You are on page 1of 66

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1.

1. จงอธิบายคำว่า สถิติ ในความหมายของข้อมูลสถิติ และค่าสถิติ


ข้อมูลสถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริงที่ได้มีการจดบันทึกไว้
ค่าสถิติ หมายถึง ค่าตัวเลขที่คำนวณหรือประมวลผลได้จากกลุ่มข้อมูลตัวอย่าง โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ
2. จงอธิบายถึงความแตกต่าง ระหว่างสถิติเชิงพรรณนากับสถิติเชิงอนุมาน
สถิติเชิงพรรณนาเป็นหลักการที่เกี่ยวกับระเบียบวิธีทางสถิติ โดยไม่ได้นำความรู้ในเรื่องความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้
ส่ วนสถ ิ ติ เช ิ งอนุ มานเป ็ นการว ิ เคราะห์ ข ้ อมู ลจากตั วอย่ าง แ ละนำข ้ อสร ุ ปไปสู ่ ประชา ก ร อ าจทำ
ในรูปการประมาณค่าหรือการทดสอบสมมติฐาน โดยนำความรู้ในเรื่องความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้ด้วย
3. ท่านจะใช้วิชาสถิติเป็นประโยชน์ต่อท่านและประเทศในส่วนรวมได้อย่างไรบ้าง อธิบายและยกตัวอย่าง
ประโยชน์ในด้านชี วิ ตประจำวัน ของบุ คคล เช่น รายรั บ-รายจ่ ายของครอบครัว , การใช้เวลาในการทำงาน การ
เดินทางหรือการออกกำลังกาย สำหรับในด้านระดับประเทศเป็นการนำสถิติมาช่วยในการดำเนินการบริหาร และกำหนด
นโยบายในการพัฒนาประเทศ เช่น สถิติทางการศึกษา การเกษตร ธุรกิจ เป็นต้น
4. จงยกตัวอย่างข้อมูลต่อไปนี้ ชนิดละ 5 ตัวอย่าง
ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ก. เงินเดือน, น้ำหนัก, อายุ, ราคาสินค้า, คะแนนสอบ เป็นต้น
ข. เพศ, สีของตา, ศาสนา, ชนิดของโรค, เบอร์เสื้อผ้า เป็นต้น
5. มาตรการวัดของข้อมูลแบ่งได้กี่ระดับ อะไรบ้าง
4 ระดับ คือ มาตรนามบัญญัติ มาตรเรียงลำดับ มาตรอันตรภาคและมาตรอัตราส่วน
6. ระเบียบวิธีทางสถิติมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
4 ขั้นตอน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายข้อมูล

7. ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ แตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย


ครั้งที่ของการปรากฏของข้อมูล ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมและนำเสนอให้ปรากฏเป็นครั้งแรก ข้อมูลนั้นเป็ นข้ อมู ลปฐมภู มิ
แต่ข้อมูลใดที่มีผู้เคยนำเสนอไว้ก่อนแล้ว ต่อมามีผู้นำเสนอให้ปรากฏในที่อื่นอีกไม่ว่าจะเป็นครั้งที่เท่าไรก็ตาม ข้อมูลนั้นเป็น
ข้อมูลทุติยภูมิ
8. ข้อใดเป็นข้อมูลสถิติ หรือไม่เป็นข้อมูลสถิติ
เป็น 8.1 ปริมาณการส่งออกข้าวรายเดือน
ไม่เป็น 8.2 จำนวนนักศึกษาที่เรียนวิชาสถิติเพื่อการวิจัย
เป็น 8.3 บัณทิตที่จบจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ สามารถหางานทำได้ภายในไตรมาสแรก
คิดเป็นร้อยละ 80
ไม่เป็น 8.4 อุณหภูมิวันที่ 15 ธันวาคม 2560 ที่ดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ เท่ากับ 1C
เป็น 8.5 ผู้อำนวยการสวนสัตว์เชียงใหม่ กล่าวว่า ในปีนี้มีผู้มาเที่ยวสวนสัตว์แห่งนี้ในช่วงเทศกาลวันเด็กมากกว่าเทศกาล
อื่น
เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 1
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นข้อมูลสถิติ
ค. ปริมาณฝนตกวันนี้ ในจังหวัดภูเก็ต
2. ข้อใดเป็นสถิติเชิงพรรณนา
ก. การหาค่ากลาง
3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
ก. วุฒิการศึกษาที่จบ
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นข้อมูลทุติยภูมิ
ค. ข้อมูลเกี่ยวกับคนไข้แยกตามเพศในโรงพยาบาลต่างๆ
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ง. ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจหรือการสังเกต หรือการทดลอง จัดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
6. ระเบียบวิธีทางสถิติหมายถึงข้อใด
ง. การเก็บรวบรวม การนำเสนอ การวิเคราะห์ และการตีความหมายข้อมูล
7. อัตราการเต้นของหัวใจ จัดอยู่ในมาตรการวัดข้อใด
ง. มาตรอัตราส่วน
8. ความรวดเร็วในการให้บริการจัดอยู่ในมาตรการวัดข้อใด
ข. มาตรเรียงลำดับ
9. อาชีพของผู้ปกครองนักศึกษาจัดอยู่ในมาตรการวัดข้อใด
ก. มาตรนามบัญญัติ
10. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. เกรดเฉลี่ยของนักศึกษาชั้น ปวส.1 ของวิทยาลัย คือ 2.5 เป็นสถิติเชิงพรรณนา
เฉลยกิจกรรมที่ 2.1
จงหาคะแนนเฉลี่ยจากคะแนนสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษของผู้สมัครงาน ดังนี้ 2 4 6 10 5 คะแนน
∑𝑛
𝑖=1 𝑥𝑖
วิธีทำ  =
𝑁
2 +4 +6 +10+5
=
5
27
 = = 5.4
5
ดังนั้น คะแนนเฉลี่ยจากคะแนนสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษของผู้สมัครเท่ากับ 5.4 คะแนน
เฉลยกิจกรรมที่ 2.2
ตารางแสดงจำนวนครั้งที่บุคคลภายนอกใช้บริการศูนย์ภาษาแห่งหนึ่ง จงหาจำนวนครั้งในการใช้บริการโดยเฉลี่ยต่อเดื อน
ของบุคคลภายนอก
การใช้บริการต่อเดือน (ครั้ง) จำนวน (คน) จุดกึ่งกลางชั้น (xi) fixi
5–9 2 7 14
10 – 14 5 12 60
15 – 19 1 17 17
20 – 24 2 22 44
รวม 10 135
∑𝑘
𝑖=1 𝑓𝑖 𝑥𝑖
วิธีทำ  =
𝑁

135
 =
10
= 13.5

ดังนั้น จำนวนครั้งในการใช้บริการโดยเฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 13.5 ครั้ง


เฉลยกิจกรรมที่ 2.3
จงหามัธยฐานของคะแนนสอบนักศึกษากลุ่มหนึ่ง มีคะแนน ดังนี้ 25 , 19 , 28 , 35, 22 , 20 และ 10
วิธีทำ เรียงลำดับข้อมูล 10 19 20 22 25 28 35
7+1
ตำแหน่งมัธยฐาน คือ =4
2
ดังนั้น มัธยฐานของคะแนนสอบนักศึกษากลุ่มนี้ คือ 22 คะแนน

เฉลยกิจกรรมที่ 2.4
จากตัวอย่างนักศึกษาหญิง 100 คน ได้ความสูงดังตาราง จงหามัธยฐานของความสูงนักศึกษาหญิง

ความสูงนักศึกษา จำนวนนักศึกษา ความถี่สะสม


(เซนติเมตร) (f) (F)
135 – 144 4 4
145 – 154 19 23
155 – 164 40 63
165 – 174 30 93
175 – 184 7 100
รวม 100

