You are on page 1of 33

คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC 

(เวอรชันทดสอบ) 
ผศ.สรกานต  ศรีตองออน 
เอกชัย  ลําทอง 

ขอมูลเบื้องตนของโปรแกรม 
RMUTSB-RC  เปนโปรแกรมคอมพิวเตอร  (หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งสําหรับโปรแกรมที่ 
ทํางานบนระบบปฏิบัตกิ ารวินโดวสวา  application  software)  สําหรับชวยออกแบบอาคารคอนกรีต 
เสริมเหล็ก  แบบคํานวณทีละผังคาน  โดยวิธีหนวยแรงใชงาน  (Working  Stress  Design  :  WSD), 
มาตรฐานที่ใชอางอิงคือ  มาตรฐานของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย  และหนวยที่ใชในคือ 
หนวยเมตริก ซึ่งเปนหนวยทีใ่ ชในการออกแบบงานลักษณะนี้ภายในประเทศ 

RMUTSB-RC  ไดรับทุนวิจัยจาก  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ  โดยใน 


เวอรชันทดสอบนี้  จัดทําขึน้ เพื่อเผยแพรแกผูสนใจทั่วไปไดทดลองใช  และไดใหความเห็นในการ 
ปรับปรุงแกไขเพื่อทําเปนเวอรชนั สมบูรณตอไป  โดยในเวอรชันทดสอบนี้จะมีการออกแบบใน  3 
องคอาคารคือ  แผนพื้น  คาน  และเสา  ซึ่งสําหรับในเวอรชนั สมบูรณนั้น  จะมีการออกแบบฐานราก 
ทั้งแบบ  วางบนดิน  และวางบนเสาเข็ม  รวมถึงการพิมพขอ มูล,  ผลลัพธ  และกราฟกตางๆ  ออกทาง 
กระดาษดวย

สําหรับรายละเอียดอื่นๆ ของผูพัฒนา ดูไดในภาพที่ 1
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  2 

ภาพที่ 1
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  3 

หนาตาของโปรแกรมเมื่อเปดเขาไป จะเปนดังภาพที่ 2 

ภาพที่ 2 

จะเห็นวาโปรแกรมจะมีทั้งเมนู  และกลองเครื่องมือ  (Tool  Box)  ซึ่งมีความสอดคลองกัน 


คือ กลองเครื่องมือจะแบงเปน 9 ชุด ตามการใชงานของเมนู 9 เมนู (ไมรวมเมนูที่ 10 ชวยเหลือ ซึ่ง 
ไมไดอยูในสวนการใชงานโปรแกรม) นัน่ คือ เปนเมนูยอยที่ใชงานบอย ดังภาพที่ 3 

ภาพที่ 3 

สําหรับแตละเมนูนั้น มีรายละเอียดดังนี้
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  4 

1)  เมนู แฟม ใชในดานการจัดการไฟล และออกจากโปรแกรม ดังภาพที่ 4 

ภาพที่ 4 

2)  เมนู ปอนขอมูล ใชสําหรับปอนขอมูลตางๆ เพื่อใหโปรแกรมคํานวณ ดังภาพที่ 5-7 

ภาพที่ 5 

ภาพที่ 6 

ภาพที่ 7
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  5 

3)  เมนู สมบัติของวัสดุ ใชสําหรับกําหนดคาสมบัตขิ องวัสดุ คือ คอนกรีต และเหล็กเสริม ดังภาพ 


ที่ 8 

ภาพที่ 8 

4)  เมนู ประมวลผล ใชสําหรับคํานวณแผนพืน้ -คาน-เสา เพื่อปอนขอมูลครบแลว ดังภาพที่ 9 

ภาพที่ 9 

5)  เมนู ผลลัพธ ใชสําหรับแสดงผลลัพธหลังจากที่ประมวลผลแลว ดังภาพที่ 10 

ภาพที่ 10
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  6 

6)  เมนู กราฟก ใชสําหรับแสดงกราฟกตางๆ ทั้งขอมูล และผลลัพธ ดังภาพที่ 11 

ภาพที่ 11 

7)  เมนู ฐานราก ใชสําหรับออกแบบฐานราก ทั้งแบบวางบนดิน และวางบนเสาเข็ม ดังภาพที่ 12 

