You are on page 1of 11

กิจกกรม 14.

1 การแก้ ปัญหาด้ วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ความรู้ ทางเคมี

เสนอ
อาจารย์ ธิยา ภักดี

จัดทำโดย
นางสาวจุฑารัตน์
รอดสั้น เลขที่ 11
นางสาวศิรภัสสร
แซ่ฉวั่ เลขที่ 13
นางสาวธัญรดี
ชั้น ไชยชนะ เลขที่ 16 มัธยมศึกษาปี ที่ 6/6

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาเคมีเพิม่ เติม (ว 30226)


โรงเรียนสุ ราษฎร์ พทิ ยา

กิจกรรม 14.1 การแก้ ปัญหาด้ วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ความรู้ ทางเคมี


จุดประสงค์
1. ระบุปัญหาจากสถานการณ์ที่กำหนดให้
2. ตั้งคำถาม สมมติฐาน และกำหนดตัวแปรจากสถานการณ์ที่กำหนดให้โดยใช้ความรู ้
ทางเคมี
3. ออกแบบวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน
4. นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา
สถานการณ์ ที่2
นักเรี ยนเป็ นนักเคมีในบริ ษทั ผลิตเครื่ องสำอางแห่งหนึ่งที่ได้รับมอบหมายให้ผลิตครี มกันแดด ที่
สามารถป้ องกันรังสี UVB ได้
ปัญหา
รังสี UVB เป็ นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดมะเร็ งผิวหนัง
คำถาม
สารเคมีที่เป็ นส่ วนผสมในครี มกันแดดชนิดใดที่สามารถป้ องกันรังสี UVB ได้

สารกันแดด
ครี มกันแดด (sunscreen) คือ ผลิตภัณฑ์ทาผิวที่มีส่วนผสมของสารกันแดด (Sunscreen agent) เพื่อใช้
ทาผิวสำหรับป้ องกันอันตรายจากแสงแดดที่มีต่อผิวหนัง อันได้แก่ รังสี อลั ตร้าไวโอเลต A (UVA), รังสี อลั ต
ร้าไวโอเลต B (UVB) และรังสี ที่ตามองเห็น (Visible Light) เพราะคนเราไม่สามารถหลบจากแสงแดดได้
ตลอดเวลา โดยเฉพาะคนที่ตอ้ งทำงานในที่โล่งแจ้ง และถึงแม้การได้รับแสงแดดในเวลาไม่นาน แต่หากได้
รับบ่อย ก็จะทำให้ภูมิตา้ นทานของเซลล์ผวิ หนังลดลง และสะสมจนเกิดมะเร็ งผิวหนังได้เช่นกัน
นอกจากนั้น แสงแดดยังเป็ นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผวิ หน้าเสื่ อมสภาพ และเกิดปั ญหาที่คนหนุ่มสาวไม่
ต้องการ อาทิ เกิดรอยเหี่ยวย่น เกิดตีนกา ผิวหน้าหมองคล้ำ และหยาบกร้าน เกิดกระ เกิดฝ้ า จนผิวหน้าแลดู
แก่กว่าวัยอันควร