N 100
วิธีทำ หา = = 50 มัธยฐานจะอยู่ในตำแหน่งที่ 50
2 2
โดยเทียบกับความถี่สะสม ดังนั้น ชั้นมัธยฐาน คือ ชั้นที่ 3
หาค่า L0 = 154.5 , I = 10 , fm = 40 และ F = 23
𝑁
− 𝐹
สูตรมัธยฐาน = L0 + I [ 2
]
𝑓
100
− 23
= 154.5 + 10 [ 2
]
40
= 154.5 + 6.75
= 161.25
ดังนั้น มัธยฐานของความสูงของนักศึกษาหญิง คือ 161.25 เซนติเมตร
เฉลยกิจกรรมที่ 2.5 จากตัวอย่างนิสิตชายจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งจำนวน 100 คน สอบถามความสูง ได้ดังตาราง
จงหาฐานนิยมของความสูงนิสิตชาย
ความสูงนิสิตชาย จำนวนนิสิต วิธีทำ ชั้นฐานนิยม คือ อันตรภาคชั้น 155 - 164
(เซนติเมตร) (คน) L o = 154.5 , = 10

135 – 144 5 d1 = 42 - 18 = 24, d 2 = 42 - 26 = 16


𝑑1
145 – 154 18 สูตร ฐานนิยม = L0 + I [ ]
𝑑1 +𝑑2

24
155 – 164 42 = 154.5+10
( )
24+16

165 – 174 26 = 154.5 + 6

175 – 184 9 = 160.5


รวม 100

ดังนั้น ฐานนิยมของความสูงของนิสิตชาย คือ 160.5 เซนติเมตร

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2
1. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของอายุ (ปี) ต่อไปนี้
31 15 18 20 25
43 55 60 27 30
∑𝑥
 =
𝑁
31 + 15 + 18 + 20 + 25 + 43 + 55 + 60 + 27 + 30
 =
10
32 4
 = 10 = 32.4 ปี

เรียงข้อมูล 15 18 20 25 27 30 31 43 55 60
10 + 1
มัธยฐาน ตำแหน่งคือ = 55
2
27 + 30
ดังนั้นค่ามัธยฐาน คือ = 28.5
2
ไม่มีฐานนิยม เพราะมีความถี่เท่ากันทุกตัว
2. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของราคาสินค้า (บาท) ต่อไปนี้
156 340 425 583 1,000 2,080
∑𝑥
 =
𝑁

156+340+425+583+1,000+2,080
 =
6
4584
 = = 764 บาท
6
425 + 583
มัธยฐาน คือ = 504 บาท
2
ไม่มีฐานนิยม เพราะความถี่เท่ากัน
3. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูล ต่อไปนี้

คะแนนสอบ (xi) จำนวนนักศึกษา (fi) F fixi


5 3 3 15
8 10 13 80
10 15 28 150
12 9 37 108
15 8 45 120
20 2 47 40
47 513

∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖
 = ∑ 𝑓𝑖
513
=
47
= 10.9  11 คะแนน
N+1 47+1
ตำแหน่งมัธยฐาน คือ = = 24
2 2
ดังนั้น มัธยฐาน คือ 10 คะแนน
และฐานนิยม คือ 10 คะแนน
4. ตารางแสดงจำนวนครั้งที่นักศึกษาไปห้องสมุดใน 1 สัปดาห์ จงหาจำนวนครั้งของการไปใช้ห้องสมุดโดยเฉลี่ย

การไปใช้ห้องสมุดของนักศึกษา (ครั้ง) จำนวนนักศึกษา (คน) จุดกึ่งกลางชั้น (xi) fixi


0–2 2 1 2
3–5 8 4 32
6–8 6 7 42
9 – 11 2 10 20
12 – 14 2 13 26
รวม 20 122
∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖
 = ∑ 𝑓𝑖
122
=
20
= 6.1
ดังนั้น จำนวนครั้งของการไปใช้ห้องสมุดโดยเฉลี่ย เท่ากับ 6.1 ครั้ง

5. ตารางแจกแจงความถี่ เป็นคะแนนสอบภาคปฏิบัติของนักศึกษา จงหามัธยฐาน


คะแนนสอบ จำนวนนักศึกษา ความถี่สะสม
(คะแนน) (คน)
ต่ำกว่า 19 5 5
20 – 29 10 15
30 – 39 9 24
40 – 49 20 44
50 - 59 6 50
รวม 50
N 50
วิธีทำ หา = = 25 มัธยฐานจะอยู่ในตำแหน่งที่ 25
2 2
จากนั้นพิจารณาความถี่สะสม ดูว่าตำแหน่งที่ 25 อยู่ในชั้นใด
พบว่า มัธยฐานจะตกอยู่ในชั้นที่ 4 เนื่องจากความถี่สะสมของชั้นนี้ คือ 44
หาค่า L0 = 39.5 , I = 10 , f = 20 และ F = 24
𝑁
− 𝐹
สูตร มัธยฐาน = L + I [ 2
]
𝑓
50
− 24
= 39.5 + 10 [ 2
]
20
= 39.5 + 0.5 = 40
ดังนั้น มัธยฐานของคะแนนสอบภาคปฏิบัติของนักศึกษากลุ่มนี้ คือ 40 คะแนน
6. ตารางแสดงจำนวนชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์ของคนงานบริษัทแห่งหนึ่ง จงหาฐานนิยม

จำนวนชั่วโมงการทำงาน จำนวนคนงาน
(ชั่วโมง) (คน)
10 – 19 7
20 – 29 19
30 – 39 6
40 – 49 15
50 - 59 3
รวม 50

วิธีทำ ชั้นฐานนิยม คือ อันตรภาคชั้น 20 – 29


ถ้า L o = 19.5 , I = 10
d1 = 19-7 = 12 , d 2 = 19-6 = 13
แทนค่าในสูตรจะได้
𝑑1
ฐานนิยม = L0 + I [ ]
𝑑1 +𝑑2
12
= 19.5+10
= 19.5 + 4.8
( )
12+13

ดังนั้น ฐานนิยม คือ 24.3 ชั่วโมง

7. จากข้อมูลปริมาณน้ำนมที่เด็กทารกวัย 0 – 3 เดือน ดื่มต่อวัน จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยม


ปริมาณน้ำนม (ออนซ์) จำนวน (คน) ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชั้น Xi fXi i
59+64 4×61.5 =246
59 – 64 4 4 = 61.5
2
65 – 70 1 5 67.5 1×67.5= 67.5
71 – 76 8 13 73.5 8×73.5 = 588
77 – 82 2 15 79.5 2×79.5 = 159
83 – 88 5 20 85.5 5×85.5 = 427.5
รวม 20 ∑fixi = 1488

∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖
ก. ค่าเฉลี่ย  = ∑ 𝑓𝑖
1488
=
20
= 74.4
ดังนั้นค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 74.4 ออนซ์
ข. จาก N = 20 = 10 คือ ข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งที่ 10 ค. ชั้นฐานนิยม คือ ชั้นที่ 3 (มีความถี่สูงสุด)
2 2
โดยเทียบกับความถี่สะสม ดังนั้นชั้นมัธยฐาน คือ ชั้นที่ 3 L 0 = 71 - 0.5 = 70.5 , I = 76.5 - 70.5 = 6
L 0 = 71 - 0.5 = 70.5 , I = 76.5 - 70.5 = 6 d1 = 8 - 1 = 7 , d2 = 8 - 2 = 6
𝑑1
N ฐานนิยม = L + I [ ]
= 10 , F= 5 , f= 8 𝑑1 +𝑑2
2
7
มัธยฐาน = L + I [
𝑁
2

𝑓
𝐹
]
= 70.5+6
( )7+6
= 70.5+6 7
= 70.5+6 10-5
( ) 8
= 70.5+3.23
() 13

= 70.5+6 5
()
= 70.5+3.75
8
= 73.73
ดังนั้นฐานนิยมเท่ากับ 73.73 ออนซ์
= 74.25
ดังนั้นมัฐยฐานเท่ากับ 74.25 ออนซ์