ภาพที่ 12 

8)  เมนู พิมพ ใชสําหรับพิมพขอมูล ผลลัพธ  และกราฟกตางๆ ออกทางกระดาษ ดังภาพที่ 13 และ 


16 

ภาพที่ 13 

ภาพที่ 14
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  7 

ภาพที่ 15 

ภาพที่ 16 

9)  เมนู มุมมอง ใชสําหรับปรับการแสดงผลทางหนาจอ ดังภาพที่ 17 

ภาพที่ 17 

10) เมนู ชวยเหลือ สําหรับแสดงรายละเอียดโดยยอของโปรแกรม ดังภาพที่ 18 

ภาพที่ 18
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  8 

ตัวอยางขั้นตอนการใชโปรแกรม RMUTSB-RC 
1)  เตรียมขอมูล 
เมื่อวิศวกรผูใ ช  กําหนดผังคานใน Floor นั้นๆ ไดแลว ก็ใหกําหนดคาที่จําเปนตอการใชงาน ดัง 
ภาพที่ 19 

กําหนดจุดตอ ที่เสา และจุดตัดคานทุกจุด โดยตั้งแกนอางอิง X-Y ขึ้นมา ซึ่งมีขอแนะนําคือ 


ใหแนวซายสุดของผังคานอยูในแนวแกน  Y  และแนวลางสุดของผังคานอยูในแนวแกน  X  เพื่อให 
พิกัดของขอมูลอยูในคาบวกทุกคา
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  9 

ขอแนะนําในการกําหนดจุดตอคือ  (คือจะทําตามนี้ก็ได  ไมทําก็ได  และในกรณีมกี ารปอน 


ขอมูลจุดตอเพิ่มเติม ก็ไมจําเปนตองเรียงลําดับใหม คือ กําหนดเพิ่มเติมไปไดเลย) 
-  จุดตอใดที่เปนเสา  ควรกําหนดหมายเลขใหตอเนื่องไปจนครบ  กอนคอยมากําหนด 
จุดตัดคาน  เพื่อความสะดวกในการพิจารณาผลลัพธของเสา  โดยเฉพาะแรงปฏิกริ ิยา  ที่ 
จะตองนําไปใชในการถายน้ําหนักลงเสาในชัน้ ลางถัดไป  หรือนําแรงปฏิกิริยาไปใชใน 
การออกแบบฐานราก 
-  ควรเรียงลําดับจากลางขึน้ บน แลวจึงซายไปขวา เพื่อความสะดวกในการปอนขอมูล 

ขอมูลควบคุม 
ขอมูลเริ่มตนที่จําเปน ซึ่งเรียกวา ขอมูลควบคุม แสดงดังตารางดานลาง 
จํานวนจุดตอ  17 
จํานวนแผนพื้น  9 
จํานวนคาน  9 
จํานวนชนิดของหนาตัดคาน  2 
จํานวนชนิดของหนาตัดเสา  1 
จํานวนน้ําหนักผนังตามแนวคาน  13 

พิกัดของจุดตอ 
จากนัน้  ระบุพกิ ัดของแตละจุดตอ แสดงดังตารางดานลาง 
จุดตอที่  พิกัด X (m)  พิกัด Y (m)  จุดตอที่  พิกัด X (m)  พิกัด Y (m) 
1  2.00  2.00  10  0.00  2.00 
2  2.00  6.00  11  0.00  6.00 
3  2.00  9.00  12  0.00  9.00 
4  6.00  2.00  13  2.00  0.00 
5  6.00  6.00  14  6.00  0.00 
6  6.00  9.00  15  6.00  7.50 
7  9.00  2.00  16  9.00  0.00 
8  9.00  6.00  17  9.99  7.50 
9  9.00  9.00
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  10 

แผนพื้น 
แผนพื้นสามารถปอนได  2  ชนิด  คือ  แผนพื้นหลอในที่  กับ  แผนพื้นสําเร็จรูป  โดยในชอง 
ชนิด  คือ  0  =  แผนพื้นหลอในที่,  1  =  แผนพื้นสําเร็จรูปวางแนวขนานแกน  X  และ  2  =  แผนพื้น 
สําเร็จรูปวางแนวขนานแกน Y 