ประเภทครีมกันแดด (แบ่งตามคุณสมบัติ)
1. สารกันแดดประเภท Chemical
สารกันแดด Chemical เป็ นสารที่มีคุณสมบัติปกป้ องรังสี ผวิ จากแสงแดดด้วยการดูดซับรังสี UV แล้ว
คายออกในรู ปแบบของความร้อน ไม่ใช่การสะท้อนแสงกลับออกไป และเมื่อทาแล้วไม่สามารถกันแดดได้
ทันที แต่ตอ้ งใช้เวลารอ 20-30 นาที ถึงจะมีประสิ ทธิ ภาพในการกันแดดได้ ส่ วนสารที่อยูใ่ นครี มกันแดด
ประเภทนี้จะมีมากกว่าครี มกันแดดประเภท Physical เพราะว่าสารบางตัวไม่สามารถป้ องกันได้ท้ งั แสง UVB
และ UVA เลยต้องประกอบไปด้วยสารหลายตัว เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพที่ดีในการป้ องกันแสงแดด แบ่งได้
ดังนี้
1.1 PABA หรื อ Paraaminobenzoic acid ปั จจุบนั ไม่มีการใช้แล้ว เพราะมีฤทธิ์ ระคายเคือง บางรายมี
อาการแพ้ง่าย และอาจเป็ นสาเหตุของการเกิดมะเร็ ง
1.2 PABA ester พัฒนามาจากกลุ่ม PABA มีคุณสมบัติตา้ นฤทธิ์ ของสารเคมีอื่นอันไม่พึงประสงค์ แต่
ยังคงประสิ ทธิภาพในการกันแดดเหมือนเดิม ได้แก่ Padimate-O
1.3 BENZOPHENONE ได้แก่ Oxybenzone,Sulisobenzone
1.4 CINNAMATES ได้แก่ Octylmethyl Cinnamate, Cinoxate
1.5 Salicylates ได้แก่ Homomenthyl Salicylate
ข้อดี
ไม่มีสีหรื อมีสีอ่อนๆ มีคุณสมบัติในการบำรุ งผิว มีราคาถูก
ส่ วนข้อเสี ย คือ บางคนอาจเกิดอาการแพ้ต่อสารเคมีที่ผสมได้ รวมถึงต้องมัน่ ทาครี มทุกๆ 1-2 ชัว่ โมง
เมื่อต้องตากแดดเป็ นเวลานานๆ เพราะสารที่ผสมจะดูดซับรังสี ไว้ในปริ มาณที่ จำกัด หากดูดซับไว้เต็มที่แล้ว
ก็จะไม่สามารถดูดวับไว้ได้อีก ทำให้รังสี ที่ได้รับต่อมากระทบต่อผิวหนังทั้งหมด
2. สารกันแดดประเภท Physical
สารกันแดดจะมีส่วนผสมหลักเป็ นแร่ ธาตุจากธรรมชาติ ช่วยป้ องกันรังสี UV จากแสงแดดด้วยวิธีการ
สะท้อนกลับ เหมือนการสะท้อนแสงของกระจก เมื่อเราทาครี มกันแดดแบบกายภาพครี มกันแดดชนิดนี้ จะ
เคลือบอยูบ่ นผิวพอโดนแสงแดดปุ๊ ป ก็จะทำหน้าที่สะท้อนรังสี UV ออกจากผิวหนังทันที จึงสามารถออก
แดดได้ทนั ทีหลังทา โดยไม่ตอ้ งรอให้สารกันแดดซึ มเข้าสู่ ผวิ ก่อน 30 นาที เหมือนสารกันแดดแบบเคมี
สารที่อยูใ่ นครี มกันแดดแบบกายภาพประกอบด้วยสาร 2 ชนิด
 Zinc Oxide ทำหน้าที่ป้องกันรังสี UV ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถป้ องกันได้ท้ งั รังสี
UVB และ UVA ทั้งหมด
 Titanium Dioxide สารตัวนี้จะป้ องกันรังสี UVB ได้ รวมถึง UVA บางส่ วน (UVA-I)
ข้อดีของครี มกันแดดประเภทนี้ คือ
– ไม่สลายตัวง่ายเมื่อสัมผัสกับแสงแดด จึงไม่ตอ้ งทาซ้ำบ่อยๆ
– มีผลทำให้ผวิ ระคายเคืองน้อย ไม่เกิดอาการแพ้ง่าย
3. ครีมกันแดดแบบผสม (chemical-physical sunscreen)
ครี มกันแดดประเภทนี้ มีส่วนผสมของสารที่มีคุณสมบัติในการดูดซับ และสะท้อนรังสี เข้าด้วยกัน อีก
ทั้ง ยังช่วยลดผลข้างเคียงจากสารเคมีที่อาจทำให้เกิดอาการแพ้ง่าย เนื้อครี มมีส่วนผสมของสารเคมีที่เป็ นสี
ขาว น่าใช้มากขึ้น ดังนั้น จึงเป็ นผลิตภัณฑ์ที่รวมข้อดี และลดข้อด้อยของครี มกันแดดทั้งสองประเภทข้างต้น
ซึ่ งปั จจุบนั ครี มกันแดดที่วางจำหน่ายส่ วนมากจะเป็ นประเภทผสมผสาน
ระหว่ างครีมกันแดดแบบ Physical กับ Chemical แบบไหนดีกว่ ากัน
บอกไม่ได้วา่ แบบไหนที่ดีกว่ากัน เพราะการใช้ครี มกันแดดที่ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพที่ดีน้ นั ขึ้นอยูก่ บั
สภาพผิว และการใช้ชีวิตของแต่ละคนไป เช่น ถ้าวันไหนไม่ตอ้ งออกไปตากแดดทั้งวัน อยูแ่ ต่ในห้อง ไม่
ค่อยมีเหงื่อออก ก็สามารถใช้ครี มกันแดดแบบ Physical ได้ ในขณะเดียวกัน ถ้าออกแดดทั้งวัน และไม่ชอบ
ความเหนียวเหนอะหนะที่มาคู่กบั อากาศร้อนอบอ้าว ก็ลองใช้แบบ Chemical ได้ หรื อถ้าเราเป็ นคนผิวแพ้ง่าย
ครี มกันแดดแบบ Chemical ก็อาจจะไม่ค่อยเหมาะกับเราเท่าไหร่ นกั อีกทั้งในปั จจุบนั ครี มกันแดดหลายๆ
ตัวก็ใช้วิธีผสมทั้ง Physical และ Chemical ด้วยกันเพื่อเสริ มจุดดีและลบจุดด้อยของอีกตัว