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 2
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ง. ถูกทุกข้อ
2. จากตารางข้อมูล จะได้ค่าฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิตตรงกับข้อใด
คะแนน 15 17 18 20 24 30
ความถี่ 4 5 6 8 5 3
ง. 20, 20, 20.09
3. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จำนวน หายไป 1 จำนวน คงเหลือ 5 จำนวน คือ 28, 29, 28, 35, 28 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เป็น 30
จำนวนที่หายไปมีค่าเท่าใด
ข. 32
จากตารางแจกแจงความถี่ ใช้ตอบคำถามข้อ 4 – 5
คะแนน 30 - 26 25 - 21 20 - 16 15 - 11 10 - 6
ความถี่ 8 10 15 11 6
4. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค. 18.3
5. จงหามัธยฐาน
ง. 18.17
6. จงหาฐานนิยม
ก. 17.72
7. โดยเฉลี่ยแล้วคนไทยเรียนหนังสือจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คำว่าเฉลี่ยในที่นี้หมายถึงค่ากลางใด
ค. ฐานนิยม
8. โดยเฉลี่ยแล้วคนไทยเสียชีวิตอัตรา 3 คน ทุกชั่วโมง คำว่าเฉลี่ยในที่นี้หมายถึงค่ากลางใด
ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ข้อมูลใช้ตอบคำถามข้อ 9-10
รายได้ต่อเดือนของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารกระป๋องจำนวน 20 คน ที่ถูกจัดลำดับจากน้อยไปมากเป็นดังนี้
2,400, 2,400, 2,400, 2,400, 2,400, 2,400, 2,400, 2,400, 2,550, 2,550, 2,650, 2,650 2,800, 2,800, 2,900,
3,000, 3,050, 3,250, 3,300, 3,400
9. จงหามัธยฐาน
ข. 2,600 บาท
10. จงหาฐานนิยม
ก. 2,400 บาท
11. ผลการทดสอบความถนัดทางภาษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 3 ห้อง เป็นดังนี้
ห้อง ก ห้อง ข ห้อง ค
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 20 30 15
จำนวน 30 50 20
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวมของความถนัดทางภาษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เป็นเท่าใด
ค. 24
12. ข้อมูลต่อไปนี้แสดงจำนวนปีที่ใช้รถยนต์ของร้านขายของส่งแห่งหนึ่ง
2 10 9 7 7 2 1 8 5 11
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ง. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ 6.2
13. แดนขับรถไปประเทศอนาเซียด้วยความเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นระยะทาง 100 กิโลเมตร ความเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง เป็นระยะทาง 70 กิโลเมตร และความเร็วเฉลี่ย 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นระยะทาง 30 กิโลเมตร จงหาว่าเขาเดินทาง
ทั้งสิ้นด้วยความเร็วเฉลี่ยเท่าไร
ค. 65.5
14. ข้อมูลยอดขายของบริษัท ค้าขาย จำกัด ในปีที่แล้วเป็นดังนี้
ยอดขาย (หน่วย:พันบาท) จำนวนเดือน
น้อยกว่า 90 1
91 – 120 3
121 – 160 3
161 – 190 3
191 – 240 3
มากกว่า 240 1

ในกรณีนี้บริษัทควรเลือกใช้ค่าใดเป็นค่ากลางที่เหมาะสมสำหรับข้อมูลชุดนี้
ข. มัธยฐาน
15. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย
8 3 6 5 8 6 8 4 6
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ข้อ A. ข้อมูลชุดนี้ไม่มีฐานนิยม
ข้อ B. ค่ามัธยฐาน คือ 8
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ง. ผิดทั้งสองข้อ
16. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จำนวน หายไป 1 จำนวน คงเหลือ 4 จำนวน คือ 25, 31, 42 และ 30 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เป็น 36
จำนวนที่หายไปมีค่าเท่าใด
ง. 52
17. ตารางแสดงจำนวนครั้งในการเข้าอบรม/สัมมนาของคณาจารย์คณะศิลปศาสตร์ในปีการศึกษา 2554

จำนวนครั้ง จำนวน (คน)


10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
รวม 30
จากข้อมูลข้างต้นค่าฐานนิยมเท่ากับข้อใด
ข. 22.5
จากตาราง ใช้ตอบคำถามข้อ 18 – 20

จำนวนวันหยุดงาน 0–2 3–5 6–8 9 – 11 12 – 14


ความถี่สะสม 15 35 47 49 50
18. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจำนวนวันหยุดงานเป็นเท่าใด
ข. 4.2
19. จงหามัธยฐาน
ข. 4.0
20. จงหาฐานนิยม
ก. 3.65
เฉลยกิจกรรมที่ 3.1
1. จงหาพิสัยของคะแนนสอบของนักศึกษา 80 คน
คะแนนสอบ 60 - 64 65 - 69 70 - 74 75 - 79 80 - 84 85 - 89
จำนวนพนักงาน 15 10 15 15 14 11
วิธีทำ พิสัย = ขอบบนของอันตรภาคชั้นคะแนนสูงสุด – ขอบล่างของอันตรภาคชั้นคะแนนต่ำสุด
= 89.5 - 59.5
= 30
ดังนั้น พิสัยคะแนนสอบของนักศึกษา 80 คน คือ 30 คะแนน

เฉลยกิจกรรมที่ 3.2
ข้อมูลต่อไปนี้ 20, 20, 25, 35, 35, 20, 15, 25, 20 และ 35 จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
วิธีทำ เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก
15 20 20 20 20 25 25 35 35 35
1(10+1)
หา Q1 หาตำแหน่งที่ของ Q1 = = 2.75
4
Q1 = 20
3(10+1)
หา Q3 หาตำแหน่งที่ของ Q3 = = 8.25
4
Q3 = 35
Q -Q
จากสูตร Q.D = 3 1
2
35-20
= = 12.5
2
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ คือ 12.5

เฉลยกิจกรรมที่ 3.3
จงหาความแปรปรวนของข้อมูลต่อไปนี้
8, 10, 9, 12, 4, 8 และ 12
8+10+9+12+4+8+12 63
วิธีทำ  = = = 9
7 7

∑𝑁 𝑥 2
2 = 𝑖=1 𝑖
- 2
𝑁
∑𝑁 2
𝑖=1 𝑥𝑖 = 82 + 102 + 92 + 122 + 42 + 82 +122
= 64 + 100 + 81 + 144 + 16 + 64 + 144
= 613
613 2
2 = -9
7
= 87.57 – 81 = 6.57
ดังนั้น ความแปรปรวน คือ 6.57
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3.1
1. จงคำนวณค่าการวัดการกระจายของข้อมูลต่อไปนี้
9 10 6 5 7 8 4

1.1 พิสัย R = ค่าสูงสุด – ค่าต่ำสุด 1.2 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย


= 10 – 4 ค่าเฉลี่ย  =
∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖
= 6 ∑ 𝑓𝑖
9+10+6+5+7+8+4
=
7
49
= =7
7
∑|𝑥𝑖 − 𝜇|
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย  =
𝑁
|9−7|+|10−7|+⋯…..+|4−7|
=
7
2+3+1+2+0+1+3
=
7
12
= = 1.71
7
1.3 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ 1.4 ความแปรปรวนและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
∑𝑁 2
𝑖=1 𝑥𝑖
เรียงข้อมูล 4 5 6 7 8 9 10 ความแปรปรวน 2 = - 2
𝑁

