดโปรแกรม (Program Mode) แล้วจ่ายไฟเข้าเครื่ อง PLC ให้สังเกตไฟแสดงสถานะของ
PLC จะติดสองดวงคือ COMM (Communication) และ PWR (Power) แสดงว่า PLC พร้อมที่จะเริ่ มใช้งาน
5.4.1 การแก้รหัสผ่าน (Password) ทุกครั้งที่เปิ ด PLC จอแสดงผลจะมีขอ้ ความว่า

รู ปที่ 5.5 แสดงจอแสดงผลขณะเปิ ดเครื่ อง

ถ้าผูใ้ ช้งานไม่ทาํ การแก้ไขจะไม่สามารถใช้งาน PLC ได้ การแก้ไขรหัสผ่านทําได้โดยกดปุ่ มดังต่อไปนี้

เมื่อกดปุ่ มดังกล่าวจะทําให้หน้าจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น (Initial Display) ซึ่ งควรกระทําทุกครั้ง


เมื่อต้องการเริ่ มต้นกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับโปรแกรมจอแสดงผลจะปรากฏดังต่อไปนี้

รู ปที่ 5.6 แสดงจอแสดงผลเมื่ออยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น

รู ปที่ 5.7 แสดงลักษณะจอแสดงผลในโหมดต่าง ๆ


5.4.2 การลบโปรแกรม (Delete) ก่อนป้ อนโปรแกรมทุกครั้งควรทําการลบโปรแกรมออกจาก
หน่วยความจําก่อนเสมอเพื่อป้ องกันความผิดพลาดของโปรแกรม การลบโปรแกรมต้องอยูใ่ นโหมดโปรแกรม
เท่านั้น เมื่อจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้นแล้วกดปุ่ มคําสัง่ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

หลังจากทําการลบโปรแกรมแล้วให้ตรวจสอบอีกครั้งว่าโปรแกรมถูกลบออกจากหน่วยความจําหรื อไม่
โดยกดปุ่ มลูกศรลง ถ้าพบคําสั่งต่าง ๆ แสดงว่าโปรแกรมไม่ได้ถูกลบออกจากหน่วยความจํา ถ้าโปรแกรมถูกลบ
เรี ยบร้อยแล้วจะปรากฏข้อความดังนี้

5.4.3 การลบโปรแกรมเฉพาะบางส่ วนหลังจากจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้นให้กระทําดังต่อไปนี้

ถ้าต้องการให้ขอ้ มูลใดอยูใ่ ห้กดปุ่ มคําสัง่ นั้น เช่น ถ้าต้องการให้ CNT และ DM อยู่

สาระน่ ารู้ : เมื่อเรากดปุ่ มคําสัง่ เราควรดูบนหน้าจอและฟังเสี ยงไปด้วยเพราะบางคําสัง่ เราอาจ


กดซํ้าโดยไม่รู้ตวั ทําให้คาํ สัง่ นั้นไม่ได้เรี ยกมาใช้งาน ถ้าเป็ นเสี ยงปกติ จะดัง ติด ๆ สั้น ๆ ถ้าดังยาวแสดงว่าคําสัง่
ที่ป้อนผิด
5.4.4 การใช้คาํ สัง่ เก็บเสี ยง โดยปกติเมื่อเรากดปุ่ มคําสัง่ จะมีเสี ยงดัง “ติด ๆ” เพื่อเป็ นการเตือนให้ผใู ้ ช้งาน
ทราบว่าคําสัง่ นั้นได้ถูกกดแล้ว แต่บางครั้งผูใ้ ช้งานไม่ตอ้ งการให้มีเสี ยงดังก็สามารถกระทําได้ดงั นี้

ถ้าต้องการให้มีเสี ยงอีกครั้งหลังจากเขียนโปรแกรมแล้วให้กดปุ่ มต่าง ๆ ตามขั้นตอนเดิมอีกครั้ง หรื อ


เปิ ด-ปิ ด โปรแกรมใหม่จะมีเสี ยงเหมือนเดิม
5.4.5 การป้ อนโปรแกรมเมื่อลบโปรแกรมออกจากหน่ วยความจําเรี ยบร้ อยแล้วควรทําให้หน้าจอ
แสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น การป้ อนโปรแกรมสวิตช์ตอ้ งอยูใ่ นโหมดโปรแกรมเท่านั้น

ตารางที่ 5.3 ตัวอย่างโปรแกรมภาษาบุลีน


จากตารางที่กาํ หนดให้เราสามารถป้ อนโปรแกรมได้โดยกดปุ่ มต่าง ๆ ดังนี้

Operand มีตวั เลขจํานวน 5 หลัก เช่น 00001 ขณะทําการป้ อนโปรแกรมเรากดเลข 1 เพียงตัวเดียวก็ได้


เพราะตัวเลขที่เรากดจะเกิดขึ้นด้านขวามือมาทางด้านซ้ายมือของจอแสดงผล และ ขณะป้ อนโปรแกรมควรดู
จอแสดงผลด้วยว่า คําสั่งที่ป้อนตรงกับหมายเลข Address หรื อไม่ เช่น คําสั่ง AND NOT 1 ต้องอยูใ่ น Address ที่
00002 เท่านั้น
5.4.6 การตรวจสอบโปรแกรม การตรวจสอบจะทําหลังจากป้ อนโปรแกรมเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว และต้อง
ทํา ในโหมดโปรแกรมเท่านั้นการตรวจสอบโปรแกรมเป็ นการตรวจสอบความผิดพลาดจากเงื่อนไขเฉพาะ
บางส่ วนเท่านั้น เช่น การตรวจสอบหมายเลขเอาท์พุตซํ้ากัน การตรวจสอบเมื่อไม่มีคาํ สั่งจบโปรแกรม เป็ นต้น
โดยโปรแกรมไม่มีความสามารถตรวจสอบว่าคําสั่งที่ ป้อนนั้นทํางานได้จริ งตามเงื่ อนไขที่กาํ หนดหรื อไม่ให้
ทดลองป้ อนโปรแกรมตามตัวอย่างดังต่อไปนี้ หลังจากลบโปรแกรมที่มีอยูเ่ ดิมออกจากหน่วยความจําของ PLC
แล้วและจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้นพร้อมใช้งาน
โปรแกรมนี้ มีหมายเลขเอาท์พุตซํ้ากัน ซึ่ งจะไม่สามารถทํางานได้ให้ใช้คาํ สั่งตรวจสอบโปรแกรม
ดังต่อไปนี้และสัง่ เกตจอแสดงผล

จากจอแสดงผลหมายความว่าใน Address ที่ 00003หมายเลขเอาท์พุตซํ้ากับตัวก่อนหน้านี้ ซึ่ งก็คือซํ้ากับ


เอาท์พุตใน Address ที่ 00002 ให้ทาํ การแก้ไขให้ถูกต้องโดยเปลี่ยนหมายเลขเอาท์พุตให้เป็ น 1001 แล้วทําการ
ตรวจสอบโปรแกรมใหม่สงั เกตการเปลี่ยนแปลงหน้าจอแสดงผล

5.4.7 การค้นหาโปรแกรม การค้นหาโปรแกรมในเบื้องต้นนั้นใช้วิธีกดปุ่ ม ลูกศรลงหาคําสั่งทีละคําสั่ง


ถ้าโปรแกรมมีความยาวมาก ๆ ทําให้เสี ยเวลามากในการค้นหา ถ้าเราใช้คาํ สั่งค้นหาจะทําให้เกิดความรวดเร็ วมาก
ขึ้นซึ่งนิยมกระทําอยูส่ องวิธีคือ(ก่อนใช้คาํ สัง่ นี้ตอ้ งมีโปรแกรมอยูใ่ นหน่วยความจําของ PLC ด้วย)
สาระน่ ารู้ : หน้าจอของโปรแกรมมิ่งคอนโซลมีพ้นื ที่จาํ กัด คําสัง่ หลาย ๆ คําสัง่ จะซ่อนอยูใ่ นปุ่ ม Fun การ
เรี ยกใช้งานต้องกดปุ่ ม Fun และตามด้วยหมายเลขของคําสัง่ นั้นเริ่ มตั้งแต่เลข 01

เช่น ต้องการค้นหาอินพุตหมายเลข 00001


5.4.7.2 ค้นหาแบบระบุ Address จะใช้ในกรณี ที่รู้ว่าคําสั่งที่ตอ้ งการค้นหานั้นอยู่ Address ที่เท่าใด
รู ปแบบของการค้นหามีดงั นี้

5.4.8 การแทรกคําสั่ง การแทรกคําสั่งทําได้ในโหมดโปรแกรมเท่านั้นกระทําเพื่อต้อการเพิ่มคําสั่งใน


โปรแกรมที่เขียนขึ้นเรี ยบร้อยแล้วเป็ นบางส่ วน
วิธีการแทรกคําสั่ ง
1. พิจารณาว่าคําสั่งใหม่ที่เราจะแทรกลงไปนั้นอยู่หน้าคําสั่งใดให้ทาํ การค้นหาคําสั่งนั้นหรื อค้นหา
Address ของคําสัง่ นั้น
2. กดคําสัง่ ใหม่ที่เราต้องการแทรก
3. กดปุ่ ม INS และปุ่ มลูกศรลง ต่อไปนี้เป็ นการทดลองป้ อนโปรแกรมเพือ่ จะทําการแทรกคําสั่งลงไป
จากตัวอย่างถ้าต้องการแทรกคําสัง่ AND 00002 ก่อนคําสัง่ OUT 1000 สามารถทําได้ดงั นี้

5.4.9 การลบคําสั่ง การลบคําสั่งทําได้ในโหมดโปรแกรมเท่านั้น กระทําเพื่อต้องการลบคําสั่งใน


โปรแกรมที่เขียนขึ้นเรี ยบร้อยแล้วเป็ นบางส่ วน
วิธีการลบคําสั่ ง
1. ให้ทาํ การค้นหาคําสัง่ ที่จะลบ
2. กดปุ่ ม DEL และ ปุ่ มลูกศรขึ้น

จากตัวอย่างถ้าต้องการลบคําสัง่ AND NOT 2 สามารถทําได้ดงั นี้


5.4.10 การดูสภาวะของโปรแกรม ในการดูสภาวะของโปรแกรมนั้น ดูได้ครั้งละ 3 คําสัง่ เท่านั้น การดู
สภาวะของค่าต่าง ๆ ประกอบด้วย I/O, IR HR, TIM/CNT, DM, SR การดูสภาวะของโปรแกรมทําได้ท้ งั 3 โหมด
การทํางาน การดูสภาวะหน้าสัมผัสหรื อเอาท์พตุ จะแสดงผลได้เพียง ON หรื อ OFF เท่านั้น

เมื่อเราป้ อนโปรแกรมด้านบนให้กบั PLC ถ้าต้องการดูสภาวะของคําสั่งใด ให้คน้ หาคําสั่งนั้นแล้วกดปุ่ ม


คําสั่ง MONTR หรื อกดคําสั่งแล้วกดปุ่ ม MONTR ได้เลยจากโปรแกรมตัวอย่างถ้าเราต้องการดูสภาวะของคําสั่ง
AND NOT 1 เพียงคําสัง่ เดียวให้กดปุ่ มคําสัง่ ดังนี้

ถ้าต้องการดูสภาวะของ LD 00, AND NOT 1 และ OUT 1001 ให้กดปุ่ มคําสั่งดังต่อไปนี้


ที่จอแสดงผลของโปรแกรมมิ่งคอนโซลจะปรากฏดังต่อไปนี้

รู ปที่ 5.8 แสดงลักษณะจอแสดงผลเมื่อดูสภาวะโปรแกรม


5.4.11 การสั่งงานโปรแกรมจากโปรแกรมมิ่งคอนโซล การสั่งงานในที่น้ ีหมายถึงการสั่งให้อินพุตหรื อ
เอาท์พุตทํางาน การสั่งงานนั้นต้องกระทําหลังจากการใช้คาํ สั่งดูสภาวะโปรแกรมจากโปรแกรมในหัวข้อ 5.4.10
การสัง่ งานโปรแกรมทําได้ดงั นี้

ต่อไปนี้เป็ นการสัง่ งานเอาท์พตุ

ถ้าเราดูสภาวะโปรแกรมอยู่ 3 คําสัง่ ถ้าเราสัง่ งานโปรแกรม คําสั่งด้านซ้ายมือจะทํางาน ถ้าเราต้องการให้


คําสั่งใดทํางานเราต้องให้คาํ สั่งนั้นอยูด่ า้ นซ้ายมือก่อน ซึ่งสามารถทําได้โดย กดปุ่ ม MONTR ทดลองกดไปเรื่ อย
ๆ คําสัง่ ต่าง ๆ ที่อยูบ่ นหน้าจอจะวนสลับกันไปมา

รู ปที่ 5.9 จอแสดงผล


5.5 การตั้งค่ าต่ าง ๆ ของ PLC
5.5.1 การตั้งค่าวัน เดือน ปี และเวลา PLC ที่มีปฏิทินในตัว (Real Time Clock) ถ้าใช้คาํ สั่งในการ
เปรี ยบเทียบข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับเวลาโดยสามารถตั้งให้ PLC ทํางานและหยุดทํางานในวันเวลาใดก็ได้ค่า
เวลาที่ปฏิทินต้องตรงกับเวลาในปั จจุบนั การเรี ยกดูทาํ ได้โดยกดปุ่ มคําสัง่ ที่โปรแกรมมิ่งคอนโซลดังต่อไปนี้

เมื่อกดปุ่ มคําสั่งดังกล่าวที่หน้าจอแสดงผลของโปรแกรมมิ่งคอนโซลจะปรากฏข้อความดังรู ปที่ 5.10 ซึ่ ง


ประกอบด้วยเวลาอยูด่ า้ นซ้ายมือ ปี ค.ศ. เดือน วันที่ และวัน อยูด่ า้ นขวา

รู ปที่ 5.10 หน้าจอแสดงผลของโปรแกรมมิ่งคอนโซล


รู ปที่ 5.10 หน้าจอแสดงผลของโปรแกรมมิ่งคอนโซลเมื่อกดปุ่ ม CHG เมื่อต้องการแก้ไขให้กดปุ่ มคําสั่ง
ดังต่อไปนี้
รู ปที่ 5.11 หน้าจอแสดงผลแสดงค่าวัน เดือน ปี และเวลาปั จจุบนั
5.5.2 การกําหนดค่าใน DM (Data Memory) การเข้าไปกําหนดค่าใน DM อาจใช้ในกรณี ของการ
เปรี ยบเทียบข้อมูลกับฐานเวลาของ PLC สามารถทําได้ในโหมด Program และ Monitorการกําหนดค่าทําได้ดงั นี้
ปัญหาน่ าคิด : โปรแกรมมิ่งคอนโซลสามารถบันทึกโปรแกรมเก็บไว้ในตัวเองได้หรื อไม่ 5.6การใช้งาน
คําสัง่ พิเศษ

5.6 การใช้ งานคําสั่ งพิเศษ


คําสั่งพิเศษจะไม่ปรากฏอยูบ่ นโปรแกรมมิ่งคอนโซล แต่จะซ่อนอยูใ่ นปุ่ ม ฟังก์ชนั่ (FUN) ถ้าต้องการใช้
งานให้กดปุ่ ม FUN แล้วป้ อนหมายเลขลงไปจะปรากฏคําสั่งนั้นบนจอแสดงผล ในหัวข้อนี้จะขอยกตัวอย่างเพียง
บางคําสัง่ เท่านั้น ซึ่งการใช้งานคําสัง่ อื่น ๆ จะมีรูปแบบคล้ายกันโดยต้องศึกษาโครงสร้างของคําสัง่ ให้เข้าใจก่อน
5.6.1 คําสัง่ Keep (11) เป็ นคําสัง่ ในการรักษาสภาวะ ประกอบด้วยสองอินพุตคือขา Set และขา Reset

รู ปที่ 5.12 ตัวอย่างวงจรที่ใช้คาํ สัง่ Keep (11)

5.6.2 คําสั่งMOV (21) เป็ นคําสั่งเคลื่อนย้ายข้อมูลจากหน้าทางไปยังปลายทางจากตัวอย่างเป็ นการ


เคลื่อนย้ายค่า FF (ฐานสิ บหก) ไปยังตําแหน่งเวิร์ด 10
รูปที่ 5.13 ตัวอย่ างวงจรที่ ใช้ คาํ สั่ง MOV (21)

ปัญหาน่ าคิด : คําสัง่ พิเศษของ PLC ยีห่ อ้ OMRON มีถึง 100 คําสัง่ หรื อไม่
ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 5
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที )
1. ผูส้ อนจัด เตรี ย มเอกสาร พร้ อ มกับ แนะนํา 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และ ฟั งครู ผสู ้ อนแนะนํา
รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ องการ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ อง การใช้
ใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
2. ผูส้ อนแจ้ง จุ ดประสงค์การเรี ยนของหน่ ว ย 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ ยวกับจุ ดประสงค์การ
เรี ยนที่ 5 และขอให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมการ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 5 และการให้ความร่ วมมือใน
เรี ยนการสอน การทํากิจกรรม
3. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น บ อ ก ห น้ า ที่ แ ล ะ 3. ผู ้เ รี ยนบอกหน้ า ที่ แ ละส่ วนประกอบของ
ส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้ โปรแกรมมิ่งคอนโซลได้

2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที )


1. ผูส้ อนเปิ ด PowerPoint หน่ ว ยที่ 5 เรื่ อ ง 1. ผูเ้ รี ยนศึกษา PowerPoint หน่ วยที่ 5 เรื่ อง
การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล และให้ผเู ้ รี ยนศึกษา การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล และให้ผูเ้ รี ยนศึกษา
เอกสารประกอบการสอน การโปรแกรมและควบคุม เอกสารประกอบการสอน การโปรแกรมและควบคุ ม
ไฟฟ้ า หน่วยที่ 5 หน้าที่ 109 – 129 ไฟฟ้ า หน่ ว ยที่ 5 หน้ า ที่ 109 - 129 ประกอบกับ
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันยกตัว อย่า งความ PowerPoint
สมบู ร ณ์ ข องสั ญ ญายื ม ตามที่ ไ ด้ศึ ก ษาจาก 2. ผู ้เ รี ยนและผู ้ส อนร่ ว มกัน ยกตัว อย่ า งความ
PowerPoint สมบูรณ์ของสัญญายืม ตามที่ได้ศึกษาจาก PowerPoint
3. ผูส้ อนสาธิ ตการเรี ยกใช้งานคําสั่งพิเศษจาก 3. ผูเ้ รี ยนดูผสู ้ อนสาธิตการเรี ยกใช้งานคําสั่งพิเศษ
เงื่อนไขที่กาํ หนดให้ ให้ผเู ้ รี ยนดู พร้อมให้คาํ แนะนํา จากเงื่อนไขที่กาํ หนดให้ พร้อมจดบันทึกเนื้อหาสาระ
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําใบงานที่ 5 เรื่ อง การใช้ 1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําใบงานที่ 5 เรื่ อง การใช้
งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนสื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ
อินเทอร์เน็ตหรื อแหล่งความรู ้ต่างๆ แหล่งความรู ้ต่างๆ
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที )
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน 2. ผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 5
ที่ 5 หน้า 140 หน้า 140
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 480 นาที หรื อ 2 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 5
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 5 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 5 เรื่ อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 5
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 5 เรื่ อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 5

คําถาม
1. ข้อใดคือโปรแกรมมิ่งคอนโซลรุ่ น PRO27E
2. สิ่ งใดที่ตอ้ งกระทําก่อนที่จะลบโปรแกรมหรื อสัง่ งานโปรแกรม
3. ถ้าต้องการสัง่ งานโปรแกรมผ่านทางโปรแกรมมิ่งคอนโซลใช้คาํ สัง่ ใด
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 5 เรื่ อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซล

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 5 เรื่ อง ตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซล ที่จดั ทําขึ้น
ได้ทาํ ให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ ตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซล ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประ
ยุกต์ใช้ในการเรี ยน การทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ใน
ระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 5 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 5 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล

สื่ อของจริง
การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตน
ทางสังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้
2. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
3. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 3
3. ตรวจใบงานที่ 3

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 5

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 5 เรื่ อง การใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 อธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ ได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกหน้าที่และส่ วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกหน้าที่และส่วนประกอบของโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 สาธิตการเรี ยกใช้งานคําสัง่ พิเศษได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตการเรี ยกใช้งานคําสัง่ พิเศษได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 เลือกใช้งานคําสัง่ ต่าง ๆได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : เลือกใช้งานคําสัง่ ต่าง ๆได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์
อย่างถูกต้องเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ศึกษาลักษณะแนะนําโปรแกรมมิ่งคอนโซล นํามาใช้ให้เกิดประโยชน์
อย่างถูกต้องเหมาะสม จะได้ 1 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 5
หน่ วยที่ 5 เรื่ องการใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. ให้นกั เรี ยนเขียนคําสั่งและสัญลักษณ์ต่าง ๆ ลงบนปุ่ มของโปรแกรมมิ่งคอนโซลให้ครบ (10 คะแนน)

2. อธิบายหน้าที่ของโหมดการทํางานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (3 คะแนน)


2.1 โหมดโปรแกรม ..................................................................................................
...................................................................................................................................
2.2 โหมดโปรแกรม ..................................................................................................
...................................................................................................................................
2.3 โหมดโปรแกรม ..................................................................................................
...................................................................................................................................

3. อธิบายความหมายของคําสัง่ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (5คะแนน)


4. ตอบคําถามต่อไปนี้ (5คะแนน)
4.1 คําสัง่ ในการข้ามรหัสผ่านคือ .............................................................................
...................................................................................................................................
4.2 คําสัง่ ในการลบโปรแกรมคือ ..............................................................................
...................................................................................................................................
ใบงานที่ 5
หน่ วยที่ 5 การใช้โปรแกรมมิ่งคอนโซล
เรื่อง ปฏิบตั ิการใช้โปรแกรมมิ่งคอนโซล

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมมิ่งคอนโซล
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจําได้
2. ป้ อนโปรแกรมให้กบั PLC ได้
3. ใช้คาํ สัง่ ตรวจสอบโปรแกรมได้
4. ใช้คาํ สัง่ ค้นหาข้อมูลได้
5. สัง่ งานโปรแกรมผ่านโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้
6. ใช้คาํ สัง่ ลบโปรแกรมได้
7. ใช้คาํ สัง่ แทรกโปรแกรมได้
8. แก้ไขโปรแกรมได้
9. นักเรี ยนปฏิบตั ิงานด้วยความระมัดระวัง
รายการสอน
1. การลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจํา
2. การป้ อนโปรแกรมเบื้องต้น
3. การใช้คาํ สัง่ ตรวจสอบโปรแกรม
4. การใช้คาํ สัง่ ค้นหาข้อมูล
5. การสัง่ งานโปรแกรมผ่านโปรแกรมมิ่งคอนโซล
6. การลบโปรแกรม
7. การแทรกโปรแกรม
8. การแก้ไขโปรแกรม
เครื่องมือ
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. โปรแกรมมิ่งคอนโซล
วัสดุอุปกรณ์
-
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
1. การลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจํา
1.1 บิดสวิตช์กุญแจที่โปรแกรมมิ่งคอนโซลให้อยูท่ ี่โหมด Program
1.2 ต่อสายของโปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้ากับช่อง PeripheralPort ของ PLC และเปิ ดเครื่ อง

รู ปที่ 5.1 แสดงการต่อโปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้ากับ PLC


(ที่มา:บรรณานุกรมลําดับที่ 5 หน้า 126)
1.3 กดปุ่ มคําสั่งต่อไปนี้เพื่อข้าม Password

รู ปที่ 5.2 แสดงคําสัง่ เพื่อข้าม Password


1.4 หลังจากข้าม Password กดปุ่ มคําสัง่ ต่อไปนี้เพื่อลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจําของ PLC

รู ปที่ 5.3 แสดงคําสัง่ ลบข้อมูลออกจากหน่วยความจําของ PLC


1.5 ตรวจสอบโปรแกรมว่าถูกลบหรื อไม่โดยกดปุ่ มลูกศรลง ที่หน้าจอของโปรแกรมมิ่งคอนโซล จะ
ปรากฏข้อความใด (เขียนข้อความที่ปรากฏบนหน้าจอ)

รู ปที่ 5.4 หน้าจอแสดงผล


2. ป้ อนโปรแกรมให้กบั PLC และตรวจสอบโปรแกรม
2.1 เมื่อลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจําแล้วกดปุ่ ม CLR จํานวนสองครั้งเพื่อให้หน้าจอ
ของโปรแกรมมิ่งคอนโซลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น (เขียนข้อความที่ปรากฏบนหน้าจอ)

รู ปที่ 5.5 หน้าจอแสดงผล


2.2 ทดลองป้ อนโปรแกรมด้วยภาษาบุลีนดังต่อไปนี้

รู ปที่ 5.6 คําสัง่ ภาษาบุลีน


2.3 เมื่อป้ อนโปรแกรมเสร็ จกดปุ่ ม CLR สองครั้งจนหน้าจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
2.4 กดปุ่ มดังต่อไปนี้เพือ่ ตรวจสอบโปรแกรม

รู ปที่ 5.7 คําสัง่ ในการตรวจสอบโปรแกรม


2.5 จะปรากฏข้อความดังรู ป (เขียนข้อความที่ปรากฏบนหน้าจอ)

รู ปที่ 5.8 แสดงผลการใช้คาํ สัง่ ตรวจสอบโปรแกรม


2.6 ให้กดปุ่ ม 0 ที่โปรแกรมมิ่งคอนโซล (เขียนข้อความที่ปรากฏบนหน้าจอ)

รู ปที่ 5.9 หน้าจอแสดงผล

3. ใช้คาํ สัง่ ค้นหาข้อมูลได้


3.1 บิดสวิตช์กุญแจมาที่โหมด Monitor และทําให้หน้าจออยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
3.2 กดปุ่ มคําสั่งที่ตอ้ งการค้นหา เช่น ต้องการค้นหาคําสัง่ LD 00 ให้กดปุ่ มดังรู ป

รู ปที่ 5.10 แสดงผลการใช้คาํ สัง่ ค้นหาโปรแกรม


3.3 ที่จอแสดงผลจะปรากฏ Address และสถานะของคําสัง่ ดังกล่าว (เขียนข้อความที่ปรากฏบน
หน้าจอ)

รู ปที่ 5.11 Address และสถานะของคําสัง่

4. การสัง่ งานโปรแกรมผ่านโปรแกรมมิ่งคอนโซล
4.1 ผลจากการค้นหาข้อมูลจากข้อ 3.3 เราสามารถสัง่ งานโปรแกรมได้โดยกดปุ่ มคําสัง่ ดังต่อไปนี้ ต่อ
จากคําสัง่ ค้นหาข้อมูล

รู ปที่ 5.12 คําสัง่ ในการสัง่ งานโปรแกรม


4.2 ดูที่ตวั PLC ไฟของเอาท์พตุ หมายเลข 00 จะสว่าง
4.3 ถ้าต้องการสัง่ ให้โปรแกรมหยุดทํางานให้กดปุ่ มดังต่อไปนี้ได้ในทันที

รู ปที่ 5.13 การสัง่ หยุดการทํางานของโปรแกรม

5. การลบโปรแกรม (เฉพาะคําสัง่ ใดคําสัง่ หนึ่งเท่านั้น)


5.1 บิดสวิตช์กุญแจมาที่โหมด Program และทําให้หน้าจออยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
5.2 ถ้าต้องการลบคําสั่งใดให้คน้ หาคําสัง่ นั้น (ข้อ 3.1 – 3.2 )
5.3 เมื่อคําสัง่ นั้นปรากฏอยูบ่ นหน้าจอแสดงผลให้กดปุ่ มดังต่อไปนี้เพื่อลบโปรแกรม

รู ปที่ 5.14 คําสัง่ ลบโปรแกรม


5.4 ทําการตรวจสอบดูวา่ โปรแกรมถูกลบไปแล้วหรื อไม่โดยกดปุ่ มลูกศรลงเพื่อตรวจสอบทีละคําสัง่
หรื อค้นหาคําสัง่ ใกล้เคียงก็ได้แล้วเลื่อนดูคาํ สัง่ ที่เราลบไปว่ายังอยูห่ รื อไม่

6. การแทรกโปรแกรม
จากรู ปที่ 5.7 ให้ทาํ การแทรกคําสัง่ AND NOT 3 หน้าคําสัง่ AND NOT 2
6.1 บิดสวิตช์มาที่โหมด Program และทําให้โปรแกรมอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
6.2 ค้นหาคําสัง่ AND NOT 2

รู ปที่ 5.15 การใช้คาํ สัง่ ค้นหา


6.3 กดคําสัง่ ที่ตอ้ งการแทรกและคําสัง่ แทรกดังต่อไปนี้

รู ปที่ 5.16 การใช้คาํ สัง่ แทรกโปรแกรม


7. การแก้ไขโปรแกรม
7.1 บิดสวิตช์กุญแจให้อยูใ่ นโหมด Program และทําให้โปรแกรมอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
7.2 แก้ไข OUT 1000 เป็ น OUT 1001 กดปุ่ มดังต่อไปนี้

รู ปที่ 5.17 การแก้ไขโปรแกรม


7.3 แก้ไข OR 1000 เป็ น OR 1001 ทําได้ดงั นี้

รู ปที่ 5.18 การแก้ไขโปรแกรม

8. บันทึกเพิม่ เติม (สิ่ งที่ควรจํา, สิ่ งที่เราทําผิดบ่อย)


...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
9. เก็บอุปกรณ์เข้าที่เดิมให้เรี ยบร้อย

10. ทําความสะอาดห้องเรี ยน
ข้ อควรระวัง
1. ควรใช้โปรแกรมมิ่งคอนโซลด้วยความระมัดระวัง ไม่ทาํ ตกหล่น
2. การต่อและถอดสายของโปรแกรมมิ่งคอนโซลเข้ากับตัว PLC ต้องทําด้วยความระมัดระวังใส่ ให้
ถูกต้อง
3. นักเรี ยนต้องตัดเล็บมือให้ส้ นั เพื่อป้ องกันความเสี ยหายของโปรแกรมมิ่งคอนโซล
4. การใช้งานคําสัง่ ต่าง ๆ ต้องสังเกตสวิตช์กญ ุ แจว่าอยูใ่ นโหมดใด เพราะบางโหมดไม่สามารถใช้
คําสัง่ นั้นได้
5. ขณะทํางานต้องสังเกตไฟแสดงสถานะบนตัว PLC สังเกตจอแสดงผล และฟังเสี ยงขณะกดปุ่ ม
คําสัง่ ต่างๆ เพราะถ้าเกิดความผิดพลาดขึ้นสิ่ งเหล่านี้จะเป็ นตัวบอกให้เราทราบได้
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 5 เรื่ องการใช้งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 15 ข้อ

1. ข้อใดคือโปรแกรมมิ่งคอนโซลรุ่ น PRO27E
ก. สายต่อถอดได้
ข. มีสายต่อติดอยูก่ บั ตัวโปรแกรมมิ่งคอนโซล
ค. ใช้ปุ่มกดแบบทัชสกรี น
ง. หน้าจอแสดงผล 3 บรรทัด 16 หลัก

2. ข้อใดคือปุ่ มในชุดคําสั่ง

3. สิ่ งใดที่ตอ้ งกระทําก่อนที่จะลบโปรแกรมหรื อสัง่ งานโปรแกรม


ก. เขียนคําสั่งจบโปรแกรม ข. เปลี่ยนโหมดการทํางาน
ค. กําหนดค่าเริ่ มต้นให้กบั โปรแกรม ง. ลบหน้าจอ

4. ถ้าต้องการใช้งาน AR ต้องกดปุ่ มคําสั่งใด

5. ปุ่ ม TR มีความหมายว่าอย่างไร
ก. เรี ยกใช้งานคําสัง่ พิเศษ ข. เรี ยกใช้งานตัวตั้งเวลา
ค. คําสัง่ ขนานโปรแกรม ง. เรี ยกใช้งาน Temporary Relay
6. ปุ่ ม มีความหมายว่าอย่างไร
ก. คําสัง่ แทรกโปรแกรม ข. คําสัง่ ค้นหาโปรแกรม
ค. คําสัง่ เงื่อนไขอนุกรม ง. คําสัง่ เงื่อนไขขนาน

7. การใช้งานตัวนับจํานวนต้องกดปุ่ มใด

8. เมื่อพบคําว่า Password ที่จอแสดงผลต้องกดคําสัง่ ใด

9. ข้อใดคือคําสัง่ ในการตรวจสอบโปรแกรม

10. ถ้าต้องการแทรกโปรแกรมต้องใช้คาํ สัง่ ใด


ก. ข.