ประเภทครีมกันแดด (แบ่งตามผลทีมีต่อสี ผวิ )


1. Sun Tan เป็ นผลิตภัณฑ์ครี มกันแดดที่หลังการทาแล้ว เนื้ อครี มจะซึ มเข้าสู่ เซลล์ผวิ และทำหน้าที่
เปลี่ยนสี ผวิ ให้เข้มขึ้น แต่ไม่เกิดอันตรายต่อเซลล์ผวิ แต่อย่างใด
2. Sunscreen เป็ นผลิตภัณฑ์ครี มกันแดดที่ทำหน้าที่กรองรังสี กระจาย และสะท้อนรังสี ไม่ให้เข้าสู่ เซลล์
ผิวมาก รวมถึงช่วยในการปรับสมดุลของสี ผวิ ที่หมองคล้ำหลังการตากแดด

ประเภทครีมกันแดด (แบ่งตามส่ วนที่ทา)


1. ครี มกันแดดทาหน้า (Sunshade) ครี มกันแดดประเภทนี้ มกั มีส่วนผสมของซิ งค์ออกไซด์หรื อไททา
เนียมไดออกไซด์ มีคุณสมบัติช่วยป้ องกันรังสี UV ได้ทุกชนิด ใช้สำหรับการทาบริ เวณที่บอบบาง
อาทิ บริ เวณใบหน้า ลำคอ และริ มฝี ปาก
1. ครี มกันแดดทาลำตัว (Sunscreen/Sunblock) ครี มกันแดดประเภทนี้ มักมีส่วนผสมของสารเคมีหลาย
ชนิดที่ผสมผสานกันระหว่างสารเคมีที่ทำหน้าที่ดูดซับ และสะท้อนรังสี UV ซึ่ งประสิ ทธิ ภาพจะถูก
ระบุเป็ นค่า SPF

