You are on page 1of 8

1

ลักษณะของครูที่ดี
อุดมการณ์ ของครู ทดี่ ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดารัสเกี่ยวกับความหมายและคุณลักษณะของครู พระราชทานแก่ครู อาวุโส เมื่อ
วันที่ 28 ตุลาคม 2523 ดังนี้
“...ครู ที่แท้จริ งนั้นต้องเป็ นผูท้ าแต่ความดี คือต้องหมัน่ ขยันและอุตสาหะพากเพียร
ต้องเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่และเสี ยสละ ต้องหนักแน่น อดทน และอดกลั้น สารวมระวังความประพฤติปฏิบตั ิ
ของตน ให้อยูใ่ นระเบียบ แบบแผนที่ดีงาม รวมทั้งต้องซื่อสัตย์ รักษาความจริ งใจวางใจเป็ นกลาง
ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ...”
ครู เป็ นบุคคลที่มีความสาคัญที่สุดในวงการศึกษา เพราะเป็ นผูท้ ี่ก่อให้เกิดองค์ความรู ้ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อสังคมและโลก
นอกจากนั้นยังเป็ นผูม้ ีอิทธิพลต่อการสร้างบัณฑิตอย่างมาก บัณฑิตจะมีความคิดที่ดี มีวธิ ีการวิเคราะห์อย่างถูกต้อง และมีระบบระเบียบ
ในการปฏิบตั ิงาน ตลอดจนการพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ ซึ่งควรได้รับการปลูกฝังอบรมจากครู ผสู ้ อน และบุคลิกภาพ
ของครู ย่อมส่งผลไปสู่บณ ั ฑิตดังคากล่าวที่วา่ “อยากรู ้วา่ ตัวครู เป็ นฉันใด จงดูได้จากศิษย์ที่สอนมา” (ม.ล.ปิ่ น มาลากุล)
ครู จึงจาเป็ นต้องพัฒนาจิตสานึกของความเป็ นครู เพราะครู หรื ออาจารย์ จาเป็ นต้องมีขอ้ กาหนดอยูใ่ นใจ เพื่อให้มีหลักในการ
ดารงตนให้เป็ นครู สิ่งแรกที่ควรจะพัฒนาก็คือ การสร้างคุณธรรมหรื อครุ ธรรมให้เกิดขึ้น ซึ่งความเป็ นจริ งนั้น“ครุ ธรรม” คือ ธรรม
สาหรับครู เป็ นสิ่ งที่ครู หลายท่านทราบและได้ปฏิบตั ิแล้ว แต่ก็มีอีกหลายท่านที่ท้ งั ไม่ทราบและไม่ปฏิบตั ิครุ ธรรมเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นมาก
สาหรับการดาเนินอาชีพครู อนั เป็ นอาชีพที่มีเกียรติเป็ นอาชีพที่คนทัว่ ไปยกย่อง และถือว่าเป็ นอาชีพที่สาคัญในการพัฒนาสังคมหรื อ
ประเทศชาติ ครู ที่ขาดครุ ธรรมจะเปรี ยบเสมือนเรื อที่ขาดหางเสื อ ดังนั้น การจะพาศิษย์ไปสู่จุดหมายปลายทางอย่างถูกต้อง
ย่อมเป็ นสิ่ งที่ทาได้ยากอย่างแน่นอนท่านพุทธทาสกล่าวอยูเ่ สมอว่า “ธรรม” คือ หน้าที่ ผูท้ ี่มีธรรมะคือผูท้ ี่ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างดีแล้ว
ครุ ธรรมจึงเป็ น “หน้าที่สาหรับครู ” ซึ่งครู ส่วนใหญ่ทุกคนย่อมทราบดีวา่ “หน้าที่ของครู ก็คือการอบรมสัง่ สอนศิษย์” แต่การอบรมสัง่
สอนศิษย์ของครู แต่ละคนก็มีการปฏิบตั ิที่แตกต่างกันครู บางคนก็อาจจะคิดว่าหน้าที่ของครู คือ สอนวิชาการที่ตนได้รับมอบหมายให้
สอน แต่อีกหลาย ๆ คนก็คิดว่าครู ควรทาหน้าที่สอนคนให้เป็ นคนที่สมบูรณ์นอกเหนือจากการสอนวิชาการ ความคิดที่แตกต่างกันไม่ใช้