ค. ง.
11. การดูสภาวะโปรแกรมข้อใดถูกต้อง
ก. ดูสภาวะโปรแกรมได้ครั้งละ 4 คําสัง่ ข. ต้องอยูใ่ นโหมดโปรแกรมเท่านั้น

ค. กดคําสัง่ ที่ตอ้ งการดูสภาวะ + ง. กดปุ่ มคําสัง่

12. ถ้าต้องการสัง่ งานโปรแกรมผ่านทางโปรแกรมมิ่งคอนโซลใช้คาํ สัง่ ใด

13. ถ้าต้องการดูเวลาของ PLC ต้องใช้คาํ สัง่ ใด

14. ข้อใดคือการใช้งานคําสัง่ พิเศษ

15. ถ้าต้องการใช้งานคําสัง่ MOV(21) ต้องกดปุ่ มใด

 
 
 
 
 
 
 
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ าย
หน่ วยที่ 5 การใช้ งานโปรแกรมมิง่ คอนโซล
1.

2.1 โหมดโปรแกรม (Program Mode) เป็ นโหมดสําหรับเริ่ มต้นการเขียนโปรแกรมตรวจสอบโปรแกรม ลบ


โปรแกรม แทรกและแก้ไขโปรแกรมในโหมดนี้ไม่สามารถสัง่ ให้ PLC ทํางานได้ สวิตช์กญุ แจไม่สามารถถอด
ออกได้ถา้ อยูใ่ นโหมดนี้

2.2 โหมดมอนิเตอร์ (Monitor Mode) เป็ นโหมดสําหรับสัง่ ให้ PLC ทํางานตามที่เขียนโปรแกรมไว้ ในโหมดนี้
ใช้ดูค่าสแกนไทม์ได้ สามารถแก้ไขโปรแกรมได้บา้ งเช่นค่าของตัวตั้งเวลา ค่าของตัวนับจํานวน เป็ นต้น

2.3 โหมดรัน (Run Mode) เป็ นโหมดสัง่ ให้ PLC ทํางานเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ไขโปรแกรมได้ ในโหมด
นี้สามารถดูค่าสแกนไทม์ได้เช่นกัน
3.1 เป็ นปุ่ มคําสัง่ เงื่อนไขแบบอนุกรม
3.2 เป็ นปุ่ มคําสัง่ เงื่อนไขแบบขนาน
3.3 เป็ นปุ่ มเรี ยกใช้คาํ สัง่ โหลด ซึ่งเป็ นคําสัง่ ในการเริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
3.4 เป็ นปุ่ มเรี ยกใช้คาํ สัง่ ค้นหา โดยการกดคําสั่งที่ตอ้ งการค้นหาและกดคําสัง่ นี้ตาม
3.5. เป็ นปุ่ มเรี ยกใช้คาํ สัง่ บังคับการทํางานของอินพุตหรื อเอาท์พตุ ผ่านทางโปรแกรมมิ่ง
คอนโซล

4.1 ทุกครั้งที่เปิ ด PLC จอแสดงผลจะมีขอ้ ความว่าถ้าผูใ้ ช้งานไม่ทาํ การแก้ไขจะไม่สามารถใช้งาน PLC ได้


เมื่อกดปุ่ มดังกล่าวจะทําให้หน้าจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น (Initial Display) ซึ่งควรกระทําทุกครั้งเมื่อ
ต้องการเริ่ มต้นกระทําการใด ๆ

4.2 ก่อนป้ อนโปรแกรมทุกครั้งควรทําการลบโปรแกรมออกจากหน่วยความจําก่อนเสมอเพื่อป้ องกันความ


ผิดพลาดของโปรแกรม การลบโปรแกรมต้องอยูใ่ นโหมดโปรแกรมเท่านั้น เมื่อจอแสดงผลอยูใ่ นสภาวะเริ่ มต้น
แล้วกดปุ่ มคําสัง่ ต่าง ๆ
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1.ข
2.ข
3.ง
4.ก
5.ค
6.ค
7.ค
8.ง
9.ข
10.ง
11.ก
12.ง
13.ค
14.ข
15.ข
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 5 การใช้ งานโปรแกรมมิ่งคอนโซล

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนตั้งค่าใช้งาน PLC จากโปรแกรมมิ่งคอนโซลได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 9
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
11 - 12
ชื่อหน่วย การออกแบบโปรแกรม คาบรวม 48

ชื่อเรื่อง การออกแบบโปรแกรม จํานวนคาบ 8


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. การออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์
2. ลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุม
ด้านทักษะ
3. การออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่
ด้านจิตพิสยั
4. โปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางาน
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้เหมาะสมกับงานในอนาคต

สาระสํ าคัญ
การออกแบบโปรแกรมนั้นเมื่อเราได้รับเงื่อนไขในรู ปแบบต่าง ๆ มาแล้ว การออกแบบต้องศึกษาลายระ
เอียดและข้อกําหนดต่าง ๆ ในการออกแบบโปรแกรม และควรคํานึงถึงความปลอดภัยมาเป็ นลําดับแรก การ
ออกแบบโปรแกรมผูอ้ อกแบบต้องมีความรู ้และประสบการณ์เกี่ยวกับ PLC มากพอสมควรจึงจะทําให้การ
ออกแบบนั้นสมบูรณ์ เพราะวงจร PLC มีการทํางานที่แตกต่างจากวงจรรี เลย์มากพอสมควร
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
การควบคุมกระบอกสู บสองทางตามเงื่อนไข A+B+A-B-
การออกแบบควบคุมวงจรนิวแมติกส์น้ นั ผูอ้ อกแบบต้องเข้าใจหลักการทํางานของวงจรนิวแมติกส์พอสมควร จาก
เงื่อนไขที่ให้มานั้นขออธิบายสั้น ๆ ดังต่อไปนี้
  A หมายถึง กระบอกสู บตัวที่ 1 ปกติจะอยูด่ า้ นซ้ายมือ
B หมายถึง กระบอกสู บตัวที่ 2 จะอยูด่ า้ นขวามือของกระบอกสู บตัวแรก
+ หมายถึง ลูกสู บเคลื่อนที่ออกสุ ดช่วงชัก
- หมายถึง ลูกสู บเคลื่อนที่เข้าสุ ดช่วงชัก

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกคุณสมบัติของการออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุม (ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่ (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการจําแนกโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางาน (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้เหมาะสมกับงานในอนาคต
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. บอกคุณสมบัติของการออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้ (ด้ านความรู้ )
2. บอกลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุมได้ (ด้ านความรู้ )
3. สาธิตการออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่ ได้ (ด้ านทักษะ)
4. จําแนกโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางานได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้เหมาะสมกับงานในอนาคต
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
ในบทนี้เป็ นเรื่ องของการออกแบบโปรแกรม จากเงื่อนไขต่าง ๆ โดยให้ผยู ้ นี ทําความเข้าใจเป็ น
ขั้นตอน และอาศัยหลักการเทียบเคียงจากวงจรหรื อเงื่อนไขที่ง่ายไปสู่ เงื่อนไขที่ซบั ซ้อนมากขึ้น ในส่ วนของการ
กําหนดหมายเลขของอินพุตจะขอใช้ตวั เลขสองหลักและเอาท์พุตใช้ตวั เลขสี่ หลักเพื่อความสะดวกในการเขียน
โปรแกรม

9.1 ข้ อกําหนดในการออกแบบโปรแกรม
9.1.1 หน้าสัมผัสของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่นอินพุตและเอาท์พุต รี เลย์ภายใน Timer/Counter สามารถเรี ยกใช้
ได้ไม่จาํ กัดจํานวนแต่การออกแบบโปรแกรมให้มีขนาดเล็กหรื อสั้นจะทําให้เวลาในการ Scan Time น้อยลงด้วย

รู ปที่ 9.1 วงจรการทํางานเรี ยงลําดับ


จากรู ป เป็ นการนําหน้าสัมผัสของอินพุตและเอาท์พุตต่าง ๆ มาเขียนโปรแกรม เช่น อินพุตหมายเลข 02
ได้เรี ยกใช้งานจํานวน 3 ตัว หน้าสัมผัสของเอาท์พตุ 1000, 1001, 1002 ได้เรี ยกใช้อย่างละ 3 ตัวเป็ นต้น

9.1.2 ไม่สามารถเชื่อมต่อหน้าสัมผัสในลักษณะต่อไปนี้เข้าด้วยกันได้

เราสามารถเขียนโปรแกรมใหม่ให้มีการทํางานเหมือนเดิมคือ ถ้าอินพุต 00 และ 02 หรื ออินพุต 01 และ


02 ทํางาน เอาท์พตุ 1000 จะทํางาน ถ้าอินพุต 00 และ 03 หรื ออินพุต 01 และ03 ทํางาน เอาท์พตุ 1001 จะทํางาน

รู ปที่ 9.2 ลักษณะการต่อหน้าสัมผัสในการเขียนโปรแกรม


9.1.3 การเขียนโปรแกรมต้องมีส่วนประกอบทั้งอินพุตและเอาท์พตุ เท่านั้น

รู ปที่ 9.3 ลักษณะการต่อหน้าสัมผัสในการเขียนโปรแกรม

9.1.4 เอาท์พตุ ทุกตัวจะมีหน้าสัมผัสเปิ ดและปิ ดให้เรี ยกใช้งานได้ไม่จาํ กัดจํานวน

รู ปที่ 9.4 ลักษณะการต่อหน้าสัมผัสในการเขียนโปรแกรม


9.1.5 เอาท์พตุ คอยล์ตอ้ งอยูต่ าํ แหน่งด้านขวามือสุ ดเท่านั้น

รู ปที่ 9.5 ลักษณะการเขียนโปรแกรมเอาท์พตุ คอยล์


9.1.6 ไม่สามารถเขียนโปรแกรมให้เอาท์พุตคอยล์หมายเลขซํ้ากันได้ถา้ ต้องการให้เอาท์พุตทําซํ้าต้องใช้
รี เลย์ช่วยมาสัง่ เอาท์พตุ แทน
รู ปที่ 9.6 ลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่สงั่ เอาท์พตุ พร้อมกัน
ในการเขียนคําสั่งจากตัวอย่างนั้นเป็ นการใช้คาํ สั่งพื้นฐาน ในการเขียนโปรแกรม ซึ่ งการเขียนโปรแกรม
อาจมีได้มากกว่า 1 วิธี เช่น เราอาจใช้คาํ สั่งพิเศษในการเขียนโปรแกรมหรื อคําสั่งพื้นฐานอื่น ๆ ก็ได้แล้วแต่ความ
ถนัดของผูเ้ ขียน ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นตามตัวอย่างเสมอไป ขอให้ออกแบบแล้วเงื่อนไขได้ตรงตามที่กาํ หนดก็พอ
สาระน่ ารู้ : PLC OMRON รุ่ น CPM2R-20CDR-A เอาท์พุตเราสามารถนํามาเขียนโปรแกรมได้ท้ งั 16
บิต แต่การต่อใช้งานจะได้ไม่ครบทั้ง 16 บิต (ได้ 8 บิต) 9.1.7 เอาท์พุตคอยล์และตัวตั้งเวลาสามารถขนานกันได้
เอาท์พุตคอยล์ของรี เลย์และเอาท์พุตคอยล์ของตัวตั้งเวลาถ้าต้องการให้ทาํ งานพร้อมกันสามารถขนานกันได้เพื่อ
ทําให้โปรแกรมมีความสั้นลง
รู ปที่ 9.7 ลักษณะของการเขียนโปรแกรมที่มีเอาท์พตุ ขนานกัน

9.1.8 เมื่อจบโปรแกรมต้องใส่ คาํ สั่ง END(01) ทุกครั้งเมื่อจบการเขียนโปรแกรมต้องมีคาํ สั่งจบ


(END(01)) ทุกครั้ง ถ้าไม่เขียนคําสั่งจบจะทําให้โปรแกรมเกิด Error ทันทีที่เราเปลี่ยนโหมดการทํางานเป็ น
Monitor สาเหตุเพราะโปรแกรมจะทําการอ่านคําสั่งตั้งแต่บรรทัดแรกจนถึงคําสั่งจบหรื อเรี ยกว่าการสแกน (Scan
time) การอ่านคําสั่งใน 1 รอบเรี ยกว่า 1 Scan time

รู ปที่ 9.8 ตัวอย่างโปรแกรม

จากที่กล่าวมาตั้งแต่ตน้ เป็ นข้อกําหนดในการออกแบบโปรแกรมเบื้องต้นเท่านั้น ยังมีขอ้ กําหนดอีกมาก


ซึ่งเป็ นรายละเอียดปลีกย่อย ที่ตอ้ งอาศัยประสบการณ์ในการออกแบบ และการปฏิบตั ิงานจริ ง โดยการออกแบบ
ของแต่ละบุคคลย่อมไม่เหมือนกันที่สิ่งที่เหมือนกันคือต้องทํางานได้ตามเงื่อนไขที่กาํ หนดและมีความปลอดภัย
ในการทํางาน

9.2 การออกแบบโปรแกรมจากวงจรรีเลย์
แลดเดอร์ ไดอะแกรมนั้นมีส่วนคล้ายวงจรรี เลย์มากที่สุด การออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์จึงเป็ น
เรื่ องที่ไม่ยากนัก สามารถกระทําได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
รู ปที่ 9.9 วงจรรี เลย์

9.2.1 เมื่อได้วงจรรี เลย์มาแล้วให้หมุนวงจรรี เลย์ 90 องศา

รู ปที่ 9.10 การหมุนวงจรรี เลย์

9.2.2 เปลี่ยนหน้าสัมผัสต่าง ๆ เช่น ฟิ วส์ โอเวอร์ โหลด สวิตช์ ให้เป็ นสัญลักษณ์ปกติเปิ ดและปกติปิด
ของ PLC และเปลี่ยนโหลดทางไฟฟ้ า เช่น หลอดสัญญาณ คอยล์ของรี เลย์ ให้เป็ นสัญลักษณ์เอาท์พุตคอยล์ของ
PLC
รู ปที่ 9.11 การเปลี่ยนสัญลักษณ์หน้าสัมผัสและโหลดทางไฟฟ้ า
9.2.3 กําหนดหมายเลขของอินพุตและเอาท์พุตให้ตรงกับรุ่ นของ PLC ที่จะใช้ เช่น PLCยีห่ อ้ OMRON
รุ่ น CPM2A-20CDR-A อินพุตใช้เวิร์ด 000 ต่อใช้งานได้ท้ งั หมด 11 บิต ส่ วนเอาท์พตุ ใช้เวิร์ด 010 ต่อใช้งานได้
ทั้งหมด 8 บิต โดยการกําหนดหมายเลขอินพุตและเอาท์พุตอาจกําหนดให้มีส่วนใกล้เคียงกับหมายเลขที่ใช้ใน
วงจรรี เลย์กไ็ ด้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รู ปที่ 9.12 การกําหนดหมายเลขอินพุตและเอาท์พตุ


9.2.4 เราสามารถสลับตําแหน่งของอินพุตต่าง ๆ ได้ เมื่อสลับตําแหน่งแล้วต้องมีหลักการทํางาน
เหมือนเดิมด้วย การสลับตําแหน่งต้องสลับเป็ นกลุ่มเพื่อความสะดวกในการเขียนโปรแกรมภาษาบุลีนจากรู ปที่
9.4 เมื่อสลับตําแหน่งแล้วจะได้ดงั รู ป 9.13 โดยกลุ่มที่ 2 นั้นประกอบด้วย 3 คําสั่งซึ่ งสามารถสลับตําแห่นง
ภายในกลุ่ม ได้อีก ตามความเหมาะสมเมื่อ โปรแกรมสมบูรณ์แล้วต้องเขียนคําสัง่ จบไว้ในบรรทัดสุ ดท้ายทุกครั้ง

รู ปที่ 9.13 การสลับตําแหน่งอุปกรณ์อินพุต


9.2.5 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆลงในตารางเพื่อความสะดวกในการใช้งานหรื อให้ผอู ้ ื่นได้
เข้าใจความหมาย ตารางนี้อาจไม่จาํ เป็ นถ้าผูอ้ อกแบบใช้งาน PLC แต่เพียงผูเ้ ดียวเพราะจะเข้าใจการทํางานและ
อุปกรณ์ต่างๆ ได้เป็ น อย่างดี แต่ถา้ มีผอู ้ ื่นใช้งานรวมอยูด่ ว้ ยจําเป็ นต้องบอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชดั เจน
ตารางที่ 9.1 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ

สาระน่ ารู้ : เอาท์พตุ จะเป็ นอุปกรณ์จาํ พวกโหลดทางไฟฟ้ า อินพุตคืออุปกรณ์ประเภทสวิทช์


หรื อหน้าสัมผัสต่าง ๆ

ตารางที่ 9.2 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ


9.3 การออกแบบโปรแกรมจากไทมิง่ ไดอะแกรม
ไทมิ่งไดอะแกรมเป็ นไดอะแกรมการทํางานที่เกี่ ยวข้องกับเวลา การอ่านไทมิ่งไดอะแกรมนั้นต้อง
พิจารณาให้รอบคอบ เพราะมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันมากกว่าวงจรรี เลย์หลักการอ่านไทมิ่งไดอะแกรมจะต้อง
อ่านทีละหลักจากซ้ายไปขวา และในหลักนั้น ๆ ต้องพิจารณาตั้งแต่บรรทัดบนลงล่างเสมอซึ่งในแต่ละบรรทัดจะ
มีการทํางานที่เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน

รู ปที่ 9.18 แสดงส่ วนประกอบไทมิ่งไดอะแกรม


A เราเรี ยกช่วงนี้ว่าขอบขาขึ้นเป็ นช่วงทํางานของอุปกรณ์น้ นั ๆ เช่น ถ้าเป็ นสวิตช์หมายถึงสวิตช์ถูกกด
หรื อสวิตช์ทาํ งาน ถ้าเป็ นหลอดไฟฟ้ าแสดงว่าไฟสว่าง
B เราเรี ยกช่วงนี้ว่าขอบขาลงเป็ นช่วงหยุดทํางานของอุปกรณ์น้ นั ๆ เช่น ถ้าเป็ นสวิตช์หมายถึงสวิตช์ถูก
ปล่อยหลังจากถูกกดหรื อสวิตช์หยุดทํางาน ถ้าเป็ นหลอดไฟฟ้ าแสดงว่าหลอดดับ
C เป็ นระยะเวลาของการทํางาน
D เป็ นระยะเวลาหยุดการทํางาน

รู ปที่ 9.19 ไทมิ่งไดอะแกรมไฟจราจร


พิจารณาหลักที่ 1 ในหลักที่ 1 บรรทัดที่ 1 สวิตช์ Start อยูใ่ นช่วงขอบขาขึ้นและขาลงทันทีแสดงว่าสวิตช์
ถูกกดแล้วปล่อยทันที ซึ่งทําให้G ทํางานด้วย
พิจารณาหลักที่ 2 ในหลักที่ 2 G จะหยุดทํางานหมายความว่า G ทํางาน 8 วินาที (ตั้งแต่หลักที่ 1 - 2) แล้ว
หยุดทํางานและในบรรทัดที่ 4 Y จะทํางานทันทีหลังจาก G หยุดทํางาน
พิจารณาหลักที่ 3 ในหลักที่ 3 Y จะหยุดทํางาน หมายความว่าY ทํางานเป็ นเวลา 2 วินาที แล้วหยุดทํางาน
เมื่อ Y หยุดทํางานทําให้ R ในบรรทัดที่ 5 ทํางานในทันที
พิจารณาหลักที่ 4 ในหลักที่ 4 R ยังคงทํางานต่อเนื่องอยูเ่ หมือนเดิม
พิจารณาหลักที่ 5 ในหลักที่ 5 นี้มีความหมายเท่ากับหลักที่ 1 หลักนี้เมื่อพิจารณาตั้งแต่บรรทัดที่สามจะ
เห็นว่า G เริ่ มทํางานใหม่ซ่ ึงจะเกี่ยวข้องกับบรรทัดที่ 5 คือ R หยุดทํางานถ้าเรานับระยะเวลาที่ R ทํางานจะเท่ากับ
10 วินาที
พิจารณาหลักที่ 6-8 การพิจารณาหลักที่ 6 เหมือนหลักที่ 2 หลักที่ 7 เหมือนหลักที่ 3 หลักที่ 8 เหมือน
หลักที่ 4
พิจารณาหลักที่ 9 ในหลักที่ 9 เมื่อเรากดสวิตช์ Stop ในบรรทัดที่ 2 ทําให้การทํางานทําให้ระบบหยุด
ในทันที
สรุ ป การทํางานของไฟจราจรนั้นจะติดสลับเรี ยงกันไปตามเวลาคือ G ทํางาน 8 วินาทีแล้วหยุดทํางาน
ทําให้ Y ทํางานต่อและ Y ทํางาน 2 วินาทีแล้วหยุดการทํางาน ทําให้ R ทํางาน 10 วินาทีแล้วหยุด เมื่อ R หยุดการ
ทํางานจะทําให้ G เริ่ มทํางานใหม่วนรอบการทํางานเช่นนี้ตลอดไปจนกว่าจะมีการกดสวิตช์หยุดการทํางาน

รู ปที่ 9.21 แลดเดอร์ ไดอะแกรมของไฟจราจร


ในตัวอย่างต่อไปนี้ เรามาดูลกั ษณะของไทมิ่งไดอะแกรมอีกรู ปแบบหนึ่ งเป็ นลักษณะการทํางานแบบ
เรี ยงลําดับในการพิจารณานั้นจะมีลกั ษณะคล้ายกับตัวอย่างที่ผา่ นมา
พิจารณาหลักที่ 1 หลักที่ 1 ในบรรทัดที่ 2 S1 ทํางานทําให้M1ในบรรทัดที่ 3 ทํางานด้วย
พิจารณาหลักที่ 2 หลักที่ 2 ในบรรทัดที่ 3 M1 ทํางานต่อเนื่องอยูก่ ่อนหน้าแล้ว บรรทัดที่ 4 S2 เริ่ มทํางาน
ทําให้ M2 ในบรรทัดที่ 5 ทํางานด้วย
พิจารณาหลักที่ 3 หลักที่ 3 M1 ในบรรทัดที่ 3 และ M2 ในบรรทัดที่ 5 ทํางานต่อเนื่องอยูก่ ่อนแล้ว เมื่อ
S3 ในบรรทัดที่ 6 ทํางานทําให้ M3 ในบรรทัดที่ 7 ทํางานด้วย
พิจารณาหลักที่ 4 หลักที่ 4 เมื่อกดสวิตช์ Stop ในบรรทัดที่ 1ทําให้ระบบหยุดการทํางานทั้งหมด
พิจารณาหลักที่ 5 และ 6 หลักที่ 5 ในบรรทัดที่ 6 มีการกดสวิตช์ S3 แต่ไม่ทาํ ให้มีผลใด ๆ กับบรรทัดอื่น
และในหลักที่ 6 มีการกดสวิตช์ S2 ในบรรทัดที่ 4 จะไม่มีผลใด ๆ กับบรรทัดอื่นเช่นกัน

รู ปที่ 9.23 แลดเดอร์ ไดอะแกรมการทํางานแบบเรี ยงลําดับ

9.4 การออกแบบโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางานของระบบนิวแมติกส์
ไดอะแกรมแสดงการทํางานของอุปกรณ์ นิวแมติ กส์ มีหลายแบบในหัวข้อนี้ จะกล่าวเฉพาะบางส่ ว น
เท่านั้น
9.4.1 การควบคุมกระบอกสู บสองทางตามเงื่อนไข A+B+A-B- การออกแบบควบคุมวงจรนิวแมติกส์น้ นั
ผูอ้ อกแบบต้องเข้าใจหลักการทํางานของวง จรนิ วแมติกส์พอสมควร จากเงื่อนไขที่ให้มานั้นขออธิ บายสั้น ๆ
ดังต่อไปนี้
A หมายถึง กระบอกสู บตัวที่ 1 ปกติจะอยูด่ า้ นซ้ายมือ
B หมายถึง กระบอกสู บตัวที่ 2 จะอยูด่ า้ นขวามือของกระบอกสู บตัวแรก
+ หมายถึง ลูกสู บเคลื่อนที่ออกสุ ดช่วงชัก
- หมายถึง ลูกสู บเคลื่อนที่เข้าสุ ดช่วงชัก
การควบคุมกระบอกสู บสองทางโดยใช้เมนวาล์ว 5/2 ในการควบคุม โดยวาล์ว 5/2 นั้นจะแบ่งได้สอง
แบบ คือ แบบเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง และแบบเคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ าซึ่ งทั้งสองแบบมีวิธีการ
ควบคุมต่างกัน
ตัวอย่ างที่ 1 การควบคุมกระบอกสู บสองทางใช้เมนวาล์วเคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ า