ส่ วนผสมในครีมกันแดด สามารถแบ่ งตามสารออกฤทธิ์ได้ ดงั นี้


1. สารออกฤทธิ์ กลุ่มสารเคมีที่ป้องกัน UVA ได้แก่ Oxybenzone, Sulisobenzone, Dioxybenzone,
Avobenzone, Merxoryl sx
2. สารออกฤทธิ์ กลุ่มสารเคมีที่ปัองกัน UVB ได้แก่ Aminobenzoic acid (PABA), Homosalate,
Cinoxate, Octyl methoxycinnamate, Octyl salicylate, Padimate O, Phenylbenzimidazole sulfonic acid,
Trolamine salicylate, Methyl anthralinate
3. สารออกฤทธิ์ กลุ่ม Physical เป็ นสารกันแดดที่สะท้อนแสงที่ป้องกันทั้ง UVA และ UVB ได้แก่
Titanium dioxide, Zinc Oxide
สุ ดท้ายแล้ว ครี มกันแดดที่ดีที่สุด ไม่ใช่ครี มที่เชื่อตามๆ กันมาว่าดี แต่มนั คือครี มกันแดดที่เหมาะสม
กับสภาพผิว และการใช้ชีวิตของแต่ละคน ดังนั้น หากเราเข้าใจความแตกต่างของครี มกันแดดแต่ละตัวว่า
เป็ นอย่างไร เราก็จะเลือกครี มกันแดดได้เหมาะสมกับผิวเรามากที่สุด

ค่ า SPF หรือ ประสิทธิภาพสารกันแดด


ผลิตภัณฑ์ครี มกันแดดทุกชนิดจะต้องมีการประเมินประสิ ทธิ ภาพของครี มกันแดดก่อนนำออก
จำหน่าย ซึ่ งค่าประสิ ทธิภาพของครี มกันแดดจะถูกระบุในค่าที่ชื่อ Sun Protecting Factor (SPF) หมายถึง
ความสามารถของครี มกันแดดที่ทาแล้ว (2 มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตรผิวหนัง) ทำให้ผวิ สามารถทนต่อ
แสงแดดได้นานในอัตราเท่าใดเมื่อเทียบกับผิวทัว่ ไปที่ไม่ได้ทาครี มกันแดด โดยความสามารถของผิวหนังที่
ทนต่อแสงแดดได้ได้น้ นั หมายถึง ระยะเวลาหลังการสัมผัสแสงแดดแล้วทำให้ผวิ หนังเกิดอาการแดงน้อย
ที่สุด ซึ่ งค่า SPF เป็ นค่าที่เพิ่มขึ้นในอัตราส่ วนเท่าตัวของค่าการทนแสงแดดได้ในผิวหนังที่ไม่ได้ทาครี ม
กันแดด ยกตัวอย่างเช่น
SPF 20 หมายถึง ครี มกันแดดมีประสิ ทธิ ภาพการกันแดดได้นาน 20 เท่า เมื่อเทียบกับผิวธรรมดาที่ไม่
ได้ทาครี มกันแดด
ทั้งนี้ โดยทัว่ ไป ผิวหนังของคนเราสามารถทนต่อแสงแดดได้นานประมาณ 15 นาที ก่อนจะเกิด
อาการไหม้แดง ดังนั้น ครี มกันแดดที่มีค่า SPF 20 จะสามารถทนต่อแสงแดดได้นานประมาณ 20 เท่า ของ
15 นาที หรื อประมาณ 300 นาที (5 ชัว่ โมง) นัน่ เอง
ข้ อควรคำนึงเกีย่ วกับ SPF
1. ค่า SPF ที่ระบุจะน้อยหรื อมากเท่าใด ก็ไม่ได้สามารถกรองหรื อป้ องกันรังสี UV ได้ 100%
2. SPF บ่งบอกประสิ ทธิภาพการกันรังสี UVB เท่านั้น เพราะเป็ นค่าที่ได้จากการวัดระยะเวลาที่เกิด
อาการผิวหนังไหม้แดด ซึ่ งเกิดได้เฉพาะรังสี UVB จึงไม่สามารถบ่งบอกความสามรถในการกันรังสี UVA
ได้
3. การใช้ครี มกันแดดที่มีค่า SPF สูงหรื อประสิ ทธิ ภาพสู งเพียงใด ก็ไม่สามารถช่วยลดปัญหาของผิว
หน้าจากแสงแดดได้ เพราะปัญหาผิวหน้าไม่ได้มาจากรังสี UVA และ UVB เท่านั้น ซึ่ งยังมีรังสี อื่น และ
ปั จจัยอย่างอื่นที่ทำให้เกิดปัญหาผิวหน้าได้เช่นกัน
4. การทาครี มกันแดดในแต่ละคนอาจมีความหนาบางไม่เท่ากันหรื อบางคนอาจทาหนาหรื อบางกว่า
ค่ามาตรฐานการทาของการวัดค่า SPF คือ 2 มิลลิกรัม/ตารางเซนติเมตรผิวหนัง ดังนั้น หลังทาครี มกันแดด
แล้ว ประสิ ทธิภาพการกันแดดหรื อค่า SPF จะไม่ตรงตามที่ระบุได้
PA สารปกป้องแสง UVA ส่ วนผสมสำคัญของครีมกันแดดติดทนนาน
อีกหนึ่งตัวหนังสื อที่มกั จะพบเจอประจำบนขวดของครี มกันแดดต่าง ๆ ก็คือ PA นัน่ เอง ซึ่ งย่อมาจาก
คำว่า Protection Grade of UVA ซึ่ งเป็ นสารที่ทำหน้าที่ป้องกันรังสี UVA ให้กบั ผิว ซึ่ งมีดว้ ยกัน 3 ระดับ
ได้แก่
PA+ หมายถึงป้ องกันรังสี UVA ได้ 1-3 เท่า
PA++ หมายถึงป้ องกันรังสี UVA ได้ 4-5 เท่า
PA+++ หมายถึงป้ องกันรังสี UVA ได้ 6-8 เท่า