เรื่ องแปลกในสังคมมนุษย์ ดังนั้น จึงเป็ นหน้าที่ของครู ที่จะต้องพิจารณาเลือกหน้าที่ที่ตนเห็นว่าถูกต้องสมบูรณ์ที่สุดของการมีอาชีพครู
เพราะความเป็ นจริ งนั้น ครู มิได้สอนแต่หนังสื ออย่างเดียว แต่ตอ้ งสอนคนให้เป็ นบัณฑิตที่สมบูรณ์ดว้ ยการที่ครู จะปฏิบตั ิหน้าที่ของครู
อย่างเต็มศักดิ์ศรี และเต็มความภาคภูมิได้น้ นั ครู จาเป็ นต้องมีหลักยึดเพื่อนาตนไปสู่สิ่งที่สูงสุดหรื อเป็ นอุดมคติของอาชีพ นัน่ ก็คือ การมี
อุดมการณ์ครู อุดมการณ์ครู มีหลักการที่จะยึดไว้ประจาใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครู มีอยู่ 5 ประการ ดังนี้
เต็มรู ้ เต็มใจ เต็มเวลา เต็มคน เต็มพลัง
1. เต็มรู้ คือ มีความรู้ บริบูรณ์
อาชีพครู เป็ นอาชีพที่ตอ้ งถ่ายทอด อธิบายให้ความรู ้แก่คน ดังนั้น ครู ทุกคนจะต้องเป็ นผูท้ ี่ทาให้ตนเองนั้นบริ บูรณ์ หรื อเต็มไป
ด้วยความรู ้ ครู ควรจะทาให้บริ บูรณ์ในตัวครู ประกอบด้วยความรู ้
3 ประการ คือ
1. ความรู ้ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ ครู ควรเสาะแสวงหาความรู ้ รวบรวมข้อมูลโดยการอ่านการฟัง และพยายามนาประสบการณ์ใหม่ ๆ
เพื่อมาถ่ายทอดให้ผเู ้ รี ยนของตนได้เกิดความรู ้ที่ทนั สมัยดังนั้น ครู จะต้องแสวงหาความรู ้ที่เป็ นประโยชน์และเหมาะสมให้ผเู ้ รี ยน เรี ยน
อย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรู ้น้ นั
2. ความรู ้เรื่ องโลก ครู ควรมีความรู ้และประสบการณ์ชีวติ อย่างเพียงพอ เพื่อสามารถอธิ บายบอกเล่า ถ่ายทอด ทัศนคติ ความเชื่อ
วัฒนธรรม ประเพณี ที่ดีงามของชาติของสังคมไปสู่ศิษย์ครู ควรเข้าใจชีวติ อย่างเพียงพอที่จะให้คาแนะนา คาสัง่ สอน เพื่อให้ศิษย์ได้
2
ดาเนินชีวติ ที่ดีในอนาคตได้ดงั นั้น นอกเหนือจากตาราวิชาการ ครู แสวงหาความรู ้รอบตัวด้านอื่น ๆ ให้บริ บูรณ์ โดยเฉพาะความ
เป็ นไปของระเบียบ ประเพณี สังคม วัฒนธรรม
3. ความรู ้เรื่ องธรรมะ ครู ควรมีสิ่งยึดเหนี่ ยวในจิตใจ เพื่อที่จะสามารถอบรมสัง่ สอนให้ศิษย์มีความคิดที่ดี มีความประพฤติดี ไม่วา่ ครู จะ
นับถือศาสนาใดก็ตาม ทุกศาสนามีจุดหมายเดียวกัน คือมุ่งให้คนเป็ นคนดี ครู ที่มีความรู ้ดา้ นธรรมะจะสามารถหยิบยกเรื่ องธรรมะมา
เป็ นอุทาหรณ์ สาหรับ
สัง่ สอนศิษย์ได้ เช่น จะสอนให้ศิษย์ประสบผลสาเร็ จด้านการศึกษา เล่าเรี ยนได้ดี ก็ยกหัวข้อธรรมะอย่างอิทธิบาท 4 คือ
1. พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวิชาที่ตนเรี ยน
2. มีความเพียรที่จะเรี ยน ไม่ยอ่ ท้อ
3. เอาใจใส่ในบทเรี ยน การบ้าน รายงาน
4. หมัน่ ทบทวนอยูเ่ สมอ
ถ้าศิษย์เข้าใจและนาไปปฏิบตั ิได้ก็ยอ่ มทาให้ศิษย์ประสบความสาเร็ จในการศึกษา นอกจากที่ครู จะต้องทาตนให้บริ บูรณ์ดว้ ยธรรมะเพือ่
ไปสอนศิษย์ ครู ก็จะได้รับประโยชน์จากการศึกษาธรรมะเพื่อให้ครู ไม่หวัน่ ไหวต่อกิเลส อันทาให้จิตของครู ตอ้ งเป็ นทุกข์เศร้าหมอง ครู