รู ปที่ 9.24 วงจรกําลังใช้เมนวาล์วโซลินอยด์ท้ งั สองด้าน

จากเงื่อนไขที่กาํ หนด A+B+A-B- ถ้าใช้วงจรกําลังดังรู ปที่ 9.24 ถ้าต้องการให้ลูกสู บ Aเคลื่อนที่ออก ต้อง


จ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์Y1 ถ้าต้องการให้ลูกสู บเคลื่อนที่เข้าต้องจ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์ Y2 ในกระบอกสู บ B ถ้า
ต้องการให้ลูกสู บ B เคลื่อนที่ออกต้องจ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์Y3 ถ้าต้องการให้ลูกสู บ B เคลื่อนที่เข้าต้องจ่ายไฟ
ให้กบั โซลินอยด์ Y4 จากเงื่อนไขที่กาํ หนดสามารถเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมได้ดงั ต่อไปนี้

รู ปที่ 9.25 แลดเดอร์ ไดอะแกรมตัวอย่าง 1

สาระน่ ารู้ : การเขียนโปรแกรมนั้นควรเขียนให้ง่ายต่อการทําความเข้าใจเพื่อการศึกษาของผูอ้ ื่นและ


ตนเอง ในภายภาคหน้า
รู ปที่ 9.26 วงจรกําลังใช้เมนวาล์วโซลินอยด์ดา้ นเดียว

ตัวอย่ างที่ 2 การควบคุมกระบอกสู บสองทางใช้เมนวาล์วเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ งจากเงื่อนไข


ที่กาํ หนด A+B+A-B- ถ้าใช้วงจรกําลังดังรู ปที่ 9.26 ถ้าต้องการให้ลูกสู บ Aเคลื่อนที่ออกต้องจ่ายไฟให้กบั โซลิ
นอยด์ Y1 ค้างไว้ถา้ หยุดจ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์ Y1 ลูกสู บจะเคลื่อนที่เข้า ในกระบอกสู บ B ถ้าต้องการให้ลูกสู บ
เคลื่อนที่ออกต้องจ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์ Y2ค้างไว้ ถ้าหยุดจ่ายไฟให้กบั โซลินอยด์ ลูกสู บจะเคลื่อนที่เข้า จาก
เงื่อนไขที่กาํ หนดเราสามารถเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมได้ดงั นี้

รู ปที่ 9.27 แลดเดอร์ ไดอะแกรมตัวอย่าง 2

9.5 การออกแบบโปรแกรมจากเงือ่ นไขทีเ่ ป็ นคําสั่ ง


เงื่อนไขต่าง ๆ ในงานควบคุมนั้นบางครั้งอธิ บายเป็ นคําพูดหรื อคําสั่งจะเข้าใจง่ายกว่า แต่บางอย่างต้อง
เขียนเป็ นไทมิ่งไดอะแกรม หรื อวงจรรี เลย์จะเข้าใจง่ายกว่า ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการออกแบบโปรแกรมจากง
เงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่
9.5.1 ออกแบบโปรแกรมควบคุมมอเตอร์โดยกดสวิตช์สตาร์ ท (00) ให้มอเตอร์ (1000)ทํางานเป็ นเวลา
30 วินาที ถ้ากดสวิตช์ หยุดการทํางาน (01) ให้รอเวลาอีก 5 วินาทีมอเตอร์จึงหยุดหมุน
รู ปที่ 9.28 แลดเดอร์ไดอะแกรม
จากโปรแกรมในรู ปที่ 9.28 เมื่อกดสวิตช์สตาร์ ท (00) ให้เอาท์พุต 1000 (มอเตอร์) ทํางานคําสั่ง OR 1000
จะทําให้การทํางานค้างสภาวะ ตัวตั้งเวลาเริ่ มจับเวลาเป็ นเวลาเป็ นเวลา 30 วินาที เมื่อครบ 30 วินาที จะสั่งให้
TIM0 เปิ ดออกเป็ นการตัดวงจรการทํางาน มอเตอร์จะหยุดทํางานทันทีขณะเอาท์พุต 1000 ถ้ากดสวิตช์หยุดการ
ทํางาน (01) จะทําให้รีเลย์ช่วยทํางาน (เป็ นรี เลย์ที่เรี ยกใช้งานได้ แต่ไม่มีจุดต่อเอาท์พุต) ทําให้การทํางานค้าง
สภาวะ ตัวตั้งเวลาเริ่ มจับเวลา 5 วินาที เมื่อครบกําหนดจะสัง่ ให้เอาท์พตุ หยุดทํางาน (มอเตอร์หยุดทํางาน)
สาระสํ าคัญ : การเขียนหรื อทําความเข้าใจเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่ ต้องทําความเข้าใจให้ดี เพราะอาจเกิดความ
ผิดพลาดได้ง่าย

9.6 ลักษณะของเงือ่ นไขในการควบคุม


เงื่อนไขในการควบคุมเบื้องต้นนั้นจะขอยกตัวอย่างเงื่อนไขที่พบทัว่ ไปในวงจรควบคุม ซึ่ งสามารถ
เทียบเคียงเพื่อออกแบบเป็ นวงจรตามลักษณะเงื่อนไขอื่น ๆ ได้อีกหลากหลายรู ปแบบในงานควบคุมนั้นยังมี
เงื่อนไขอีกมากมายยากที่จะยกตัวอย่างได้หมด ฉะนั้นจึงมีความจําเป็ นต้องให้ผทู ้ ี่จะศึกษาฝึ กคิดและออกแบบเอง
9.6.1 การทํางานในลักษณะเรี ยงลําดับ การควบคุมลักษณะนี้เป็ นการการทํางานที่ตอ้ งมีความต่อเนื่องกัน
อาจบังคับด้วยมือ (สวิตช์) หรื อเรี ยงลําดับอัตโนมัติดว้ ยตัวตั้งเวลาหลักการทํางานจะนําหน้าสัมผัสปกติเปิ ดของ
เอาท์พตุ ตัวที่ทาํ งานก่อนมาอนุกรมกับวงจรในลําดับต่อไป
รู ปที่ 9.29 แลดเดอร์ ไดอะแกรมวงจรทํางานเรี ยงลําดับด้วยมือ
การทํางานของวงจรดังรู ป 9.29 ต้องกดสวิตช์เรี ยงลําดับจาก 00, 01, 02 เท่านั้นจึงทําให้เอาท์พุต 1000
1001, 1002 ทํางานได้ ถ้ากดสวิตช์ 02 ก่อน 01 เอาท์พุต 1001 จะไม่สามารถทํางานได้ เนื่องจากหน้าสัมผัส 1000
เปิ ดวงจรอยู่ สวิตช์ 03, 04, 05 เป็ นสวิตช์สาํ หรับสั่งหยุดการทํางานของเอาท์พตุ แต่ละตัว

รู ปที่ 9.30 แลดเดอร์ ไดอะแกรมวงจรทํางานเรี ยงลําดับอัตโนมัติ


การทํางานของวงจรดังรู ปที่ 9.30 เมื่อกดสตาร์ท 00 จะเป็ นไปตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

รู ปที่ 9.31 แสดงขั้นตอนการทํางานของวงจรเรี ยงลําดับอัตโนมัติ

9.6.2 การทํางานแบบสลับกันทํางาน การทํางานในลักษณะนี้ที่พบในงานควบคุมมอเตอร์ เช่น วงจรกลับ


ทางหมุนของมอเตอร์แบบ Plugging คือกลับทางหมุนทันทีทนั ใด หลักการออกแบบจะนําหน้าสัมผัสปกติปิด
ของสวิตช์ตวั แรกมาเป็ นตัวสั่งหยุดการทํางานของเอาท์พุตตัวที่สอง และนําหน้าสัมผัสปกติปิดของสวิตช์ตวั ที่
สองมาเป็ นตัวสัง่ หยุดการทํางานของเอาท์พตุ ตัวแรก

รู ปที่ 9.32 วงจรกลับทางหมุนแบบ Plugging


9.6.3 การทํางานในลักษณะห้ามทํางานพร้อมกัน หลักการคือการนําหน้าสัมผัสของเอาท์พุตปกติปิดของ
แต่ละตัวมาต่ออนุกรมกับวงจรก่อนเอาท์พตุ คอยล์เช่นวงจรกลับทางหมุนแบบหยุดก่อนกลับทางหมุน

รู ปที่ 9.33 วงจรกลับทางหมุนแบบหยุดก่อนกลับทางหมุน


9.6.4 การทํางานในลักษณะวนรอบเป็ นลักษณะงานของการทํางานซํ้ากันมากกว่า 1 ครั้งในลักษณะ
เงื่อนไขเดิม เช่น การทํางานของไฟจราจร ไฟวิ่ง หรื อไฟกระพริ บ จากรู ปที่ 9.34ลักษณะการวนซํ้าเราจะใช้
หน้าสัมผัสปกติเปิ ดของ Tim 0 มาต่อขนานกับสวิตช์ Start ทําให้เอาท์พตุ 1000 ทํางานวนซํ้าไม่รู้จบ ถ้าต้องการ
หยุดการทํางานให้กดสวิตช์ 01

รู ปที่ 9.34 วงจรไฟกระพริ บ


9.6.5 การทํางานในลักษณะนับจํานวนครั้งเป็ นลักษณะของการประยุกต์ใช้ตวั นับจํานวนมาออกแบบ
วงจร

รู ปที่ 9.35 วงจรการทํางานแบบนับจํานวนครั้ง

จากรู ปที่ 9.35 เป็ นวงจรที่ให้เอาท์พตุ ทํางาน 30 วินาทีแล้วหยุด ถ้าต้องการให้ทาํ งานใหม่ตอ้ งกดสวิตช์
สตาร์ ท 00 ใหม่ โดยให้เอาท์พุตทํางานได้จาํ นวน 5 ครั้งแล้วหยุดทํางานจนกว่าจะกดสวิตช์หยุดการทํางาน เพื่อรี
เซ็ทตัวนับจํานวน
9.6.6 การทํางานในลักษณะสัง่ ทางอ้อมการเขียนโปรแกรมเราไม่สามารถใช้หมายเลขเอาท์พตุ ซํ้ากันได้

รู ปที่ 9.36 วงจรการทํางานแบบสัง่ งานทางอ้อม


การทํางานของวงจรในรู ปที่ 9.36 นั้นอินพุต 00, 01, 02 เป็ นสวิตช์สั่งงานให้รีเลย์ช่วยหมายเลข 1200,
1201, 1202 ทํางาน แล้วนําหน้าสัมผัสของรี เลย์ช่วยไปต่อให้เอาท์พุต 1000,1001 และ 1002 เพื่อความเข้าใจง่าย
ขึ้นจะแสดงการทํางานของวงจรตามรู ปดังต่อไปนี้

รู ปที่ 9.37 การทํางานของวงจรแบบสัง่ งานทางอ้อม


ในการออกแบบโปรแกรมนั้นอาจทําได้หลายวิธีข้ ึนอยู่กบั ผูอ้ อกแบบโปรแกรม โปรแกรมที่ดีน้ นั
นอกจากความถูกต้องของโปแกรมแล้ว ขนาดของโปรแกรมจะเป็ นตัววัดความสามารถ ของผูอ้ อกแบบได้เป็ น
อย่างดี แต่สิ่งที่ควรคํานึงถึงนอกจากความถูกต้องของโปรแกรม คือระบบความปลอดภัย เช่น เราออกแบบระบบ
รอกยกวัตถุขนาดใหญ่ ถ้าเกิดเหตุฉุกเฉิ น เช่นไฟดับ วัตถุน้ นั ต้องไม่หล่นลงมา การออกแบบต้องอาศัย
ประสบการณ์ในการทํา งานมากพอสมควรได้เ ห็ นกระบวนการทํางานของจริ ง ได้รับคําแนะนําจากผูม้ ี
ประสบการณ์จะทําให้เราเป็ นผูอ้ อกแบบที่มีแนวคิดกว้างไกล สามารถออกแบบโปรแกรมได้อย่างดี
ปัญหาน่ าคิด : เงื่อนไขหรื อคําสั่งแบบใดง่ายต่อการทําความเข้าใจมากที่สุด
ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 9
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้เหมาะสมกับงานในอนาคต
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที )
1. ผูส้ อนจัด เตรี ย มเอกสาร พร้ อ มกับ แนะนํา 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และ ฟั งครู ผสู ้ อนแนะนํา
รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ อง การ รายวิ ชา วิ ธีการให้ค ะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ องการ
ออกแบบโปรแกรม วิธีการจัดทําเอกสารที่ เกี่ ยวกับ ออกแบบโปรแกรม วิ ธี ก ารจัด ทํา เอกสารที่ เ กี่ ย วกับ
โปรแกรม โปรแกรม
2. ผูส้ อนแจ้ง จุ ดประสงค์การเรี ยนของหน่ ว ย 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ ยวกับจุ ดประสงค์การ
เรี ยนที่ 9 และขอให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมการ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 9 และการให้ความร่ วมมือใน
เรี ยนการสอน การทํากิจกรรม
3. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนบอกคุ ณ สมบั ติ ข องการ 3. ผู ้ เ รี ยนบอกคุ ณ สมบั ติ ข องการออกแบบ
ออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้ โปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้

2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที )


1. ผูส้ อนเปิ ด PowerPoint หน่ ว ยที่ 9 เรื่ อ ง 1. ผูเ้ รี ยนศึกษา PowerPoint หน่ วยที่ 9 เรื่ อง
การออกแบบโปรแกรม ที่เกี่ยวกับโปรแกรมและให้ การออกแบบโปรแกรม ที่ เกี่ ยวกับโปรแกรม และให้
ผูเ้ รี ยนศึกษาเอกสารประกอบการสอน การโปรแกรม ผูเ้ รี ยนศึกษาเอกสารประกอบการสอน การโปรแกรม
และควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 9 หน้าที่ 267 - 290 และควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 9 หน้าที่ 267 – 290
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนร่ ว มกันบอกลักษณะของ ประกอบกับ PowerPoint
เ งื่ อ น ไ ข ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ต า ม ที่ ไ ด้ ศึ ก ษ า จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนและผู ้ส อนร่ ว มกัน บอกลัก ษณะของ
PowerPoint เงื่อนไขในการควบคุม ตามที่ได้ศึกษาจาก PowerPoint
3. ผู ้ส อนสาธิ ต การออกแบบโปรแกรมจาก 3. ผูเ้ รี ยนดูผูส้ อนสาธิ ตการออกแบบโปรแกรม
เงื่ อ นไขที่ เ ป็ นคํา สั่ ง ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การออกแบบ จากเงื่อนไขที่เป็ นคําสั่ง ที่การออกแบบโปรแกรม ตาม
โปรแกรม ตามเงื่อนไขที่กาํ หนด ให้ผูเ้ รี ยนดู พร้ อม เงื่อนไขที่กาํ หนด พร้อมจดบันทึกเนื้อหาสาระ
ให้คาํ แนะนํา
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําใบงานที่ 9 เรื่ อง การ 1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําใบงานที่ 9 เรื่ อง การ
ออกแบบโปรแกรม วิธีการจัดทําเอกสารที่เกี่ยวกับ ออกแบบโปรแกรม วิธีการจัดทําเอกสารที่ เกี่ ยวกับ
โปรแกรม โปรแกรม
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนสื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ
อินเทอร์เน็ตหรื อแหล่งความรู ้ต่างๆ แหล่งความรู ้ต่างๆ

4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (30 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที )


1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน 2. ผูเ้ รี ย นทํา แบบทดสอบหลัง เรี ย นหน่ ว ยที่ 9
หน่วยที่ 9 หน้า 301 หน้า 301
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 480 นาที หรื อ 2 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 9
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 9 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 9 เรื่ อง การออกแบบโปรแกรม
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 9
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 9 เรื่ อง การออกแบบโปรแกรม

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 1

คําถาม
1. ข้อใดคือการเขียนโปรแกรมที่ถูกต้องตามหลักการออกเขียนโปรแกรม
2. ออกแบบโปรแกรมควบคุมระบบนิวแมติกส์ตามเงื่อนไขที่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ A+B+C+A-B-C
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 9 เรื่ อง การออกแบบโปรแกรม

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การออกแบบโปรแกรม
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ หน่ วยที่ 9 เรื่ อง การออกแบบโปรแกรมที่ จดั ทําขึ้ นได้ทาํ ให้ผูเ้ รี ยนมี
ความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ การออกแบบโปรแกรม ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การทํางาน และ
สามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 9 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 9 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การออกแบบโปรแกรม

สื่ อของจริง
การออกแบบโปรแกรม (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตน
ทางสังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้
2. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 9
3. ตรวจใบงานที่ 9

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 9

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 9 เรื่ อง การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 บอกคุณสมบัติของการออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกคุณสมบัติของการออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุมได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกลักษณะของเงื่อนไขในการควบคุมได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 สาธิตการออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสัง่ ได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตการออกแบบโปรแกรมจากเงื่อนไขที่เป็ นคําสั่งได้ จะได้ 2
คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 จําแนกโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางานได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : จําแนกโปรแกรมจากไดอะแกรมการทํางานได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้
เหมาะสมกับงานในอนาคต
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม และนํามาใช้ให้
เหมาะสมกับงานในอนาคต จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดบทที่ 9
หน่ วยที่ 9 เรื่ องการออกแบบโปรแกรม
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1.จงออกแบบแลดเดอร์ไดอะแกรมจากวงจรรี เลย์ต่อไปนี้ (5 คะแนน)
2. ออกแบบโปรแกรมจากไทม์มิ่งไดอะแกรมต่อไปนี้ (5 คะแนน)
3. ออกแบบโปรแกรมควบคุมระบบนิวแมติกส์ตามเงื่อนไขที่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ A+B+C+A-B-C-
(5 คะแนน)

\
4. จงออกแบบโปรแกรมควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ เมื่อกดสวิตช์สตาร์ท รอเวลา 10 วินาที มอเตอร์
หมุน เมื่อกดสวิตช์หยุดการทํางานรอเวลา 3 วินาที มอเตอร์จึงหยุดทํางาน (5 คะแนน)
ใบงานที่ 9
หน่ วยที่ 9 การออกแบบโปรแกรม
เรื่อง ปฏิบตั ิการออกแบบโปรแกรม
จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบโปรแกรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมได้
2. ตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมได้
3. ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ได้
4. นักเรี ยนทํางานด้วยความระมัดระวัง

รายการสอน
1. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุม

เครื่องมือ
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. คอมพิวเตอร์

วัสดุอุปกรณ์
1. หลอดไส้ขนาด 5 วัตต์
2. ฟิ วส์ขนาด 1 แอมป์
3. สายไฟ VSF 2.5 mm2
4. รี เลย์ 24 โวลต์ 2 ตัว
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
1. ออกแบบวงจรไฟวิง่
เงื่อนไขการทํางาน ไฟวิ่ง 4 ดวง เวลาในการทํางาน ON – OFF 5 วินาที ทํางานวนรอบไม่รู้จบ จนกว่า
จะกดสวิตช์หยุดการทํางาน
1.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ไดอะแกรม

รู ปที่ 9.1 แลดเดอร์ ไดอะแกรม


1.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง
ตาราง 5.1 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ

1.3 Download Program to PLC


1.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
1.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
1.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ......................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
1.7 สรุ ปผลการทดลอง
............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2. ออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงขนาดเล็ก
เงื่อนไขการทํางาน ให้ออกแบบวงจรควบคุมกลับทางหมุนมอเตอร์แบบทันทีทนั ใด กดสวิตช์
00 มอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกา กดสวิตช์ 01 มอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา กดสวิตช์ 02 หยุดทํางาน
2.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ไดอะแกรม

รู ปที่ 9.3 แลดเดอร์ ไดอะแกรม


2.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง
ตาราง 5.2 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ

2.3 Download Program to PLC


2.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
2.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
2.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ .......................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2.7 สรุ ปผลการทดลอง
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. ข้อควรระวัง
3.1 จุดต่อสายต้องมัน่ คงและแข็งแรง
3.2 ควรต่อฟิ วส์ป้องกันทุกครั้ง
3.3 ถ้าไม่มนั่ ใจให้ปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนก่อนทุกครั้ง
3.4 ควรทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนการทํางานจริ ง
3.5 ทํางานด้วยความระมัดระวัง
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 9 เรื่ องการออกแบบโปรแกรม
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย X ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 20 ข้อ
1. ข้อใดคือการเขียนโปรแกรมที่ถูกต้องตามหลักการออกเขียนโปรแกรม

2. จากรู ปที่ 9.1 มีการทํางานตรงกับแลดเดอร์ไดอะแกรมข้อใด


3. จากรู ปที่ 9.2 มีการทํางานตรงกับแลดเดอร์ไดอะแกรมข้อใด
4. จากรู ปที่ 9.3 มีการทํางานตรงกับแลดเดอร์ไดอะแกรมข้อใด

5. จากรู ปที่ 9.4 มีการทํางานตรงกับแลดเดอร์ไดอะแกรมข้อใด


6. จากรู ปที่ 9.5 มีการทํางานตรงกับแลดเดอร์ไดอะแกรมข้อใด
7. จากวงจรนิวแมติกส์ขอ้ ใดมีการทํางานเหมือนกับเงื่อนไขดังต่อไปนี้ A+B+C+A-B-C-

8. จากรู ปข้อ 9.7 ถ้าเงื่อนไขการทํางาน A+B+A-B- ตําแหน่ง A ควรเป็ นคําสัง่ ใด


ก. LD 04 ข. LD NOT 01
ค. LD 01 ง. AND NOT 04
9. จากรู ปข้อ 9.7 ถ้าเงื่อนไขการทํางาน A+B+A-B- ตําแหน่ง B ควรเป็ นคําสัง่ ใด
ก. LD 04 ข. LD NOT 01
ค. L LD 03 ง. LD NOT 04

10. จากรู ปข้อ 9.7 ถ้าเงื่อนไขการทํางาน A+B+A-B- ตําแหน่ง C และ D ควรเป็ นหมายเลขใด
ก. 1002, 1001 ข. 1001, 1003
ค. 1003, 1002 ง. 1001, 1002
11. จากรู ปที่ 9.8 ถ้ากดสวิตช์ 00 จํานวน 3 ครั้งรอเวลา 5 วินาทีไฟ (1000) ติด กดสวิตช์ (01) ไฟดับ ตําแหน่ง B
ควรเป็ นหมายเลขใด
ก. 01 ข. 1000
ค. LD CNT0 ง. LD TIM1
12. จากเงื่อนไขการทํางานในข้อ 11. ตําแหน่ง A ควรเป็ นหมายเลขใด
ก. 01 ข. TIM1
ค. CNT1 ง. 1000

13. จากเงื่อนไขการทํางานในข้อ 11. ตําแหน่ง C ควรเป็ นหมายเลขใด


ก. 01 ข. 1000
ค. LD CNT1 ง. LD TIM1

14. จากรู ปที่ 9.9 ตําแหน่ง A ทําหน้าที่ใดในวงจร


ก. วนรอบการทํางาน ข. สัง่ หยุดวงจร
ค. ให้เอาท์พตุ ทํางานค้างสภาวะ ง. ต่อให้ตวั ตั้งเวลาทํางาน

15. จากรู ปที่ 9.9 ตําแหน่ง B คือข้อใด


ก. 00 ข. TIM0
ค. 1000 ง. TIM1
16. จากรู ปที่ 9.9 ตําแหน่ง C คือข้อใด
ก. TIM0 ข. TIM1
ค. 1200 ง. 01

17. จากรู ปที่ 9.9 ถ้าลบคําสัง่ AND NOT 02 ออกจากวงจรทั้งสองคําสัง่ จะมีผลอย่างไรกับวงจร


ก. ไม่สามารถหยุดการทํางานได้ ข. การทํางานเหมือนเดิม
ค. ไม่เกิดการทํางานวนรอบ ง. เอาท์พตุ ทํางานค้างสภาวะ
18. จากรู ปที่ 9.9 ตําแหน่ง C ทําหน้าที่ใดในวงจร
ก. ทําให้เอาท์พตุ 1200 หยุดทํางาน ข. สัง่ หยุดการทํางานเอาท์พตุ ทุกตัว
ค. ทําให้ตวั ตั้งเวลาทํางาน ง. ทําให้ไฟกระพริ บ

19. จากรู ปที่ 9.10 เป็ นเงื่อนไขการทํางานแบบใด


ก. การทํางานในลักษณะวนรอบ ข. การทํางานในลักษณะนับจํานวนครั้ง
ค. เรี ยงลําดับ ง. การทํางานในลักษณะสัง่ ทางอ้อม

20. จากรู ปที่ 9.11 เป็ นเงื่อนไขการทํางานแบบใด


ก. การทํางานในลักษณะวนรอบ ข. การทํางานในลักษณะนับจํานวนครั้ง
ค. เรี ยงลําดับ ง. การทํางานในลักษณะสัง่ ทางอ้อม
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 9 การออกแบบโปรแกรม

1.

2.
3.