สารใน ครีมกันแดด ที่อาจอันตรายต่ อผิวคุณ


 อ็อกซีเบนโซน อันตรายที่มาพร้อมการปกป้ อง
อ็อกซี เบนโซน (Oxzbenzone) เป็ นสารกันแดดที่ค่อนข้างมีความเสถียร แต่ประสิ ทธิ ภาพในป้ องกัน
แสงแดดไม่ดีนกั ครี มกันแดดที่มีส่วนผสมของสารนี้จึงต้องใช้ความเข้มข้นมาก เพื่อเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการ
ปกป้ องแสงแดด แต่ปัญหาของสารชนิดนี้ คือสามารถซึ มซาบเข้าสู่ ผวิ ได้ดี ดังนั้น เมื่อเราทาครี มกันแดดที่มี
ส่ วนผสมของของอ็อกซีเบนโซนในความเข้มข้นสู งอาจก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวได้ ส่ วนผลข้างเคียง
ในระยะยาว นักวิทยาศาสตร์ คาดว่า การสะสมของอ็อกซี เบนโซน อาจส่ งผลต่อการยับยั้งฮอร์โมนบางชนิด
ในร่ างกาย รวมไปถึงส่ งผลเสี ยต่อระบบต่อมไร้ท่อ ดังนั้น การหลีกเลี่ยงครี มกันแดดที่มีสารดังกล่าวเป็ น
ส่ วนผสม น่าจะเป็ นทางออกของการการป้ องกันสุ ขภาพที่ดีของคุณ