ก็ยอ่ มจะเบิกบานและได้รับความสุขที่จะได้สอนคนในเรื่ องต่าง ๆ อีกด้วย การศึกษาธรรมะจึงจาเป็ นสาหรับอาชีพครู
2. เต็มใจ คือ ความมีใจเป็ นครู
พุทธศาสนาถือว่า “ใจนั้นแหละเป็ นใหญ่ ทุกสิ่ งทุกอย่างเกิดจากใจทั้งนั้น” ดังนั้น คนจะเป็ นครู ที่มีอุดมการณ์จาเป็ นต้องสร้าง
ใจให้เป็ นใจที่เต็มบริ บูรณ์ดว้ ยการมีใจเป็ นครู การทาใจให้เต็มนั้น มีความหมาย 2 ประการ คือ
1. รักอาชีพ ครู ตอ้ งมีทศั นคติที่ดีตอ่ อาชีพ เห็นว่าอาชีพครู มีประโยชน์ มีเกียรติ มีกศุ ลได้บุญ ได้ความภูมิใจ และพอใจที่จะสอนอยูเ่ สมอ
พยายามที่จะแสวงหาวิธีสอนที่ดีเพื่อศิษย์
2. รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์พน้ จากสิ่ งที่ไม่พึงปรารถนา ครู ตอ้ งมีใจนึ กอยากให้ทุกคนมีความสุข พยายามชี้แนะหนทางสู่ความสาเร็ จ
และความสุขให้แก่ศิษย์ ยินดีหรื อมีมุทิตาจิต เมื่อเห็นศิษย์ประสบความก้าวหน้าในชีวติ ความรักศิษย์ยอ่ มทาให้ครู สามารถทุ่มเทและ
เสี ยสละเพื่อศิษย์ได้ใจสูง ครู ควรพยายามทาใจให้สูงส่ง มีจิตใจที่ดีงาม การจะวัดใจเราว่าสูงหรื อไม่ มีขอ้ ที่ลอง
ถามตัวเองได้หลายประการ เช่น
1. ทางานอยูท ่ ี่ใด ท่านมักจะด่าว่านินทาเจ้านายแห่งนั้น หรื อดูถูกสถาบันหรื อเปล่า
2. ท่านมักจะคิดว่าเพื่อน ๆ ร่ วมงานของท่านนิ สยั ไม่ดีส่วนใหญ่หรื อเปล่า
3. ทาไมท่านก็ทาดี แต่เจ้านายไม่เห็น
4. ทาไมคนอื่น ๆ จึงโง่และเลว
5. ท่านยอมไม่ได้ที่จะให้คนอื่นดีกว่า เพราะท่านคิดว่าท่านดีกว่าคนอื่น
6. ทาไมที่ทางานของท่าน จึงเอาเปรี ยบท่านและกีดกันท่านตลอด
การทาจิตใจให้สูง ก็คือ การที่มองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแต่สิ่งที่ดีงาม มองโลกและคน
ในแง่ดี ใจกว้าง ยอมรับข้อดีและข้อเสี ยของตนเองและคนอื่นไม่คิดว่าตนเองฉลาด หรื อเก่งกว่าผูใ้ ด ไม่คิดว่าตนเองดีกว่าคนอื่น คิด
เสมอว่าจะช่วยให้คนมีความรู ้มีความคิดและความประพฤติปฏิบตั ิที่ดี คิดอย่างเป็ นธรรมว่าตนเองมีขอ้ บกพร่ องเช่นกัน
3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ
การทุ่มเทเพื่อการสอนครู ที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวติ ครู อย่างเต็มเวลาทั้ง 3 ส่วน คือ
1. งานสอน ครู ตอ้ งใช้เวลาในการเตรี ยมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอน ค้นคว้า
หาวิธีการที่จะสอนศิษย์ในรู ปแบบต่าง ๆ และในขณะที่ดาเนินการสอนต้องสอนให้ครบตามเวลา
ที่กาหนด เข้าสอนตรงเวลา เลิกสอนให้ตรงเวลา
2. งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ครู ตอ้ งให้เวลาแก่งานด้านต่าง ๆ เช่น งานธุรการ
งานบริ หาร บริ การ และงานที่จะทาให้สถาบันก้าวหน้า
3
3. งานนักศึกษา ให้เวลา ให้การอบรม แนะนาสัง่ สอนศิษย์ เมื่อศิษย์ตอ้ งการคาแนะนา
หรื อต้องการความช่วยเหลือ ไม่วา่ ในเวลาทางานหรื อนอกเวลาทางาน ครู ควรมีเวลาให้ศิษย์