4.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1.ง
2.ข
3.ค
4.ง
5.ค
6.ก
7.ก
8.ค
9.ข
10.ข
11.ง
12.ข
13.ค
14.ก
15.ก
16.ง
17.ง
18.ค
19.ข
20.ง
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 9 การออกแบบโปรแกรม

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์ได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 10
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลจอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
13 - 14
ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า คาบรวม 56

ชื่อเรื่อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า จํานวนคาบ 8


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. ลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่ง
2. PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟวิ่ง
ด้านทักษะ
3. การออกแบบการใช้ PLC ควบคุม
ด้านจิตพิสยั
4. แบบการใช้ PLC ควบคุม
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด

สาระสํ าคัญ
การใช้ PLC ควบคุมไฟวิ่งนั้นเราใช้หลอด LED ที่มีขนาดแรงดัน 5 โวลต์ ในการต่อใช้งานต้องจํากัด
กระแสไม่ให้เกินพิกดั ที่ประมาณ 15-20 มิลลิแอมป์ โดยหาความต้านทานมาต่ออนุกรมกับหลอด
2. การใช้ PLC ควบคุมไฟจราจร การทํางานของไฟจราจรจะต้องมีความสัมพันธ์กนั ทั้งหมดโดยการ
ทํางานต้องทํางานแบบวนรอบ ในแต่ละแยก (ไฟเขียว เหลือง และแดง)
3. การใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์ เป็ นการประยุกต์ใช้ PLC สําหรับเล่นเกมส์การแข่งขัน
การต่อใช้งานหลอดต่อโดยตรงกับ PLC ได้เลยเพราะกระแสของแต่ละหลอดไม่มาก (100 วัตต์ / 220 โวลต์)
4. การใช้ PLC ควบคุมไฟแสงสว่างหน้าเวทีเราใช้ไฟพาร์ 64 ขนาด 1000 วัตต์ เป็ นไฟที่ให้แสงสว่าง
สําหรับงานแสดงหน้าเวทีใช้แรงดัน 220 โวลต์ และทํางานในลักษณะเปิ ด-ปิ ด หรื อกระพริ บเป็ นจังหวะ การต่อใช้
งานผ่านเอาท์พุตของ PLC ต้องต่อผ่านรี เลย์
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ควบคุมไฟจราจร

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
การใช้ PLC ควบคุมไฟวิง่ (หลอด LED)
หลอด LED ที่ใช้งานทัว่ ไปนั้นใช้กบั แรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงขนาด 5 โวลต์ การใช้งานนั้นต้องจํากัด
กระแสไม่ให้เกิน 15 – 20 มิลลิแอมป์ ถ้าเราใช้แรงดันสําหรับหลอด 24 โวลต์ จําเป็ น ต้องหาตัวต้านทานมาจํากัด
กระแสโดยวิธีการคํานวณหาค่าตัวต้านทาน 
 
จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่ง (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกความแตกต่างระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟวิ่ง
(ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการออกแบบการใช้ PLC ควบคุมไฟจราจร(ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการเลือกแบบการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อวางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. บอกลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่งได้ (ด้ านความรู้ )
2. บอกความแตกต่างระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟวิ่งได้ (ด้ านความรู้ )
3. สาธิตการออกแบบการใช้ PLC ควบคุมไฟจราจรได้ (ด้ านทักษะ)
4. เลือกแบบการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์ได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
10.1 การใช้ PLC ควบคุมไฟวิง่ (หลอด LED)
หลอด LED ที่ใช้งานทัว่ ไปนั้นใช้กบั แรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงขนาด 5 โวลต์ การใช้งานนั้นต้องจํากัด
กระแสไม่ให้เกิน 15 – 20 มิลลิแอมป์ ถ้าเราใช้แรงดันสําหรับหลอด 24 โวลต์ จําเป็ นต้องหาตัวต้านทานมาจํากัด
กระแสโดยวิธีการคํานวณหาค่าตัวต้านทานดังต่อไปนี้

รู ปที่ 10.1 ตัวอย่างการต่อตัวต้านทานกับหลอด LED


จากการคํานวณต้องการกระแสที่ 15 มิลลิแอมป์ ต้องใช้ตวั ต้านทานขนาด 1600 Ω มาต่ออนุกรมกับขา
ของหลอด LED แต่ในท้องตลาดไม่มีขาย เราเลือกใช้ค่าที่ใกล้เคียงคือขนาด1500 Ω ซึ่ งกระแสไม่เกินพิกดั ที่
กําหนดไว้

รู ปที่ 10.2 กล่องไฟวิ่ง


10.1.1 เงือ่ นไขการทํางาน

รู ปที่ 10.3 แสดงเงื่อนไขการทํางานต่าง ๆ


10.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์ อนิ พุตเอาท์ พุต
ตารางที่ 10.1 ความหมายของคําสัง่ พื้นฐาน

สาระน่ ารู้ : หลอด LED สามารถรับกระแสได้เป็ น 100 มิลลิแอมป์ แต่ตอ้ งจ่ายเป็ นพัลซ์ ที่เร็ วมาก ๆ อาจ
ทําไม่ได้ใน PLC ที่มีเอาท์พตุ เป็ นแบบรี เลย์
10.1.3 โปรแกรมทีถ่ ูกออกแบบจากเงือ่ นไขทีก่ าํ หนด

ก. โปรแกรมส่ วนควบคุมการทํางานของ L TO R
ข. โปรแกรมส่ วนควบคุมการทํางานของ R TO L
ค. โปรแกรมหลักของเอาท์พตุ
รู ปที่ 10.4 โปรแกรมไฟวิ่ง
10.1.4 การต่ ออุปกรณ์ อนิ พุตและเอาท์ พุตเข้ ากับ PLC

รู ปที่ 10.5 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


10.2 การใช้ PLC ควบคุมไฟจราจร
ลักษณะการทํางานของไฟจราจรทัว่ โลกจะเหมือนกันคือมีสีเขียว เหลืองและแดง โดยอาจกําหนดให้สีใด
ทํางานก่อนก็ได้และทํางานต่อเนื่องในลักษณะวนรอบ ในบางกรณี อาจเพิ่มเงื่อนไขการกระพริ บก่อนสิ้ นสุ ดการ
ทํางานของไฟเขียวก็ได้

รู ปที่ 10.6 แสดงไฟจราจร 2 แยก


10.2.1 เงือ่ นไขการทํางานเงือ่ นไขการทํางานแสดงดังไทม์ มงิ่ ไดอะแกรมดังต่ อไปนี้

รู ปที่ 10.7 ไทม์มิ่งไดอะแกรมไฟจราจร 2 แยก


10.2.2 รายละเอียดอุปกรณ์ อนิ พุตเอาท์ พุต
ตารางที่ 10.2 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ

สาระน่ ารู้ : ไฟจราจรที่ใช้งานจริ ง จะหน่วงเวลาให้ไฟเขียวและแดงที่ต่างแยกกัน ทํางานพร้อมกันอยูช่ ่วง


สั้น ๆ เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุ
10.2.3 โปรแกรมทีถ่ ูกออกแบบจากเงือ่ นไขทีก่ าํ หนด

รู ปที่ 10.8 โปรแกรมไฟจราจร 3 แยก


10.2.4 การต่ ออุปกรณ์ อนิ พุตและเอาท์ พุตเข้ ากับ PLC

รู ปที่ 10.9 การต่ออินพุตและเอาท์พตุ ของไฟจราจร 3 แยก

10.3 การใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์หลอดอินแคนเดรสเซนต์เป็ นหลอดที่สามารถต่อกับ


เอาท์พุตของ PLC ได้โดยตรงเพราะกินกระแสไฟฟ้ าไม่ถึง 1 แอมป์ ทําให้สามารถทดสอบการทํางานของ
โปรแกรมที่เขียนขึ้นและการต่ออุปกรณ์เอาท์พตุ ได้

รู ปที่ 10.10 ชุดการแข่งขันเล่นเกมส์

10.3.1 เงื่อนไขการทํางานให้ผแู ้ ข่งขันสามคนเล่นเกมส์โดยแข่งกันกดสวิตช์ SW1, SW2,SW3 ใครกด


สวิตช์ครบ 15 ครั้งก่อนจะเป็ นฝ่ ายชนะ ผูช้ นะหลอดไฟฟ้ า (Lamp 1, Lamp 2,Lamp 3) จะสว่างเพียงดวงเดียว
เท่านั้น ผูท้ ี่กดสวิตช์ครบหลังจากนั้นไฟจะไม่ติดและไม่มีผลใด ๆ ก่อนการแข่งขันต้องให้กรรมการกดสวิตช์
(MainSw) ก่อนจึงจะเริ่ มการแข่งขันได้ สวิตช์กรรมการเป็ นสวิตช์แบบ Toggle Switch สวิตช์ของผูร้ ่ วมแข่งขัน
เป็ นแบบ Push Button Switch
10.3.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 10.3 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ

ปัญหาน่ าคิด : หลอดอินแคนเดรสเซนต์สามารถต่อกับเอาท์พตุ ได้โดยตรงหรื อไม่


10.3.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 10.11 โปรแกรมเกมส์กดสวิตช์


10.3.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 10.12 การต่ออินพุตและเอาท์พตุ ของเกมส์กดสวิตช์

10.4 การใช้ PLC ควบคุมไฟแสงสว่างหน้าเวที (ไฟพาร์64)

รู ปที่ 10.13 ไฟแสงสว่างหน้าเวที

10.4.1 เงื่อนไขการทํางานจากตารางที่ 10.4 เปน็ เงื่อนไขการทํางานทั้งสามแบบ ซึ่งควบคุมการทํางาน


โดยกดสวิตชห์ มายเลขต่าง ๆการทํางานในแตล่ ะแบบนั้นเปน็ การทํางานแบบวนรอบซํ้าไม่รู้จบ
ตารางที่ 10.4 เงื่อนไขการทํางาน

10.4.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ

ตารางที่ 10.5 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ


10.4.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 10.14 โปรแกรมควบคุมไฟแสงสว่างหน้าเวที


10.4.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC เนื่องจากไฟพาร์ 64 มีขนาด 1000วัตต์ (4.545
แอมป์ ) เราไม่สามารถต่อไฟพาร์ 64 กับเอาท์พุตของ PLC ได้โดยตรง ต้องต่อใช้งานผ่านแมกเนติกส์คอนแทค
เตอร์ก่อน

รู ปที่ 10.15 การต่ออินพุตและเอาท์พตุ


ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. แบบทดสอบหลังเรี ยน
3. ใบงานที่ 10

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที )
1. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนทํา ความเข้า ใจเรื่ องที่ จ ะ 1. ผู ้เ รี ยนทํา ความเข้า ใจเรื่ องที่ จ ะศึ ก ษา ของ
ศึ ก ษา ของเอกสารประกอบการสอนวิ ช าการ เอกสารประกอบการสอนวิชา กฎหมายพาณิ ชย์ หน่วย
โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 10 เรื่ อง การ ที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า
ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า หน้าที่ 311 หน้าที่ 311
2. ผูส้ อนให้ ผูเ้ รี ย นสรุ ป ความเข้า ใจโดยร่ ว ม 2. ผู ้เ รี ยนสรุ ปความเข้า ใจโดยร่ วมก่ อ นเข้า สู่
ก่ อ นเข้า สู่ บ ทเรี ยน แล้ว บัน ทึ ก ลงในแบบบัน ทึ ก บทเรี ยน แล้ว บัน ทึ ก ลงในแบบบัน ทึ ก คะแนนการ
คะแนนการปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน ปฏิบตั ิกิจกรรมระหว่างเรี ยน

2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที)


2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที )
1. ผูเ้ รี ยนร่ วมกัน บอกความแตกต่างระหว่าง PLC
1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนร่ วมกัน บอกความแตกต่าง
ควบคุมไฟจราจรกับ PLC ควบคุมไฟวิ่ง
ระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟวิ่ง
2. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้น
2. ผูส้ อนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ
ข้อสงสัยจากเนื้อหา โดยครู เป็ นผูต้ อบปัญหาที่เกิดขึ้น
ระหว่างการเรี ยนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ย นทํา แบบฝึ กหัด หน่ ว ยที่ 10 1. ผูเ้ รี ยนทํา แบบฝึ กหัดหน่ วยที่ 10 เรื่ อง การ
เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า หน้าที่ 330
หน้าที่ 330 2. ผูเ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก
อินเทอร์เน็ต
4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (30 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที )
1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทํา แบบทดสอบหลังเรี ย น 2. ผูเ้ รี ยนทํา แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่ ว ยที่ 10
หน่ วยที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุ ม เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุ มหลอดไฟฟ้ า
หลอดไฟฟ้ า หน้าที่ 342 หน้าที่ 342
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 480 นาที หรื อ 2 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 10
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 10 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอด
ไฟฟ้ า
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 10
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 10

คําถาม
1. ถ้าต้องการใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ าขนาด 3,000 วัตต์ จะต้องต่อเอาท์พตุ อย่างไร
2. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์
3. ถ้าต้องการออกแบบไฟกระพริ บ ติด - ดับ 0.5 วินาทีขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ควบคุมไฟจราจร

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า ที่จดั ทําขึ้นได้
ทําให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์
ใช้ในการเรี ยน การทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับ
หนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 10 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 10 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า

สื่ อของจริง
การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อ
ที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
2. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 10
3. ตรวจใบงานที่ 10

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 10

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 10 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 บอกลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่งได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกลักษณะของ PLC ควบคุมไฟวิ่งได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกความแตกต่างระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟวิ่ง
ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกความแตกต่างระหว่าง PLC ควบคุมไฟจราจรกับPLC ควบคุมไฟ
วิ่งได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 สาธิตการออกแบบการใช้ PLC ควบคุมไฟจราจรได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตการออกแบบการใช้ PLC ควบคุมไฟจราจรได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 เลือกแบบการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์ได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : เลือกแบบการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์ได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความ


ยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของการประยุกต์ใช้ PLC เพื่อให้เกิดความ
ยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด จะได้ 1 คะแนน
แบบฝึ กหัดบทที่ 10
หน่ วยที่ 10 เรื่ องการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. จงออกแบบโปรแกรมควบคุมไฟจราจร 4 แยกตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (10 คะแนน)
2. ออกแบบโปรแกรมคบคุมไฟวิ่ง 3 ดวง ติด – ดับ 5 วินาที วนรอบการทํางานพร้อมแสดงการต่ออุปกรณ์
อินพุตและเอาท์พตุ (10 คะแนน)
ใบงานที่ 10
หน่ วยที่ 10 การออกแบบโปรแกรม
เรื่อง ปฏิบตั ิการประยุกต์ใช้งาน PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมไฟจราจร 4 แยกได้
2. ออกแบบโปรแกรมควบคุมหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้
3. ตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมได้
4. ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ได้
5. นักเรี ยนทํางานด้วยความระมัดระวัง

รายการสอน
1. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุมไฟจราจร 4 แยก
2. การออกแบบโปรแกรมควบคุมหลอดฟลูออเรสเซนต์

เครื่องมือ
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. คอมพิวเตอร์
3. ชุดฝึ กไฟจราจร

วัสดุอุปกรณ์
1. สายต่อ 30 เส้น
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน
1. ออกแบบวงจรควบคุมไฟจราจร 4 แยก เงื่อนไขการทํางานเป็ นไปตาม Timing Diagram

1.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ ไดอะแกรม

รู ปที่ 10.2 แลดเดอร์ไดอะแกรม


1.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง
ตาราง 5.1 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ
1.3 Download Program to PLC
1.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
1.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC

1.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ......................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
1.7 สรุ ปผลการทดลอง
...........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2. ออกแบบวงจรควบคุมหลอดฟลูออเรสเซนต์
เงื่อนไขการทํางานให้ออกแบบควบคุมหลอดฟลูออเรสเซนต์ในห้องเรี ยน ให้ทาํ งานเวลา 9.30 และ
หยุดทํางานเวลา 15.30 ของทุกวัน
2.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ไดอะแกรม

รู ปที่ 10.4 แลดเดอร์ไดอะแกรม


2.3 Download Program to PLC
2.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
2.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
2.6 ทดสอบการทํางาน
............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2.7 สรุ ปผลการทดลอง
............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. ข้อควรระวัง
3.1 จุดต่อสายต้องมัน่ คงและแข็งแรง
3.2 ควรต่อฟิ วส์ป้องกันทุกครั้ง
3.3 ถ้าไม่มนั่ ใจให้ปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนก่อนทุกครั้ง
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 10 เรื่ องการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย X ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 30 ข้อ

1. จากรู ปที่ 10.1 เมื่อเอาท์พตุ 1001 ทํางานจะมีผลอย่างไร


ก. ทําให้เอาท์พตุ 1000 หยุดทํางาน ข. ทําให้เอาท์พตุ 1002 เริ่ มทํางาน
ค. TIM 1 เริ่ มจับเวลา ง. TIM 1 ต่อวงจรให้ OUT 1002 ทํางาน

2. จากรู ปที่ 10.1 คําสัง่ ใดทําให้ OUT 1003 หยุดทํางานอัตโนมัติ


ก. AND NOT 01 ข. AND NOT TIM3
ค. LD TIM2 ง. OR 1003

3. จากรู ปที่ 10.1 ถ้าลบคําสัง่ OR TIM3 ในรังที่ 1 ออกจะมีผลอย่างไร


ก. OUT 1000 ทํางานค้างสภาวะตลอด ข. โปรแกรมทํางาน 1 รอบเท่านั้น
ค. OUT 1000 ไม่ทาํ งานค้างสภาวะ ง. โปรแกรมไม่สามารถทํางานได้

4. จากรู ปที่ 10.1 การงานของวงจรเป็ นไปตามรู ปใด


5. จากรู ปที่ 10.1 คําสัง่ LD TIM2 ทํางานพร้อมกับคําสัง่ ใดในวงจร
ก. AND NOT 1 ข. OR 1003
ค. AND NOT TIM2 ง. TIM3

6. จากรู ปที่ 10.2 มีกดสวิตช์สตาร์ทมีการทํางานตรงกับข้อใด


ก. เขียว – เหลือง – แดง ข. แดง – เหลือง – เขียว
ค. เหลือง – แดง – เขียว ง. แดง – เขียว – เหลือง

7. จากรู ปที่ 10.2 ไฟเขียวจะหยุดทํางานเมื่อใด


ก. เมื่อ TIM 00 ตัดวงจร ข. เมื่อเวลาครบ 2 ชัว่ โมง
ค. เมื่อไฟสี เหลืองเริ่ มทํางาน ง. เมื่อไฟสี แดงเริ่ มทํางาน

8. จากรู ปที่ 10.2 อุปกรณ์ชุดใดทําหน้าที่สงั่ ให้เกิดการวนรอบการทํางาน


ก. TIM ที่สงั่ ให้ไฟสี แดงหยุดทํางาน ข. TIM ที่สงั่ ให้ไฟสี เหลืองทํางาน
ค. TIM ที่สงั่ หยุดไฟสี เหลือง ง. TIM ที่สงั่ ต่อให้ไฟสี เขียวทํางาน

9. จากรู ปที่ 10.3 เมื่อกดสวิตช์สตาร์ทหลอดไฟสี ใดทํางานบ้าง


ก. เขียว 1 แดง 2 ข. เขียว 2 เหลือง 1
ค. แดง 1 เขียว 2 ง. แดง 2 เขียว 1
10. ในรู ปที่ 10.3 ไฟสี แดงทํางานเป็ นเวลานานเท่าไร
ก. 13 วินาที ข. 10 วินาที
ค. 20 วินาที ง. 7 วินาที

11. ในรู ปที่ 10.3 Y2 หยุดทํางานเมื่อใด


ก. เมื่อ G2 หยุดทํางาน ข. เมื่อสตาร์ทได้ 10 วินาที
ค. เมื่อ G1 เริ่ มทํางาน ง. เมื่อสตาร์ทได้ 3 วินาที

12. ในรู ปที่ 10.3 TIM ตัวใดเกี่ยวข้องกับ G1


ก. TIM ที่สงั่ หยุด Y1 ข. TIM ที่สงั่ หยุด R1
ค. TIM ที่สงั่ ให้ G2 ทํางาน ง. TIM ที่ต่อให้ Y2 ทํางาน

13. จากรู ปที่ 10.4 เมื่ออินพุต 00 ทํางานเอาท์พตุ ใดทํางานบ้าง


ก. 1000, 1002, 1003 ข. 1000, 1001, 1002, 1003
ค. 1002, 1003, 1000 ง. 1000, 1001

14. จากรู ปที่ 10.4 ถ้าไม่มีคาํ สัง่ RSET 1002 และ RSET 1003 ในรังที่ 1 จะมีผลอย่างไร
ก. ถ้ากดสวิตช์ 00 1001 และ 1002 หยุดทํางาน
ข. ถ้ากดสวิตช์ 01 1002 และ 1003 หยุดทํางาน
ค. การทํางานเหมือนเดิมทุกอย่าง
ง. ถ้ากดสวิตช์ 01 และ 00 เอาท์พตุ 1000, 1001, 1002, 1003 จะทํางาน
15. รู ปที่ 10.5 ถ้าเปิ ดและปิ ด 02 ครบ 10 ครั้งจะมีผลอย่างไร
ก. เอาท์พตุ 1000 จะทํางาน ข. เอาท์พตุ 1000 และ 1002 จะทํางาน
ค. เอาท์พตุ 1001 และ 1002 จะหยุดทํางาน ง. เอาท์พตุ 1001 จะทํางาน

16. รู ปที่ 10.5 ถ้าเปิ ดและปิ ด 03 จํานวน11 ครั้งจะมีผลอย่างไร


ก. เอาท์พตุ 1000 จะทํางาน ข. เอาท์พตุ 1001 จะทํางาน
ค. เอาท์พตุ 1002 จะทํางาน ง. เอาท์พตุ 1000 และ 1001 จะหยุดทํางาน

17. รู ปที่ 10.5 ถ้า 04 ถูกกดค้างไว้จะมีผลอย่างไร


ก. CNT ทุกตัวจะไม่ทาํ งาน ข. เอาท์พตุ 1000 และ 1001 จะหยุดทํางาน
ค. CNT นับครั้งละ 2หน่วย ง. CNT ทุกตัวทํางานพร้อมกัน

18. รู ปที่ 10.5 ถ้าลบคําสั่ง AND NOT CNT0, AND NOT CNT1, AND NOT CNT2 ออกจากโปรแกรม
ทั้งหมดทุกคําสัง่ จะมีผลอย่างไรกับโปรแกรม
ก. ไม่สามารถหยุดการทํางานของเอาท์พตุ ได้
ข. เอาท์พตุ ทุกตัวไม่สามารถทํางานได้
ค. เอาท์พตุ ตัวใดทํางานก่อนจะทําให้เอาท์พตุ อื่นหยุดทํางาน
ง. เอาท์พตุ ทุกตัวสามารถทํางานได้

19. ถ้าต้องการใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ าขนาด 3,000 วัตต์ จะต้องต่อเอาท์พตุ อย่างไร


ก. ต่อหลอดผ่าน SCR เพื่อลดกระแส
ข. ต่อหลอดผ่านรี เลย์แล้วใช้เอาท์พตุ ของ PLC ควบคุมรี เลย์แทน
ค. ต่อหลอดเข้ากับเอาท์พตุ 1003 เท่านั้นเพราะมีจุดร่ วม 2 จุด
ง. ต่อหลอดเข้ากับเอาท์พตุ 1000 เท่านั้น

20. จากรู ปที่ 10.6 การต่อเอาท์พตุ ข้อใดถูกต้องที่สุด

21. จากรู ปที่ 10.6 ถ้าต้องการกดสวิตช์เพียง 1 ตัวแล้วให้เอาท์พตุ หยุดการทํางาน


พร้อมกันต้องเปลี่ยนแปลงวงจรอย่างไร
ก. เปลี่ยนคําสั่ง OUT 1002 และ OUT 1004 เป็ น OUT 1000
ข. เปลี่ยนคําสั่ง LD 01 และ LD 02 เป็ น LD 00
ค. ลบคําสัง่ OR 1001 และ 1002 ออก
ง. เปลี่ยนคําสั่ง AND NOT 4 และ AND NOT5 เป็ น AND NOT3

22. จากรู ปที่ 10.6 ถ้าต้องการให้ K3 ทํางานพร้อมกับ K2 ต้องเปลี่ยนวงจรอย่างไร


ก. เปลี่ยนคําสัง่ LD 02 เป็ น LD 00
ข. เปลี่ยนคําสัง่ LD 02 เป็ น LD 1001
ค. ลบคําสัง่ AND NOT 4
ง. เปลี่ยนคําสั่ง OR 1001 เป็ น 1002
23. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการใช้ PLC ควบคุมหลอดอินแคนเดรสเซนต์
ก. ต้องต่อผ่านรี เลย์หรื อแมกเนติกส์
ข. ต่อเข้ากับเอาท์พตุ ของ PLC ได้โดยตรง
ค. เอาท์พตุ ของ PLC ต้องเป็ นแบบทรานซิสเตอร์เท่านั้น
ง. เมื่อต่อใช้งานเป็ นเวลานานจะเกิดความร้อนที่ตวั PLC

24. จากรู ปที่ 10.7 เมื่อ L3 ทํางานครบ 5 วินาทีจะมีผลอย่างไร


ก. L3 หยุดทํางาน ข. L2 กระพริ บ
ค. L1, L2, L3 หยุดทํางาน ง. L1 เริ่ มทํางานทันที

25. จากรู ปที่ 10.7 ถ้าลบคําสัง่ AND NOT TIM3 ออกจะมีผลอย่างไร


ก. ถ้า TIM2 ทํางาน L1 จะติดค้าง ข. L1, L2, L3 จะหยุดทํางาน
ค. วงจรจะเริ่ มสตาร์ทใหม่ไม่ได้ ง. ไม่มีผลใด ๆ กับวงจร

26. จากรู ปที่ 10.7 ถ้าแทรกคําสัง่ OR 1002 หน้าคําสัง่ OUT 1002 จะมีผลอย่างไร
ก. L2 และ L3 ทํางานพร้อมกัน ข. ไม่สามารถหน่วงเวลาหยุดได้
ค. L3 ทํางานนานกว่าปกติ ง. L3 ทํางานตลอด

27. จากรู ปที่ 10.7 การต่อเอาท์พตุ ข้อใดถูกต้อง


28. ถ้าต้องการออกแบบไฟกระพริ บ ติด - ดับ 0.5 วินาทีขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
ก. ใช้ SR25501 ข. ใช้ HR01
ค. ใช้ SR25502 ง. ใช้ DIFU (13)

29. ถ้าต้องการออกแบบวงจรควบคุมการทํางานของหลอดไฟฟ้ าให้ทาํ งานตามเวลา (ชัว่ โมง - นาที) ที่กาํ หนด


ทุกวันจุด XXX ที่คาํ สัง่ BCMP (68) ต้องเป็ นข้อใด
ก. AR 17 ข. TR00
ค. SR 25503 ง. AR20

30. เอาท์พตุ จะหยุดทํางานเมื่อเวลาเท่าไร


ก. 08.59 น. ข. 09.00 น.
ค. 09.02 น. ง. 09.03 น.
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 10 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้า

1.
2.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1.ก
2.ก
3.ข
4.ข
5.ง
6.ก
7.ค
8.ข
9.ค
10.ค
11.ง
12.ข
13.ก
14.ข
15.ก
16.ค
17.ข
18.ข
19.ค
20.ง
21.ง
22.ข
23.ก
24.ค
25.ง
26.ข
27.ค
28.ข
29.ก
30.ค
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 10 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้า

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนควบคุมไฟจราจรได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 11
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
15 - 16
ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ คาบรวม 64

ชื่อเรื่อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ จํานวนคาบ 8


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. คุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า
ด้านทักษะ
2. การใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส
ด้านจิตพิสยั
3. ประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม

สาระสํ าคัญ
1. การใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงถ้าเป็ นมอเตอร์ขนาดเล็กสามารถต่อกับPLC ได้โดยตรง
ถ้ากระแสเกิน 2 แอมป์ ต้องต่อผ่านรี เลย์ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงการต่อวงจรต้องต่อขั้วของแหล่งจ่ายไฟให้
ถูกต้องเพราะการสลับขั้วแหล่งจ่ายจะทําให้มอเตอร์หมุนกลับทาง
  2. การใช้ PLC ควบคุม มอเตอร์ ไฟฟ้ า กระแสสลับ 1 เฟส ต้องต่อ ผ่านรี เลย์ ถึงแม้วา้ กระแสที่แผ่นป้ าย
มอเตอร์ระบุไว้ที่ 1 แอมป์ ก็ตาม เพราะตอนสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับกินกระแสสู งกว่าปกติ 2 – 6 เท่า
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส ที่ใช้งานส่ วนใหญ่เป็ นชนิดคาปาซิ เตอร์ มอเตอร์ มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1
เฟสประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด คือขดรันและขดสตาร์ท
3. มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3เฟสประกอบด้วยขดลวด 3 ชุดต่อได้สองแบบคือแบบสตาร์ และแบบเดล
ต้าโดยต้องดูที่แผ่นป้ ายของมอเตอร์เช่น 220/380 โวลต์ ต่อแบบสตาร์ได้อย่างเดียว ถ้าแรงดัน 380/660 โวลต์
สามารถต่อแบบสตาร์ทแบบสตาร์และรันแบบเดลต้าได้
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
เงื่อนไขการทํางาน จากวงจรรี เลย์ในรู ปที่ 11.2 เป็ นวงจรควบคุมการเปิ ด - ปิ ดแบบธรรมดาให้เรา
ออกแบบวงจรโดยอ้างอิงจากวงจรรี เลย์โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ เมื่อกดสวิตช์ S2ให้มอเตอร์ ทาํ งานค้างสภาวะ
ตลอดกดสวิตช์ S1 ทําให้มอเตอร์หยุดทํางานรอเวลา 10 วินาทีจึงจะกดสวิตช์ S2 เพื่อให้เริ่ มทํางานใหม่ได้

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบอกคุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส (ด้านทักษะ)
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการจําแนกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส (ด้านจิตพิสัย)
4. เพื่อศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. บอกคุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงได้ (ด้ านความรู้ )
2. สาธิตการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสได้ (ด้ านทักษะ)
3. จําแนกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสได้ (ด้านจิตพิสยั )
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
(ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
ในบทนี้จะกล่าวถึงการประยุกต์ใช้งาน PLC ควบคุมมอเตอร์โดยแบ่งเป็ นการควบคุมมอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรง (ขนาดเล็ก) และมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ การควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่เป็ นมอเตอร์ เราต้อง
คํานึ งถึงพิกดั กระแสของมอเตอร์ ดว้ ย เพราะหน้าสัมผัสของเอาท์พุต PLC ทนกระแสได้ไม่เกิน 2 แอมป์
โดยทัว่ ไปนิยมใช้เอาท์พตุ ของ PLC มาควบคุมคอยล์ของรี เลย์หรื อคอยล์ของแมกแนติกส์คอนแทคเตอร์ในวงจร
กําลังมากกว่าต่อเอาท์พตุ ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าโดยตรง

รู ปที่ 11.1 ตัวอย่างการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ

การควบคุมมอเตอร์ในกรณี เป็ นมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงและมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับในวงจรเดียวกัน


มีความจําเป็ นต้องแยกจุดร่ วม (COM) ของเอาท์พุตด้วย เพราะเอาท์พุตแต่ละตัวมีจุดต่อร่ วมไม่เหมือนกัน เช่น 00
COM, 01 COM, 02 03 COM, 04 05 06 07 COM เช่น เราไม่สามารถใช้เอาท์พุต 02 ต่อกับโหลดไฟฟ้ า
กระแสตรง และเอาท์พุต 03 ต่อกับโหลดไฟฟ้ ากระแสสลับได้เพราะเอาท์พุตทั้งสองมีจุดร่ วมจุดเดียวกัน
เช่นเดียวกับเอาท์พุตหมายเลข 04, 05, 06, 07 ต้องต่อใช้งานโหลดประเภทเดียวกันเท่านั้นเพราะมีจุดร่ วมจุด
เดียวกัน
11.1 การใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง
มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงนั้นนอกจากมอเตอร์ ขนาดเล็กทัว่ ไปแล้วยังรวมไปถึง สเต็ปปิ้ งมอเตอร์และ
เซอร์ โวมอเตอร์อีกด้วย ซึ่ งทั้งสองชนิดหลังนี้จะต้องใช้เอาท์พตุ ของ PLC แบบทรานซิสเตอร์เท่านั้นในหน่วยนี้
จะขอกล่าวถึงการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงขนาดเล็กเท่านั้น
รู ปที่ 11.2 วงจรการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง
11.1.1 เงื่อนไขการทํางาน จากวงจรรี เลย์ในรู ปที่ 11.2 เป็ นวงจรควบคุมการเปิ ด - ปิ ดแบบธรรมดาให้เรา
ออกแบบวงจรโดยอ้างอิงจากวงจรรี เลย์โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ เมื่อกดสวิตช์ S2 ให้มอเตอร์ทาํ งานค้างสภาวะ
ตลอดกดสวิตช์ S1 ทําให้มอเตอร์หยุดทํางานรอเวลา 10 วินาทีจึงจะกดสวิตช์ S2 เพื่อให้เริ่ มทํางานใหม่ได้
11.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตาราง 11.1 ตารางอุปกรณ์อินพุตและ
เอาท์พตุ
11.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.3 โปรแกรมสําหรับควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

สาระน่ารู ้ : เอาท์พุตที่มี Com ร่ วมกัน 2 หรื อ 3 จุด ไม่สามารถใช้โหลดที่มีระดับแรงดันต่างกันได้ เช่น


เอาท์พตุ ตัวแรกใช้แรงดัน 220 โวลท์เอาท์พตุ ตัวที่สองใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดัน 12 โวลท์
11.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง


11.2 การใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส
11.2.1 การทํางานแบบสตาร์ทตรง

รู ปที่ 11.5 วงจรการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส แบบสตาร์ทตรง


11.2.1.1 เงื่อนไขการทํางานเมื่อกดสวิตช์ S2 ให้มอเตอร์ ทาํ งานค้างสภาวะจนกว่าจะกดสวิตช์ S1
มอเตอร์จึงจะหยุดทํางานถ้ามอเตอร์ ใช้กระแสเกินพิกดั โอเวอร์โหลดทํางาน จะหยุดการทํางานของมอเตอร์ทนั ที
จนกว่าจะกดรี เซ็ทโอเวอร์โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
11.2.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.2 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.2.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.6 โปรแกรมควบคุมมอเตอร์แบบสตาร์ทตรง

11.2.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.7 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส


11.2.2 การทํางานแบบเรี ยงลําดับ

รู ปที่ 11.8 วงจรการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าทํางานแบบเรี ยงลําดับ


11.2.2.1 เงื่อนไขการทํางานเมื่อกดสวิตช์ S2 ทําให้มอเตอร์ ตวั ที่ 1 ทํางานค้างสภาวะกดสวิตช์
S3 ทําให้มอเตอร์ ตวั ที่ 2 ทํางานค้างสภาวะ กดสวิตช์ S1 มอเตอร์ ท้ งั สองตัวหยุดทํางานพร้อมกัน กดสวิตช์ S3
ก่อน S2 มอเตอร์ไม่ทาํ งานถ้ามอเตอร์ ใช้กระแสเกินพิกดั โอเวอร์โหลดทํางาน จะหยุดการทํางานของมอเตอร์
ทันที จนกว่าจะกดรี เซ็ทโอเวอร์โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
ปั ญหาน่าคิด : การต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ ฟิ วมีความจําเป็ นต้องต่อหรื อไม่เพราะเหตุใด
11.2.2.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.3 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.2.2.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.9 โปรแกรมควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าทํางานแบบเรี ยงลําดับ

11.2.2.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.10 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าทํางานแบบเรี ยงลําดับ


11.3 การใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3เฟส
11.3.1 แบบสตาร์ทตรง

รู ปที่ 11.11 วงจรการควบคุมมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ทตรง


11.3.1.1 เงื่อนไขการทํางานเมื่อกดสวิตช์ S2 ให้มอเตอร์ทาํ งานค้างสภาวะพร้อมทั้งมีโชว์แสดง
สถานการทํางาน (H1) ถ้ากดสวิตช์S1หยุดการทํางานของมอเตอร์ และไฟโชว์สถานะการทํางานของมอเตอร์ ถ้า
มอเตอร์ใช้กระแสเกินพิกดั ให้หยุดทํางานพร้อมทั้งมีไฟแสดงการทํางานของโอเวอร์โหลด (H2) จนกว่าจะกดรี
เซ็ทโอเวอร์โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
11.3.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.4 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.3.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.12 โปรแกรมควบคุมการทํางานของมอเตอร์ 3 เฟสแบบสตาร์ทตรง

11.3.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.13 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC ของวงจรควบคุมมอเตอร์ 3 เฟส


11.3.2 วงจรกลับทางหมุนแบบหยุดก่อนกลับทางหมุน (Reversing after Stop)

รู ปที่ 11.14 วงจรกลับทางหมุนมอเตอร์แบบหยุดก่อนกลับทางหมุน


11.3.2.1 เงื่อนไขการทํางาน กดสวิตช์ S2 จะทําให้มอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกากดสวิตช์ S3
มอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา การกลับทางหมุนแต่ละครั้งต้องกดสวิตช์ S1 ให้มอเตอร์หยุดทํางานก่อนจึงจะกลับ
ทางหมุนได้ ถ้ามอเตอร์ใช้กระแสเกินพิกดั โอเวอร์ โหลดทํางานจะหยุดการทํางานของมอเตอร์ ทนั ที จนกว่าจะกด
รี เซ็ทโอเวอร์โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
11.3.2.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.5 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.3.2.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.15 โปรแกรมกลับทางหมุนมอเตอร์แบบหยุดก่อนกลับทางหมุน

11.3.2.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.16 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


11.3.3 วงจรกลับทางหมุนแบบกลับทางหมุนได้ทนั ที (Plugging)

รู ปที่ 11.17 วงจรกลับทางหมุนมอเตอร์แบบกลับทางหมุนได้ทนั ที (Plugging)


11.3.3.1 เงื่อนไขการทํางานกดสวิตช์ S2 จะทําให้มอเตอร์ หมุนตามเข็มนาฬิกากดสวิตช์ S3
มอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา สามารถกลับทางหมุนได้ทนั ที สวิตช์ S1 ทําหน้าที่หยุดทํางานของมอเตอร์ ถ้า
มอเตอร์ใช้กระแสเกินพิกดั โอเวอร์โหลดทํางาน จะหยุดการทํางานของมอเตอร์ทนั ที จนกว่าจะกดรี เซ็ทโอเวอร์
โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
11.3.3.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.6 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.3.3.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.18 โปรแกรมวงจรกลับทางหมุนมอเตอร์แบบกลับทางหมุนได้ทนั ที (Plugging)

11.3.3.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.19 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


11.3.4 วงจรการสตาร์ทมอเตอร์แบบสตาร์ – เดลต้า

รู ปที่ 11.20 วงจรสตาร์ทมอเตอร์แบบสตาร์ – เดลต้า


11.3.4.1 เงื่อนไขการทํางานเมื่อกดสวิตช์ S2 ให้มอเตอร์สตาร์ทแบบสตาร์ (K1 + K2) รอเวลา
ประมาณ 6 วินาที ให้มอเตอร์รันแบบเดลต้า (K1 + K3) ถ้ามอเตอร์ใช้กระแสเกินพิกดั โอเวอร์ โหลดทํางาน จะ
หยุดการทํางานของมอเตอร์ทนั ที จนกว่าจะกดรี เซ็ทโอเวอร์โหลดจึงจะเริ่ มทํางานใหม่ได้
11.3.4.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตเอาท์พตุ
ตารางที่ 11.7 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
11.3.4.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 11.21 โปรแกรมสตาร์ทมอเตอร์แบบสตาร์ – เดลต้า


11.3.4.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 11.22 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 2-3)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. แบบทดสอบหลังเรี ยน
3. ใบงานที่ 11

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 4)
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (20 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผู ้เ รี ย นอ่ า นเอกสารประกอบการ 1. ผูเ้ รี ยนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชาการ
สอนวิชา การโปรแกรมและควบคุ มไฟฟ้ า หน่ วยที่ โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 11 เรื่ อง การ
11 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ 68 ในส่ วน
351 ในส่ วนของสาระสําคัญ ของสาระสําคัญ
2. ผูส้ อนแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรี ยน เรื่ อง 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของ
การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ การเรี ยน เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนระบุ ลกั ษณะของสัญญาเช่ า 3. ผูเ้ รี ยนระบุลกั ษณะของสัญญาเช่าซื้อแบบต่างๆ
ซื้อแบบต่างๆ ตามที่ผเู ้ รี ยนเข้าใจ

2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (200 นาที )


1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนเปิ ดเอกสารประกอบการสอน การ 1. ผู ้เ รี ยนเปิ ดเอกสารประกอบการสอนการ
โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 11 เรื่ อง การ โปรแกรมและควบคุ ม ไฟฟ้ า หน่ ว ยที่ 11 เรื่ อง การ
ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ 351 - 367 ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ 351 - 367
พร้อมอธิบายเนื้อหาให้ผเู ้ รี ยนฟังทีละหน้า พร้อมกับจดบันทึกเนื้อหาที่ได้เรี ยน
2. ผู ้ส อนอธิ บ ายความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม เรื่ อง การ 2. ผูเ้ รี ยนฟั งผูส้ อนอธิ บายความรู ้ เพิ่มเติ ม เรื่ อง
ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
3. ผูส้ อนเปิ ดโอกาส ให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ 3. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยจากเนื้อหาโดยครู เป็ นผู ้
ข้อสงสัยจากเนื้ อหา โดยครู เป็ นผูอ้ ธิ บาย เรื่ อง การ อธิบายเรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 230 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทํากิจกรรมการทดลองที่ 11 1. ผูเ้ รี ยนทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 11 เรื่ อง
เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ หน้าที่ 368
368 2. ผูเ้ รี ยนดูแบบประเมินผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยนพร้อม
2. ผูส้ อนทําแบบประเมินผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยน ปรับปรุ งตัวเอง
3. ผู ้ส อนให้ ผู ้เ รี ยนสื บค้น ข้ อ มู ล จาก Web 3. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนสื บค้นข้อมูลจาก Web
Guide หรื อหาความรู ้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต Guide หรื อหาความรู ้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต

4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (30 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 30 นาที )


1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน 2. ผูเ้ รี ยนทํา แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่ ว ยที่ 11
หน่วยที่ 11 หน้า 377 หน้า 377
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-4) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-4)
(รวม 480 นาที หรื อ 2 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 11
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 11 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 11 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 11
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 11 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 11

คําถาม
1. เหตุใดต้องต่อเอาท์พตุ ของ PLC ควบคุมรี เลย์แทนการควบคุมมอเตอร์โดยตรง
2. ข้อใดมีหลักการทํางานเหมือนกับวงจรกลับทางหมุนแบบหยุดก่อนกลับทางหมุน
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 11 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ า

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ หน่ วยที่ 11 เรื่ อง ควบคุ มมอเตอร์ ไฟฟ้ า ที่ จดั ทําขึ้นได้ทาํ ให้ผูเ้ รี ยนมี
ความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ ควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ า ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การทํางาน และ
สามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 11 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 11 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์

สื่ อของจริง
การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-
4)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาชีวิตและวัฒนธรรมไทย ด้านการพูด การอ่าน การเขียน และการฝึ กปฏิบตั ิตน
ทางสังคมด้านการเตรี ยมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่ รู ้
2. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 11
3. ตรวจใบงานที่หน่วยที่ 11

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 11

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 11 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 บอกคุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บอกคุณสมบัติของการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงได้ จะ
ได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 สาธิตการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตการใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 จําแนกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : จําแนกประเภทของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟสได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิด


ประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ และนํามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 11

หน่ วยที่ 11 เรื่ องการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมหลอดไฟฟ้ า


คําชีแ้ จง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์

1. จงออกแบบโปรแกรมควบคุม DC มอเตอร์ ให้ ทาํ งานตามเงื่อนไขต่ อไปนี ้ (10 คะแนน)

อธิบายการทํางานของโปรแกรม
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
2. ออกแบบวงจรควบคุมการทํางานของรอกยกของตามเงื่อนไขดังต่ อไปนีพ้ ร้ อมแสดง
การต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พุต (15คะแนน)
- กด SW1 สัง่ งานมอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกา
- กด SW2 สัง่ งานมอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา
- มอเตอร์กลับทางหมุนได้ทนั ที
3. ออกแบบวงจรควบคุมการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส แบบหยุดก่ อนกลับทางหมุนพร้ อม
กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พุต และแสดงการต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พุต
(15 คะแนน) 

 
ใบงานที่ 11
วิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า รหัส 2104-2114
หน่ วยที่ 11 การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
เรื่ อง ปฏิบตั ิการควบคุมมอเตอร์
จุดประสงค์ การสอน
จุดประสงค์ ท่ วั ไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส ได้
2. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส ได้
3. ตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมได้
4. ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ได้
5. นักเรี ยนทํางานด้วยความระมัดระวัง

รายการสอน
1. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส
2. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส

เครื่ องมือ
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. คอมพิวเตอร์
3. ชุดฝึ กควบคุมมอเตอร์

วัสดุอุปกรณ์
1. สายต่อ
2. มัลติมิเตอร์
3. ไขควง
ลําดับขัน้ การปฏิบัตงิ าน
1. ออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส ได้
เงื่อนไขการทํางาน ออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์แบบสตาร์ทตรง กดสวิตช์สตาร์ท (00)มอเตอร์ทาํ งาน กด
สวิตช์หยุดทํางาน (01) มอเตอร์หยุดทํางาน

1.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ไดอะแกรม
1.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง
1.3 Download Program to PLC
1.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
1.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC

รูปที่ 11.2 การต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พตุ


1.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ............................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
1.7 สรุ ปผลการทดลอง
................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

2. ออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส ได้


เงื่อนไขการทํางาน ออกแบบวงจรกลับทางหมุนมอเตอร์แบบหยุดก่อนกลับทางหมุน โดยกด
สวิตช์ 01 มอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกา กดสวิตช์ 02 มอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา กดสวิตช์ 03
หยุดการทํางาน
2.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ไดอะแกรม
2.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง

2.3 Download Program to PLC


2.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
2.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
รูปที่ 11.4 การต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พตุ
2.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ............................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2.7 สรุ ปผลการทดลอง
................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

3. ข้ อควรระวัง
3.1 จุดต่อสายต้องมัน่ คงและแข็งแรง
3.2 ควรต่อฟิ วส์ป้องกันทุกครั้ง
3.3 ถ้าไม่มนั่ ใจให้ปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนก่อนทุกครั้ง
3.4 ควรทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนการทํางานจริ ง
3.5 ตรวจสอบขนาดแรงดันที่ Name Plate ของมอเตอร์ทุกครั้งก่อนต่อใช้งานจริ ง
3.6 ทํางานด้วยความระมัดระวัง
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 11 เรื่องการประยุกต์ ใช้ งาน PLC ควบคุมมอเตอร์

คําสั่ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย กากบาทลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว


2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 15 ข้อ
1. ถ้ าเราต้ องการออกแบบวงจรกลับทางหมุนคุมมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงข้ อใดถูกต้ องที่สุด
ก. ใช้เอาท์พตุ 3 ตัว ข. ต้องใช้รีเลย์จาํ นวน 2 ตัว
ค. ใช้ตวั ตั้งเวลา 1 ตัว ง. ใช้อินพุต 2 ตัว

2. จากรู ปที่ 11.1 ถ้ าต้ องการให้ มอเตอร์ 2 ตัวทํางานสลับกันได้ ทนั ที โดยตัวใดทํางานก่ อนก็ได้ A
และ B ต้ องเป็ นหมายเลขใด
ก. 03 และ 02 ข. 02 และ 03
ค. 1004 และ 1003 ง. 1003 และ 1004

3. จากรู ปที่ 11.1 ถ้ าต้ องการให้ มอเตอร์ ทาํ งานได้ เพียงครั ง้ ละ 1 ตัว ถ้ าต้ องการให้ มอเตอร์ อีกตัว
ทํางานต้ องกดสวิตช์ หยุดก่ อนC และ D ต้ องเป็ นหมายเลขใด (A และ Bเป็ นสวิตช์ หยุดการทํางาน)
ก. 05 และ 100 ข. 1004 และ 1003
ค. 03 และ 02 ง. 02 และ 04
4. จากรู ปที่ 11.2 คําสั่ง OR 1000 ทําหน้ าที่ใดในวงจร
ก. เป็ นคําสัง่ หยุดวงจร ข. ต่อให้ TIM00 ทํางาน
ค. เป็ นอินพุตสําหรับสตาร์ทวงจร ง. ล็อกให้เอาท์พตุ ทํางานค้างสภาวะ
5. จากรู ปที่ 11.2 คําสั่ง TIM00 ทําหน้ าที่ใดในวงจร
ก. ตั้งเวลาเริ่ มทํางานใหม่
ข. สัง่ หยุดวงจรเมื่อเอาท์พตุ 1000 ทํางานครบ 10 วินาที
ค. สัง่ หยุดวงจรเมื่อเอาท์พตุ 1000 ทํางานครบ 100 วินาที
ง. เป็ นเอาท์พตุ แสดงผล
6. เหตุใดต้ องต่ อเอาท์ พุตของ PLC ควบคุมรี เลย์ แทนการควบคุมมอเตอร์ โดยตรง
ก. เพิ่มจุดในการควบคุม ข. ลดอันตรายเนื่องจากการลัดวงจร
ค. จุดต่อของ PLC ไม่เพียงพอ ง. หน้าสัมผัสของเอาท์พตุ ทนกระแสได้ต่าํ

7. จากรู ปที่ 11.3 ข้ อใดถูกต้ องที่สุด


ก. คําสัง่ OR 1000 ทําหน้าที่ทาํ ให้เกิดการทํางานเรี ยงลําดับ
ข. กดสวิตช์ 00 และ 01 จะทําให้ M1 และ M2 ทํางาน
ค. สวิตช์ 1000 และ 01 ทําให้ M2 หยุดทํางาน
ง. คําสัง่ AND NOT 03 เป็ นสวิตช์หยุดการทํางานของมอเตอร์
8. จากรู ปที่ 11.3 ถ้ าต้ องการให้ มอเตอร์ ทาํ งานสลับกันได้ แบบทันทีทันใดข้ อใดถูกต้ อง
ที่สุด
ก. เปลี่ยนคําสั่ง AND NOT 02 เป็ น AND NOT 03
ข. ลบคําสัง่ AND 1000 และ AND NOT 03 ออก
ค. ลบคําสัง่ AND 1000 ออก เปลี่ยน AND 04 เป็ น AND 05
ง. ลบคําสัง่ AND 1000 ออก เปลี่ยน AND NOT 04 เป็ น AND NOT 01 เปลี่ยน AND NOT
05 เป็ น AND NOT 00
9. จากรู ปที่ 11.3 การต่ อเอาท์ พุตข้ อใดถูกต้ องที่สุด
10. ข้ อใดมีหลักการทํางานเหมือนกับ รู ปที่ 11.4

11. ข้ อใดมีหลักการทํางานเหมือนกับ รู ปที่ 11.5


12. ข้ อใดมีหลักการทํางานเหมือนกับวงจรกลับทางหมุนแบบหยุดก่ อนกลับทางหมุน
13. จากวงจรในรู ปที่ 11.6 ถ้ าเอาท์ พุต 1000 และ 1001 ทํางานจะเป็ นอย่ างไร
ก. มอเตอร์สตาร์ทแบบเดลต้า ข. มอเตอร์หยุดทํางาน
ค. เกิดการลัดวงจร ง. มอเตอร์สตาร์ทแบบสตาร์

14. จากวงจรในรู ปที่ 11.6 ข้ อใดถูกต้ องที่สุด


ก. เอาท์พตุ 1001 ทํางานตลอดเวลา
ข. เอาท์พตุ 1000 และ 1001 ทํางานเป็ นเวลา 6 วินาที
ค. เอาท์พตุ 1000 ทํางานตลอดเวลา
ง. เอาท์พตุ 1001 และ 1002 ทํางานตลอดเวลา

15. ในรู ปที่ 11.6 ถ้ า TIM00 หยุดทํางานจะมีผลอย่ างไร


ก. มอเตอร์หยุดทํางาน ข. มอเตอร์ไม่สามารถสตาร์ทได้
ค. มอเตอร์ทาํ งานแบบเดลต้าอย่างเดียว ง. มอเตอร์ทาํ งานแบบสตาร์อย่างเดียว
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 11 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์
1.

อธิบายการทํางานของโปรแกรม
เอาท์พตุ ที่มี Com ร่ วมกัน 2 หรื อ 3 จุด ไม่สามารถใช้โหลดที่มีระดับแรงดันต่างกันได้ เช่น เอาท์พตุ ตัว
แรกใช้แรงดัน 220 โวลท์เอาท์พตุ ตัวที่สองใช้ไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดัน 12 โวลท์

2.
3.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1.ง
2.ง
3.ค
4.ก
5.ข
6.ข
7.ก
8.ก
9.ค
10.ข
11.ง
12.ค
13.ข
14.ง
15.ค
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 11 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมมอเตอร์

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ าได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 12
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
17
ชื่อหน่วย การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิ วเมติกส์ คาบรวม 68

ชื่อเรื่อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์ จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. ความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง
ด้านทักษะ
2. วงจรควบคุมวาล์ว  5/2 กับวงจรควบคุมวาล์ว 3/2
ด้านจิตพิสยั
3. วงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ า
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
4. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด

สาระสํ าคัญ
1. การทํางานของวาล์ว 3/2 เคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง โดยปกติลมจาก P จะไม่สามารถออกสู่ A
ได้เมื่อเราจ่ายไฟให้โซลินอยด์โครงสร้างภายในของวาล์วจะเปลี่ยนตําแหน่ง ลมจาก P จะออกสู่ A ได้ เมื่อเราหยุด
จ่ายไฟวาล์วจะเคลื่อนที่กลับเองด้วยแรงสปริ ง ลมจาก P จะไม่สามารถออกสู่ A ได้เหมือนเดิม
  2. การทํางานของวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ งโดยปกติลมจาก P จะออกสู่ B ได้ เมื่อเรา
จ่ายไฟให้โซลินอยด์โครงสร้างภายในของวาล์วจะเปลี่ยนตําแหน่งลมจาก P จะออกสู่ A เมื่อเราหยุดจ่ายไฟวาล์ว
จะเคลื่อนที่กลับเองด้วยแรงสปริ งลมจาก P จะเปลี่ยนทิศทางกลับมาออกที่ A ได้เหมือนเดิม
  3. การทํางานของวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปละกลับด้วยไฟฟ้ าโดยปกติลมจาก P จะออกสู่ Bได้ เมื่อเราจ่ายไฟ
ให้โซลินอยด์ (Y1) โครงสร้างภายในของวาล์วจะเปลี่ยนตําแหน่งลมจาก P จะออกสู่ A เมื่อเราหยุดจ่ายไฟวาล์ว
จะค้างตําแหน่ง เมื่อเราจ่ายไฟให้โซลินอยด์อีกด้าน (Y2) วาล์วจะเปลี่ยนตําแหน่งลมจาก P จะเปลี่ยนทิศทาง
กลับมาออกที่ B เหมือนเดิม
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ควบคุมระบบนิวเมติกส์

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
เครื่องปั๊มยางดิบ
เมื่อกดสวิตช์สตาร์ทกระบอกสู บจะเคลื่อนที่ออกมากดยางดิบโดยที่หวั กระบอกสู บจะเป็ นลวดความร้อน
สําหรับขึ้นรู ปยางดิบตามต้องการเมื่อกระบอกสู บเคลื่อนที่ออกสุ ดช่วงชักรอเวลา 10 วินาที แล้วเคลื่อนที่กลับเอง
อัตโนมัติ ให้ทาํ งานทั้งหมด 3 รอบแล้วหยุดทํางาน เมื่อเปลี่ยนชิ้นงานแล้วกดสวิตช์สตาร์ทใหม่ การทํางานจะเป็ น
ลักษณะเดิมตลอด ถ้ากดสวิตช์หยุดระบบจะหยุดการทํางาน ถ้ากดสวิตช์สตาร์ทกระบอกสู บจะเริ่ มทํางาน และนับ
รอบใหม่

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการอธิบายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง (ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีทกั ษะการเปรี ยบเทียบวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 กับวงจรควบคุมวาล์ว 3/2 (ด้ านทักษะ)
3. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการอภิปรายวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ า(ด้ านจิ ตพิสัย)
4. เพื่อรู ้จกั รวบรวมประโยชน์ของสัญญาจ้างต่างๆเพือ่ นําไปใช้ให้ถูกวิธี (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ งได้ (ด้ านความรู้ )
2. เปรี ยบเทียบวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 กับวงจรควบคุมวาล์ว 3/2 ได้ (ด้ านทักษะ)
3. อภิปรายวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ าได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
4. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด (ด้ าน
คุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
ในบทนี้ จะกล่าวถึงการประยุกต์ใช้งาน PLC เพื่อควบคุมอุปกรณ์ในระบบนิ วแมติกส์ไฟฟ้ า
ระบบนิ วแมติกส์ไฟฟ้ านั้นประกอบด้วยวงจรกําลังที่อาศัยลมเป็ นต้นกําลัง และวงจรควบคุมซึ่ งใช้ไฟฟ้ ามา
ควบคุมการทํางานของวาล์วเปลี่ยนทิศทางลม ในวงจรกําลังประกอบด้วยวาล์วเปลี่ยนทิศทางลม และกระบอกสู บ
ส่ วนวงจควบคุมประกอบด้วยสวิตช์ และโซลินอยด์วาล์ว ในบางวงจรอาจใช้รีเลย์ดว้ ยแล้วแต่เงื่อนไขของ

รู ปที่ 12.1 แสดงวงจรนิวแมติกส์ไฟฟ้ า


พิจารณาวงจรกําลัง ในส่ วนของวงจรกําลังประกอบด้วยวาล์ว 5/2 แบบเคลื่อนที่ไป – กลับด้วยไฟฟ้ า ลม
จะต่อเข้าที่รู P ของวาล์ว และออกที่รู B ทําให้ลูกสู บเคลื่อนที่ในตําแหน่งเข้าในสุ ดถ้าต้องการให้ลูกสู บเคลื่อนที่
ออกต้องจ่ายไฟให้โซลินอยด์ Y1 ถ้าต้องการให้ลูกสู บเคลื่อนที่เข้าต้องจ่ายไฟให้โซลินอยด์
พิจารณาวงจรควบคุมถ้ากดสวิตช์ S1 จะทําให้โซลินอยด์ Y1 ทํางาน ทําให้ลูกสู บในส่ วนของวงจรกําลัง
เคลื่อนที่ออก เมื่อกดสวิตช์ S2 ทําให้โซลินอยด์ Y2 ทํางานทําให้ลูกสู บในส่ วนของวงจรกําลังเคลื่อนที่
เพราะฉะนั้นการใช้ PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์จะใช้วงจรกําลังเหมือนเดิมและใช้ PLCมาทดแทนใน
ส่ วนของวงจรควบคุม
สาระน่ารู ้ : การควบคุมระบบนิวแมติกส์ตอ้ งดูรายละเอียดการต่อใช้งานเกี่ยวกับ ลิมิตสวิทช์ของนิวแม
ติกส์ให้ดี เพราะบางครั้งลิมิตสวิทช์อาจถูกกดทับอยูท่ าํ ให้หน้าสัมผัสเปลียนเป็ นตรงข้าม
12.1 การควบคุมวาล์ ว 3/2 เคลือ่ นทีด่ ้ วยไฟฟ้ ากลับด้ วยสปริง
การออกแบบโปรแกรมเพื่อประยุกต์ ใช้งานจะแสดงเป็ นลําดับขั้นดังต่อไปนี้
รู ปที่ 12.2 ตัวอย่างเครื่ องปั๊ มยางดิบและวงจรกําลัง
12.1.1 เงื่อนไขการทํางาน เครื่ องปั๊ มยางดิบเมื่อกดสวิตช์สตาร์ทกระบอกสู บจะเคลื่อนที่ออกมากดยางดิบ
โดยที่หวั กระบอกสู บจะเป็ นลวดความร้อนสําหรับขึ้นรู ปยางดิบตามต้องการเมื่อกระบอกสู บเคลื่อนที่ออกสุ ดช่วง
ชักรอเวลา 10 วินาที แล้วเคลื่อนที่กลับเองอัตโนมัติ ให้ทาํ งานทั้งหมด 3 รอบแล้วหยุดทํางาน เมื่อเปลี่ยนชิ้นงาน
แล้วกดสวิตช์สตาร์ทใหม่ การทํางานจะเป็ นลักษณะเดิมตลอด ถ้ากดสวิตช์หยุดระบบจะหยุดการทํางาน ถ้ากด
สวิตช์สตาร์ทกระบอกสู บจะเริ่ มทํางาน และนับรอบใหม่
12.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
ตารางที่ 12.1 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
12.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 12.3 โปรแกรมเครื่ องปั๊ มยางดิบ