ขอบเขตของแผนพืน้  กําหนดโดย จุดตอ I, J, K, L โดยเริม่ ตนที่จุดตอมุมลางซาย แลววน 


ทวนเข็มนาฬิกา  (นั่นคือ  ในโปรแกรมนี้  แผนพืน้ หลอในที่จะตองเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก  /แผนพื้น 
สําเร็จรูป จะตองมีแนวคานผานอยูทั้ง 4 ดาน) 
น้ําหนักคงที่เพิ่มเติม  หมายถึงน้ําหนักประเภท  finishing  ตางๆ  หรือในกรณีแผนพื้น 
สําเร็จรูป ไดแกน้ําหนักของคอนกรีตทับหนา 
เชน ตัวอยางนี้  จะปอนคานน.คงที่เพิ่มเติมของแผนพื้นหลอในที่  เทากับ 50 kg/m^2 (0.050 
T/m^2) สวนแผนพื้นหลอในที่ คิดทีค่ อนกรีตทับหนา 5 cm ดังนั้นมีคาน้ําหนักเทากับหนวยน้ําหนัก 
คอนกรีต คูณ ความหนา คือ  2.4*0.05 เทากับ 0.120 T/m^2 

น้ําหนักคงที่เพิ่มเติม ไมรวมถึงน้ําหนักแผนพื้นเอง เพราะโปรแกรมจะคํานวณน้ําหนักคงที่ 
(dead load) ของแผนพื้น จากความหนาของแผนพื้นทีป่ อนเขาไป 
แตในกรณีน้ําหนักของแผนพื้นสําเร็จรูป  หากทราบความหนา  ใหปอนคาความหนานัน้  
แลวโปรแกรมจะทําการคํานวณน้ําหนักตอตารางเมตร  โดยใชหนวยน้ําหนัก  2.4  T/m^3  คูณความ 
หนาที่ปอนลงไป  แตหากยังไมทราบความหนาที่ชัดเจน  ใหปอนคาน้ําหนักตอหนวยตารางเมตรลง 
ในชอง  นน.คงที่เพิ่มเติม  โดยเพิ่มรวมไปกับคาน้ําหนักเพิ่มเติมอื่น  เชน  คอนกรีตทับหนา  หรือ 
น้ําหนักกระเบื้องตางๆ 

น้ําหนักบรรทุกจร ปอนตามคาที่สอดคลองกับกฎกระทรวง เชน บานพักอาศัย ไมนอยกวา 
150 kg/m^2 (0.150 T/m^2)
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  11 

การกําหนดขอมูลแผนพื้นทั้งหมด แสดงดังตารางดานลาง 
แผนพื้นที่  I  J  K  L  นน.คงทีเ่ พิ่มเติม  นน.จร  ความหนา  ชนิด 
(T/m^2)  (T/m^2)  (m) 
1  10  1  2  11  0.050  0.150  0.10  0 
2  11  2  3  12  0.050  0.150  0.10  0 
3  13  14  4  1  0.050  0.150  0.10  0 
4  14  16  7  4  0.050  0.150  0.10  0 
5  15  17  9  6  0.050  0.150  0.10  0 
6  1  4  5  2  0.120  0.150  0.10  2 
7  2  5  6  3  0.120  0.150  0.10  2 
8  4  7  8  5  0.120  0.150  0.10  2 
9  5  8  17  15  0.120  0.150  0.10  1 

เสา : จุดตอ 
จุดตอใดที่เปนเสา ใหปอนสถานะเทากับ 1 สวนหนาตัดเสานั้น ขึ้นอยูก ับผูใชกําหนด เชน 
ตัวอยางนี้ กําหนดวามีหนาตัดเสาขนาดเดียว จึงปอนคา 1 ในทุกจุดตอเสา แสดงดังตารางดานลาง 
จุดตอที่  สถานะ  หนาตัดเสาที ่
1  1  1 
2  1  1 
3  1  1 
4  1  1 
5  1  1 
6  1  1 
7  1  1 
8  1  1 
9  1  1
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  12 

