You are on page 1of 8

CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.

2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 14

4.2 ค่าสุดขีดสัมบูรณ์

พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y = f(x) บนช่วง a, b ดังรูป

จากรูปจะเห็นว่า จุด P ( a, f(a) ) เป็นจุดที่ค่าของฟังก์ชันมีค่ามากที่สุดบนช่วง a, b และ จุด Q ( c, f(c) ) เป็น


จุดที่ค่าของฟังก์ชันมีค่าน้อยที่สุดบนช่วง a, b ซึ่งเรามีการให้ความหมายของจุดที่ให้ค่ามากที่สุดและน้อยที่สุด
ของฟังก์ชัน อย่างเป็นทางการดังนี้

นิยาม 1 ให้ f เป็นฟังก์ชันที่นิยามบนเซต D และ cD

 ถ้า f(c)  f(x) สาหรับทุกค่า x  D


เราจะเรียกค่า f(c) ว่าเป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum) ของ f บนเซต D

 ถ้า f(c)  f(x) สาหรับทุกค่า x  D


เราจะเรียกค่า f(c) ว่าเป็นค่าต่าสุดสัมบูรณ์ (absolute minimum) ของ f บนเซต D

 เราจะเรียกค่า f(c) ว่าเป็นค่าสุดขีด (absolute extreme value) ของ f บนเซต D


ถ้า f(c) เป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ หรือ ค่าต่าสุดสัมบูรณ์ ของ f บนเซต D

จากกราฟและนิยามข้างต้นจึงได้ว่า
1. f(a) เป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของ f บนช่วง a, b
2. f(c) เป็นค่าต่าสุดสัมบูรณ์ของ f บนช่วง a, b
3. f(a) และ f(c) เป็นค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของ f บนช่วง a, b

คาถามชวนคิด 1 ทาไมเราถึงสนใจค่าของฟังก์ชัน มากกว่า สนใจจุดบนฟังก์ชัน 


CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 15

นักคณิตศาสตร์มีความสงสัยว่า ถ้าเราพิจารณาฟังก์ชันบนเซตสักเซตหนึ่ง แล้วฟังก์ชันนั้นจะมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์


หรือ ค่าต่าสุดสัมบูรณ์ เสมอหรือไม่  เราลองมาพิจารณากราฟของ f(x) = 4 − x 2 บนช่วงที่แตกต่างกัน ดังนี้

รูปที่ 1 : กราฟ f(x) = 4 − x 2 บนช่วง (−, )


จะได้ว่า f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์เท่ากับ 4
แต่ f ไม่มีค่าต่าสุดสัมบูรณ์ บนช่วง (−, )

รูปที่ 2 : กราฟ f(x) = 4 − x 2 บนช่วง 0, 2


จะได้ว่า f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์เท่ากับ 4
และ f มีค่าต่าสุดสัมบูรณ์เท่ากับ 0

รูปที่ 3 : กราฟ f(x) = 4 − x 2 บนช่วง (0, 2]


จะได้ว่า f ไม่มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ บนช่วง (−, )
แต่ f มีค่าต่าสุดสัมบูรณ์เท่ากับ 0

รูปที่ 4 : กราฟ f(x) = 4 − x 2 บนช่วง (0, 2)


จะได้ว่า f ไม่มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ บนช่วง (−, )
และ f ก็ไม่มีค่าต่าสุดสัมบูรณ์ บนช่วง (−, )

นักคณิตศาสตร์จึงตั้งสมมติฐานว่า “ f จะมีค่าสุดขีดสัมบูรณ์เมื่อพิจารณาบนช่วงปิดเท่านั้น ” จริงหรือไม่ 


จนสุดท้ายแล้ว สามารถพิสูจน์การมีค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน ได้ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบทที่ 1 (การมีค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน)
ถ้า f เป็นฟังก์ชันต่อเนือ่ งบนช่วงปิด a, b แล้ว f จะมีค่าสุดขีดสัมบูรณ์บนช่วง a, b

คาถามชวนคิด 2 ถ้าเอาเงื่อนไข “เป็นฟังก์ชนั ต่อเนื่อง” ออก ทฤษฎีข้างต้นจะยังเป็นจริงหรือไม่ 


CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 16

ทฤษฎีดังกล่าวบอกให้เรารู้แค่ว่า “ฟังก์ชันจะมีค่าสุดขีดสัมบูรณ์เมื่อใด”
แต่ไม่ได้บอกเราว่า “แล้วเราจะหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ได้อย่างไร ” เราลองมาพิจารณากราฟ y = f(x) ต่อไปนี้

ค่าต่าสุด = ตาแหน่งซ้ายสุดของช่วง ค่าต่าสุด = ตาแหน่งที่ f (x) = 0


ค่าสูงสุด = ตาแหน่งที่ f (x) = 0 ค่าสูงสุด = ตาแหน่งขวาสุดของช่วง

ค่าต่าสุด = ตาแหน่งที่ f (x) = 0 ค่าต่าสุด = ตาแหน่งซ้ายสุดของช่วง


ค่าสูงสุด = ตาแหน่งที่ f (x) = 0 ค่าสูงสุด = ตาแหน่งขวาสุดของช่วง

ค่าต่าสุด = ตาแหน่งซ้ายสุดของช่วง
ค่าสูงสุด = ตาแหน่งที่ f (x) ไม่มีค่า

จากกราฟทั้ง 5 รูป ทาให้เกิดแนวคิดไปสู่ผลสรุปว่า ตาแหน่งของกราฟที่จะให้ค่าสุดขีดสัมบูรณ์ มีอยู่ 3 ตาแหน่ง