12.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 12.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เครื่ องปั๊ มยางดิบ


12.2 การควบคุมวาล์ ว 5/2 เคลือ่ นทีด่ ้ วยไฟฟ้ ากลับด้ วยสปริง
12.2.1 การควบคุมแบบธรรมดา
12.2.1.1 เงื่อนไขการทํางาน จากรู ปเป็ นแม่แรงยกรถขนาดใหญ่ใช้กระบอกสู บสองทางเพื่อยก
รถขึ้นขณะทําการซ่อมบํารุ ง ถ้าต้องการยกรถให้สูงขึ้นกดสวิตช์ S0 ถ้าต้องการให้รถตํ่าลงให้กดสวิตช์ S1

รู ปที่ 12.5 ตัวอย่างแม่แรงยกรถและวงจรกําลัง

12.2.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ

ตารางที่ 12.2 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ


12.2.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 12.6 โปรแกรมแม่แรงยกรถ


12.2.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 12.7 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ


12.2.2 การควบคุมแบบต่อเนื่องลักษณะงานควบคุมแบบต่อเนื่องจะต้องมีกระบอกสู บ
ตั้งแต่สองกระบอกขึ้นไปการทํางานแต่ละขั้นตอนมีความสัมพันธ์กนั
12.2.2.1 เงื่อนไขการทํางาน เป็ นไปตามข้อกําหนดดังนี้ A + B + A - B –

ข. วงจรกําลัง
รู ปที่ 12.8 เครื่ องทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงาน
12.2.2.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
ตารางที่ 12.3 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
12.2.2.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 12.9 โปรแกรมเครื่ องทดสอบชิ้นงาน


12.2.2.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 12.10 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


12.3 การควบคุมวาล์ ว 5/2 เคลือ่ นทีไ่ ปและกลับด้ วยไฟฟ้า
12.3.1 การควบคุมแบบต่อเนื่อง
12.3.1.1 เงื่อนไขการทํางานเป็ นไปตามข้อกําหนดดังนี้ A + B + A – B – จากรู ปเป็ นเครื่ อง
เครื่ องทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงานจากรู ปที่ 12.6 เรานํามาควบคุมใหม่ดว้ ยวาล์วที่เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ า
ทั้งสองด้าน

ข. วงจรกําลัง
รู ปที่ 12.11 เครื่ องทดสอบความแข็งแรงของชิ้นงาน
12.3.1.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
ตารางที่ 12.4 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ

สาระน่ารู ้ : การต่อใช้งานเซนเซอร์มีขอ้ ควรระวังในเรื่ องใดบ้าง


12.3.1.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบจากเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 12.12 โปรแกรมเครื่ องทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ


12.3.1.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 12.13 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC


12.3.2 การควบคุมกรณี เกิดสัญญาณซ้อน สัญญาณซ้อนเกิดจากระบอกสู บตัวเดียวกันเคลื่อนที่
เข้าและออกในจังหวะต่อกัน จะทําให้โซลินอยด์วาล์วทํางานพร้อมกันทั้งสองด้าน การแก้ปัญหานั้นทําได้หลาย
วิธี เช่น การใช้ตวั ตั้งเวลา การแยกสัญญาณแบบแคสเคด หรื อการแยกสัญญาณแบบซิ ฟท์รีจิสเตอร์ ในบทนี้จะ
ยกตัวอย่างการออกแบบวงจรคล้ายลักษณะของวงจรแยกสัญญาณแบบแคสเคดที่เป็ นวงจรรี เลย์
12.3.2.1 เงื่อนไขการทํางานชิ้นงานเคลื่อนที่มาตามสายพานลําเลียงเพื่อเจาะรู โดยหัวเจาะจะติด
อยูก่ บั กระบอกสู บ C เมื่อชิ้นงานเคลื่อนที่มาถึงจุดที่กาํ หนดกระบอกสู บ A และ B จะเคลื่อนที่ออกพร้อมกันเพื่อ
จับชิ้นงานให้แน่นแล้วกระบอกสู บ C ซึ่ งติดกับหัวเจาะ จะเคลื่อนที่ออกมาอย่างช้า ๆ เพื่อเจาะชิ้นงาน แล้ว
เคลื่อนที่กลับ เมื่อกระบอกสู บ C เคลื่อนที่กลับ กระบอกสู บ A และ B เคลื่อนที่กลับพร้อมกัน

รู ปที่ 12.14 เครื่ องเจาะชิ้นงาน


12.3.2.2 รายละเอียดอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
ตารางที่ 12.5 ตารางอุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ

12.3.2.3 โปรแกรมที่ถูกออกแบบตามเงื่อนไขที่กาํ หนด

รู ปที่ 12.15 โปรแกรมเครื่ องเจาะชิ้นงาน


12.3.2.4 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ เข้ากับ PLC

รู ปที่ 12.16 การต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ


ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 2-3)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 4)
3. วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้เกิดความยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที )
1. ผูส้ อนจัด เตรี ย มเอกสาร พร้ อ มกับ แนะนํา 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และฟั งครู ผูส้ อนแนะนํา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยน หน่วยที่ 12 เรื่ อง วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยน หน่วยที่ 12 เรื่ อง
การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
2. ผูส้ อนแจ้ง จุ ดประสงค์การเรี ยนของหน่ ว ย 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ ยวกับจุ ดประสงค์การ
เรี ยนที่ 13 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC
นิ วเมติกส์ และขอให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมการ ควบคุมระบบนิวเมติกส์
เรี ยนการสอน 3. ผูเ้ รี ยนอธิ บายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ย
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนอธิ บายความหมายของการ ไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง โดยขอคําแนะนําจากผูส้ อนหรื อ
เคลื่ อนที่ ด้วยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ ง พร้ อมให้เหตุ ผล ศึกษาจากเอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรม
ประกอบ และควบคุมไฟฟ้ า
2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที )
1. ผู ้ ส อ น แ น ะ นํ า วิ ธี ก า ร ใ ช้ บ ท เ รี ย น 1. ผู ้เ รี ย นศึ ก ษาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ช่ ว ย ส อ น ป ร ะ ก อ บ กั บ เ อ ก ส า ร ประกอบกับเอกสารประกอบการสอนวิชา สอน การ
ประกอบการสอนวิ ช าสอน การโปรแกรมและ โปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า หน่ วยที่ 12 เรื่ อง การ
ควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
ควบคุมระบบนิวเมติกส์ 4. ผูเ้ รี ยนซักถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้น ในเรื่ อง การ
2. ผูส้ อนเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนถามปั ญหา และ ประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
ข้อสงสัยจากเนื้อหา โดยครู เป็ นผูต้ อบปั ญหาที่เกิดขึ้น 2. ผูเ้ รี ยนตั้งคําถามคนละ 1 ข้อ พร้อมเรี ยกเพื่อน
ระหว่างการเรี ยนการสอน เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ตอบ
ควบคุมระบบนิวเมติกส์
3. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนตั้งคําถามที่ได้จากการเรี ยน
การสอนคนละ 1 ข้อ และเรี ยกเพือ่ นตอบ
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ (115 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ (115 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทําแบบฝึ กหัดหน่ ว ยที่ 12 1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ย นทํา แบบฝึ กหัด หน่ ว ยที่ 12
เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์ เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนสื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ
อินเทอร์เน็ตหรื อแหล่งความรู ้ต่างๆ แหล่งความรู ้ต่างๆ

4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (15 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 15 นาที )


1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผู ้ส อนและผูเ้ รี ย นแบบทดสอบหลัง เรี ย น 2. ผูเ้ รี ยนแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 12 หน้า
หน่วยที่ 12 หน้า 407 407
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-4) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-4)
(รวม 240 นาที หรื อ 1 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 12
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 12 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบ
นิวเมติกส์
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานหน่วยที่ 12
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเม
ติกส์

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 12

คําถาม
1. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการใช้PLCควบคุมระบบนิวแมติกส์
2. ออกแบบวงจรควบคุมการทํางานของกระบอกสู บสองทางตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- สํารวจ ตรวจสอบเรื่ องเวกเตอร์

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิ วเมติกส์ ที่จดั ทํา
ขึ้นได้ทาํ ให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิ วเมติกส์ ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถ
นําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน การทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครอง
ได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 12 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)
3. ใบงานที่ 12 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-3)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์

สื่ อของจริง
การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุ มระบบนิ วเมติ กส์ (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุ ดประสงค์เชิ ง
พฤติกรรมข้อที่ 1-4)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับ วิทยาศาสตร์
2. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริ การ
การประเมินผลการเรียนรู้
 หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
1. สังเกตการทํางาน
2. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 12
3. ตรวจใบงานที่ 12

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 12

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 12 เรื่ อง การประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ งได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายความหมายของการเคลื่อนที่ดว้ ยไฟฟ้ ากลับด้วยสปริ งได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 เปรี ยบเทียบวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 กับวงจรควบคุมวาล์ว 3/2 ได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : เปรี ยบเทียบวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 กับวงจรควบคุมวาล์ว 3/2 ได้ จะได้
2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 อภิปรายวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ าได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : อภิปรายวงจรควบคุมวาล์ว 5/2 เคลื่อนที่ไปกลับด้วยไฟฟ้ าได้ จะได้ 2
คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้เกิดความ


ยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : วางหลักการสิ ทธิและหน้าที่ของระบบนิวเมติกส์เพื่อให้เกิดความ
ยุติธรรมต่อสังคมมากที่สุด จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 12
หน่ วยที่ 12 เรื่องการประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์ ไฟฟ้า
คําชีแ้ จง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. จงออกแบบโปรแกรมควบคุมกระบอกสูบทางเดียว เมื่อกดสวิตช์ สตาร์ ทให้ ลูกสูบเคลื่อนที่ออก –
เข้ า จํานวน 10 ครั ง้ แล้ วหยุด ต้ องกดสวิตช์ หยุดการทํางานก่ อนจึงจะเริ่ม กดสตาร์ ทใหม่ (10 คะแนน)

 
2. ออกแบบวงจรควบคุมการทํางานของกระบอกสูบสองทางตามเงื่อนไขดังต่ อไปนี(้ 10 คะแนน)
- กด SW1 รอเวลา 10 วินาทีลูกสู บเคลื่อนที่ออก
- กด SW2 รอเวลา 5 วินาทีลกู สู บเคลื่อนที่เข้า
3. ออกแบบวงจรควบคุมกระบอกสูบสองทางทํางานแบบต่ อเนื่อง A+B+C+A-B-C-พร้ อมแสดงการต่ อ
อุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พุตเข้ ากับ PLC (20 คะแนน)
ใบงานที่ 12
หน่ วยที่ 12 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์
จุดประสงค์ การสอน  
จุดประสงค์ ท่ วั ไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมกระบอกสู บทางเดียวได้
2. ออกแบบโปรแกรมสําหรับงานควบคุมกระบอกสู บสองทางได้
3. ตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรมได้
4. ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ ได้
5. นักเรี ยนทํางานด้วยความระมัดระวัง

รายการสอน
1. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุมกระบอกสู บทางเดียว
2. การออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในการควบคุมกระบอกสู บสองทาง

เครื่ องมือ 
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. คอมพิวเตอร์
3. ชุดฝึ กนิวแมติกส์ไฟฟ้ า

วัสดุอุปกรณ์
1. สายต่อ
2. ข้อต่อสามทาง
3. สายไฟฟ้ า
ลําดับขัน้ การปฏิบัตงิ าน
1. ออกแบบวงจรควบคุมกระบอกสูบทางเดียว
เงื่อนไขการทํางาน กดสวิตช์ 00 กระบอกสู บเคลื่อนที่ออกสุ ดช่วงชักชนลิมิตสวิตช์ S1 (01)รอเวลา 10
วินาทีลกู สู บเคลื่อนที่กลับ เมื่อกดสวิตช์ 00 จะเริ่ มทํางานใหม่

รูปที่ 11.1 วงจรกําลังกระบอกสูบทางเดียว

1.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ ไดอะแกรม

1.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง

1.3 Download Program to PLC


1.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
1.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
รูปที่ 11.3 การต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พตุ  
 
1.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ............................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
1.7 สรุ ปผลการทดลอง
................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2. ออกแบบวงจรควบคุมกระบอกสูบสองทาง
เงื่อนไขการทํางาน ถ้ากดสวิตช์ 00 ค้างตําแหน่ง จะมีการทํางานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
A+B+A-B- จนกว่าจะหยุดกดสวิตช์

รูปที่ 11.4 วงจรกําลังกระบอกสูบสองทาง

2.1 ออกแบบวงจรแลดเดอร์ ไดอะแกรม

2.2 กําหนดรายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ลงในตาราง

ตารางที่ 12.2 รายละเอียดของอุปกรณ์ต่าง ๆ

2.3 Download Program to PLC


2.4 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ
2.5 ต่ออุปกรณ์อินพุตและเอาท์พตุ กับ PLC
 
รูปที่ 11.6 การต่ ออุปกรณ์ อินพุตและเอาท์ พตุ

2.6 ทดสอบการทํางาน
เมื่อกดสวิตช์ ............................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
2.7 สรุ ปผลการทดลอง
................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
3. ข้ อควรระวัง
3.1 จุดต่อสายต้องมัน่ คงและแข็งแรง
3.2 ควรต่อฟิ วส์ป้องกันทุกครั้ง
3.3 ถ้าไม่มนั่ ใจให้ปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนก่อนทุกครั้ง
3.4 ควรทดสอบการทํางานของโปรแกรมก่อนการทํางานจริ ง
3.5 ทํางานด้วยความระมัดระวัง
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 12 เรื่องการประยุกต์ ใช้ งาน PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์
คําสั่ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย กากบาทลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 15 ข้อ
1. ข้ อใดถูกต้ องที่สุดเกี่ยวกับการใช้ PLCควบคุมระบบนิวแมติกส์
ก. เอาท์พตุ ของ PLC ที่ใช้ตอ้ งเป็ นแบบอนาล็อกเท่านั้น
ข. เราใช้PLCควบคุมโซลินอยด์วาล์วของระบบนิวแมติกส์
ค. เอาท์พุตของพีแอลซีตอ้ งทนกระแสได้สูง
ง. ใช้ควบคุมโซลินอยด์วาล์วที่มีแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรง 24 โวลต์เท่านั้น

รูปที่ 11.1 ใช้ ตอบคําถามข้ อ 2


2. จากรู ปที่ 12.1 ข้ อใดถูกต้ องที่สุด
ก. ต้องต่ออินพุตทั้งหมด 3 จุด
ข. ถ้าโซลินอยด์วาล์ว Y1 ทํางานลูกสู บจะเคลื่อนที่เข้า
ค. โซลินอยด์วาล์ว Y1 ต่อกับเอาท์พตุ ของ PLC จุดเดียว
ง. โซลินอยด์วาล์ว Y1 และ TIM00 ต่อกับเอาท์พตุ ของ PLC
3. จากรู ปที่ 12.2 ถ้ าต้ องการกดสวิตช์ สตาร์ ทลูกสูบเคลื่อนที่ออกรอเวลา 5 วินาทีลูกสูบเคลื่อนที่กลับ
เองอัตโนมัติข้อใดถูกต้ องที่สุด

4. จากรู ปที่ 12.2 การต่ อเอาท์ พุตข้ อใดถูกต้ อง

5. จากรู ปที่ 12.2 การต่ ออินพุตข้ อใดถูกต้ อง


 
 
 

6. จากตารางในรู ปที่ 12.3 ข้ อใดถูกต้ องที่สุด


ก. สวิตช์ 2 ต่อกับอินพุต 02
ข. สวิตช์ 1 ต่อกับอินพุต 01
ค. โซลินอยด์วาล์ว Y2 ต่อกับเอาท์พตุ 1002
ง. โซลินอยด์วาล์ว Y1 ต่อกับเอาท์พตุ 1000

7. จากรู ปที่ 12.3 ถ้ าต้ องการให้ ลูกสูบเคลื่อนที่เข้ าออก 10 ครั ง้ แล้ วหยุด 5 วินาที แล้ วเริ่ มสตาร์ ทใหม่
ได้ ตรงกับแลดเดอร์ ไดอะแกรมข้ อใด

8. จากรู ปที่ 12.3 ถ้ าเพิ่มคําสั่ง AND NOT CNT00 ก่ อนคําสั่ง OUT 1002 จะมีผลอย่ างไร
ก. การทํางานเหมือนเดิม
ข. กระบอกสู บเคลื่อนที่เข้าและออกจํานวนมากขึ้นกว่าเดิม
ค. กระบอกสู บหยุดทํางานค้างตําแหน่งในตําแหน่งออกสุ ด
ง. กระบอกสู บไม่สามารถสตาร์ทได้

9. จากรู ปที่ 12.3ข้ อใดคือการต่ ออินพุตกับ PLC


10. จากรู ปที่ 12.3ข้ อใดคือการต่ อเอาท์ พุตกับ PLC
11. จากรู ปที่ 12.4 ข้ อใดถูกต้ องที่สุด
ก. ใช้ตวั ตั้งเวลา 2 ตัว ข. ใช้รีเลย์ช่วย 3 ตัว
ค. ใช้อินพุตจํานวน 6 ตัว ง. ใช้เอาท์พตุ จํานวน 5 ตัว

12. จากรู ปที่ 12.4 เอาท์ พุตใดทํางานกระบอกสูบB จะเคลื่อนที่เข้ า


ก. 1003 ข. 1005
ค. 1001 ง. 1002
13. จากรู ปที่ 12.4 ข้ อใดไม่ ใช่ ลิมติ สวิตช์
ก. S6 ข. S4
ค. S2 ง. S0

14. จากรู ปที่ 12.4 การต่ อลิมิตสวิตช์ ข้อใดถูกต้ องที่สุด


ก. สวิตช์ S1, S3, S5 ต่อหน้าสัมผัสปกติเปิ ด
ข. ต่อสวิตช์หน้าสัมผัสปกติเปิ ดเท่านั้น
ค. เฉพาะ S1, S3, S5 ต่อหน้าสัมผัสปกติปิด
ง. เฉพาะ S2, S3, S4 ต่อหน้าสัมผัสปกติปิด

15. จากรู ปที่ 12.4 ถ้ ากระบอกสูบ Bไม่ เคลื่อนที่ออกให้ ดเู อาท์ พุตตัวใด
ก. Y4, SW2 ข. SW2
ค. Y1, Y3 ง. Y3

แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ

แบบประเมินกระบวนการทํางาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 12 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์
1.

2.
3.
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1.ค
2.ก
3.ข
4.ข
5.ง
6.ก
7.ก
8.ข
9.ค
10.ก
11.ข
12.ง
13.ข
14.ก
15.ค
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 12 การประยุกต์ ใช้ PLC ควบคุมระบบนิวเมติกส์

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนควบคุมระบบนิวเมติกส์ได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด
แผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการเรียนรู้ ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรี ยนรู ้/การเรี ยนรู ้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 13
ชื่อวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล สอนสัปดาห์ที่
18
ชื่อหน่วย การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม คาบรวม 72

ชื่อเรื่อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม จํานวนคาบ 4


หัวข้ อเรื่อง
ด้านความรู ้
1. เปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รอง
2. ลักษณะของการประกอบ PLC
ด้านทักษะ
3. เขียนโปรแกรมเพือ่ ทดสอบความผิดพลาด
ด้านจิตพิสยั
4. โปรแกรม CX-ONE
ด้านคุณธรรม จริ ยธรรม
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม

สาระสํ าคัญ
1. การถอดและประกอบ PLC ต้องกระทําในกรณี ของการซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนอุปกรณ์บางตัว เช่น รี เลย์
ฟิ วส์ หรื อสลายทองแดง
2. การเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รอง ในการใช้งาน PLC อุปกรณ์ที่เราสามารถซ่อมแซมหรื อ
เปลี่ยนเองได้น้ นั มีจาํ นวนไม่มากนัก เช่น รี เลย์ ฟิ วส์ มีความจําเป็ นต้องส่ งซ่อมกับบริ ษทั โดยตรง
3. โปรแกรม CX-ONE เป็ นโปรแกรมที่ใช้สาํ หรับเขียนโปรแกรมให้กบั PLC ยี่ห้อOMRON เป็ น
โปรแกรมรุ่ นใหม่ล่าสุ ดมี การพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ง่ายต่อการใช้งาน โดยสามารถนํา โปรแกรมที่ เขียนด้วย
โปรแกรม Syswin 3.4 มาแก้ไขในโปรแกรมนี้ได้ การใช้งานมีลกั ษณะไม่แตกต่างจาก โปรแกรม Syswin 3.4
4. การ Simulation เป็ นการทดสอบการทํางานของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยไม่ตอ้ งต่อ PLC ซึ่งโปรแกรม
Syswin 3.4 ไม่สามารถทําได้
5. การแก้ไขข้อผิดพลาดของโปรแกรมกรณี เกิดการผิดพลาด (Error) ต่าง ๆ ซึ่ งเกิดจากการเขียน
โปรแกรม จะแสดงในรู ปแบบของไฟโชว์สีแดงที่ตวั PLC และแสดงข้อความบอกในกรณี ใช้โปรแกรมมิ่ง
คอนโซล ในการเขียนโปรแกรม เราต้องแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก่อนจึงจะทําการเขียนโปรแกรมต่อไป 
สมรรถนะอาชีพประจําหน่ วย
- ออกแบบโปรแกรมจากวงจรรี เลย์

คําศัพท์ สําคัญ
ความหมายของคําสั่ งหรือคําแนะนํา
ความหมายและลักษณะของสั ญญาประกันภัย
มาตรา 863 บัญญัติว่า “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้าผูเ้ อาประกันภัยมิได้มีส่วนได้เสี ยในเหตุที่ประกันภัย
ไว้ ท่านว่าย่อมไม่ผูกพันคู่สัญญาแต่อย่างหนึ่ งอย่างใด” มาตรานี้ กาํ หนดให้ผเู ้ อาประกันต้องมีความสัมพันธ์กบั
ทรัพย์สินที่เอาประกันไว้หรื อมีความสัมพันธ์กบั ชีวิตของผูท้ ี่ตนเอาประกันไว้ ถ้ามีวินาศภัยหรื อความตายเกิดขึ้น
จะมีผลกระทบมาถึงผูเ้ อาประกัน ที่บญ ั ญัติเช่นนี้ เพื่อเป็ นการป้ องกันการจงใจก่อให้เกิดวินาศภัย แก่ทรัพย์ที่เอา
ประกัน หรื ออันตรายที่อาจเกิดแก่ผเู ้ อาประกันชีวิต เพื่อที่จะมีสิทธิรับเงินประกัน

จุดประสงค์ การสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการอธิบายวิธีการเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รอง(ด้ านความรู้ )
2. เพื่อให้มีความรู ้เรื่ องการบรรยายลักษณะของการประกอบ PLC (ด้ านความรู้ )
3. เพื่อให้มีทกั ษะสาธิตการสาธิตเขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบความผิดพลาดของโปรแกรม (ด้ านทักษะ)
4. เพื่อให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงการอภิปรายใช้งานโปรแกรม CX-ONE (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. เพื่อศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม)
จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. อธิบายวิธีการเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รองได้ (ด้ านความรู้ )
2. บรรยายลักษณะของการประกอบ PLCได้ (ด้ านความรู้ )
3. สาธิตเขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบความผิดพลาดของโปรแกรมได้ (ด้ านทักษะ)
4. อภิปรายใช้งานโปรแกรม CX-ONEได้ (ด้ านจิ ตพิสัย)
5. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม (ด้ านคุณธรรม จริ ยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
13.1 การถอดและประกอบ PLC
การถอดและประกอบ PLC ต้องทําด้วยความระมัดระวังเนื่องจากโครงสร้างของ PLC เป็ นพลาสติกอาจ
เกิดความเสี ยหายได้ อุปกรณ์ภายในต่าง ๆ เป็ นอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก และควรประกอบ ด้วยความระมัดระวังเป็ น
อย่างมาก ขั้นตอนการถอดและประกอบมีดงั ต่อไปนี้
13.1.1 ใช้ไขควงปากแบนตัวเล็กงัดด้านข้างของ PLC ทําเช่นนี้ท้ งั สองด้าน ตัวของ PLC จะหลุดออกจาก
กันส่ วนหนึ่ง

รู ปที่ 13.1 การถอดโครงของ PLC


13.1.2 ถอดสายต่อทั้งสองเส้นที่เชื่อมต่อระหว่างบอร์ ดของแหล่งจ่ายไฟและหน่วยอินพุตและเอาท์พุต
ของ PLC

รู ปที่ 13.2 การถอดสายเชื่อมต่อบอร์ดของแหล่งจ่ายและและหน่วยอินพุตเอาท์พตุ


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
13.1.3 เปิ ดฝาปิ ดจุดต่ออินพุตและเอาท์พตุ ใช้ไขควงแบนตัวเล็กงัดช่องด้านบนที่มีร่องเล็ก ๆ อยูท่ ้ งั สี่ ดา้ น
เพื่อถอดโครงของ PLC ออกอีกส่ วนหนึ่ง ในส่ วนนี้จะเป็ นการแยกส่ วนประกอบระหว่าง หน่วยอินพุตและ
เอาท์พตุ กับ CPU ของ PLC ออกจากกัน

รู ปที่ 13.3 การถอด PLC ชุดบน


13.1.4 เมื่อยกโครงส่ วนบนออกจะมีสายไฟต่ออยูร่ ะหว่างบอร์ ดทั้งสองให้ถอดออกด้วยความ
ระมัดระวัง

รู ปที่ 13.4 การถอดสายต่อ CPU และ หน่วยอินพุตเอาท์พตุ


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
13.1.5 ขั้นตอนการประกอบให้เรี ยงลําดับย้อนหลังจากวิธีการถอด โดยก่อนประกอบต้อต่อ
สายไฟที่เชื่อมต่อระหว่างบอร์ดให้เรี ยบร้อย

รู ปที่ 13.5 PLC ที่ประกอบเรี ยบร้อยแล้ว

13.2 การเปลีย่ นรีเลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่สํารอง


การเปลี่ยนรี เลย์และฟิ วส์ ในกรณี ที่ได้รับความเสี ยหายนั้นมีความจําเป็ นอย่างมากที่ตอ้ งใช้ขนาดและ
พิกดั ของอุปกรณ์ให้เท่าเดิม และการเปลี่ยนหรื อซ่ อมนั้นมีความจําเป็ นต้องทําด้วยความระมัดระวัง โดยการ
กระทําแต่ละขั้นตอนต้องมีความเข้าใจในการถอดและประกอบ PLCเสี ยก่อน
13.2.1 การเปลี่ยนรี เลย์
13.2.1.1 ถอดส่ วนประกอบ PLC ออกจากกันและตรวจสอบบอร์ ดของอินพุตและเอาท์พุต
บริ เวณรี เลย์

รู ปที่ 13.6 การพิจารณาบอร์ดอินพุตและเอาท์พตุ


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
13.2.1.2 บัดกรี รีเลย์ตวั ที่ตอ้ งการออกจากหน่วยเอาท์พตุ

รู ปที่ 13.7 การบัดกรี รีเลย์ออกจากบอร์ด


13.2.1.3 บัดกรี รีเลย์ตวั ใหม่แทนที่รีเลย์เดิม

รู ปที่ 13.8 การเปลี่ยนรี เลย์


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551

สาระน่ารู ้ : การเปลี่ยนรี เลย์ควรใช้ขนาดพิกดั แรงดันและกระแสเท่าของเดิมที่เปลี่ยนออก