4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้ มคี วามเป็ นมนุษย์ ทสี่ มบูรณ์


การพัฒนาตนเองให้มีความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยที่ครู เป็ นแม่พมิ พ์หรื อพ่อพิมพ์ที่คนในสังคมคาดหวังไว้สูง และมีอิทธิพล
ต่อผูเ้ รี ยนมาก ครู จึงจาเป็ นที่จะต้องมีความบริ บูรณ์ในความเป็ นมนุษย์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครู จึงควรสารวมกาย วาจา ใจให้มี
ความมัน่ คงเป็ นแบบอย่างที่ดีงามในการแสดงออกทั้งในและนอกห้องเรี ยน การที่จะทาให้ตนเองเป็ นคนที่เต็มบริ บูรณ์ได้คนผูน้ ้ นั ควร
เป็ นคนที่ดีมีความคิดที่ถูกต้องเห็นสิ่ งที่ดีงามถูกต้อง มีการพูดที่ดี มีการงานที่ดี มีการดาเนินชีวติ ที่ดีปฏิบตั ิงานถูกต้อง หมัน่ คิด พิจารณา
ตนเอง เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุ งตนเองให้มีความบริ บูรณ์อยูเ่ สมอ
5. เต็มพลัง คือ การทุ่มเทพลังสติปัญญาและความสามารถเพือ่ การสอน
ครู จะต้องใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอน เพื่อวิชาการ เพื่อศิษย์ ครู ตอ้ งอุทิศตนอย่างเต็มที่ ทางานอย่างไม่
คิดออมแรง เพื่อผลงานที่สมบูรณ์น้ นั ก็คือ การปั้ นศิษย์ให้มีความรู ้ความประพฤติงดงาม เป็ นที่พึงประสงค์ของสังคม
ครู ที่มีหลักยึดครบเต็ม 5 ประการนี้ ย่อมเป็ นครู ที่มีครุ ธรรม ที่พร้อมจะเป็ นผูช้ ้ ีทางแห่งปั ญญา ชี้ทางแห่งชีวติ และชี้ทางแห่งสังคมใน
อนาคตได้เป็ นอย่างดี ดังนั้น ครู ควรสร้างอุดมการณ์ครู เพื่อความก้าวหน้าของสังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู
คุณธรรม 4 ประการ
1. การรักษาความสัจ ความจริ งใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบตั ิแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์
และเป็ นธรรม
2. การรู ้จกั ข่มใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบตั ิอยูใ่ นความสัจ ความดี
3. การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริ ต ไม่วา่ จะด้วยเหตุ
ประการใด
4. การรู ้จกั ละวางความเชื่อ และรู ้จกั สละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่
ของบ้านเมืองคุณธรรมสี่ ประการนี้ ถ้าแต่ละคนพยายามปลูกฝังและบารุ งให้มีความเจริ ญงอกงามขึ้นโดยทัว่ กันแล้ว จะช่วยให้
ประเทศชาติบงั เกิดความสุข ความร่ มเย็น และมีโอกาสที่จะปรับปรุ ง พัฒนาให้มนั่ คงก้าวหน้าต่อไปได้ดงั ความประสงค์ ครู อาจารย์เป็ น
คนไทยคนหนึ่งที่ควรถือปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรมดังกล่าวเพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ สถาบันวิชาชีพครู จะได้มีความเจริ ญก้าวหน้า
สังคมและประเทศไทยจะได้มีความเจริ ญรุ่ งเรื องตลอดไป