 อ็อกติโนเซท กระตุน้ ผิวโรยราก่อนวัย


อ็อกติโนเซต (Octinoxate) เป็ นส่ วนประกอบของสารกันแดดที่พบได้ในกันแดดทัว่ ไปที่ขายตามท้อง
ตลาด ซึ่ งตามปกติแล้วครี มกันแดดมีส่วนช่วยในการปกป้ องผิวจากไม่ให้เกิดริ้ วรอย แต่สำหรับครี มกันแดด
ที่มีส่วนผสมของสารอ็อกติโนเซต อาจแตกต่างออกไป เพราะนักวิทยาศาสตร์บางส่ วนเชื่อว่า ผลข้างเคียง
ของสารดังกล่าว คือการกระตุน้ ให้ผวิ พรรณเกิดความโรยรา ซึ่ งเป็ นต้นเหตุของริ้ วรอยบนผิวก่อนวัยอันควร
หากไม่อยากผิวแก่ก่อนวัยก็ควรระวังสารเคมีชนิดนี้ให้ด ั
 เรตินิน ปาลมิเตท อาจก่อให้เกิดมะเร็ ง
เรตินิน ปาลมิเตท (Retinyl Palmitate) คืออนุพนั ธ์ของวิตามินเอ เป็ นสารเคมีที่นำมาใช้ในครี มกันแดด
เพื่อช่วยในการลดเลือนริ้ วรอยไม่ใช่สารที่มีคุณสมบัติในการกันแดดจึงไม่ใช่ส่วนประกอบที่สำคัญ ทำให้
หลายบริ ษทั ยกเลิกการผสมสารดังกล่าวลงในครี มกันแดด มีเพียงหนึ่งในสามบริ ษทั ผลิตครี มกันแดดเท่านั้น
ที่ยงั ใช้สารชนิดนี้ อยู่ ซึ่ งผลข้างเคียงของการใช้สารเรตินิน ปาลมิเตท คือความเสี่ ยงต่อการก่อให้เกิดโรค
มะเร็ ง เนื่องจากการทดลองใช้สารนี้ ในหนูพบว่าสารเนตินิน ปาลมิเตท มีความเชื่อมโยงกับการเกิดมะเร็ งใน
สิ่ งมีชีวิต การไม่ใช้ครี มกันแดดที่มีส่วนผสมของสารดังกล่าวจึงเป็ นทางออกที่ดีที่สุดสำหรับการมีสุขภาพที่
ดี
 โฮโมซาเลต สะสมไว้กลายเป็ นพิษ
โฮโมซาเลต (Homosalate) เป็ นส่ วนผสมที่ทำให้ครี มกันแดดซึ มซาบลงสู่ ผวิ ได้ดี แต่เมื่อครี มกันแดด
ซึ มซาบลงสู่ ผวิ แล้ว เจ้าสารตัวนี้ จะทำหน้าที่เก็บสะสมสารเคมีต่างๆ ไว้อย่างรวดเร็ ว ซึ่ งสิ่ งที่น่าเป็ นห่วงก็คือ
ร่ างกายของเราไม่สามารถกำจัดสารนี้ให้หมดไปได้ เมื่อใช้สารนี้ ในระยะยาว อาจเกิดการสะสมสารนี้ จน
กลายเป็ นสารพิษ ที่ส่งผลเสี ยต่อฮอร์โมนในร่ างกาย ส่ วนในรายที่มีประวัติแพ้ แอสไพริ น (Aspirin) หรื อ
กรดซาลิไซซิ ก (Salicylic acid) อาจเกิดอาการแพ้ได้ เนื่องจากเป็ นสารในกลุ่มเดียวกัน ถึงแม้อนั ตรายจาก
สารนี้ตอ้ งใช้ระยะเวลาในการก่อผลเสี ย แต่การป้ องกันไว้ก่อนก็คงดีกว่าการแก้ไขแน่นอน
 ออคโตไคลีน ผลิตอนุมูลร้ายทำลายเซลล์ผวิ
ออคโตไคลีน (Octocrylene) เป็ นส่ วนประกอบที่ทำหน้าที่ดูดซับรังสี ยวู ีได้ดี จึงนิยมนำมาใช้ในครี ม
กันแดด แต่ผลข้างเคียงของเจ้าสารป้ องกันแดดชนิดนี้ กค็ ือ การผลิตอนุมูลอิสระที่ทำร้ายเซลล์ผวิ เมื่อผิวของ
เราดูดซับสารดังกล่าวเข้ามาในร่ างกายมากเกินไป จะทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงหรื อกลายพันธุ์
นอกจากนั้นออคโตไคลีนยังเป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อม การเลี่ยงการใช้กนั แดดที่มีส่วนผสมของสารดังกล่าวนับ
เป็ นการรักษาสุ ขภาพของคุณและรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วย
 พาราเบน สารอันตรายใกล้ตวั
พาราเบน (Paraben) เป็ นสารกันเสี ยที่นิยมใช้ในผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหลายชนิด รวมไปถึงครี มกันแดด
เนื่องจากเจ้าสารตัวนี้ มีคุณสมบัติในการยับยั้งการเติบโตของเชื้อจุลินทรี ย ์ อย่างแบคทีเรี ยและเชื้อราได้ดี ทั้ง
ยังได้รับการรับรองถึงความปลอดภัย หากใช้ในปริ มาณเหมาะสม แต่เราจะมัน่ ใจได้อย่างไรว่าสารนี้
ปลอดภัย เพราะนักวิทยาศาสตร์ยงั คงมีขอ้ สงสัยในสารดังกล่าว เนื่องจากเป็ นสารอันตรายที่ก่อให้เกิดอาการ
แพ้ และเป็ นสารพิษที่สะสมอยูใ่ นร่ างกาย ซึ่ งมีผลรบกวนฮอร์โมนในร่ างกาย จึงเริ่ มมีการรณรงค์ให้ยกเลิก
การใช้สารดังกล่าว และในปัจจุบนั ผูผ้ ลิตหลายรายก็ได้หนั มาให้ความสนใจต่ออันตรายที่อาจเกิดขึ้น และ
เริ่ มงดใช้สารพาราเบน หากเราต้องการทราบว่าสิ นค้าชนิดใดปลอดจากสารพาราเบน ให้สงั เกตฉลากที่ระบุ
ว่า ไม่มีสารพาราเบน (Paraben free) ผูใ้ ช้ยอ่ มมัน่ ใจในความปลอดภัยและสบายใจได้แน่นอน
เลือก ครี มกันแดด ที่ดี เพื่อความปลอดภัย ปราศจากสารเคมีที่เป็ นอันตรายดังกล่าว อ่านฉลากสักนิด
เมื่อคิดจะซื้ อครี มกันแดด เพื่อให้คุณปลอดภัยจากทั้งแสงแดดและสารเคมี