13.2.1.4 ตรวจสอบความเรี ยบร้อยและประกอบ PLC เข้าที่เดิม

รู ปที่ 13.9 การตรวจสอบความเรี ยบร้อยของการบัดกรี


13.2.2 การเปลี่ยนฟิ วส์
13.2.2.1 ถอดส่ วนประกอบ PLC ออกจากกัน
13.2.2.2 พิจารณาในส่ วนของวงจร Power Supply โดยบัดกรี ฟิวส์ตวั เดิมออกจากแผงวงจร

รู ปที่ 13.10 การตรวจสอบฟิ วส์


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
13.2.2.3 บัดกรี ฟิวส์ขนาดพิกดั เดิมเข้าแทนที่

รู ปที่ 13.11 การเปลี่ยนฟิ วส์


13.2.2.4 ตรวจสอบความเรี ยบร้อยและประกอบ PLC เข้าที่เดิม
13.2.3 การเปลี่ยนแบตเตอรี่ สาํ รอง การเปลี่ยนแบตเตอรี่ สาํ รองเนื่องจากแบตเตอรี่ สาํ รองหมด ถ้าเราใช้
งานโปรแกรมมิ่งคอนโซลป้ อนโปรแกรมจะมีขอ้ ความและเสี ยงเป็ นตัวบอกให้เราทราบและที่ตวั PLC จะมีไฟ
Error ติดโชว์ การเปลี่ยนต้องคํานึงถึงแรงดันและกระแสของแบตเตอรี่ ดว้ ย วิธีที่ดีที่สุดคือเทียบเคียงจากของเดิมที่
ใช้งานอยู่ ซึ่งแบตเตอรี่ จะใช้แรงดันที่ 3.6 โวลต์ ขั้นตอนการเปลี่ยนแบตเตอรี่ สาํ รองมีดงั นี้
13.2.3.1 ใช้ไขควงแบนงัดเปิ ดฝาครอบช่องใส่ แบตเตอรี่ สาํ รองออก

รู ปที่ 13.12 การเปิ ดฝาครอบแบตเตอรี่ สาํ รอง


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
13.2.3.2 ยกตัวแบตเตอรี่ สาํ รองออกมาจากช่องใส่ พร้อมถอดสายแบตเตอรี่ สาํ รองออก
จากจุดต่อสายที่ตวั PLC

รู ปที่ 13.13 การนําแบตเตอรี่ สาํ รองออก


13.2.3.3 บัดกรี สายต่อของแบตเตอรี่ สาํ รองตัวเก่าออก และบัดกรี สายต่อเข้ากับ
แบตเตอรี่ สาํ รองตัวใหม่

รู ปที่ 13.14 การบัดกรี สายไฟกับแบตเตอรี่


ที่มา : อํานาจ ชนพิทกั ษ์ แผนกช่างไฟฟ้ า 2551
สาระน่ารู ้ : การเปลี่ยนแบตเตอรี่ สาํ รองเมื่อถอดออกแล้วควรรี บใส่ ตวั ใหม่เข้าไปทันที
13.2.3.4 ต่อสายไฟแบตเตอรี่ สาํ รองเข้ากับตัว PLC และใส่ แบตเตอรี่ สาํ รองลงในช่อง
พร้อมกับปิ ดฝาครอบ

รู ปที่ 13.15 การต่อสายไฟของแบตเตอรี่ สาํ รองเข้ากับ PLC

13.3 การใช้ งานโปรแกรม CX-ONE


ในหน่วยที่ 8 เราได้ศึกษาเรื่ องการใช้งานโปรแกรม Syswin 3.4 ซึ่ งเป็ นโปรแกรมรุ่ นเก่า ในบทนี้เราจะ
ศึกษาการใช้งานโปรแกรม CX-ONE ซึ่งเป็ นโปรแกรมรุ่ นใหม่ล่าสุ ด เป็ นโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่พอสมควรและ
มากด้วยคุณภาพ ซึ่ งถ้าเรามีโปรแกรมที่เขียนด้วยโปรแกรมSyswin 3.4 เราสามารถเปิ ดด้วยโปรแกรม CX-ONE
ได้ การใช้งานโดยทัว่ ไปมีลกั ษณะคล้ายกับโปรแกรมSyswin 3.4 แต่อาํ นวยความสะดวกในการเขียนโปรแกรม
สําหรับผูใ้ ช้มากขึ้น และยังสามารถทดสอบการทํางานโดยไม่ตอ้ งต่อกับตัว PLC ได้
13.3.1 การเปิ ดโปรแกรม CX-ONE ให้คลิกที่ Start – All Program – Omron – CX – ONE – CX-
Programmer – CX – Programmer

รู ปที่ 13.16 การเปิ ดโปรแกรม CX-ONE


13.3.2 การกําหนดค่าเริ่ มต้นสําหรับการใช้งานเมื่อเปิ ดโปรแกรม CX-ONE จะพบกับโปรแกรมดังรู ปที่
13.15 เราต้องกําหนดค่า เริ่ มต้นให้กบั โปรแกรมสําหรับการใช้งานดังต่อไปนี้
13.3.2.1 คลิกที่เมนู File – NEW

รู ปที่ 13.17 การตั้งค่าใช้งาน


13.3.2.2 จะปรากฏหน้าต่าง Change PLC ดังรู ป

รู ปที่ 13.18 หน้าต่าง Change PLC


13.3.2.3 ในช่อง Device Type ให้เราเลือกรุ่ นของ PLC ที่เราใช้งานอยู่ ในที่น้ ีเลือกCPM2*

รู ปที่ 13.19 การกําหนด Device Type


13.3.2.4 คลิกที่ปุ่ม Setting ปุ่ มล่างจะปรากฏหน้าต่าง Network Setting

รู ปที่ 13.20 การกําหนดพอร์ตสื่ อสาร


13.3.2.5 คลิกที่แท็ป Driver เพื่อเลือกพอร์ตสื่ อสารให้กบั PLC ถ้าเป็ นคอมพิวเตอร์ทวั่ ไปที่มี
พอร์ตอนุกรมส่ วนใหญ่จะเลือก COM1 ถ้าเราใช้ตวั แปลงจาก USB เป็ น Serial ต้องเลือกตัวอื่นแล้วคลิก OK
จํานวนสองครั้ง

รู ปที่ 13.21 การเลือกพอร์ตสื่ อสาร


13.3.3 ลักษณะของโปรแกรม CX-ONE เมื่อเราเข้าสู่ โปรแกรม CX-ONE จะพบหน้าต่างดังต่อไปนี้ เพื่อ
ความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรมจะอธิบายส่ วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรมดังต่อไปนี้

รู ปที่ 13.22 ลักษณะของโปรแกรม


13.3.3.1 เมนูบาร์ (Menu Bar) จะเป็ นชื่อรายการคําสัง่ ต่าง ๆ ของโปรแกรมที่ถูกจัดเรี ยงไว้เป็ น
หมดหมู่ เช่น File, Edit, View, Insert, PLC, Programเป็ นต้น
13.3.3.2 ทูลบาร์ (Tool Bar) เป็ นปุ่ มคําสั่งและเครื่ องมือต่าง ๆ ของโปรแกรม ทูลบาร์ จะปรากฏ
ให้ใช้งานได้เราต้องตั้งค่าใช้งานให้ถูกต้องก่อน
13.3.3.3 หน้าต่างโปรเจค (Window Project)เป็ นหน้าต่างสําหรับบอกสถานะ การทํางานของ
โปรแกรม การกําหนดค่า การดูค่าต่าง ๆ ของโปรแกรม
13.3.3.4 พื้นที่ใช้งาน (Work Area) เป็ นพื้นที่สาํ หรับเขียนโปรแกรมแบ่งเป็ น Networkหลาย ๆ
Networkด้วยกันโดยเราสามารถเพิม่ หรื อลด Network ได้ตามต้องการ
13.3.3.5 หน้าต่างคอมไพล์ (Window Compile)เป็ นหน้าต่างสําหรับบอกสถานะของโปรแกรมที่
เราเขียนขึ้นหลังจากเราคลิกปุ่ มคําสัง่ คอมไพล์ที่ทูลบาร์ดา้ นบนแล้ว
13.3.4 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นและการทดสอบการทํางานของโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรมจะ
คล้ายกับการใช้งานโปรแกรม Syswin 3.4 คือให้เราคลิกเลือก สัญลักษณ์ที่ทูลบาร์แล้วคลิกที่พ้ืนที่ใช้งานหลัง
จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง New Contactให้เราป้ อนหมายเลขอินพุตหรื อเอาท์พุต เมื่อเราคลิก OK จะปรากฏ
หน้าต่าง Edit Commentเพื่อให้เราใส่ รายละเอียดอื่น ๆ ซึ่ งเราไม่ใส่ กไ็ ด้ การเขียนโปรแกรมจะเป็ นเช่นนี้ตลอด
ตัวอย่างโปรแกรม 1

รู ปที่ 13.23 โปรแกรมตัวอย่าง 1


13.3.4.1 คลิกใน Network ที่ 1 กดปุ่ ม Ctrl + Alt + Down เพื่อเพิ่มบรรทัดในNetwork ที่ 1 แล้วคลิกสัญลักษณ์
หน้าสัมผัสปกติเปิ ด New Contact แล้วคลิกบนพื้นที่ใช้งานป้ อนหมายเลขอินพุต 00 แล้วคลิกปุ่ ม OK จํานวนสอง
ครั้ง (ไม่ตอ้ งใส่ Comment)

รู ปที่ 13.24 การเขียนสัญลักษณ์หน้าสัมผัสปกติเปิ ด


13.3.4.2 คลิกสัญลักษณ์ New Contact OR แล้วคลิกที่พ้ืนที่ใช้งานบริ เวณด้านล่างสัญลักษณ์
หน้าสัมผัสปกติเปิ ด แล้วป้ อนหมายเลขของหน้าสัมผัส 1000 แล้วคลิกปุ่ ม OK

รู ปที่ 13.25 การเขียนสัญลักษณ์หน้าสัมผัสแบบขนาน


13.3.4.3 คลิกสัญลักษณ์ New Closed Contact แล้วคลิกที่พ้ืนที่ใช้งาน แล้วป้ อนหมายเลขของ
หน้าสัมผัส 01 แล้วคลิกปุ่ ม OK

รู ปที่ 13.26 การเขียนสัญลักษณ์หน้าสัมผัสปิ ด


13.3.4.4 คลิกสัญลักษณ์ New Coil แล้วคลิกที่พ้ืนที่ใช้งานแล้วป้ อนหมายเลขเอาท์พุต1000 แล้ว
คลิกปุ่ ม OK

รู ปที่ 13.27 การเขียนสัญลักษณ์เอาท์พตุ


13.3.4.5 คลิกที่ปุ่ม New PLC Instruction ที่ทูลบาร์ แล้วคลิกที่ Network 2 แล้วพิมพ์หมายเลข 01
ลงในช่องว่างของหน้าต่าง New Instruction แล้วคลิก OK

รู ปที่ 13.28 การเขียนคําสั่งจบโปรแกรม


13.3.5 การตรวจสอบโปรแกรมให้คลิกที่ปุ่ม Compile PLC Program ที่ทูลบาร์ โปรแกรมจะทําการ
ตรวจสอบและแสดงข้อมูลที่หน้าต่าง Compile บริ เวณด้านล่างของโปรแกรม ถ้าปรากฏข้อความ 0 errors แสดง
ว่าโปรแกรมไม่มีขอ้ ผิดพลาดใด ๆ ถ้าเกิดความผิดพลาดขึ้นโปรแกรมจะแสดงในรู ปของข้อความ ให้ดบั เบิลคลิก
ที่ขอ้ ความนั้นเพื่อไปตําแหน่งที่ผดิ พลาดได้

รู ปที่ 13.29 การตรวจสอบโปรแกรม


13.3.6 การกําหนดการติดต่อสื่ อสารระหว่าง PLC และโปรแกรม CX-ONE ให้คลิกที่ปุ่มWork Online ที่
ทูลบาร์จะปรากฏหน้าต่าง CX-Programmer V8.0 ให้คลิกปุ่ ม YES

รู ปที่ 13.30 การกําหนดการติดต่อสื่ อสารระหว่าง PLC และโปรแกรม CX-ONE


13.3.7 การดาวน์โหลดโปรแกรมลงPLC
13.4.7.1 ให้คลิกปุ่ ม Transfer To PLC ที่ทูลบาร์จะปรากฏหน้าต่าง Download Option ให้คลิก
เครื่ องหมาย ในช่อง Expansion Function ออกแล้วคลิก OK

รู ปที่ 13.31 การเลือกคุณสมบัติขณะดาวน์โหลดโปรแกรม


13.3.7.2 จะปรากฏหน้าต่าง CX-Programmer V8.0 ให้คลิกปุ่ ม YES

รู ปที่ 13.32 การดาวน์โหลดโปรแกรม


13.3.7.3 ถ้าโปรแกรมอยูใ่ นโหมดอื่นที่ไม่ใช้โหมดโปรแกรม โปรแกรมจะให้เปลี่ยนโหมด
อัตโนมัติ ให้เราคลิก YES

รู ปที่ 13.33 การเปลี่ยนโหมดขณะดาวน์โหลดโปรแกรม


13.3.7.4 เมื่อดาวน์โหลดโปรแกรมสมบูรณ์แล้วจะปรากฏหน้าต่าง Download ให้คลิกปุ่ ม OK
ถ้าการดาวน์โหลดไม่สมบูรณ์จะปรากฏข้อความบอกไว้ เช่น Download Failed
รู ปที่ 13.34 การการดาวน์โหลดเสร็ จสมบูรณ์
13.3.7.5 หลังจากขั้นตอนในข้อ 13.4.7.4 โปรแกรมจะถามว่าจะเปลี่ยนสู่ โหมด RUN เพื่อ
ทดลองโปรแกรมหรื อไม่ ถ้าเราต้องการให้คลิกปุ่ ม YES

รู ปที่ 13.35 การเปลี่ยนโหมดอัตโนมัติ


13.3.8 การทดสอบการทํางานของโปรแกรมจะกระทําต่อจากหัวข้อที่ 13.4.7.5 โดยให้คลิกขวา
อินพุตที่ตอ้ งการแล้วใช้คาํ สั่ง SET หรื อ Force SET แล้วเลือก ON ในกรณี ที่คาํ สั่ง SET หรื อ Force ไม่ปรากฏให้
คลิกที่ปุ่ม Toggle PLC Monitoring ที่ทูลบาร์ดา้ นบนเสี ยก่อน

รู ปที่ 13.36 การทดสอบการทํางานของโปรแกรม


13.3.9 จากโปรแกรมตัวอย่าง 2 ถ้า โปรแกรมอยูใ่ นสภาวะพร้อมใช้งานให้เราเขียนโปรแกรมได้ทนั ที ใน
กรณี น้ ีจะขอข้ามวิธีการเขียนบางขั้นตอนซึ่งจะเหมือนกับตัวอย่างที่ 1
13.3.9.1 เขียนโปรแกรมในรังที่ 1 จนถึงคําสัง่ OUT 1001

รู ปที่ 13.38 การเขียนโปรแกรม


สาระน่ารู ้ : CX Programmer สามารถจําลองการทํางานของวงจรได้โดยไม่ตอ้ งต่อกับตัว PLC และ
สามารถเขียนรู ปภาพจําลองการทํางานได้ดว้ ย
13.3.9.2 คลิกสัญลักษณ์เส้นแนวตั้งและแนวนอนครั้งละเส้น แล้วคลิกพื้นที่ใช้งานเพื่อให้ได้
วงจรตามรู ป

รู ปที่ 13.39 การใช้สญ


ั ลักษณ์เส้นแนวตั้งและแนวนอน
13.3.9.3 คลิกปุ่ ม New PLC Instruction ที่ทูลบาร์แล้วคลิกต่อจากเส้นแนวนอนที่เขียนไวเพื่อใส่
คําสั่งตัวตั้งเวลาเมื่อปรากฏหน้าต่าง New Instruction ให้พิมพ์ TIM 1 #20ลงในช่องว่างเพื่อใส่ หมายเลขและค่า
ของเวลา (TIM และหมายเลข 1 ต้องเว้นวรรคด้วย)

รู ปที่ 13.40 การเขียนตัวตั้งเวลา


13.3.9.4 เขียนคําสัง่ ใน Network ที่ 2 (คําสัง่ LD TIM 0 และ OUT 1002)

รู ปที่ 13.41 การเขียนโปรแกรมใน Network ใหม่

13.3.9.5 ในกรณี ของคําสั่งจบโปรแกรม (END (01)) อาจไม่ตอ้ งเขียนถ้าหน้าต่างProject มีอยู่


คําสัง่ จบปรากฏอยูแ่ ล้วถ้าเราใส่ คาํ สัง่ จบเพิ่มอีกเมื่อ Compile โปรแกรมจะเกิด Warnings ซึ่ งก็สามารถใช้งานได้
เช่นกัน
หมายเหตุ การใส่ ค่าของตัวตั้งเวลาและตัวนับจํานวนจะมีลกั ษณะคล้ายกัน ถ้าป้ อนคําสั่งผิดตัวตั้งเวลาจะ
เป็ นเส้นสี แดงให้เราทําการแก้ไข ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เช่น ไม่เว้นวรรคระหว่างตัวอักษรและตัวเลข เช่น
TIM00#20 (ผิด) ที่ถูกต้องคือ TIM 00 #20

รู ปที่ 13.42 การป้ อนค่าของตัวตั้งเวลา

13.4 การ Simulation


โปรแกรม CX-ONE สามารถ Simulation ได้โดยไม่ตอ้ งต่อ PLC กับคอมพิวเตอร์ ทาํ ให้นกั เรี ยนสามารถ
นํากลับไปทดลองใช้งานที่บา้ นได้ ซึ่งสามารถทําได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
13.4.1 ถอดสาย RS-232 ออกจากตัว PLC
13.4.2 คลิกที่File – New เลือก Device Type เป็ น CS1G/CJ1G (Simulation ได้เฉพาะบางรุ่ นเท่านั้น)
แล้วคลิก OK
รู ปที่ 13.43 การกําหนดค่า Simulation
13.4.3 คลิกเมนู Simulation ถ้ามีตวั เลือก Work Online Simulator แสดงว่า PLC รุ่ นนั้น
Simulation ได้

รู ปที่ 13.44 การตรวจสอบ Simulation


13.4.4 เขียนโปรแกรม

รู ปที่ 13.45 โปรแกรมตัวอย่าง


13.4.5 คลิกที่เมนู Simulation - Work Online Simulator โปรแกรมจะทําการดาวน์โหลดเมื่อ
เสร็ จเรี ยบร้อยจะปรากฏหน้าต่างดังรู ปแล้วคลิก OK

รู ปที่ 13.46 ดาวน์โหลดโปรแกรม


13.4.6 ทดสอบการทํางานของโปรแกรมโดยคลิกขวาที่อินพุต 00 เลือก Force – On ถ้าต้องการ
หยุดการทํางานเลือก Force – Cancel All Forces

รู ปที่ 13.47 การทดสอบการทํางานของโปรแกรม

13.5 การแก้ ไขความผิดพลาดของโปรแกรม (Non – Fatal Error)


13.5.1 ความผิดพลาดที่ไมรุ่ นแรง (Non – Fatal Error) ความผิดพลาดของโปรแกรม(Error)จะแสดงให้
ทราบในรู ปของหลอดไฟโชว์ (ERR/ALM ) ที่ตวั PLC ส่ วนใหญ่ไฟโชว์จะติดกระพริ บเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น
PLC ยังคงใช้งานได้ต่อไปได้โดยไฟ Power และ Run ยังคงสว่างอยู่ คําสั่ง FAL(06) จะใช้สาํ หรับเตือนให้รู้ว่าเกิด
ความผิดพลาดขึ้น โดยกําหนดตัวเลขฐานสิ บหกสองหลักโดยกําหนดค่าได้ต้ งั แต่ 00 – 99 เข้าไปในหน่วยความจํา
ของ PLC บนพื้นที่ของ SR หมายเลข 253 บิตที่ 00 – 07 อินพุต 00 เป็ นตัวยกเลือกการเกิดความผิดพลาด (ALM)
ทั้งหมด อินพุต 01 สั่งให้เกิดความผิดพลาดที่ FAL(06) หมายเลข 01 อินพุต 02 ใช้สั่งงานเอาท์พตุ 1000 อินพุต 03
สัง่ ให้เกิดความผิดพลาดที่ FAL(06) หมายเลข 06 ถ้าทดลอง Force Set อินพุต 02, 01, 03 ตามลําดับ จะทําให้
เอาท์พตุ ทํางานและเกิดความผิดพลาดทําให้ไฟ ALM ติดกระพริ บ ถ้าต้องการให้ไฟ ALM หยุดทํางานต้องจัดการ
ยกเลิกความผิดพลาดทั้งหมดก่อน หรื อยกเลิกโดย Force อินพุต 00ถ้าต้องการยกเลิกความผิดพลาดโดยใช้
โปรแกรม CX-ONE ให้ดบั เบิลคลิกคําสัง่ Error Log
ที่หน้าต่าง Project ด้านซ้ายมือของโปรแกรมแต่ตอ้ งแก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรมก่อนแล้วคลิกปุ่ ม Clear ที่
หน้าต่าง PLC Errors ตัวอย่างโปรแกรม

รู ปที่ 13.48 ตัวอย่างการใช้คาํ สัง่ FAL(06)


อินพุต 00 เป็ นตัวยกเลือกการเกิดความผิดพลาด (ALM) ทั้งหมด อินพุต 01 สั่งให้เกิดความผิดพลาดที่
FAL(06) หมายเลข 01 อินพุต 02 ใช้สั่งงานเอาท์พตุ 1000 อินพุต 03 สั่งให้เกิดความผิดพลาดที่ FAL(06)
หมายเลข 06ถ้าทดลอง Force Set อินพุต 02, 01, 03 ตามลําดับ จะทําให้เอาท์พุตทํางานและเกิดความผิดพลาดทํา
ให้ไฟ ALM ติดกระพริ บ ถ้าต้องการให้ไฟ ALM หยุดทํางานต้องจัดการยกเลิกความผิดพลาดทั้งหมดก่อน หรื อ
ยกเลิกโดย Force อินพุต 00ถ้าต้องการยกเลิกความผิดพลาดโดยใช้โปรแกรม CX-ONE ให้ดบั เบิลคลิกคําสั่ง
Error Log ที่หน้าต่าง Project ด้านซ้ายมือของโปรแกรมแต่ตอ้ งแก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรมก่อนแล้วคลิก
ปุ่ ม Clear ที่หน้าต่าง PLC Errors

รู ปที่ 13.49 การใช้คาํ สัง่ Error Log


13.5.2 ความผิดพลาดที่รุนแรง (Fatal Error) ความผิดพลาดของโปรแกรม (Error) ที่เกิดขึ้นทําให้ไฟโชว์
(ERR/ALM ) ที่ตวั PLC ติดค้างโปรแกรมไม่สามารถใช้งานต่อไปได้อีกคําสัง่ FALS(07) จะใชส้ า◌ํ หรบั เตอื
นใหร้ วู ้ า◌่ เกดิ ความผดิ พลาดขนึ้ โดยกา◌ํ หนดตัวเลข ฐานสิ บหกสองหลักโดยกําหนดค่าได้ต้ งั แต่ 01 – 99 เข้า
ไปในหน่วยความจําของ PLC บนพื้นที่ของ SR หมายเลข 253 บิตที่ 00 – 07 เมื่อเกิดความผิดพลาด โปรแกรมนี้
จะหยุดทํางาน ตัวอย่างโปรแกรม

รู ปที่ 13.50 ตัวอย่างการใช้คาํ สั่ง FALS(07)


เมื่อสั่ง Force อินพุต 02 เอาท์พุต 1000 จะทํางาน เมื่อสั่งงานอินพุต 00 หรื อ 01 หรื อ 03ตัวใดตัวหนึ่งจะ
ทําให้เกิดความผิดพลาด (Error) ขึ้นในโปรแกรมทันที และเอาท์พตุ จะหยุดทํางานโปรแกรมไม่สามารถสั่งงานต่อ
ได้การแก้ไขทําโดยเปลี่ยนโหมดการทํางานของ PLCให้อยูใ่ นโหมดโปรแกรมและทําการแก้ไขความผิดพลาด
ดังกล่าวให้ถูกต้องถ้าต้องการยกเลิกความผิดพลาดโดยใช้โปรแกรม CX-ONE ให้ดบั เบิลคลิกคําสัง่ Error Log ที่
หน้าต่าง Project ด้านซ้ายมือของโปรแกรมและคลิกที่ปุ่ม Clear ที่หน้าต่าง PLC Errors

รู ปที่ 13.51 ตัวอย่างการใช้คาํ สั่ง FALS(07)


ด้ านทักษะ+ด้ านจิตพิสัย (ปฏิบัติ+ด้ านจิตพิสัย) (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 3-4)
1. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
2. ใบงานที่ 13
3. แบบทดสอบหลังเรี ยน

ด้ านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้ อที่ 5)
4. ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที ) 1. ขั้นนําเข้ าสู่ บทเรียน (10 นาที )
1. ผูส้ อนจัด เตรี ย มเอกสาร พร้ อ มกับ แนะนํา 1. ผูเ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์และ ฟั งครู ผสู ้ อนแนะนํา
รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ อง การ รายวิ ชา วิ ธีการให้ค ะแนนและวิธีการเรี ยนเรื่ องการ
แก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม แก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
2. ผูส้ อนแจ้ง จุ ดประสงค์การเรี ยนของหน่ ว ย 2. ผูเ้ รี ยนทําความเข้าใจเกี่ ยวกับจุ ดประสงค์การ
เรี ยนที่ 13 และขอให้ผเู ้ รี ยนร่ วมกันทํากิจกรรมการ เรี ยนของหน่วยเรี ยนที่ 13 และการให้ความร่ วมมือใน
เรี ยนการสอน การทํากิจกรรม
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ย นอธิ บายวิ ธี การเปลี่ ยนรี เ ลย์ 3. ผูเ้ รี ย นอธิ บ ายวิ ธี ก ารเปลี่ ย นรี เ ลย์ ฟิ วส์ และ
ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รองได้ แบตเตอรี่ สาํ รองได้

2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที) 2. ขั้นให้ ความรู้ (100 นาที )


1. ผูส้ อนเปิ ด PowerPoint หน่ วยที่ 13 เรื่ อง 1. ผูเ้ รี ยนศึกษา PowerPoint หน่วยที่ 13 เรื่ อง
การแก้ไ ขและปรั บ ปรุ ง โปรแกรม และให้ผูเ้ รี ย น การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม และให้ผเู ้ รี ยนศึกษา
ศึกษาเอกสารประกอบการสอน การโปรแกรมและ เอกสารประกอบการสอน การโปรแกรมและควบคุ ม
ควบคุมไฟฟ้ า หน่วยที่ 13 หน้าที่ 417 - 440 ไฟฟ้ า หน่วยที่ 13 หน้าที่ 417 – 440 ประกอบกับ
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันบรรยายลัก ษณะ PowerPoint
ข อ ง ก า ร ป ร ะ ก อ บ PLC ต า ม ที่ ไ ด้ ศึ ก ษ า จ า ก 2. ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนร่ วมกันบรรยายลักษณะของ
PowerPoint การประกอบ PLC ตามที่ได้ศึกษาจาก PowerPoint
3. ผูส้ อนคํานวณหาปริ มาณที่ เกี่ยวข้องกับการ 3. ผูเ้ รี ยนดู ผูส้ อนคํานวณหาปริ มาณที่ เกี่ ยวข้อง
เคลื่อนที่ของคลื่น ตามเงื่อนไขที่กาํ หนด ให้ผเู ้ รี ยนดู กับการเคลื่อนที่ของคลื่น ตามเงื่อนไขที่กาํ หนด พร้อม
พร้อมให้คาํ แนะนํา จดบันทึกเนื้อหาสาระ
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้ หรือกิจกรรมของนักเรียน
3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที ) 3. ขั้นประยุกต์ ใช้ ( 115 นาที )
1. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทําใบงานที่ 13 เรื่ อง การ 1. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนทํา ใบงานกิ จ กรรมหน่ ว ยที่
แก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
2. ผู ้ ส อ น ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล จ า ก 2. ผู ้เ รี ยนสื บ ค้น ข้อ มู ล จากอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ
อินเทอร์เน็ตหรื อแหล่งความรู ้ต่างๆ แหล่งความรู ้ต่างๆ

4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล (15 นาที ) 4. ขั้นสรุ ปและประเมินผล ( 15 นาที )