ตำแหน่ง Q 3 = 3 ( N+1) = 3 ( 7+1) = 6 ∑𝑁 2 2 2 2 2 2 2


𝑖=1 𝑥𝑖 = 9 + 10 + 6 + 5 + 7 + 8 +4
2

4 4
ได้ Q 3 เป็นข้อมูลในตำแหน่งที่ 6 คือ 9 = 81+100+36+25+49+64+16
ตำแหน่ง Q1= N+1 = 7+1 = 2 = 371
4 4
371
ได้ Q1 เป็นข้อมูลในตำแหน่งที่ 2 คือ 5 และ  =7, N = 7 2 = - 72
7
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 2 = 53 - 49=4
9-5 =2  = √4 = 2
=
2
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 2 ดังนั้นความแปรปรวนเท่ากับ 4,
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2
2. กำหนดให้ข้อมูลเป็น 60, 32, 54, 60, 48, 52, 38, 35, 48, 60, 54, 44, 49, 47, 46
จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
วิธีทำ เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก
32 35 38 44 46 47 48 48 49 52 54
54 60 60 60
1(15+1)
หา Q1 หาตำแหน่งที่ของ Q1 = = 4
4
Q1 = 44
3(15+1)
หา Q3 หาตำแหน่งที่ของ Q3 = = 12
4
Q3 = 54
Q -Q
จากสูตร Q.D = 3 1
2
54 - 44
Q.D = = 5
2
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ คือ 5

3. จากข้อมูลที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 50, 35, 25, 44, 48, 51, 55, 60, 42 และ30
จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
∑𝑥
วิธีทำ  =
𝑁

50+35+2 5+4 4 +4 8+51+55+6 0+4 2 +30


 =
10
= 44
∑𝑖=1|𝑥𝑖 − 𝜇| = 50 - 44+35 - 44+25 - 44+44 - 44+48 - 44
𝑛

+51 - 44+55 - 44+60 - 44+42 - 44+30 - 44


= 6 + 9 + 19 + 0 + 4 + 7 + 11 + 6 + 2 + 14 = 78
∑𝑛𝑖=1|𝑥𝑖 −𝜇| 78
M.D = = = 7.8
𝑁 10
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย เท่ากับ 7.8
4. จงหาความแปรปรวนและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักศึกษา 10 คนต่อไปนี้ 15, 18, 22, 19, 30, 45, 50,
27, 50, 10
∑𝑥
 =
𝑁
15+18+22+19+30+45+50+27+50+10
=
10
286
= = 28.6
10
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
∑𝑁 2
𝑖=1 𝑥𝑖 = 15 + 18 + 22 + 19 + 30 + 45 + 50 + 27 + 50 + 10
= 225 + 324 + 484 + 361 + 900 + 2025 + 2500 + 729 + 2500 + 100
= 10,148
∑𝑁 2
𝑖=1 𝑥𝑖
2 = - 2
𝑁
10,148
2 = - 28.6 2 = 196.84
10
 = 196.84 = 14.03
2
ดังนั้น ความแปรปรวน ( ) คือ 196.84 คะแนน
และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 14.03 คะแนน
5. ตารางต่อไปนี้ เป็นน้ำหนักของพนักงานกลุ่มหนึ่ง
น้ำหนัก (กก.) จำนวนคน ความถี่สะสม
60 – 64 6 6
65 – 69 8 14
70 – 74 9 23
75 – 79 10 33
80 – 84 4 37
85 - 89 3 40
รวม
จงหา 5.1 พิสัย 5.2 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
วิธีทำ 5.1 พิสัย = ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีคะแนนสูงสุด – ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีคะแนนต่ำสุด
= 89.5 - 59.5
= 30
ดังนั้น พิสัยน้ำหนักของพนักงานเท่ากับ 30 กิโลกรัม

(1)(40)
5.2 หาตำแหน่งที่ของ Q1 = = 10
4
(3)(40)
หาตำแหน่งที่ของ Q3 = = 30
4
10−6
Q1 = 64.5 + 5 [ ]
8
Q1 = 64.5 + 2.5
= 67
30−23
Q3 = 74.5 + 5 [ ]
10
Q3 = 74.5 + 3.5
= 78
จากสูตร Q.D = Q 3- Q 1
2
Q.D = 78-67
2
Q.D = 5.5
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 5.5 กิโลกรัม

6. จากข้อมูลต่อไปนี้ จงหาส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
คะแนน จำนวนคน ความถี่สะสม
น้อยกว่า 6 1 1
6 – 10 4 5
11 – 15 8 13
16 – 20 5 18
มากกว่า 20 2 20
รวม 20 20
(1)(20)
วิธีทำ หาตำแหน่งที่ของ Q1 = = 5
4
(3)(20)
หาตำแหน่งที่ของ Q3 = = 15
4
Q1 = 10.5
15−13
Q3 = 15.5 + 5 [ ]
5
Q3 = 15.5+2
= 17.5

จากสูตร Q.D =
Q 3-Q1
2
17.5-10.5
Q.D = = 3.5
2
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์เท่ากับ 3.5 คะแนน
7. ตารางต่อไปนี้ เป็นเวลาที่นักศึกษาใช้ในการอ่านหนังสือต่อสัปดาห์ จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
เวลา (ชั่วโมง) จำนวนนักศึกษา xi fixi |𝑥𝑖 − 𝜇| fi|𝑥𝑖 − 𝜇|
1–3 4 2 8 3 12
4–6 3 5 15 0 0
7–9 2 8 16 3 6
10 – 12 1 11 11 6 6
รวม 10 50 24
50
วิธีทำ  = = 5
10
∑𝑛
𝑖=1|𝑥𝑖 −𝜇|
M.D =
𝑁
24
=
10
= 2.4
ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย คือ 2.4 ชั่วโมง
8. จงหาความแปรปรวนและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้

คะแนน จำนวนคน xi fxi i x 12 fxi 12


30-34 5 32 160 1,024 5,120
35-39 8 37 296 1,369 10,952
40-44 13 42 546 1,764 22,932
45-49 15 47 705 2,209 33,135
50-54 22 52 1144 2,704 59,488
55-59 8 57 456 3,249 25,992
60-64 6 62 372 3,844 23,064
65-69 2 67 134 4,489 8,978
70-74 1 72 72 5,184 5,184
∑ 𝑓𝑖 = 80 ∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖2 = 194,845

∑ 𝑓𝑖 𝑥𝑖
 = ∑ 𝑓𝑖
3,885
=
80
= 48.5625  48.56
∑𝑁 2
𝑖=1 𝑓𝑖 𝑥1
 = √
𝑁
− 𝜇2

= 194,845 2
- 48.5625)
80 (
= 2,435.5625-2,358.3164
= 77.2461
= 8.79 กก.
ดังนั้น ความแปรปรวนเท่ากับ 77.2461  77.25 คะแนน2
และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.79 คะแนน
9. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียนวิชาสถิติทั่วไปจงคำนวณค่าการวัด การกระจาย ดังนี้

ความถี่ ความถี่ ค่ากึ่งกลางชั้น


คะแนน fXi i |𝑥𝑖 − 𝜇| fi|𝑥𝑖 − 𝜇| Xi2 fXi i2
( fi) สะสม ( x i)
1–3 2 2 2 4 2-7 =5 10 4 8
4–6 4 6 5 20 5-7 =2 8 25 100
7–9 3 9 8 24 8-7 =1 3 64 192
10 – 12 2 11 11 22 11-7 =4 8 121 242
13 – 15 1 12 14 14 14-7 =7 7 196 196
รวม 12 84 36 738

9.1 พิสัย 9.2 ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์


9.3 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 9.4 ความแปรปรวน
9.1 พิสัย 9.2 ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
พิสัย(R) = ขอบเขตบนของอันตรภาคชั้นที่มีคะแนนสูงสุด 1) หาความถี่สะสม
- ขอบเขตล่างของอันตรภาคชั้นที่มีคะแนนต่ำสุด 2) ตำแหน่งของ Q 3 และ Q1
= 15.5 – 0.5 = 15 3N 3 ( 12)
ดังนั้นพิสัยเท่ากับ15 ตำแหน่ ง ของ Q 3 = = =9
4 4
N 12
ตำแหน่งของ Q1 = = =3
4 4
9.3 ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
∑𝑛
M.D = 𝑖=1|𝑥𝑖 −𝜇| 3) เทียบตำแหน่งของ Q 3 กับความถี่สะสม
𝑁
อยู่ในอันตรภาคชั้นที่ 3 (7-9)
36 3𝑁
M.D. = − 𝐹
12 ค่า Q3 = L0 + I [ 4
]
= 3 𝑓

