You are on page 1of 7

พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก

พื้นคือองค์อาคารที่มีลักษณะเป็นแผ่นในแนวราบมีหน้าที่รับน้้าหนักบรรทุกจรจากการใช้งานอาคาร
และน้้าหนักบรรทุกคงที่ของตัว พื้นเองและวัสดุปูทับผิวหน้า จากแบบแปลนในแต่ละชั้นจะแสดงพื้น
พร้อมระบุหมายเลขก้ากับได้แก่ S1, S2,… คือพื้นหล่อในที่ทางเดียวหรือสองทาง, SP หรือ PS คือ
พื้นส้าเร็จรูป (Precasted Slab) และ GS คือพื้นบนดิน

PS PS

S2

S1

รูปที่ 4.1 แบบแปลนอาคาร

พื้นทางเดียว (One-way Slab) S1


คือพื้นที่มีด้านยาว (L) เกินสองเท่าของด้านสั้น (S) พฤติกรรมการรับน้้าหนักเป็นไปในทิศทางเดียวคือ
ด้านสั้น ดังนั้นจึงมีลักษณะเช่นเดียวกับคาน จุดรองรับของพื้นที่ขอบทั้งสองข้างของด้านสั้น การเสริม
เหล็กในพื้นมีทั้งสองทิศทางเป็นตะแกรงเพื่อต้านทานการแตกร้าว เสริมเหล็กล่างเพื่อรับโมเมนต์บวก
บริเวณกลางช่วง และเสริมเหล็กบนเพื่อรับโมเมนต์ลบที่บริเวณจุดรองรับ
CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 38
S
L

Simple supports
on two long
edges only

รูปที่ 4.2 พื้นทางเดียวรับน้้าหนักบรรทุก

การเขียนสัญลักษณ์พื้นทางสั้นจะเขียนชื่อพื้น S1, S2,… ภายในวงกลม และเขียนลูกศรทาง


เดียวขนานกับทิศทางสั้น (S) ซึ่งเป็นทิศทางในการรับน้้าหนักบรรทุก

S1 S=

L= > 2S

รูปที่ 4.3 พื้นทางเดียวรับน้้าหนักบรรทุก

แบบรายละเอียดของพื้นทางสั้นมักเขียนเฉพาะรูปตัดด้านข้างของพื้นในทิศทางสั้น โดยมีเหล็ก
เสริมทางสั้นซึ่งเป็นทิศทางหลักเขียนเป็นเส้นแสดงเหล็กล่างและเหล็กบนเช่นเดียวกับในคาน และ
เขียนเหล็กเสริมในทิศทางยาวเป็นจุดเพื่อกันการแตกร้าวและช่วยยึดเหล็กทางสั้นเป็นตะแกรง

รูปที่ 4.4 แบบรูปตัดพื้นทางเดียวตามทิศทางด้านสั้น

CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 39


การเสริมเหล็กในพื้นแบบแยกเป็นตะแกรงเหล็กชั้นบนและชั้นล่าง เพื่อให้เหล็กเสริมอยู่ใน
ต้าแหน่งที่ต้องการในขณะที่เทคอนกรีต ส้าหรับเหล็กล่างจะใช้ลูกปูนหนุน และจะใช้เหล็กตีนกาช่วย
ในการรองรับเหล็กชั้นบน

รูปที่ 4.5 เหล็กตีนการองรับเหล็กเสริมชั้นบน

การเสริมเหล็กอีกแบบหนึ่งเรียกว่าแบบ “คอม้าเส้นเว้นเส้น” โดยจะดัดเหล็กล่างเป็นคอม้า


ขึ้นมาเป็นเหล็กบนเส้นเว้นเส้นเพื่อเป็นการรองรับเหล็กชั้นบนและช่วยลดเหล็กเสริมที่ใช้ไปในตัว
จากนั้นเสริมเหล็กบนพิเศษในต้าแหน่งของเหล็กล่างที่ไม่ถูกดัดขึ้นมา วิธีการนี้จะได้ปริมาณเหล็ก
เสริมบนที่ปลายช่วงและเหล็กล่างที่กลางช่วงเท่ากัน เช่นในตัวอย่างข้างล่าง ปริมาณเหล็กเสริมคือ
RB9 @ 0.10 ม. (As = 6.36 ซม.2/ความยาว 1 ม.)
RB9 @ 0.20 เสริ มพิเศษ

RB9 @ 0.10 ค.ม. เส้ นเว้ นเส้ น

รูปที่ 4.6 การเสริมเหล็กคอม้าเส้นเว้นเส้นในพื้นทางเดียว


CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 40
RB9 @ 0.20 ม. เหล็กเสริมกันร้าว
RB9 @ 0.16 ม. RB9 @ 0.08 ม.
0.95 ม. เสริมพิเศษ 1.25 ม. คอม้าเส้นเว้นเส้น + เสริมพิเศษ

12 ซม.

0.55 ม. RB9 @ 0.08 ม. 0.95 ม.