คุณลักษณะของครู ทดี่ ี
ลักษณะของครู ที่ดี 10 ประการ คือ
1. ความมีระเบียบวินยั หมายถึง ความประพฤติท้ งั ทางกาย วาจา และใจ ที่แสดงถึงความเคารพในกฎหมาย ระเบียบประเพณี ของสังคม
และความประพฤติที่สอดคล้องกับอุดมคติหรื อความหวังของตนเอง โดยให้ยดึ ส่วนรวมสาคัญกว่าส่วนตัว
2. ความซื่อสัตย์สุจริ ตและความยุติธรรม หมายถึง การประพฤติที่ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นเดือดร้อนไม่เอาเปรี ยบ หรื อคดโกงผูอ้ ื่นหรื อส่ วนรวม ให้
ยึดถือหลักเหตุผล ระเบียบ แบบแผน และกฎหมายของสังคมเป็ นเกณฑ์
3. ความขยัน ประหยัด และยึดมัน่ ในสัมมาอาชีพ หมายถึง ความประพฤติที่ไม่ทาให้เสี ยเวลาชีวติ และปฏิบตั ิกิจอันควรกระทาให้เกิด
ประโยชน์แก่ตนและสังคม
4. ความสานึกในหน้าที่และการงานต่าง ๆ รวมไปถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติหมายถึง ความประพฤติที่ไม่เอารัดเอา
เปรี ยบสังคมและไม่ก่อความเสี ยหายให้เกิดขึ้นแก่สงั คม
5. ความเป็ นผูม้ ีความคิดริ เริ่ ม วิจารณ์ และตัดสิ นอย่างมีเหตุผล หมายถึง ความประพฤติในลักษณะสร้างสรรค์และปรับปรุ งมีเหตุมีผลใน
การทาหน้าที่การงาน
4
6. ความกระตือรื อร้นในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความรักและเทิดทูนชาติศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ หมายถึง ความ
ประพฤติที่สนับสนุนและให้ความร่ วมมือ ในการอยูร่ ่ วมกันโดยยึดผลประโยชน์ของสังคมให้มากที่สุด
7. ความเป็ นผูม้ ีพลานามัยที่สมบูรณ์ท้ งั ทางร่ างกายและจิตใจ หมายถึง ความมัน่ คงและจิตใจ รู ้จกั บารุ งรักษากายและจิตใจให้สมบูรณ์ มี
อารมณ์แจ่มใสมีธรรมะอยูใ่ นจิตใจอย่างมัน่ คง
8. ความสามารถในการพึ่งพาตนเองและมีอุดมคติเป็ นที่พ่ งึ ไม่ไหว้วานหรื อขอความช่วยเหลือจากผูอ้ ื่นโดยไม่จาเป็ น
9. ความภาคภูมิและการรู ้จกั ทานุบารุ งศิลปะ วัฒนธรรม และทรัพยากรของชาติ หมายถึงความประพฤติที่แสดงออกซึ่งศิลปะและ
วัฒนธรรมแบบไทย ๆ มีความรักและหวงแหนวัฒนธรรมของตนเองและทรัพยากรของชาติ
10. ความเสี ยสละและเมตตาอารี กตัญญูกตเวที กล้าหาญ และความสามัคคีกน ั หมายถึงความประพฤติที่แสดงออกถึงความแบ่งปัน
เกื้อกูลผูอ้ ื่น ในเรื่ องของเวลากาลังกายและกาลังทรัพย์