ตัวอย่ างครีมกันแดดในท้ องตลาด

1. ครีมกันแดด Anessa Perfect UV Sunscreen Milk


เริ่ มต้นที่ครี มกันแดดระดับตำนาน อย่าง ANESSA สี ทองที่หลายคนคงจะเคยเห็นและได้ยนิ กิตติศพั ท์
กันมาพอสมควร โดยรุ่ นนี้โดดเด่นตรงที่เป็ นสู ตรน้ำนม ทำให้มีเนื้อสัมผัสบางเบา ซึ มซาบเร็ ว ไม่เหนียว
เหนอะหนะ กันน้ำและเหงื่อได้ดีเยีย่ ม ทำให้มนั่ ใจว่า จะช่วยปกป้ องผิวจากแสงแดดในทุกกิจกรรม ทั้งยัง
สามารถใช้เป็ นเมคอัพเบสช่วยให้เมคอัพติดทนนานได้อีกด้วย
2. ครีมกันแดด Spectraban Anti UVA-UVB With SPF 50+ PA+++
นี่เป็ นครี มกันแดดอีกตัวที่มีมานาน จากแบรนด์ Spectraban ซึ่ งมีส่วนผสมที่สามารถกันแดดได้อย่าง
อ่อนโยนอย่าง Microfine Zinc Oxide 9.8% คนผิวบอบบางก็สามารถใช้ได้ และสามารถกันน้ำกันเหงื่อได้
เป็ นอย่างดีในระดับ Very Water Resistant เหมาะกับการใช้ทาเวลาต้องไปทำกิจกรรมกลางแจ้ง และลงน้ำลุย
ทะเล