คอม้าเส้นเว้นเส้น
3.7 ม.
รูปที่ 4.7 ตัวอย่างรายละเอียดการเสริมเหล็กคอม้าเส้นเว้นเส้นในพื้นทางเดียว

พื้นสองทาง (Two-way Slab) S2


ส้าหรับพื้นที่มีด้านยาว (L) ไม่เกินสองเท่าของด้านสั้น (S) พฤติกรรมการรับน้้าหนักเป็นไปใน
สองทิศทาง ตัวอย่างเช่นพื้น S2 ในรูปที่ 4.1 สัญลักษณ์ที่เขียนจะเป็นลูกศรสองทิศทาง

S
L S2

Simple supports
on all four edges

รูปที่ 4.8 พื้นสองทางรับน้้าหนักบรรทุก


การเสริมเหล็กเพื่อรับน้้าหนักจึงจ้าเป็นต้องมีทั้งสองทิศทางเป็นตะแกรงเหล็กชั้นล่างโดยเหล็ก
ทิศทางสั้นจะอยู่ล่างเพื่อให้มีความลึกมากกว่าเนื่องจากต้องรับโมเมนต์ดัดมากว่า เหล็กในทิศทางสั้น
จะแสดงเป็นจุดและเส้นสลับกันในแต่ละทิศทางหน้าตัด
(S)

(S)

(L)
(L)

รูปที่ 4.9 เหล็กเสริมชั้นล่างในพื้นสองทาง


CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 41
ส่วนเหล็กชั้นบนในแต่ละทิศทางนั้นสามารถเลือกแบบแยกอิสระจากชั้นล่าง หรือแบบคอม้า
เส้นเว้นเส้นเช่นเดียวกับในพื้นทางเดียว
Sn / 4 Sn / 3

Sn / 7 Sn / 4
Sn

รูปตัดด้านสั้น
Ln / 4 Ln / 3

Ln / 7 Ln / 4
Ln

รูปตัดด้านยาว

รูปที่ 4.10 รูปแบบการเสริมเหล็กในพื้นสองทาง

DB10@0.40 เสริมพิเศษ
DB10@0.20 คอม้าเส้นเว้นเส้น
DB10@0.40 เสริมพิเศษ

0.10
0.50
0.55 0.95
0.95 1.30

0.20 3.80 0.20


พื้ นด้านสัน้

DB10@0.40 เสริมพิเศษ
DB10@0.20 คอม้าเส้นเว้นเส้น
DB10@0.40 เสริมพิเศษ

0.10
0.50
0.70 1.20
1.20 1.60

0.20 4.80 0.20


พื้ นด้านยาว

รูปที่ 4.11 ตัวอย่างการเสริมเหล็กในพื้นสองทาง

CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 42


พื้นสาเร็จรูป (Precasted Slab) SP หรือ PS
พื้นส้าเร็จรูปใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ส้าหรับพื้นภายในอาคารทั่วไป เนื่องจากมีความสะดวก
รวดเร็วในการก่อสร้าง โดยพื้นส้าเร็จรูปซึ่งถูกหล่อเป็นแผ่น คอนกรีตอัดแรงมาจากโรงผลิต จะมีหน้า
ตัดสี่เหลี่ยมตัน (Solid Plank) กว้าง 30-35 ซม. หนา 5 ซม. และจ้านวนลวดอัดแรงตามการ
ออกแบบ จะใช้ส้าหรับงานขนาดเล็ก และหน้าตัดกลวง (Hollow Core) กว้าง 60 ซม. หนา 10-15
ซม. จะใช้ส้าหรับงานขนาดใหญ่

Solid Plank Hollow Core

รูปที่ 4.12 หน้าตัดแผ่นพื้นคอนกรีตส้าเร็จรูป


เมื่อขนส่ งมาถึงสถานที่ก่อสร้างแผ่นพื้นจะถูกยกขึ้นวางพาดระหว่างคานรองรับ จากนั้นปู
ตะแกรงเหล็กแล้วเทคอนกรีตทับหน้า

PS

PS

รูปที่ 4.13 การยกวางแผ่นพื้นคอนกรีตส้าเร็จรูป

พื้น ส้ าเร็ จรู ป มีการรับ น้้ าหนักในหนึ่งทิศทางตามการยกวางพาดของพื้น จึงใช้เขียนลู กศร


ทิศทางเดียวเช่นเดียวกับพื้นทางเดียว ลูกศรจะชี้ขนานกับการวางพื้น ตะแกรงที่วางทับหน้าอาจเป็น
เหล็ก RB6 (6 ม.ม.) ดังในรูปข้างล่าง หรือตะแกรงลวดเหล็ก (Wire Mesh) ขนาด 4 ม.ม.
RB9 @ 0.40 m RB6 @ 0.20 m 5 .
0.50

0.05
0.25

0.05
0.05

Ln

รูปที่ 4.14 แบบรายละเอียดพื้นคอนกรีตส้าเร็จรูป


CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 43
พื้นบนดิน (Slab on Ground) SG หรือ GS
พื้นคอนกรีตซึ่งใช้พื้นดินเป็นที่ รองรับท้าบนพื้นที่มีสภาพดินแข็งแรงเพียงพอในการรับน้้าหนัก โดย
ปรับพื้นดินให้ได้ระดับ บดอัดดินให้แน่นแล้วปรับระดับด้วยทรายหยาบและคอนกรีตหยาบ ที่ขอบ
พื้นภายในอาคารจะเว้นร่องไว้ แล้วยาแนวด้วยวัสดุยืดหยุ่นเช่นยางมะตอย ขอบของพื้นภายนอกจะ
ท้าเป็นขอบหนาเพื่อกันดินไหลออก
2-2.5 ม
3-5 ม t/2

พื้ น าย น GB GB
รา นอ นน - ม


5-10
พื้ น ายน รา นอ นน - ม 45o

10 ม

รา นอ นน - ม GB

รูปที่ 4.15 แบบรายละเอียดพื้นวางบนดิน

CE Drawing 04 : RC Slab By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 44

You might also like