 ตาแหน่ง x = a ซึ่งเป็นตาแหน่งซ้ายสุดของช่วง a, b
 ตาแหน่ง x = b ซึ่งเป็นตาแหน่งขวาสุดของช่วง a, b
 ตาแหน่ง x = c ที่ทาให้ f (c) = 0 หรือ f (c) ไม่มีค่า
CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 17

นิยาม 2 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันโดยที่ (a, b)  Df และ c  (a, b)


เราเรียก c ว่าค่าวิกฤต (critical value) ของฟังก์ชัน f ถ้า f (c) = 0 หรือ f (c) ไม่มีค่า
และเรียกจุด ( c, f(c) ) ว่าจุดวิกฤต (critical point) ของฟังก์ชัน f

ตัวอย่างที่ 10 จงหาค่าวิกฤตทั้งหมดของฟังก์ชันต่อไปนี้
10.1 f(x) = x1 3 − x −2 3

10.2 f(x) = 3x − arcsin x

x2
10.3 f(x) =
x− 2
CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 18

ขั้นตอนในการหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วง a, b


ขั้นที่ 1 หาค่าวิกฤต c  (a, b) ทั้งหมด
ขั้นที่ 2 หาค่าของฟังก์ชันทั้งหมดที่ตาแหน่งค่าวิกฤต นั่นคือ หาค่าของ f(c)
ขั้นที่ 3 หาค่าฟังก์ชันทั้งหมดที่ตาแหน่งขอบของช่วง นั่นคือ หาค่าของ f(a) และ f(b)
ขั้นที่ 4 เปรียบเทียบค่าที่ได้ในขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3
ค่าที่มากที่สุดเรียกว่า ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ และ ค่าที่น้อยที่สุดเรียกว่า ค่าต่าสุดสัมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 11 จงหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงที่กาหนดให้ต่อไปนี้


11.1 f(x) = x3 − 3x 2 + 5 บนช่วง 1, 4

11.2 f(x) = x 4 − x 2 บนช่วง  −1, 2

11.3 f(x) = x − ln x บนช่วง  12 , 2


CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 19

ตัวอย่างที่ 12 จงหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงที่กาหนดให้ต่อไปนี้


12.1 f(x) = 2cos x + sin 2 x บนช่วง 0, 2 

12.2 f(x) = x 3e− x บนช่วง  −1, 2

x
12.3 f(x) = บนช่วง 0,3
x − x+ 1
2
CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 20

ตัวอย่างที่ 13 จงหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงที่กาหนดให้ต่อไปนี้


13.1 f(x) = x 2 − x − 2 บนช่วง  −2,3

 − x2 − 2 x+ 4 ; x  1
13.2 f(x) =  บนช่วง  −2, 2
 − x + 6 x− 4 ; x  1
2
CALCULUS-1 FINAL By…PTOON 4.2 ค่ า สุ ด ขี ด สั ม บู ร ณ์ | 21

แบบฝึกหัดที่ 4.2
1. จงหาค่าวิกฤตทั้งหมดของฟังก์ชัน f ต่อไปนี้
1.1 f(x) = x3 − 3x 2 + 4 1.2 f(x) = x 2e−4x
1.3 f(x) = 5 x − 3arcsin x 1.4 f(x) = x −2ln x
x2 3
1.5 f(x) = x (x − 4)
45 2
1.6 f(x) = 2
x −1
3 6 9
1.7 f(x) = x 8 3 − x 5 3 − x 2 3 1.8 f(x) = 2cos x + sin 2 x ; 0  x  2
8 5 2

2. จงหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงที่กาหนดให้ต่อไปนี้
2.1 f(x) = 2 x3 − 3x 2 −12 x + 1 บนช่วง  −2,3
2.2 f(x) = 5 + 54 x− 2 x3 บนช่วง 0, 4
2.3 f(x) = x 4 − 6 x 2 − 3 บนช่วง  −3,1
1
2.4 f(x) = x 4 − x 3 บนช่วง  −1, 4
4
2.5 f(x) = (x 2 − 1)3 บนช่วง  −1, 2
1
2.6 f(x) = 4 x + บนช่วง 0.1 , 4
x
2.7 f(x) = x − 2arctan x บนช่วง  − 3, 3 
2.8 f(x) = 3 x + 6 + 1 บนช่วง  −4,1

3. จงหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงที่กาหนดให้ต่อไปนี้
 x2 + 2 x ; x0
3.1 f(x) =  บนช่วง  −3, 2
x ; x0
 x 3 − 12 x + 9 ; x 1
3.2 f(x) =  2 บนช่วง  −3,3
 x −3 ; x 1
 2 − 2 x− x2 ; −2  x  0

3.3 f(x) =  x − 2 ; 0x 3
 1 (x − 2)3 ; 3 x  4
3

You might also like