ดังนั้นส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 3 9-6
=6.5+3
( )
3
3

= 6.5+3
() 3
= 6.5+3 = 9.5

9.4 ความแปรปรวน เทียบตำแหน่งของ Q1 กับความถี่สะสม


∑𝑁 2
𝑖=1 𝑥𝑖 อยู่ในอันตรภาคชั้นที่ 2 (4-6)
2 = - 2
𝑁
𝑁
− 𝐹
738 2 ค่า Q1 = L0 + I [ 4
]
𝑓
= - ( 7)
12
= 61.5 – 4.9 3-2
= 12.5
ดังนั้นความแปรปรวนเท่ากับ 12.5
= 3.5+3
( ) 4
1
= 3.5+3
() 4
= 3.5+0.75 = 4.25

Q -Q
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ Q.D = 3 1
2
9.5-4.25
=
2
5.25
= = 2.625
2
ดังนั้นส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 2.625

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3.2
1. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 4, 6, 8, 10, 11, 14, 17 จงหา
1.1 สัมประสิทธิ์ของพิสัย 1.2 สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
1.3 สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 1.4 สัมประสิทธิ์การแปรผัน
เฉลย
1.1 สัมประสิทธิ์ของพิสัย
X -X 17 - 4 13
สัมประสิทธิ์ของพิสัย = max min = = = 61.90%
X max + X min 17 + 4 21
ดังนั้น สัมประสิทธิ์ของพิสัย เท่ากับ 61.90 %
1.2 สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์
Q -Q
สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ = 3 1
Q 3 + Q1
4, 6, 8, 10, 11, 14, 17
7+1
หาตำแหน่ง Q1 ของข้อมูล = =2
4
ได้ Q1 เป็นข้อมูลในตำแหน่งที่ 2 คือ 6
3(7+1)
หาตำแหน่ง Q3 ของข้อมูล = =6
4
ได้ Q3 เป็นข้อมูลในตำแหน่งที่ 6 คือ 14
14 -6 8
สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ = = = 0.4
14 +6 2 0
ดังนั้น สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ เท่ากับ 40 %

1.3 สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
𝑀.𝐷.
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย =
𝜇
4+6+8+10+11+14+17
 =
7
70
=
7
= 10
∑𝑛
𝑖=1|𝑥𝑖 −𝜇|
M.D =
𝑁

∑𝑛𝑖=1|𝑥𝑖 − 𝜇| = 4 - 10+6 - 10+ 8 - 10+10 - 10+11 - 10+14 - 10+17 - 10


= 6+ 4+ 2+ 0+1+4+7
24
M.D =
7
= 3.43
3.4 3
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย =
10
= 0.343
= 34.30%
𝜎
1.4 สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝜇
2
(4-10) +(6-10) 2+(8-10) 2+(10-10) 2+(11-10) 2+(14-10) 2+(17-10) 2
 =
7
122
 = = 4.17
7
4.17
สัมประสิทธิ์การแปรผัน = = 0. 417 = 41.7%
10
2. จากการซื้อสินค้าสามชนิดจากที่ต่างๆ ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาซื้อและความแปรปรวนของราคาซื้อ ดังตารางข้างล่างนี้

ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 45 60 72
ความแปรปรวน 9 25 16
จงหาว่าสินค้าชนิดใดมีการกระจายของราคาซื้อมากที่สุด
𝜎
สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝜇
3
สัมประสิทธิ์การแปรผันสินค้าที่ 1 = = 6.67%
45
5
สัมประสิทธิ์การแปรผันสินค้าที่ 2 = = 8.33%
60
4
สัมประสิทธิ์การแปรผันสินค้าที่ 3 = = 5.56%
72
ดังนั้นสินค้าชนิดที่ 2 มีการกระจายของราคาซื้อมากที่สุด

3. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าพิสัยเท่ากับ 55 สัมประสิทธิ์ของพิสัยเท่ากับ 0.5 ข้อมูลชุดนี้ มีค่าต่ำสุดเท่าใด


X max - X min
สัมประสิทธิ์ของพิสัย = (พิสัย = X max- X min )
X max + X min
55
0.5 =
X max + X min
1 55
=
2 X max + X min
X max+ X min = 2 (55)
X max+ X min = 110 …………………………………….
จาก พิสัย = 55
จะได้ว่า ; Xmax - Xmin = 55 …………………………………….
สมการ  - สมการ 
2Xmin = 55
55
Xmin = = 27.5
2
แทนค่า Xmin ในสมการ 
ดังนั้น Xmax – 27.5 = 55
Xmax = 55 + 27.5
Xmax = 82.5
4. ข้อมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.24, 8.64 และ
9.54 ตามลำดับ จงหาสัมประสิทธิ์การแปรผัน
𝑀.𝐷.
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย =
𝜇
8.64.
0.24 =
𝜇
8.64
 =
0.24
 = 36
𝜎
สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝜇
9.54
=
36
= 0.265
= 26.5 %
ดังนั้นสัมประสิทธิ์การแปรผันเท่ากับ 26.5 %

5. ข้ อมู ล ชุ ด หนึ ่ ง คื อ 4, 7, 10, 16, 13, 22, 19 จงหาสั มประสิ ท ธิ ์ ข องพิ ส ั ย ว่ าต่ า งกั บ สั มประสิ ท ธิ ์ ข องส่ ว นเบี ่ ย งเบน
ควอร์ไทล์เท่าใด
2 2 -4
สัมประสิทธิ์ของพิสัย = = 0.6923
2 2 +4
= 69.23%
เรียงข้อมูล 4, 7, 10, 13, 16, 19, 22
7 +1
ตำแหน่งของ Q1 = = 2
4
ค่าของ Q1 คือ 7
3(7 + 1)
ตำแหน่งของ Q3 = = 6
4
ค่าของ Q3 คือ 19
Q 3- Q 1
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ =
2
19 - 7
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ =
2
12
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ = = 6
2
Q 3 - Q1
สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ =
Q 3 + Q1
19 - 7
=
19 + 7
12
=
26
= 0.4615
= 46.15%

ดังนั้น สัมประสิทธิ์ของพิสัยต่างกับสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ เท่ากับ


69.23% - 46.15% = 23.03%

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 3
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. อายุของคนกลุ่มหนึ่ง (หน่วยเป็นปี) คือ 28, 18, 12, 22, 20 จงหาอายุเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ก. 20, 5.2
2. บริษัทตัวแทนจำหน่ายรถจักรยานยนต์มียอดจำหน่ายในรอบ 6 เดือน ดังนี้ 25, 30, 20, 18, 27 และ 30 คัน ตามลำดับ จงหาส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
ข. 4.62
3. ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 4 คน ถ้าอายุของบิดา มารดา และบุตรทั้ง 4 คน เป็นดังนี้ 40, 38, 14, 12, 9 และ 7 ปี ตามลำดับ จงหาส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
ข. 13.63
4. ข้อมูลกลุ่มนี้มี 50 จำนวน มีค่ามากที่สุดเป็น 8.34 และพิสัย 0.46 จงหาว่าข้อมูลกลุ่มนี้มีค่าน้อยที่สุดเท่าใด
ก. 7.88
ข้อมูลต่อไปนี้ 10, 6, 8, 2, 4 ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ค. ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์คือ 6
6. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับข้อใด
ข. 2
7. ความแปรปรวนเท่ากับข้อใด
ค. 8
8. ข้อมูลแสดงอายุพนักงาน (ปี) ของแผนกบุคคลในบริษัทแห่งหนึ่งดังนี้
30 28 32 23 39 32 38
ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ตรงกับข้อใด
ค. 5
จากข้อมูล ใช้ตอบคำถามข้อ 9 – 10