หลักสิ บประการของความเป็ นครู ดี


1. มุ่งมัน่ วิชาการครู มีบทบาทหน้าที่ในการเสาะแสวงหาความรู ้ เพื่อนาไปถ่ายทอดให้แก่ศิษย์ที่จาเป็ นสาหรับครู คือ
ศาสตร์ ทจี่ ะสอน ครู ตอ้ งติดตามความก้าวหน้าของวิชาที่จะถ่ายทอด จากหนังสื อ เอกสาร วารสาร ตามสื่ อต่าง ๆ ตลอดจนเข้า
ประชุมเพื่อรับรู ้ความคิดใหม่ ๆ ข้อค้นพบที่ขยายความรู ้ออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ครู จะเตรี ยมพร้อมให้ตนเองมี
ความรู ้ทนั สมัยต่อเหตุการณ์
ศาสตร์ การสอน แม้ครู จะมีความรู ้ดีในศาสตร์สาขาที่ชานาญ แต่ความรู ้เหล่านั้น จะไม่มีประโยชน์ต่อวิชาชีพครู แม้แต่นอ้ ย
หากครู ยงั ขาดความรู ้เรื่ องของการถ่ายทอดวิชาการเหล่านั้น ครู จึงจาเป็ นต้องติดตาม ศึกษา ค้นคว้า ให้ทนั ต่อความก้าวหน้าของศาสตร์
การสอนเพื่อค้นหาวิธีการที่จะอธิบายหรื อถ่ายทอดให้ศิษย์เข้าใจสาระต่าง ๆ
ศาสตร์ การพัฒนาคน โดยที่อาชีพครู เป็ นอาชีพสร้างคนที่มีศกั ยภาพให้แก่ประเทศชาติ ผูส้ ร้างจึงจาเป็ นต้องเอาใจใส่ และถือ
เป็ นหน้าที่ที่จะต้องพัฒนาคนให้มีความพร้อมด้านวิชาการ วิชาชีพ และการดารงตนให้เป็ นคนดีที่สงั คมปรารถนา
รักงานสอน ครู ตอ้ งมีความศรัทธาต่อวิชาชีพของตน ต้องมีความรักการสอน สนใจที่จะพัฒนาการสอนให้น่าสนใจ
เปลี่ยนแปลงวิธีการสอนเพื่อให้ได้ผล รู ้จกั วิธีถ่ายทอดที่ทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจง่ายให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาการเรี ยนของตนเอง ให้รู้จกั วิธี
เรี ยน เรี ยนด้วยความสุขและรับรู ้สาระในศาสตร์ที่ครู สอน
อาทรศิษย์ ครู ตอ้ งเมตตา รัก เข้าใจ และเอาใจใส่ดูแลลูกศิษย์ ห่วงใยว่าจะประสบความสาเร็ จหรื อไม่ช่วยแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ที่
ลูกศิษย์ประสบ ให้เกียรติและยอมรับในความแตกต่าง ไม่ดูถูกหรื อเยียบย่าลูกศิษย์ ให้การช่วยเหลือทั้งทางด้านการเรี ยนและชีวติ
คิดดี ครู ตอ้ งมีความคิดที่ดี ความคิดที่เป็ นบวกต่อศิษย์ ต่อการสอน ต่อวิชาชีพ ต่อสถาบัน และต่อเพื่อนร่ วมงาน คิดในสิ่ งที่ดี
และให้คิดอยูเ่ สมอว่าอาชีพครู เป็ นอาชีพที่มีคุณค่าที่สุด เป็ นต้นความคิดที่เป็ นบวกจะช่วยให้ครู ทางานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
มีคุณธรรม ความมีคุณธรรมของครู มีความจาเป็ นต่อวิชาชีพครู คุณธรรมที่สาคัญ ได้แก่ ความยุติธรรมด้านการสอน การ
ประเมินผล ความต้องการให้ลูกศิษย์ประสบผลสาเร็ จ ครู ตอ้ งมีความอดทน ระงับอารมณ์ได้ดี ไม่ทาร้ายคน เสี ยสละ มีความอายที่จะ
กระทาผิด และมีหลักศาสนายึดมัน่ มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะประพฤติตนให้ถูกต้องตามระเบียบ ประเพณี และวัฒนธรรมของสังคมนั้น
ชี้นาสังคม ครู ตอ้ งช่วยชี้นาสังคม นาในสิ่ งที่ถูกต้อง ช่วยแก้ปัญหา ทาตนเป็ นตัวอย่าง เช่น เรื่ องของขยะสิ่ งแวดล้อม และการ
ประหยัดพลังงาน ช่วยชุมชนในด้านต่าง ๆ ทั้งการแก้ปัญหาเพื่อคุณภาพชีวติ ที่ดีของสังคม และการช่วยนาสังคมให้เป็ นสังคมที่ดีงาม
อบรมจิตใจ การพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นสิ่ งสาคัญ ครู จึงต้องช่วยให้ขอ้ คิดที่ดี อบรม ตักเตือน สัง่ สอนให้ศิษย์ประพฤติดี ดารงอยูใ่ น
ศีลธรรม หน้าที่ของครู จึงไม่ใช่เป็ นเรื่ องของการสอนหนังสื อเท่านั้น แต่จะต้องอบรมจิตใจให้มีคุณธรรม จริ ยธรรมอยูเ่ สมอ
ใฝ่ ความก้ าวหน้ า การไม่หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่ รักที่จะช่วยให้ประเทศก้าวหน้า เผยแพร่ ผลงานวิชาการให้แก่ชุมชนไม่หยุดยั้ง ครู
จะต้องทาให้ชีวติ ของครู กา้ วต่อไปเพื่อที่จะทาประโยชน์ให้แก่ตนเอง ศิษย์ สังคมและประเทศชาติ
5
วาจางาม คาพูดเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่จะทาให้การเรี ยนการสอนดาเนินไปอย่างประสบความสาเร็ จ คาพูดที่ดียอ่ มทาให้ผเู ้ รี ยนเกิด
กาลังใจ มีความมุมานะ ในทางตรงกันข้าม คาพูดไม่ดี ย่อมทาให้ผฟู ้ ังเกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ และทาให้เกิดความท้อถอย ไม่อยาก
เรี ยน ครู จึงต้องฝึ กการพูดให้ถูกต้องตามกาลเทศะ ฝึ กการพูดเพื่อจูงใจและส่งเสริ มทาให้ศิษย์เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทาง
ที่ดีงามและถูกต้อง
รักความเป็ นไทย สถาบันการศึกษาเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาคนให้เป็ นทรัพยากรมนุษย์ที่สาคัญของประเทศชาติดงั นั้น ครู จึง
ต้องส่งเสริ มพัฒนาเอกลักษณ์ไทย เพื่อให้ศิษย์เป็ นผูธ้ ารงรักษาเอกลักษณ์ไทยเอาไว้โดยเฉพาะในยุคโลกาภิวตั น์ ความมีเอกลักษณ์
เฉพาะตนจาเป็ นต้องธารงไว้ให้มนั่ คง แม้วา่ เทคโนโลยีจะพัฒนาไปได้ไกล จนทาให้แต่ละชาติสามารถติดต่อ รับรู ้ และถ่ายทอด
วัฒนธรรมซึ่งกันและกันได้ก็ตาม แต่เอกลักษณ์เฉพาะของคนในชาติ เช่น เรื่ องของความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงาม ควรช่วยกัน
สื บสาน ส่งเสริ ม และธารงไว้ เพื่อทาให้เยาวชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย

บทสัมภาษณ์ พเิ ศษจากข้ าราชการครู


คุณครู ฐิตศิ ักดิ์ วรรณพงษ์ ตาแหน่ ง ครู สอนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และเป็ นผู้ฝึกสอนทีมกีฬาแฮนด์ บอล ที่
โรงเรียนสตรีชัยภูมิ 2 จังหวัดชัยภูมิ

อาจารย์จบการศึกษามาจากที่ไหนค่ ะ?
จบปริ ญญาตรี คณะการจัดการ คณะการจัดการทัว่ ไปที่ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
ปริ ญญาโท สาขาบริ หารการศึกษา ที่มหาวิทยาลัยกรุ งเทพธนบุรี

อาจารย์ รับราชการครู มากีป่ ี แล้ วค่ ะ?


รับราชการครู มาตั้งแต่ 2 กุมภาพันธ์ 2552

ทราบมาว่ าอาจารย์ ไม่ ได้ จบการศึกษามาจากด้ านการสอนโดยตรง อะไรเป็ นแรงจูงใจให้ อาจารย์ มารับราชการครู ค่ะ?
เริ่ มมาจากที่ครู เป็ นคนในท้องถิ่นของที่น้ ี ต้องการที่จะพัฒนา ท้องถิ่นของตัวเองให้มีคุณภาพเลยคิดว่าอาชีพที่จะพัฒนาได้
อย่างเต็มที่คืออาชีพครู เลยตัดสิ นใจเข้ามาทางานในส่วนตรงนี้

จากประสบการณ์การทางานทีผ่ ่านมา อาจารย์ คิดว่า ลักษณะของครู ทดี่ ี ต้ องเป็ นแบบไหนค่ ะ?


ในความคิดของครู กค็ ิดว่า ครู ที่ดีตอ้ งปฎิบตั ิตามจรรยาบรรณของครู ให้ครบทุกอย่างคือ
1. ครู ตอ้ งรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ ช่วยเหลือส่ งเสริ มให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรี ยนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2. ครู ตอ้ งอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริ มความรู ้ทกั ษะและนิ สยั ที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริ สุทธิ์
ใจ
3. ครู ตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้ งั ทางกาย วาจา และจิตใจ
4. ครู ตอ้ งไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริ ญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์
5. ครู ตอ้ งไม่แสวงหาประโยชน์อนั เป็ นอามิสสิ นจ้างจากศิษย์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศิษย์กระทาการใด ๆ อันเป็ นการ
หาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบจรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ
6. ครู ยอ่ มพัฒนาตนเองทั้งทางด้านวิชาชีพด้านบุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ให้ทน ั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจสังคมและการเมือง
อยูเ่ สมอ จรรยาบรรณต่อตนเอง
6
7. ครู ยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็ นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรวิชาชีพครู จรรยาบรรณต่อวิชาชี พ
8. ครู พึงช่วยเหลือเกื้อกูลครู และชุมชนในทางสร้างสรรค์โดยยึดมัน่ ในระบบคุณธรรมสร้างความสามัคคีในหมูค่ ณะจรรยาบรรณต่อผู ้
ร่ วมประกอบอาชีพ
9. ครู พึงประพฤติ ปฏิบตั ิตน เป็ นผูน้ าในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย จรรยาบรรณต่อสังคม
และที่สาคัญคือ ต้องทาด้วยใจรักแล้วหวังดีตอ้ งศิษย์.....แค่น้ ีก็เป็ นครู ที่ดีแล้ว