เสา : ขนาดหนาตัด 
ขนาดหนาตัดเสา ใสขอมูลดังตารางดานลาง 

หนาตัดที่  ระยะ a (m)  ระยะ b (m)  ระยะหุมเหล็กเสริม (m) 


1  0.20  0.20  0.025 

คาน : จุดเชื่อมตอ 
จุดเชื่อมตอของคาน ในแนวคานที่ตอเนื่องกันใหนับเปนหนึ่งคาน โดย 
ถาเปน คานแนวนอน จุดตอแรก คือ จุดตอซายสุด จุดตอปลาย คือ จุดตอขวาสุด ของคาน 
นั้น 
ถาเปน คานแนวตั้ง จุดตอแรก คือ จุดตอลางสุด จุดตอปลาย คือ จุดตอบนสุด ของคานนั้น 
หนาตัดคาน ปอนตามหมายเลขหนาตัดที่กําหนดเอง เชน ตัวอยางนี้มี 2 ขนาดหนาตัด 

จุดเชื่อมตอคาน ใสขอมูลดังตารางดานลาง 
หมายเลขคาน  จุดตอแรก  หนาตัดที่  จุดตอปลาย 
1  10  2  12 
2  13  1  3 
3  14  1  6 
4  16  1  9 
5  13  2  16 
6  10  1  7 
7  11  1  8 
8  15  2  17 
9  12  1  9
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  13 

คาน : ขนาดหนาตัด 
ขนาดหนาตัดคาน ใสขอมูลดังตารางดานลาง 
หนาตัดที่  ความกวาง  ความลึก  ระยะหุมเหล็กเสริมบน  ระยะหุมเหล็กเสริมลาง 
(m)  (m)  (m)  (m) 
1  0.20  0.40  0.030  0.030 
2  0.15  0.40  0.030  0.030 

คาน : สถานะของจุดตัด 
สถานะของจุดตัดคาน  จะเปนการใสขอมูลที่มีความสําคัญตอโปรแกรมนี้มาก  เนื่องจาก 
โปรแกรมจะทําการแบงคานออกมาคํานวณโดยอัตโนมัต ิ ซึ่งการรับรูข องโปรแกรมวา  คานไหน 
เปนคานหลักหรือคานซอย นั่นคือจุดตอไหนจะมีพฤติกรรมเปน support หรือ point load ของคาน 
ไหน  (เพราะคานซอยจะมีการถายโหลดไปคานหลัก)  จะตรวจสอบจากการกําหนดสถานะของ 
จุดตัดคานนี้

การกําหนดสถานะของจุดตัดคาน มีขอกําหนดดังภาพดานลาง 

อยางไรก็ตาม  โปรแกรม  RMUTSB-RC  นี้จะมี  ตัวชวย  ในการปอนขอมูลสถานะของ 


จุดตัดคาน ซึ่งผูพฒ
ั นาแนะนําใหใชตัวชวยนี้
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  14 

เมื่อพิจารณาจากผังคานในตัวอยางนี้  สถานะของจุดตัดคาน  ควรจะเปนดังแสดงในตาราง 


ดานลาง (จุดตอที่มีสถานะเปนเสา ไมตองนํามาพิจารณา) 
จุดตอที่  สถานะ 
10  2 
11  2 
12  2 
13  0 
14  2 
15  0 
16  0 
17  0 

น้ําหนักผนังตามแนวคาน 
น้ําหนักผนังตามแนวคาน  (ซึ่งรวมถึงน้ําหนักของบันไดที่พาดบนคาน  ซึ่งผูใชจะตอง 
คํานวณมากอนแลวมาปอนในเมนูยอยนี้  ในกรณีผังคานนั้นมีบันได)  จะปอนในหนวย  น้ําหนัก/ 
เมตร  (T/m)  ซึ่งคือการพิจารณาน้ําหนักตอตารางเมตรของวัสดุตางๆ  ที่ใชทําผนัง  (พิจารณาตาม 
กฎกระทรวง) แลวคูณดวยความสูงจากพื้นของผนังนั้น 