อันตรภาคชั้น ความถี่
1.5 – 1.7 2
1.8 – 2.0 10
2.1 – 2.3 17
2.4 – 2.6 9
2.7 – 2.9 8
3.0 – 3.2 7

9. พิสัยมีค่าเท่ากับข้อใด
ค. 1.8
10. ความแปรปรวนมีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 0.17
11 ∑51 𝑥𝑖 = 30 และ ∑51 𝑥𝑖2 = 226 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าตรงกับข้อใด
ค. 6, 3.03
ใช้ตอบคำถามข้อ 12 – 13
ข้อมูลแสดงจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่พนักงานจำนวน 5 คน จำหน่ายได้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
3 1 2 5 4
12. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยตรงกับข้อใด
ก. 1.2
13. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ตรงกับข้อใด
ง. 0.5
14. ค่าจ้างของพนักงานในบริษัท 3 แผนก มีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวน ดังตารางข้างล่างนี้
แผนก ค่าเฉลี่ย (บาท) ความแปรปรวน
A 3,500 225
B 5,000 400
C 4,500 900
อยากทราบว่าค่าจ้างของพนักงานแผนกใดมีการกระจายมากที่สุด
ข. แผนก C
15. จากการสำรวจการผลิตข้าวโพดต่อไร่ในจังหวัดหนึ่ง พบว่าสัมประสิทธิ์การแปรผันเป็น 0.125 และความแปรปรวนเป็น 900
ผลผลิตข้าวโพดเฉลี่ยต่อไร่เป็นกี่กิโลกรัม
ค. 240
16. จากข้อมูล 6, 4, 7, 3 สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยตรงกับข้อใด
ค. 0.30
17. จากข้อมูลต่อไปนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่มดังนี้
กลุ่มหนึ่ง 6 3 8 5 8
กลุ่มสอง 6 12 9 4 9
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ค. สัมประสิทธิ์พิสัยของกลุ่มสอง เท่ากับ 0.5
จากข้อมูลนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 18 – 19
อันตรภาคชั้น ความถี่
30 – 39 1
40 – 49 3
50 – 59 11
60 – 69 21
70 – 79 43
80 – 89 32
90 – 99 9

18. สัมประสิทธิ์ของพิสัยมีค่าเท่ากับข้อใด
ค. 0.54
19. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับข้อใด
ข. 12.10
20. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
A. พนักงานหน่วยงานแห่งหนึ่ง มีเงินเดือนเฉลี่ย 12,000 บาท ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 300 บาท ต่อมาปรับเพิ่ มเงิ นเดื อน
คนละ 500 บาท ดังนั้น เงินเดือนเฉลี่ยจะเท่ากับ 12,500 บาท ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 300 บาท
B “โดยส่วนใหญ่แล้วคนไทยใช้รถยนต์ขนาด 1,500 cc ซึ่งใช้น้ำมันเฉลี่ย 10 กิโลเมตรต่อลิตร” คำกล่าวนี้มีค วามหมาย
ตรงกับ ค่ามัธยฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตามลำดับ
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. เฉพาะ A ถูกต้อง
เฉลยกิจกรรมที่ 4.1
1. ถ้า x = 55,  = 60 และ  = 5 จงหาค่า z
𝑥−𝜇
Z =
𝜎
55-6 0
Z =
5
Z = -1

2. ถ้า  = 100,  = 10 และ Z = 1.5 จงหาค่า x


𝑥−𝜇
Z =
𝜎
x-100
1.5 =
10
1.5 x 10 = x - 100
x = 115

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 4
1. จากข้อมูลการสอบ 3 วิชา ดังนี้
2.
วิชาที่สอบ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คณิตศาสตร์ 34 11
ภาษาอังกฤษ 127 50
ภาษาไทย 136 20

1.1 วาสนาได้วิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ 45 และ 107 คะแนน จงหาคะแนนมาตรฐานของวิชาทั้งสอง


𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
45 - 34
คณิตศาสตร์ ; Z1 = = 1
11
107 - 127
ภาษาอังกฤษ ; Z2 = = - 0.4
50
ดังนั้น คะแนนมาตรฐานของวิชาคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษเป็น 1 และ – 0.4 ตามลำดับ
1.2 นายทวีศักดิ์มีคะแนนมาตรฐานวิชาภาษาไทยเป็น –0.2 จงหาว่านายทวีศักดิ์สอบวิชาภาษาไทยได้กี่คะแนน
𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
x-136
-0.2 =
20
-0.2 (20) = x - 136
x = 132
ดังนั้น นายทวีศักดิ์สอบวิชาภาษาไทยได้ 132 คะแนน

2. บริษัทแห่งหนึ่งต้องการรับสมัครพนักงาน โดยกำหนดว่าพนักงานที่บริษัทจะรับเข้าทำงานนั้น จะต้องมีคะแนนมาตรฐานอายุตั้งแต่ 2


ขึ้นไป ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุของผู้ที่มาสมัครทั้งหมดเป็น 28 และ 2 ปี ตามลำดับ อยาก
ทราบว่า คนที่มาสมัครจะต้องมีอายุเท่าไรขึ้นไป ทางบริษัทจึงจะรับเข้าเป็นพนักงานบริษัท
𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
x-2 8
2 =
2
2 (2) = x - 28
x = 32
ดังนั้น คนที่มาสมัครจะต้องมีอายุ 32 ปีขึ้นไป ทางบริษัทจึงจะรับเข้าเป็นพนักงานบริษัท

3. ในการทดสอบเวลาที่ใช้ในการวิ่งแข่งระยะทาง 400 เมตร ของนักกีฬาของวิทยาลัยแห่งหนึ่ง โดยถือว่าผู้ที่ผ่านการทดสอบ


จะต้องมีคะแนนมาตรฐานที่ได้ ไม่สูงกว่า 1.0 ถ้าจากผลการทดสอบปรากฏว่านักกีฬาที่ไม่ผ่านการทดสอบใช้เวลา 12 นาที
อยากทราบว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเป็นเท่าไร ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเวลาที่ใ ช้วิ่ง
เป็น 2 นาที
𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
12−𝜇
1.0 =
2
(1) (2) = 12 - 
 = 10
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเป็น 10 นาที

4. ในการสอบปลายปี ข องนั ก ศึ ก ษากลุ ่ ม หนึ ่ ง ปรากฏว่ า ได้ ค ะแนนเฉลี ่ ย 450 คะแนน และส่ ว นเบี ่ ย งเบนมาตรฐาน
75 คะแนน ในการตัดสินถือเกณฑ์ว่าต้องได้ 500 คะแนนขึ้นไป จึงจะสอบได้ จงหาคนที่สอบได้นั้น จะต้องได้คะแนนมาตรฐาน
อย่างต่ำเท่าใด
วิธีทำ ให้ X แทนคะแนนสอบปลายปีของนักศึกษากลุ่มหนึ่ง
โจทย์  = 450 ,  = 75 และเกณฑ์การตัดสิน ถ้า X  500 จะสอบได้
𝑥−𝜇
จาก Z =
𝜎
500−450
=
75
= 0.67
ดังนั้น คนที่สอบได้จะต้องได้คะแนนมาตรฐานอย่างต่ำ คือ 0.67
5. กรรมการกลุ่มหนึ่งมีความสูงเฉลี่ย 150 ซม. และความแปรปรวนเป็น 100 ซม.2 ถ้ากำหนดการคัดเลือกให้ทำงานอย่ างหนึ่ง
โดยถือเกณฑ์ว่าจะต้องมีความสูง คิดเป็นคะแนนมาตรฐานเท่ากับ 2.5 อยากทราบว่า กรรมการที่มีความสูงตั้งแต่เท่ าไรขึ้ นไป
จึงจะได้รับการคัดเลือก
วิธีทำ ให้ X แทนความสูงของกรรมการกลุ่มหนึ่ง ( 2.5)(10) = X-150
โจทย์  = 150  = 10 2 = 100 25 = X-150
และเกณฑ์ ถ้า Z = 2.5 จะสอบได้ 25+150 = X
𝑥−𝜇
จาก Z = X = 175
𝜎
𝑥−150
2.5 = ดังนั้น กรรมการมีความสูงตั้งแต่ 175 ซม. ขึ้นไปจึงจะ
10
ได้รับการคัดเลือก