จากทีผ่ ่ านมา มีอะไรบ้ างคะที่ทาให้ อาจารย์ ร้ ู สึกว่ า ภูมิใจมากทีส่ ุ ด และเสี ยใจมากทีส่ ุ ดในอาชี พครู ค่ะ ?
ที่ภูมิใจมากที่สุด คือการที่ได้เป็ นส่วนหนึ่งที่ทาให้นกั เรี ยนของตัวเองมีอนาคตที่ดี มีอาชีพ และเป็ นคนดีของสังคม แล้วก็ภูมิใจ
ที่มีส่วนทาให้นกั เรี ยนหลายคนได้ทาตามความฝันของตัวเอง เรื่ องที่เสี ยใจมากที่สุด...ไม่มีนะเพราะครู จะแปรความผิดความพลาดของ
ตัวเองมาเป็ นบทเรี ยน ทาให้เราไม่พลาดในครั้งต่อไป ไม่คิดมากกับสิ่ งที่ผา่ นมาแล้ว

สุ ดท้ ายนีอ้ าจารย์ มีอะไรจะฝากถึง นักเรี ยนทีม่ ีความฝันอยากประกอบอาชี พครู และคนทีก่ าลังจะมาทาหน้ าทีค่ รู ใน
อนาคตไหมค่ ะ?
การที่เราจะก้าวไปเป็ นครู ที่ดีและมีความสามารถในอนาคตนั้น เพียงแค่ความรู ้กบั เงินไม่สามารถทาให้เราก้าวไปสู่ความสาเร็ จ
นั้นได้ แต่ประสบการณ์จากการทางานและกิจกรรมต่างๆที่จะทาให้เราเป็ นครู ที่มีความสามารถในหลากหลายด้าน เป็ นครู ที่มีศกั ยภาพ
พร้อมที่จะสร้างสังคมให้น่าอยูม่ ากยิง่ ขึ้น แต่จะเป็ นเช่นนั้นไม่ได้เลย หากทุกวันนี้นกั ศึกษาวิชาชีพครู ยงั ขาดความมีน้ าใจและจิตสานึกที่
ดีในการช่วยเหลือผูอ้ ื่น รู ้จกั การให้บา้ ง ไม่มีใครที่จะดีและเพียบพร้อมไปซะทุกอย่าง และไม่มีใครที่จะประสบผลสาเร็ จได้โดยไม่ผา่ น
อุปสรรคและความล้มเหลวมาก่อน ทาแล้วออกมาไม่ดี ยังดีกว่าคนที่พดู ดี แต่ไม่ได้ลงมือทา ไม่ลองแล้วจะรู ้หรอว่าเราก็ทาได้พดู ได้เลย
ว่า ถ้าคนเราไม่มีความมานะพยายามแล้ว ประสบความสาเร็ จยาก ครู ก็ขอเป็ นกาลังใจให้ กับคนที่มีความฝันที่จะมาทาหน้าที่ตรงนี้มาทา
หน้าที่ "ครู ผใู ้ ห้"
7

อ้างอิง
http://jnattapon.blog132.fc2.com
http://www.kpch.ac.th/kpmain/index.php
คู่มือการปฏิบตั ิงานข้าราชการครู ( www.krucenter.net/UserFiles/File/sob/s94.pdf )

ขอขอบพระคุณ คุณครู ฐิติศกั ดิ์ วรรณพงษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สอนรายวิชาการงานอาชีพและ


เทคโนโลยี และเป็ นผูฝ้ ึ กสอนทีมกีฬาแฮนด์บอล ที่โรงเรี ยนสตรี ชยั ภูมิ 2 จังหวัดชัยภูมิ

You might also like