เชน ตัวอยางนี้  จะใชผนังกออิฐครึ่งแผน ซึ่งมีน้ําหนัก 180 kg/m^2 โดยมีความสูงของผนัง 


2 แบบ คือ 
-  ผนังของอาคาร กําหนดวาสูงจากพื้นถึงแนวคานชั้นบนถัดไป 2.60 m ดังนั้น น้ําหนักที่ 
ปอนคือ 0.180 x 2.60 = 0.468 T/m 
-  ผนังของชานพัก  กําหนดวาสูงจากพืน้ ขึ้นมา  1  m  ดังนั้น  น้ําหนักที่ปอนคือ  0.180  x 
1.00 = 0.180 T/m
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  15 

น้ําหนักผนังตามแนวคาน ใสขอมูลดังตารางดานลาง 
จุดตอที่  จุดตอแรก  จุดตอปลาย  น้ําหนัก (T/m) 
1  10  12  0.180 
2  13  1  0.180 
3  1  3  0.468 
4  5  6  0.468 
5  16  7  0.180 
6  7  9  0.468 
7  13  16  0.180 
8  10  1  0.180 
9  1  7  0.468 
10  2  8  0.468 
11  15  17  0.468 
12  12  3  0.180 
13  3  9  0.468 

น้ําหนักกระทําที่จุดตอ 
น้ําหนักกระทําที่จดุ ตอ โดยทั่วไปหมายถึงน้ําหนักใน 2 กรณีคือ 
-  น้ําหนักจากแรงปฏิกริ ิยาของเสาที่ถายมาจากชัน้ บนถัดไป  ซึ่งจําเปนตองปอนสําหรับ 
การออกแบบอาคารทัว่ ไปที่มีจํานวน 2 ชั้นขึ้นไป เพราะเปนน้ําหนักเสาเดิมที่นํามารวม 
กับน้ําหนักที่ถายลงเสาในชั้นที่พิจารณา  เพื่อนําน้ําหนักรวมไปออกแบบเสา  และ 
ออกแบบฐานรากในที่สุด 
-  น้ําหนักจากเสาวางบนคาน ซึ่งพบไมบอยนัก
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  16 

จากตัวอยางนี้  จะสมมุติวา มีน้ําหนักจากเสาชั้นบนถัดไป  นํามาถายลงเปนน้ําหนักกระทําที่ 


จุดตอ (ซึ่งในที่นคี้ ือเฉพาะจุดตอเสา) มีคาน้ําหนักในแตละจุดตอแสดงดังตารางดานลาง 
จุดตอที่  น้ําหนัก (T) 
1  1.000 
2  1.500 
3  0.800 
4  1.200 
5  2.000 
6  1.600 
7  0.800 
8  1.600 
9  0.600 

2)  การใชโปรแกรม 
เริ่มตนโดยการปอนขอมูลที่เมนู  ปอนขอมูล  หรือใชกลองเครื่องมือชุดที่  2  ซึ่งเรียงลําดับ 
การปอนขอมูลจากซายไปขวาไว  ควรปอนขอมูลเรียงไปตามลําดับนี้  (ในที่นจี้ ะอธิบายโดยใชปุม 
บนกลองเครื่องมือชุดที่ 2) 

คลิกที่ปุม  (ขอมูลควบคุม)  จะปรากฏหนาตาง ดังภาพลางดานซาย  โดยคาที่ปรากฏ  จะ 


เปนคาเริ่มตน (default) ของโปรแกรม ก็ใหเปลี่ยนคาตามขอมูลตัวอยาง ดังภาพลางดานขวา
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  17 

จากนัน้  คลิกที่ปุม  (พิกัดของจุดตอ) จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล ใหปอนขอมูลตามที่ 


กําหนดไว ดังภาพดานลาง 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ 


ตามพิกัดที่เราปอนเขาไป แสดงดังภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  18 

จากนัน้   คลิกที่ปุม  (แผนพื้น)  จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล  ใหปอนขอมูลแผนพื้น 


ตามที่กําหนดไว  แสดงดังภาพดานลาง  (สังเกตวาหนาตางนี้จะมีตวั ชวยปอนขอมูลเริ่มตน  และพิกัด 
แผนพื้น ซึ่งทํางานอยางไรนั้น ใหลองทดสอบดูได) 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ 