1. ผูส้ อนและผูเ้ รี ย นร่ ว มกันสรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้ 1. ผู ้ส อนและผู ้เ รี ยนร่ ว มกัน สรุ ป เนื้ อ หาที่ ไ ด้
เรี ยนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เรี ยนเพือ่ ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนทําแบบทดสอบหลังเรี ยน 2. ผูเ้ รี ยนทํา แบบทดสอบหลังเรี ยนหน่ ว ยที่ 13
หน่วยที่ 13 หน้า 448 หน้า 448
3. ผูส้ อนให้ผูเ้ รี ยนสลับกันตรวจกิจกรรมและ 3. ผู ้ เ รี ย น ส ลั บ กั น ต ร ว จ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ
แบบทดสอบหลัง เรี ย น ด้ว ยความซื่ อ สัต ย์ แล้ว นํา แบบทดสอบหลัง เรี ยน ด้ว ยความซื่ อ สั ต ย์ แล้ว นํา
คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน คะแนนที่ได้บนั ทึกลงในแบบบันทึกคะแนน
4. ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรี ยน 4. ผู ้เ รี ยนศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม นอกห้ อ งเรี ยน ด้ ว ย
ด้วย PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น PowerPoint ที่จดั ทําขึ้น

(บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5) (บรรลุจุดประสงค์ เชิ งพฤติกรรมข้ อที่ 1-5)
(รวม 240 นาที หรื อ 1 คาบเรี ยน)
งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

ก่ อนเรียน
1. จัดเตรี ยมเอกสาร สื่ อการเรี ยนการสอนหน่วยที่ 13
2. ทําความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรี ยนของหน่วยที่ 13 และให้ความร่ วมมือในการเรี ยน

ขณะเรียน
3. ศึกษา PowerPoint และเอกสารประกอบการสอน 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
4. ซักถามข้อสงสัยระหว่างการเรี ยนการสอน
5. ทําแบบฝึ กหัดท้ายหน่วย
6. ทําใบงานที่ 13
7. ปฏิบตั ิตามแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม

หลังเรียน
8. สรุ ปเนื้อหา
9. ทําแบบทดสอบหลังเรี ยน
10. สลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 13

คําถาม
1. แบตเตอรี่ สาํ รองของ PLC มีขนาดแรงดันกี่โวลต์
2. การเข้าสู่ โปรแกรม CX-ONE ข้อใดถูกต้อง
3. ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับการเปลี่ยนฟิ วส์ของชุด Power Supply 24 โวลต์
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม

สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
ผูเ้ รี ยนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคําถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรู ้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
- ถอดและประกอบ PLC

สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้ อง
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม ที่จดั ทําขึ้นได้ทาํ ให้
ผูเ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มเกี่ยวกับ การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม ทําให้ผเู ้ รี ยนสามารถนําไประยุกต์ใช้ในการเรี ยน
การทํางาน และสามารถหารายได้ระหว่างการเรี ยนการสอนช่วยเหลือผูป้ กครองได้ในระดับหนึ่ง
สื่ อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่ อสิ่ งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้ า (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
2. แบบฝึ กหัดท้ายหน่วยที่ 13 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
3. ใบงานที่ 13 (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
4. แบบทดสอบหลังเรี ยน (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)
5. แบบประเมินผลงานตามกิจกรรม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 1
6. แบบเฉลยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ใช้ประกอบในขั้นนําเข้าสู่ บทเรี ยน และขั้นสรุ ปและประเมินผล
7. แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ใช้ประกอบการสอนขั้นประยุกต์ใช้ ข้อ 2

สื่ อโสตทัศน์ (ถ้ ามี)


1. PowerPoint เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม

สื่ อของจริง
การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม (ใช้ประกอบการเรี ยนการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
แหล่ งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิ่นจังหวัดสมุทรสาคร

การบูรณาการ/ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่


1. บูรณาการกับวิชาคณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
2. บูรณาการกับวิชา วิทยาศาสตร์
การประเมินผลการเรียนรู้
1. หลักการประเมินผลการเรียนรู้

ก่ อนเรียน
1. ศึกษาหาความรู ้ก่อนการเรี ยนการสอน

ขณะเรียน
2. สังเกตการทํางาน
3. ตรวจแบบฝึ กหัดท้ายหน่วยหน่วยที่ 13
4. ตรวจใบงานที่ 13

หลังเรียน
1. ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยนหน่วยที่ 13

ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสํ าเร็จของผู้เรียน
แบบประเมินผลการเรี ยนรู ้หน่วยที่ 13 เรื่ อง การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
รายละเอียดการประเมินผลการเรี ยนรู ้
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 อธิบายวิธีการเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รองได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายวิธีการเปลี่ยนรี เลย์ ฟิ วส์ และแบตเตอรี่ สาํ รองได้ จะได้ 2
คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 บรรยายลักษณะของการประกอบ PLCได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : บรรยายลักษณะของการประกอบ PLCได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 3 สาธิตเขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบความผิดพลาดของโปรแกรมได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
2. เกณฑ์การให้คะแนน : สาธิตเขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบความผิดพลาดของโปรแกรมได้ จะได้
2 คะแนน

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 4 อภิปรายใช้งานโปรแกรม CX-ONEได้


1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อภิปรายใช้งานโปรแกรม CX-ONEได้ จะได้ 2 คะแนน
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 ศึกษาความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่ องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุ งโปรแกรมและนํามาใช้ให้
เกิดประโยชน์อย่างถูกต้องเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน
แบบฝึ กหัดท้ ายหน่ วยที่ 13
หน่ วยที่ 13 เรื่ องการแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
คําชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคําถามให้สมบูรณ์
1. อธิบายขั้นตอนการถอดและประกอบ PLC มาพอเข้ าใจ (5 คะแนน)
1.1 ............................................................................................................................
...................................................................................................................................
1.2 ............................................................................................................................
...................................................................................................................................
1.3 ............................................................................................................................
...................................................................................................................................
1.4 ............................................................................................................................
...................................................................................................................................
1.5 ............................................................................................................................
...................................................................................................................................
2. อธิบายขั้นตอนการเปลีย่ นรีเลย์ มาพอเข้ าใจ (4 คะแนน)
2.1 ............................................................................................................................
2.2 ............................................................................................................................
2.3 ............................................................................................................................
2.4 ............................................................................................................................
3. ฟิ วส์ FLT1 และฟิ วส์ FLT2 เป็ นฟิ วส์ ป้องกันด้ านใดอธิบาย (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
4. เราจะรู้ ได้ อย่ างไรว่ าแบตเตอรี่สํารองแรงดันน้ อยลง (1 คะแนน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
5. ให้ เติมคําลงในช่ องว่ างให้ สมบูรณ์ จากรู ปทีก่ าํ หนดให้ เมือ่ เราใช้ PLC รุ่ น CPM2A(2 คะแนน)

6. ตอบคําถามต่ อไปนีพ้ อเข้ าใจเกีย่ วกับการใช้ งานโปรแกรม CX-ONE (5 คะแนน)


6.1 เมื่อเราเขียนโปรแกรมเสร็ จถ้าต้องการตรวจสอบโปรแกรมคลิกที่ปุ่มใด
...................................................................................................................................
6.2 ปุ่ มเปลี่ยนโหมดการทํางานไม่สามารถใช้งานได้มาจากสาเหตุใด
...................................................................................................................................
6.3 ถ้าต้องการเปลี่ยนโหมดการทํางานต้องคลิกที่เมนูใด
...................................................................................................................................
6.4 ถ้าต้องการใช้งานคําสัง่ พิเศษต้องคลิกที่ปุ่มคําสัง่ ใด
...................................................................................................................................
6.5 เมื่อโปรแกรมอยูใ่ นโหมดRUNเหตุใดจึงไม่สามารถใช้คาํ สัง่ SET หรื อ FORCE ได้
...................................................................................................................................

7. ตอบคําถามต่ อไปนีพ้ อเข้ าใจเกีย่ วกับการ Simulation โปรแกรม (2 คะแนน)


7.1 PLC รุ่ นใดบ้างที่สามารถ Simulation ได้
...................................................................................................................................
7.2 อธิบายการตั้งค่าใช้งานโปรแกรมเมื่อต้องการSimulationมาพอเข้าใจ
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
8. ตอบคําถามต่อไปนี้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม(5 คะแนน)
8.1 เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นในโปรแกรมจะรู ้ได้อย่างไร
...................................................................................................................................
8.2 ถ้าไฟ Error ติดค้างหมายถึงสิ่ งใด
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
8.3 คําสัง่ FAL(06) ทําหน้าที่ใด
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
8.4 คําสัง่ FALS(07) ทําหน้าที่ใด
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
8.5 คําสัง่ FAL(06) และ FLAS(07) แตกต่างกันอย่างไรบ้าง
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ใบงานที่ 132114
หน่ วยที่ 13 การแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม CX – ONE

จุดประสงค์การสอน
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขและปรับปรุ งโปรแกรม

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ใช้งานโปรแกรม CX-ONE ได้
2. เขียนโปรแกรมตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรมได้
3. แก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรมได้
4. นักเรี ยนมีอุปกรณ์การเรี ยนพร้อม

รายการสอน
1. การใช้งานโปรแกรม CX-ONE
2. การแก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม

เครื่องมือ
1. PLC Omron รุ่ น CPM2A
2. คอมพิวเตอร์

วัสดุอุปกรณ์
-
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน (การใช้ งานโปรแกรม CX-ONE)
1. การกําหนดค่าเริ่มต้ นใช้ งานโปรแกรม
1.1 ต่อสาย RS-232 จากPLC เข้ากับพอร์ตอนุกรมของคอมพิวเตอร์
1.2 จ่ายไฟให้กบั PLC และเปิ ดคอมพิวเตอร์
1.3 เปิ ดโปรแกรมCX-ONE
1.4 คลิกที่เมนู File เลือกNew จะปรากฏหน้าต่างChange PLCในช่อง Device Type ให้ เลือก CPM2* คลิกที่
ปุ่ ม Setting ปุ่ มล่างจะปรากฏหน้าต่าง Network Setting แล้วคลิก OK

2. ทดลองเขียนโปรแกรมตามตัวอย่ างทีก่ าํ หนดให้

3. ดาวน์ โหลดโปรแกรมลง PLC


4. ทดสอบการทํางานของโปรแกรม
บันทึกผลการทดลอง
.......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
ลําดับขั้นการปฏิบัติงาน (เขียนโปรแกรมตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรม)
1. ทดลองเขียนโปรแกรมตามตัวอย่ างทีก่ าํ หนดให้

2. ดาวน์ โหลดโปรแกรมลง PLC


3. ทดสอบการทํางานของโปรแกรม
3.1 เมื่อ Force อินพุต 02 ทําให้ ......................................................................................
3.2 เมื่อ Force อินพุต 01 ทําให้ ......................................................................................
3.3 เมื่อ Force อินพุต 00 ทําให้ ......................................................................................
4. เมื่อโปรแกรมเกิดความผิดพลาดให้ใช้โปรแกรม CX-ONE แก้ไขเพื่อดูความผิดพลาดของโปรแกรม
สรุ ปผลการทดลอง
.......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 13 เรื่องการประยุกต์ ใช้ งาน PLC ควบคุมระบบนิวแมติกส์
คําสั่ ง 1. ให้นกั เรี ยนทําเครื่ องหมาย กากบาท ลงบนกระดาษคําตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
2. ทําแบบทดสอบทุกข้อที่กาํ หนดให้
3. ข้อสอบข้อละ 1 คะแนน มีจาํ นวน 25 ข้อ
1. การถอดโครงของ PLC ออกจากกันต้ องใช้ อุปกรณ์ ใด
ก. ไขควงแฉก ข. ไขควงแบน
ค. ประแจแอล ง. ประแจเลื่อน
2. เราต้ องถอดจุดเชื่อมต่ อระหว่ างชุด Power Supply กับบอร์ ดอินพุตและเอาท์ พุตมีกจี่ ุด
ก. 1 จุด ข. 3 จุด
ค. 2 จุด ง. 4 จุด
3. การแยกบอร์ ดของ CPU กับบอร์ ดอินพุตออกจากันต้ องทําอย่ างไร
ก. ใช้ไขควงแฉกขันสกรู ออก 4 ตัว ข. บัดกรี สายไฟออก 2 เส้น
ค. ถอดสายเชื่อมต่อระหว่างบอร์ ด 1 จุด ง. ถอดสายเชื่อมต่อระหว่างบอร์ด 3 จุด
4. บอร์ ดชุดบนสุ ดของ PLC เป็ นบอร์ ดอุปกรณ์ ใด
ก. บอร์ด เอาท์พุต ข. บอร์ด อินพุต
ค. บอร์ด CPU ง. บอร์ด Power Supply
5. รีเลย์ ต่ออยู่กบั บอร์ ดชุดใด
ก. บอร์ด CPU ข. บอร์ด Power Supply
ค. บอร์ดหน่วยความจํา ง. บอร์ดเอาท์พตุ
6. ถ้ าต้ องการเปลีย่ นรีเลย์ ข้อใดถูกต้ องที่สุด
ก. ใช้รีเลย์ 220 โวลต์
ข. บัดกรี ขาของรี เลย์ออกทั้งหมด 5 จุด
ค. ใช้รีเลย์ 24 โวลต์พิกดั กระแสไม่เกิน 2 แอมป์
ง. ใช้รีเลย์ยหี่ อ้ OMRON
7. ข้ อใดถูกต้ องทีส่ ุ ดเกีย่ วกับการเปลีย่ นฟิ วส์ ของชุด Power Supply 24 โวลต์
ก. ใช้ฟิวส์ที่หาซื้อง่าย
ข. เปลี่ยนฟิ วส์เฉพาะขั้วบวกเท่านั้น
ค. เปลี่ยนฟิ วส์ขนาดพิกดั กระแสเท่าเดิม
ง. ใช้ฟิวส์ขนาดพิกดั กระแสตํ่าจะได้ทาํ งานได้เร็ วขึ้น
8. แบตเตอรี่สํารองของ PLC มีขนาดแรงดันกีโ่ วลต์
ก. 1.5 โวลต์ ข. 2.3 โวลต์
ค. 3.3 โวลต์ ง. 3.6 โวลต์
9. เราจะเปลีย่ นแบตเตอรี่สํารองเมือ่ ใด
ก. เมื่อครบ 1 ปี ข. เมื่อมีสญ
ั ญาณเตือนว่า Low Batt
ค. เมื่อไฟ CPU กระพริ บ ง. เมื่อไฟ Power ไม่ติด
10. การเข้ าสู่ โปรแกรม CX-ONE ข้ อใดถูกต้ อง
ก. Start > All Program > OMRON > CX-ONE > Cx Programmer > Cx Programmer
ข. Start > All Program > OMRON > CX-ONE > Cx Manual
ค. Start > Program > CX-ONE
ง. Start > Program > CX-ONE > Cx Programmer
11. หน้ าต่ าง Change PLC ใช้ กาํ หนดคุณสมบัติใดของ PLC
ก. กําหนด อินพุตเอาท์พตุ ข. กําหนดรุ่ นของ PLC
ค. กําหนด ยีห่ อ้ PLC ง. กําหนด CPU
12. หน้ าต่ าง Network Setting เราใช้ กาํ หนดคุณสมบัติใดของ PLC
ก. ขนาดอินพุตเอาท์พตุ ข. ขนาดของ CPU
ค. พอร์ตสื่ อสาร ง. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
13. ถ้ าต้ องการทราบว่ าขณะนี้ PLC อยู่ในโหมดการทํางานใดต้ องดูทหี่ น้ าต่ างใด
ก. หน้าต่าง Compile ข. หน้าต่าง New Project
ค. หน้าต่าง Comment ง. หน้าต่าง Project
14. ถ้ าต้ องการใช้ คาํ สั่ งตรวจสอบโปรแกรมต้ องคลิกที่ปุ่มใด
ก. Direct Online ข. Work Online
ค. Compile ง. Transfer To PLC
15. ถ้ ากดปุ่ มคําสั่ ง Ctrl+Shift+T ทีค่ ยี ์ บอร์ ดหมายถึงข้ อใด
ก. Transfer to PLC ข. Transfer from PLC
ค. Insert Rung ง. Toggle PLC Monitoring
16. PLC รุ่ นใดบ้ างทีส่ ามารถ Simulation ได้
ก. CPM2A ข. CQM1
ค. CS1G ง. C200HS
17. ข้ อใดถูกต้ องทีส่ ุ ดเกีย่ วกับการ Simulation
ก. ถ้ามีคาํ สัง่ Work Online Simulators ให้ใช้งานจึงจะ Simulation ได้
ข. Simulation ไม่สามารถสัง่ งานผ่านทางหน้าจอแสดงผลได้
ค. ห้ามเชื่อมต่อ PLC กับคอมพิวเตอร์
ง. การ Simulation ต้องเลือกพอร์ต COM1
18. Simulation เมือ่ เราเขียนโปรแกรมเรียบร้ อยแล้ วต้ องทําสิ่ งใดต่ อไป
ก. Direct Online ข. Start PLC
ค. Work Online ง. Work Online Simulators
19. ถ้ าไฟ Error ติดค้ างเราควรทําอย่ างไร
ก. แก้ไขในโหมดโปรแกรม ข. แก้ไขในโหมด Monitor
ค. ให้ Reset CPU ง. ใช้งาน PLC ต่อไปได้
20. คําสั่ ง FAL(06) หมายเลข 00 ทําหน้ าที่ใด
ก. เตือนความผิดพลาดที่ร้ายแรง ข. แก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม
ค. สัง่ งานโปรแกรมให้เกิดความผิดพลาด ง. สัง่ ให้เอาท์พตุ 1000 ทํางาน
21. คําสั่ ง FAL(06) ทําหน้ าทีใ่ ด
ก. สัง่ ให้เอาท์พตุ 1006 ทํางาน ข. เตือนความผิดพลาดในโปรแกรม
ค. สัง่ งานโปรแกรม ง. แก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม
22. ถ้ าสั่ งให้ FAL(06) หมายเลข 03 ทํางานจะเกิดความผิดพลาดที่ Code ใด
ก. 0X00 ข. 0X0006
ค. 0X003 ง. 0X007
23. ถ้ าสั่ งให้ FALS(07) ทําหน้ าที่ใด
ก. เตือนความผิดพลาดที่ร้ายแรง ข. สัง่ ให้เอาท์พุต 1007 ทํางาน
ค. สัง่ งานโปรแกรม ง. แก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม
24. ถ้ าสั่ งให้ FALS(07) หมายเลข 06 ทํางานจะเกิดความผิดพลาดที่ Code ใด
ก. 0X00 ข. 0X0006
ค. 0X003 ง. 0X007
25. ถ้ าสั่ งให้ FALS(07) ทํางานข้ อใดถูกต้ องทีส่ ุ ด
ก. โปรแกรมทํางานต่อไปได้ ข. ไฟ Error ติดกระพริ บ
ค. อินพุตทุกตัวหยุดทํางาน ง. เอาท์พตุ ทุกตัวหยุดทํางาน
แบบประเมินผลการนําเสนอผลงาน
ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................

รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….
คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรู ้เกี่ยวกับเนื้อหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า)
2 รู ปแบบการนําเสนอ
3 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด นํ้าเสี ยง ซึ่ งทําให้ผฟู ้ ังมีความ
สนใจ
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจนถูกต้อง
3 คะแนน = มีสาระสําคัญครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสําคัญไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสําคัญไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รู ปแบบการนําเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นําเสนอที่น่าสนใจ นําวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่าและประหยัด
คะแนน = มีเทคนิคการนําเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนําเสนอที่น่าสน ใจ แต่ขาด
การประยุกต์ใช้ วัสดุในท้องถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนําเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมีส่วนร่ วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผูฟ้ ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
2 คะแนน = ผูฟ้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
1 คะแนน = ผูฟ้ ังน้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่ วมมือ
แบบประเมินกระบวนการทํางาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………ห้อง...........................
รายชื่อสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขที่…….

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
3 2 1
1 การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
รวม

ผูป้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………...

เกณฑ์ การให้ คะแนน


1. การกําหนดเป้ าหมายร่ วมกัน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายการทํางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่ วนใหญ่มีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่ วนน้อยมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมายในการทํางาน
2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบและการเตรี ยมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรี ยมสถานที่ สื่ อ /
อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรี ยง แต่ขาด
การจัดเตรี ยมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทวั่ ถึงและมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย และตามเวลาที่กาํ หนด
2 คะแนน = ทํางานได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาที่กาํ หนด
1 คะแนน = ทํางานไม่สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุ งงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่ วมปรึ กษาหารื อ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุ งงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนมีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ แต่ไม่ปรับปรุ งงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่ วนไม่มีส่วนร่ วมปรึ กษาหารื อ และปรับปรุ งงาน
เฉลยแบบฝึ กหัด
หน่ วยที่ 13 เรื่อง การแก้ ไขและปรับปรุ งโปรแกรม
1. อธิบายขั้นตอนการถอดและประกอบ PLC มาพอเข้าใจ (5 คะแนน)
1.1 ใช้ ไขควงปากแบนตัวเล็กงัดด้ านข้ างของ PLC ทําเช่ นนี้ทงั้ สองด้ าน ตัวของ PLC จะหลุดออกจาก
กันส่ วนหนึ่ง
1.2 ถอดสายต่ อทัง้ สองเส้ นที่เชื่อมต่ อระหว่ างบอร์ ดของแหล่ งจ่ ายไฟและหน่ วยอินพุตและเอาท์ พุตของ PLC
1.3 เปิ ดฝาปิ ดจุดต่ ออินพุตและเอาท์ พุต ใช้ ไขควงแบนตัวเล็กงัดช่ องด้ านบนทีม่ ีร่องเล็ก ๆอยู่ทงั้ สี่ด้านเพือ่ ถอด
โครงของ PLC ออกอีกส่ วนหนึ่ง
1.4 เมื่อยกโครงส่ วนบนออกจะมีสายไฟต่ ออยู่ระหว่ างบอร์ ดทัง้ สอง
1.5 ขัน้ ตอนการประกอบให้ ไล่ ลาํ ดับย้ อนหลังจากวิธีการถอด โดยก่ อนใส่ ต้องมันใจว่ าต่ อสายเชื่อมต่ อระหว่ าง
บอร์ ดเรี ยบร้ อยแล้ ว

2. อธิบายขั้นตอนการเปลี่ยนรี เลย์มาพอเข้าใจ (4 คะแนน)


2.1 ถอดส่ วนประกอบ PLC ออกจากกัน และพิจารณาบอร์ ดของอินพุตและเอาท์ พุต
2.2 บัดกรี รีเลย์ ตัวทีต่ ้ องการออกจากหน่ วยเอาท์ พุต
2.3 บัดกรี รีเลย์ ตัวใหม่ แทนที่รีเลย์เดิม
2.4 ตรวจสอบความเรี ยบร้ อยและประกอบ PLC เข้ าที่เดิม

3. ฟิ วส์ FLT1 และฟิ วส์ FLT2 เป็ นฟิ วส์ป้องกันด้านใดอธิ บาย (1 คะแนน)
ตอบ FLT1 เป็ นฟิ วส์ ป้องกันด้ านไฟบวก และ FLT2 เป็ นฟิ วส์ ป้องกันด้ านไฟลบ

4. เราจะรู ้ได้อย่างไรว่าแบตเตอร์รี่สาํ รองแรงดันน้อยลง (1 คะแนน)


ตอบ ถ้ าใช้ งานโปรแกรมมิ่งคอนโซลจะปรากฏข้ อความว่ า LOW BATT หรื อไฟ Error จะติดค้ าง
5. ให้เติมคําลงในช่องว่างให้สมบูรณ์จากรู ปที่กาํ หนดให้ เมื่อเราใช้ PLC รุ่ น CPM2A (2 คะแนน)

รู ปที่ 13.1 หน้าต่าง Change PLC

6. ตอบคําถามต่อไปนี้พอเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม CX-ONE (5 คะแนน)


6.1 เมื่อเราเขียนโปรแกรมเสร็ จถ้าต้องการตรวจสอบโปรแกรมคลิกที่ปุ่มใด
ตอบ ปุ่ ม Compile PLC Program

6.2 ปุ่ มเปลี่ยนโหมดการทํางานไม่สามารถใช้งานได้มาจากสาเหตุใด


ตอบ ไม่ ได้ คลิกปุ่ ม Work Online

6.3 ถ้าต้องการเปลี่ยนโหมดการทํางานต้องคลิกที่เมนูใด
ตอบ เมนู PLC – Operating Mode

6.4 ถ้าต้องการใช้งานคําสัง่ พิเศษต้องคลิกที่ปุ่มคําสัง่ ใด


ตอบ New PLC Instruction

6.5 เมื่อโปรแกรมอยูใ่ นโหมด RUN เหตุใดจึงไม่สามารถใช้คาํ สัง่ SET หรื อ FORCE ได้
ตอบ ไม่ ได้ คลิกปุ่ ม Toggle PLC Monitoring
7. ตอบคําถามต่อไปนี้พอเข้าใจเกี่ยวกับการ Simulation โปรแกรม (2 คะแนน)
7.1 PLC รุ่ นใดบ้างที่สามารถ Simulation ได้
ตอบ รุ่น CS1G , CJ1G ,CS1H , CS G-H , CV-1000

7.2 อธิบายการตั้งค่าใช้งานโปรแกรมเมื่อต้องการ Simulation มาพอเข้าใจ


ตอบ คลิกทีเ่ มนู File > New > เมื่อพบหน้ าต่ าง Change PLC ให้ ตั้งค่ า Device Type เป็ น CS1G/CJ1G แล้ วคลิก
OK จากนั้นเริ่ มเขียนโปรแกรม เมื่อเขียนโปรแกรมเสร็ จ คลิกทีเ่ มนู Simulation > Work Online Simulator คลิก
OK จากนั้นทดลองสั่ งงานโปรแกรมได้ ทนั ที

8. ตอบคําถามต่อไปนี้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดพลาดของโปรแกรม (5 คะแนน)
8.1 เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้นในโปรแกรมจะรู ้ได้อย่างไร
ตอบ ไฟ Error จะกระพริ บหรื อติดค้ าง

8.2 ถ้าไฟ Error ติดค้างหมายถึงสิ่ งใด


ตอบ เกิดความผิดพลาดรุ่นแรงขึน้ ในโปรแกรมต้ องทําการแก้ ไขในโหมดโปรแกรมให้ ถูกต้ อง

8.3 คําสัง่ FAL(06) ทําหน้าที่ใด


ตอบ ใช้ ทดสอบเพือ่ ให้ เกิดความผิดพลาดขึน้ ในโปรแกรม

8.4 คําสัง่ FALS(07) ทําหน้าที่ใด


ตอบ ใช้ ทดสอบเพือ่ ให้ เกิดความผิดพลาดอย่ างร้ ายแรงขึ้นในโปรแกรม

8.5 คําสัง่ FAL(06) และ FLAS(07) แตกต่างกันอย่างไรบ้าง


ตอบ เมื่อเกิดความผิดพลาดจากคําสั่ง FAL(06) โปแกรมจะสามารถทํางานต่ อไปได้ โดยเอาท์ พุตไม่ หยุดทํางาน
แต่ เมื่อเกิดความผิดพลาดจากคําสั่ง FALS(07) โปรแกรมจะหยุดทํางานทันที
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
หน่ วยที่ 13 เรื่อง การแก้ ไขและปรับปรุ งโปรแกรม

1. ข
2. ค
3. ค
4. ก
5. ง
6. ก
7. ค
8. ง
9. ข
10. ก
11. ข
12. ค
13. ง
14. ค
15. ข
16. ค
17. ก
18. ง
19. ก
20. ข
21. ข
22. ค
23. ก
24. ข
25. ง
บันทึกหลังการสอน
หน่ วยที่ 13 การแก้ ไขและปรับปรุงโปรแกรม

ผลการใช้ แผนการเรียนรู้
1. เนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนําไปใช้ปฏิบตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรี ยนการสอน
3. สื่ อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน
1. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู ้ เข้าใจในบทเรี ยน อภิปรายตอบคําถามในกลุ่ม และร่ วมกัน
ปฏิบตั ิใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. นักเรี ยนกระตือรื อร้นและรับผิดชอบในการทํางานเพื่อให้งานสําเร็ จทันเวลาที่กาํ หนด
3. นักเรี ยนถอดและประกอบ PLCได้

ผลการสอนของครู
1. สอนเนื้อหาได้ครบตามหลักสู ตร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทําให้ผสู ้ อนสอนได้อย่างมัน่ ใจ
3. สอนได้ทนั ตามเวลาที่กาํ หนด

You might also like