3. ครีมกันแดด Banana Boat Simply Protect Sport SPF 50+ PA++++


เป็ นสู ตรกันน้ำและทนต่อเหงื่อ ที่ช่วยปกป้ องผิวจากรังสี UVA, UVB ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู ง ด้วย
ส่ วนผสมของสารกัดเคมีที่นอ้ ยลงถึง 25% เนื้อครี มบางเบาไม่เหนียวเหนอะหนะ ไม่มีส่วนผสมของ
oxybenzone & parabens ไม่มีน้ำมันและน้ำหอม ช่วยให้คุณได้สนุกกับครอบครัวทั้งว่ายน้ำและออกแดด
กลางแจ้งได้อย่างไรกังวล
4. ครีมกันแดด Kiehl’s
ผลิตภัณฑ์ป้องกันแสงแดด แบรนด์ Kiehl’s มีส่วนผสมจาก
Baicalin และ Cellulospheres ช่วยปกป้ องผิวจากจุดด่างดำ ความหมอง
คล้ำ และมลภาวะต่าง ๆ รวมไปถึงรังสี UVA , UVB และ Long UVA
หรื อแม้แต่ฝนุ่ PM 2.5 ก็เข้ามาเกาะหน้าเราไม่ได้ ที่สำคัญเค้าไม่มีสี ไม่มี
น้ำหอม ไม่ผสมพาราเบน ใช้แล้วไม่ก่อให้เกิดการอุดตันบนผิวแน่นอน

5. ครีมกันแดด Smooth E
เป็ นครี มกันแดดที่ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี
100% มัน่ ใจปราศจากปัญหาผิวหน้าระคายเคือง
ทำให้เหมาะกับทุกสภาพผิว เนื้ อครี มเกลี่ยง่าย ไม่หนัก
ผิว กันน้ำและเหงื่อได้เป็ นอย่างดี ทั้งยังมีสารสกัดจาก
วิตามิน A, B, C และ E ช่วยเติมความชุ่มชื้นให้กบั ผิว

คำถามย่ อย
ปริ มาณของ Titanium dioxide ในครี มกันแดดมีผลต่อความสามารถป้ องกันรังสี UVB
สมมติฐาน
ปริ มาณ Titanium dioxide 30% ในครี มกันแดดสามารถป้ องกันรังสี UVB ได้
ตัวแปร
ตัวแปรต้น : ปริ มาณ Titanium dioxide 30%
ตัวแปรตาม : ประสิ ทธิภาพในป้ องกันรังสี UVB
ตัวแปรควบคุม : ปริ มาณส่ วนประกอบอื่นๆ ที่ใช้ในครี มกันแดด
อุณหภูมิและปริ มาณของแสงแดดที่ใช้ในการทดลอง
เวลาที่ใช้ในการทดลอง
อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบ
ผูท้ ดสอบการป้ องกันรังสี UVB
ตรวจสอบสมมติฐาน
1. ทดลองทาครี มตามส่ วนผสมในท้องตลาดเพื่อใช้ในหารเปรี ยบเทียบ ดังนี้ Water, Zinc Oxide,
Ethylhexyl Palmitate, Ethylhexyl Methoxycinnamate, Cyclopentasiloxane, 4-Methylbenzylidene
Camphor, Lauryl PEG/PPG-18/18 Methicone, Cyclohexasiloxane, Stearyl Dimethicone, Butyl
Methoxydibenzoylmethane, Ceresin, Phenoxyethanol, Hydrogenated Castor Oil, Sodium
Chloride, Mineral Oil, Tocopheryl Acetate, Chlorphenesin, Dissodium EDTA,
Triethoxylcaprylylsilane, Propylene Glycol, Lanolin Alcohal, Sorbic Acid
2. ทดลองทาครี มกันแดดตามส่ วนผสมข้อ 1 แต่เพิ่ม Titanium dioxide 30%
3. เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพครี มกันแดดหัวข้อที่ 1 กับ 2 โดยใช้อุปกรณ์ตรวจสอบความสามารถใน
การป้ องกันรังสี UVB

ที่มา : https://www.idskinexpert.com/knowledge/ -chemical/


https://hellokhunmor.com/
https://www.siamchemi.com/
https://www.shopat24.com/blog/beauty/10-which-brand-of-sunscreen-is-good-which-brand-is-good-used-clear-skin/

You might also like