และแผนพื้นที่เราปอนเขาไปแลว แสดงดังภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  19 

จากนัน้  คลิกที่ปมุ   (เสา : จุดตอ) จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล ใหปอนขอมูลจุดตอเสา 


ตามที่กําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ, 


แผนพื้น และจุดตอเสาที่เราปอนเขาไปแลว แสดงดังภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  20 

จากนัน้   คลิกที่ปุม  (เสา  :  ขนาดหนาตัด)  จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล  ใหปอนขอมูล 


ขนาดหนาตัดเสาตามที่กําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง เสร็จแลวคลิกปุมตกลง 

จากนัน้  คลิกที่ปุม  (คาน : จุดเชื่อมตอ) จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล ใหปอนขอมูลจุด 


เชื่อมตอคานตามที่กําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง 
สังเกตวา หนาตางนีจ้ ะมีตวั ชวยในการปอนขอมูลจุดเชื่อมตอคาน ซึ่งทํางานอยางไรนั้น ให 
ลองทดสอบดูได
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  21 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ, 


แผนพื้น จุดตอเสา และจุดเชื่อมตอคาน ที่เราปอนเขาไปแลว แสดงดังภาพดานลาง 

จากนัน้  คลิกที่ปุม  (คาน : ขนาดหนาตัด) จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล ใหปอนขอมูล 


ขนาดหนาตัดคานตามทีก่ ําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง เสร็จแลวคลิกปุมตกลง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  22 

จากนัน้   คลิกที่ปุม  (คาน  :  สถานะของจุดตัด)  จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล  ใหปอน 


ขอมูลสถานะของจุดตัดคาน ตามทีก่ ําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง 
สังเกตวา  หนาตางนี้จะมีตัวชวยในการปอนขอมูลสถานะของจุดตัดตอคาน  ซึ่งแนะนําให 
ใช
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  23 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ, 


แผนพื้น  จุดตอเสา  จุดเชื่อมตอคาน  และสถานะของจุดตัดคานที่เราปอนเขาไปแลว  แสดงดังภาพ 
ดานลาง (เปนภาพขยายเฉพาะสวนของกราฟกผังขอมูล) 
จุดตอคานใดที่มีสถานะ 0 กราฟกจะแสดงจุดตอนั้นเปนรูปสี่เหลี่ยมโปรง (จุดตอเสาจะเปน 
สี่เหลี่ยมทึบ)  และจุดตอคานใดที่มีสถานะ  2  กราฟกจะแสดงจุดตอนั้นเปนรูปสี่เหลี่ยมแลวมี 
กากบาททีด่ านใน
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  24 

จากนัน้   คลิกที่ปมุ   (น้ําหนักผนังตามแนวคาน)  จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล  ใหปอน 


ขอมูลน้ําหนักผนังตามแนวคาน ตามทีก่ ําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ, 


แผนพื้น  จุดตอเสา  จุดเชื่อมตอคาน  สถานะของจุดตัดคาน  และน้ําหนักผนังตามแนวคาน  ที่เรา 
ปอนเขาไปแลว แสดงดังภาพดานลาง (สีที่ตางกันแสดงถึง ขนาดน้ําหนัก ทีต่ างกัน)
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  25 

จากนัน้   คลิกที่ปุม  (น้ําหนักกระทําทีจ่ ุดตอ)  จะปรากฏหนาตางปอนขอมูล  ใหปอน 


ขอมูลน้ําหนักกระทําที่จดุ ตอ ตามทีก่ ําหนดไว แสดงดังภาพดานลาง 

คลิกปุม  ตกลง  หนาตางนีก้ ็จะปด  และหนาโปรแกรมหลักจะแสดงกราฟกของพิกดั จุดตอ, 


แผนพื้น  จุดตอเสา  จุดเชื่อมตอคาน  สถานะของจุดตัดคาน  น้ําหนักผนังตามแนวคาน  และน้ําหนัก 
กระทําที่จดุ ตอ ที่เราปอนเขาไปแลว แสดงดังภาพดานลาง เปนการเสร็จสิ้นการปอนขอมูล
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  26 