6. ในการสอบวิชาหนึ่งได้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักศึกษากลุ่มนี้เป็น 18 คะแนน ซึ่งเกณฑ์ตัดสินต้ องได้


คะแนนมาตรฐานไม่ต่ำกว่ า 1.5 ปรากฏว่าผู้ที่ได้คะแนนต่ำกว่า 117 คะแนน ถือว่าสอบตก จงหาว่าในการสอบคราวนี้
ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบเป็นเท่าใด
วิธีทำ ให้ X แทนคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ( 1.5)(18) = 117 - 
โจทย์  = 18 เกณฑ์ตัดสิน Z  1.5 ปรากฏว่า 27 = 117 - 
X < 117 ถือว่าสอบตก  = 117 - 27
𝑥−𝜇
จาก Z =  = 90
𝜎
117−𝜇
1.5 =
18 ดังนั้น ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบเท่ากับ 90 คะแนน

7. ในการสอบนักเรีย นห้ องหนึ่ง ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ ยเป็น 575 คะแนน ถ้าสุวัฒน์เป็นนักศึกษาห้ องนี้และสอบได้ 705
คะแนน ซึ่งคิดเป็นคะแนนมาตรฐานเท่ากับ 2 จงหาว่า ในการสอบคราวนี้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวนเป็น
เท่าใด
วิธีทำ ให้ X แทนคะแนนสอบของนักเรียนห้องหนึ่ง
โจทย์  = 575 X = 705 Z = 2 และ 2 = 4225
𝑥−𝜇
จาก Z = ดังนั้นในการสอบคราวนี้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
𝜎
705−575 เท่ากับ 65 คะแนนและความแปรปรวนเท่ากับ 4225
2 = คะแนน
𝜎
130
 =
2
= 65
8. นาย ก. เป็นนักเรียนกลุ่มที่ 1 และนาย ข. เป็นนักเรียนกลุ่มที่ 2 ถ้านักเรียนในกลุ่มที่ 1 ได้คะแนนเฉลี่ย 70 คะแนน และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน 7 คะแนน กลุ่มที่ 2 ได้คะแนนเฉลี่ย 85 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 คะแนน ถ้านาย ก. สอบได้
63 คะแนน และนาย ข. สอบได้ 72 คะแนน อยากทราบว่านาย ก.หรือนาย ข.ใครเก่งกว่ากัน
𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
63−70
นาย ก ; Z1 = = -1
𝜎7
72−85
นาย ข ; Z2 = = - 1.3
10
ดังนั้นนาย ก เก่งกว่า นาย ข (เนื่องจากคะแนนมาตรฐานของนาย ก มากกว่า นาย ข)
9. คะแนนเฉลี่ยของผลการสอบครั้งหนึ่งเป็น 420 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10 คะแนน จะตัดสินผลการสอบด้วย
คะแนนมาตรฐาน ผู้ที่สอบคะแนนมาตรฐานตั้งแต่ -2 ขึ้นไป ถือว่าสอบได้ ถ้านักศึกษาคนหนึ่งสอบได้ 405 คะแนน อยาก
ทราบว่าเขาสอบได้หรือตก
𝑥−𝜇
วิธีทำ Z =
𝜎
405−420
Z =
10
= - 1.5
ดังนั้น นักศึกษาคนนี้สอบได้ (เนื่องจากได้คะแนนมาตรฐานมากกว่า -2)
10. ในการสอบคัดเลือกเข้าทำงานแห่งหนึ่ง มีวิชาที่ต้องสอบ 3 วิชา ปรากฏว่าจากผู้สมัครทั้งหมดมีผู้ที่ได้คะแนนรวมกันสู งสุด 3
คน ซึ่งได้คะแนนในแต่ละวิชาดังนี้
วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 วิชาที่ 3
นายสมศักดิ์ 70 72 84
น.ส.สมหญิง 80 65 76
นายนิพนธ์ 72 73 86
ค่าเฉลี่ย 75 70 80
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 10 8
ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ต้องการรับเข้าทำงานเพียง 2 คน ดังนั้น ผู้ที่จะได้รับคัดเลือกเป็นใคร
วิธีทำ ให้ X แทนคะแนนสอบคัดเลือกของผู้สมัคร
เนื่องจาก การคัดเลือกสอบหลายวิชาจึงต้องเปรียบเทียบคะแนนสอบด้วยคะแนนมาตรฐานเฉลี่ยของผู้สมัครแต่ละคน
𝑥−𝜇
จาก Z = ดังนี้
𝜎
วิชาที่ 1  = 75  = 5 วิชาที่ 2  = 70  = 10 วิชาที่ 3  = 80  = 8
70-75 72-70 84-80
นายสมศักดิ์ Z1 = = -1 Z4 = = 0.2 Z7 = = 0.5
5 10 8
80-75 65-70 76-80
น.ส.สมหญิง Z2 = =1 Z5 = = -0.5 Z8 = = -0.5
5 10 8
72-75 73-70 86-80
นายนิพนธ์ Z3 = = -0.6 Z6 = = 0.3 Z9 = = 0.75
5 10 8
คะแนนมาตรฐานเฉลี่ยของนายสมศักดิ์ Z1 = ( -1) +0.2+0.5 = -0.1
3
1+ -0.5 + -0.5
คะแนนมาตรฐานเฉลี่ยของน.ส.สมหญิง Z2 = ( ) ( ) = 0
3
-0.6 +0.3+0.75
คะแนนมาตรฐานเฉลี่ยของนายนิพนธ์ Z3 = ( ) = 0.15
3
ดังนั้น ผู้ที่จะได้รับคัดเลือกเข้าทำงานเพียง 2 คน คือ น.ส.สมหญิง และ นายนิพนธ์
(เพราะมีคะแนนมาตรฐานเฉลี่ยสูงสุด)

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 4
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 1 – 2
จากการสำรวจยอดขายเครื่องปรับอากาศของพนักงานจำนวน 10 คน เป็นดังนี้ 39, 45, 25, 35, 30, 25, 40, 44, 45 และ 32
เครื่อง ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า 7.4
1. ถ้านายอิสระขายเครื่องปรับอากาศได้ 30 เครื่อง คะแนนมาตรฐานตรงกับข้อใด
ข. -0.81
2. ถ้านายมงคลมีคะแนนมาตรฐานเป็น 1.08 แล้ว อยากทราบว่านายมงคลขายเครื่องปรับอากาศได้กี่เครื่อง
ค. 44
ข้อมูลต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 3 - 4
จากคะแนนสอบ มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเท่ากับ 500 และ 50 คะแนน ตามลำดับ
3. ถ้าปรายฝนสอบได้ 400 คะแนน คะแนนมาตรฐานตรงกับข้อใด
ข. -2
4. ถ้านิรันดร์มีคะแนนมาตรฐานเป็น 4 แล้ว อยากทราบว่านิรันดร์สอบได้กี่คะแนน
ค. 700
5. ในการสอบวิชาสถิติ คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาห้องหนึ่งเท่ากับ 65 คะแนน ถ้าชัยบดินทร์เป็นนักศึกษาห้องนี้ สอบได้ 60
คะแนน คิดเป็นคะแนนมาตรฐานเท่ากับ – 0.25 อยากทราบว่าในการสอบครั้งนี้ได้ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานตรงกับข้อใด
ข. 10
6. ในการทดสอบย่อย 3 ครั้ง ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทดสอบย่อยในแต่ละครั้งเป็นดังนี้
การทดสอบย่อยครั้งที่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
1 75 5
2 76 3
3 79 2