สังเกตวากราฟกที่หนาตางหลักของโปรแกรมแสดงขึ้นมานั้น  เปนกราฟกของผังขอมูล 
ทั้งหมด  (ปุมกราฟก  )  ซึ่งเรายังสามารถเลือกดูเฉพาะขอมูลไดโดยเลือกที่กลองเครื่องมือกราฟก 
(ชุดที่ 6) 

ตัวอยางเชน  หากเราตองการดูกราฟกเฉพาะน้ําหนักกระทําที่จุดตอ  ใหคลิกที่ปุม  ซึ่ง 


หนาหลักของโปรแกรมจะแสดงเฉพาะกราฟกน้ําหนักกระทําที่จุดตอ ดังภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  27 

เราสามารถดูกราฟกผังคานพรอมมิต ิ คือระยะระหวางจุดตอตางๆ (เมื่อปอนขอมูล พิกัดจุด 
ตอ  แลวเปนอยางนอย)  โดยการคลิกที่ปุม  ซึ่งหนาหลักของโปรแกรมจะแสดงกราฟกผังคาน 
พรอมมิติ ดังภาพดานลาง 

เมื่อปอนขอมูลเสร็จเรียบรอยแลว ใหเซฟไฟลขอมูลนี้ (อันที่จริงแนะนําเปนอยางยิ่งวา ควร 
เซฟไฟลตั้งแตปอนขอมูลแรกๆ เชน ปอนขอมูลควบคุมเสร็จแลวก็เซฟไดเลย) โดยคลิกที่ปุม  จะ 
ปรากฏหนาตางใหกําหนดชื่อไฟล  และพาธที่เก็บไฟลนั้น  แสดงดังภาพดานลาง  แนะนําวาใหสราง 
โฟลเดอรไวเก็บไฟลขอมูลนี้  เพราะขอมูล  1  ชื่อที่เรากําหนดลงไป  โปรแกรมจะแตกออกมาเปน  8 
ไฟลเก็บแตละขอมูล  (โดยแสดงใหเห็นเพียงนามสกุลเดียวคือ  hcd)  เชนในตัวอยางนี้  กําหนดชื่อวา 
House01 โดยสรางโฟลเดอรชื่อ data เพื่อเก็บชุดไฟลนี้
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  28 

จากนัน้   คลิกที่ปุม  (สมบัติของวัสดุ)  จะปรากฏหนาตางขอมูลดังรูปดานลาง  โดยมีคา 


สมบัติของวัสดุตางๆ ไวแลว ซึ่งเปนคาที่ใชงานบอยๆ แตเราสามารถแกไขไดในทุกขอมูล ซึ่งหากมี 
การแกไข ใหคลิกปุม ตกลง หากไมมกี ารแกไข สามารถคลิกที่ปุม ตกลง หรือ ยกเลิก ก็ได (คือใช 
ขอมูลตามที่โปรแกรมกําหนด) 

เมื่อเราตองการที่จะใหโปรแกรมคํานวณ  ใหคลิกที่ปุม  (คํานวณแผนพื้น-คาน-เสา)  ซึ่ง 


จะปรากฏหนาตางดังภาพลางดานซาย จากนั้นใหคลิกที่ปมุ  เริ่ม ซึ่งโปรแกรมจะทําการคํานวณแผน 
พื้น-คาน-เสา  ใหโดยอัตโนมัติ  โดยถาขอมูลที่ปอนเขาไปไมผิดพลาด  โปรแกรมจะทําการคํานวณ 
จนเสร็จสิ้นแลว  จะปรากฏหนาตางคํานวณนี้เปลี่ยนหนาตาไปเล็กนอยดังภาพลางดานขวา  (หาก 
ขอมูลที่ปอนไปแลวไมสมบูรณหรือมีขอผิดพลาด โปรแกรมจะปรากฏหนาตางแจงเตือนใหกลับไป 
ตรวจสอบขอมูลอีกครั้ง) จากนัน้ ใหคลิดปุม ออก เพื่อออกจากหนาตางคํานวณนี้
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  29 

เมื่อโปรแกรมคํานวณแผนพืน้ -คาน-เสาเสร็จแลว  เราสามารถดูกราฟกแรงปฏิกิริยาไดโดย 


คลิกที่ปุม  ซึ่งหนาหลักของโปรแกรมจะแสดงกราฟกของแรงปฏิกิริยา ดังภาพดานลาง 

เราสามารถดูกราฟก  FBD,  SFD  และ  BMD  ของคานไดโดยคลิกที่ปุม  ซึ่งจะปรากฏ 


หนาตางแสดงกราฟกนี้ซอนหนาหลักของโปรแกรมขึ้นมา ดังภาพดานลาง 

การเลือกดูกราฟกของคานหมายเลขใด  สามารถเลือกดูไดโดยการคลิกที่ปุม  ถัดไป  หรือ 


เลือก ของหนาตางที่ปรากฏขึ้นมานี้
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  30 

ถาตองการดูผลลัพธ  พารามิเตอร  ใหคลิกที่ปุม  จะปรากฏหนาตางแสดงขอมูล 


พารามิเตอร ดังภาพดานลาง 

ถาตองการดูผลลัพธ  แผนพื้น ใหคลิกที่ปุม  จะปรากฏหนาตางแสดงขอมูล ผลลัพธแผน 


พื้น ดังภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  31 

ถาตองการดูผลลัพธ  คาน ใหคลิกที่ปุม  จะปรากฏหนาตางแสดงขอมูล ผลลัพธของคาน 


หมายเลขตางๆ  (จะเริ่มตนดวยคานหมายเลข  1)  ดังภาพดานลาง  ซึ่งการเลือกดูผลลัพธของคาน 
หมายเลขใด ทําไดโดยการคลิกที่ปุม เลือก หรือ ตอไป ในหนาตางที่ปรากฏขึน้ มานี้ 

ถาตองการดูผลลัพธ  เสา  ใหคลิกที่ปุม  จะปรากฏหนาตางแสดงขอมูล  ผลลัพธเสา  ดัง 


ภาพดานลาง
คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  32 

สรุปตารางเตรียมขอมูล 
ขอมูลควบคุม 
จํานวนจุดตอ 
จํานวนแผนพื้น 
จํานวนคาน 
จํานวนชนิดของหนาตัดคาน 
จํานวนชนิดของหนาตัดเสา 
จํานวนน้ําหนักผนังตามแนวคาน 

พิกัดของจุดตอ 
จุดตอที่  พิกัด X (m)  พิกัด Y (m)  จุดตอที่  พิกัด X (m)  พิกัด Y (m) 

แผนพื้น 
แผนพื้นที่  I  J  K  L  นน.คงทีเ่ พิ่มเติม  นน.จร  ความหนา  ชนิด 
(T/m^2)  (T/m^2)  (m) 

เสา : จุดตอ 
จุดตอที่  สถานะ  หนาตัดเสาที่  จุดตอที่  สถานะ  หนาตัดเสาที่ 

เสา : ขนาดหนาตัด 

หนาตัดที่  ระยะ a (m)  ระยะ b (m)  ระยะหุมเหล็กเสริม (m)


คูมือการใชงานโปรแกรม RMUTSB-RC (เวอรชันทดสอบ)  33 

คาน : จุดเชื่อมตอ 
หมายเลขคาน  จุดตอแรก  หนาตัดที่  จุดตอปลาย 

คาน : ขนาดหนาตัด 
หนาตัดที่  ความกวาง  ความลึก  ระยะหุมเหล็กเสริมบน  ระยะหุมเหล็กเสริมลาง 
(m)  (m)  (m)  (m) 

คาน : สถานะของจุดตัด 
จุดตอที่  สถานะ  จุดตอที่  สถานะ 

น้ําหนักผนังตามแนวคาน 
จุดตอที่  จุดตอแรก  จุดตอปลาย  น้ําหนัก (T/m) 

น้ําหนักกระทําที่จุดตอ 

จุดตอที่  น้ําหนัก (T)  จุดตอที่  น้ําหนัก (T)

You might also like