ถ้าน้ำหวานเป็นผู้หนึ่งที่เข้าสอบทุกครั้ง และได้คะแนนในแต่ละครั้งเท่ากับ 85 คะแนน ทุกครั้ง ผลการสอบย่อยครั้งที่ 1 มี


คะแนนมาตรฐานตรงกับข้อใด
ข. 2
7. จากข้อ 6 ผลการทดสอบย่อยครั้งใดที่น้ำหวานทำคะแนนได้ดีที่สุด
ง. ครั้งที่ 2 และ 3
8. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ข. คะแนนมาตรฐานอาจมีค่าบวกหรือลบก็ได้
9. ในการสอบคัดเลือกเข้าทำงานแห่งหนึ่ง มีวิชาที่ต้องสอบ 2 วิชา ปรากฏว่าจากผู้สมัครมีผู้ที่ได้คะแนนรวมกัน 3 คน ซึ่งได้คะแนน
กันในแต่ละวิชา ดังนี้
วิชาคอมพิวเตอร์ วิชาภาษาอังกฤษ
ยงยุทธ 84 80
ราตรี 92 75
ทัศนา 77 90
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 80 80
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6 10
จากข้อมูล ให้ท่านช่วยเรียงลำดับความเก่ง ของผู้สมัคร จากสูงสุดไปต่ำสุด
ง. ราตรี, ยงยุทธ, ทัศนา
10. นิดสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้ 65 คะแนน น้อยสอบได้ 70 คะแนน ถ้าสองคนนี้สอบข้อสอบคนละฉบับ โดยรู้ว่าห้องที่นิดเรียนมี
ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 60 และ 12 คะแนนตามลำดับ ส่วนห้องที่น้อยเรียนมีค่าเป็น 63 และ 26 คะแนน
ตามลำดับ อยากทราบว่าสองคนนี้ใครเก่งกว่ากัน
ก. นิดเก่งกว่าน้อย

เฉลยกิจกรรมที่ 5.1
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์ หรือ ไม่เป็นประพจน์
............1) 0 เป็นจำนวนคู่ เป็น
............2) มีจำนวนนับที่น้อยกว่า 1 เป็น
............3) y + 3 > 9 ไม่เป็น
............4) ห้ามสูบบุหรี่บริเวณนี้ ไม่เป็น
............5) กำหนดให้ 5x – 2 = 10 เมื่อ x = 3 เป็น
............6) 3 และ 3 เป็นสมาชิกของ {3,4,5,6} เป็น
............7) (x- 3)(x+3) = x2 – 9 เป็น
............8) นักศึกษาต้องไปฝึกงานในสถานประกอบการ ไม่เป็น
..……… 9) ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ไม่เป็น
……….10) เขาเป็นเด็กที่มีความซื่อสัตย์ ไม่เป็น
เฉลยกิจกรรมที่ 5.2
จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1) -5 > -2 ก็ต่อเมื่อ 2 เป็นจำนวนคู่ มีค่าความจริงเป็น เท็จ
2) |-3| = 3 หรือ 2 เป็นจำนวนตรรกยะ มีค่าความจริงเป็น จริง
3) 5 เป็นจำนวนคี่ และ 5 + 4 = 7 มีค่าความจริงเป็น เท็จ
4) ถ้า 5 + 7 = 57 แล้ว 9 - 5 = 4 มีค่าความจริงเป็น จริง
เฉลยกิจกรรมที่ 5.3
1) กำหนดให้ A , Y มีค่าความจริงเป็นจริง และ B, C และ X มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
1) (A  B ) → (X  ~C) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
2) A  C → ~Y มีค่าความจริงเป็นจริง
2) กำหนดให้ A → (B  C) มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้วจงหาค่าความจริงของ A, B และ C
ดังนั้น A มีค่าความจริงเป็นจริงและ B, C มีค่าความจริงเป็นเท็จ
3) กำหนดให้ (p  q) → q มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้วจงหาค่าความจริงของ p และ q
ดังนั้น p, q มีค่าความจริงเป็นเท็จ

เฉลยกิจกรรมที่ 5.4
จงสร้างตารางค่าความจริงของ p  ( q → ~r)
p q r ~r q → ~r p  ( q → ~r)
T T T F F T
T T F T T T
T F T F T T
T F F T T T
F T T F F F
F T F T T T
F F T F T T
F F F T T T

เฉลย แบบฝึกหัดที่ 5.1


1. พิจารณาประโยคต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือไม่ เพราะเหตุใด
ประโยค เป็น/ไม่เป็น เหตุผล
1. 25=2+2+2+2+2 เป็น เพราะมีค่าความจริงเป็นจริง
2. เขตปลอดบุหรี่ ไม่เป็น เพราะเป็นคำสั่ง
3. ประโยคคำถามเป็นประพจน์ เป็น เพราะ มีค่าความจริงเป็นเท็จ
4. y = 5x + 1 เป็นกราฟเส้นตรง เป็น เพราะมีค่าความจริงเป็นจริง
5. ว้าย! ตาเถรช่วยด้วย ไม่เป็น เพราะเป็นคำอุทาน
6. e เป็นจำนวนตรรกยะ เป็น เพราะมีค่าความจริงเป็นเท็จ
7. ขี่ช้างจับตั๊กแตน ไม่เป็น เพราะเป็นคำพังเพย
8. กรุณาใช้ช่องถัดไป ไม่เป็น เพราะเป็นคำขอร้อง
9. (3 + 9)- 4 > 7 เป็น เพราะมีค่าความจริงเป็นจริง
10. โปรดคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถ ไม่เป็น เพราะเป็นคำสั่ง
2. ประโยคข้างล่างต่อไปนี้ ข้อใดมีค่าความจริงเป็น “จริง” หรือ “เท็จ” หรือ “มีค่าความจริงแต่บอกไม่ได้ว่าจริงหรือเท็จ”
ค่าความจริง
ประโยค
จริง เท็จ บอกไม่ได้
1. 7 + 5  11 ✓
2. คนไทยมีสิทธิ์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน

ราษฎรเมื่ออายุ 18 ปี
3. เรียนสายวิชาชีพดีกว่าสายสามัญ ✓
4. เดือนกุมภาพันธ์มี 30 วัน ✓
5. มีสิ่งมีชีวิตอยู่บนดาวอังคาร ✓
6. สี่เหลี่ยมผืนผ้ามีด้านคู่ขนานยาวเท่ากัน ✓
7. ถ้า x เป็นจำนวนบวกจะได้ x > 0 ✓
8. ปีคริสต์ศักราช 3000 โลกจะแตก ✓
9. พรุ่งนี้ฝนจะตก ✓
10. 3+ 5 = 8 ✓

3. จงเปลี่ยนประโยคต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์
ประโยค รูปสัญลักษณ์
1. 8 เป็นจำนวนคู่ และ 5 เป็นจำนวนคี่ pq
2. สมปองจะไปดูภาพยนตร์หรือไปตลาด pq
3. ถ้าสุดาสอบได้เกรดเฉลี่ย 3 ขึ้นไป แล้วเธอจะได้รับรางวัล p→q
4. สุชาติกับสุชลไปแข่งขันทักษะวิชาชีพ pq
5. ภูมัยจะไปต่างประเทศก็ต่อเมื่อจินตปาตีไปด้วย pq
6. นายขาวไม่เป็นคนซื่อสัตย์ ~p
7. ถ้า 1 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะแล้ว 5 เป็นจำนวนเฉพาะ ~p → q
(ให้ p แทน 1 เป็นจำนวนเฉพาะ)
22 pq
8.  เป็นจำนวนอตรรกยะ แต่ เป็นจำนวนตรรกยะ
7
9. เพ็ญนภาเป็นคนใจบุญ p
10. ไม่จริงที่ว่าผีเสื้อบินไม่ได้ ~(~p)
(ให้ p แทน ผีเสื้อบินได้)
4. จงบอกค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
จริง 4.1 8 เป็นจำนวนคู่ หรือ จำนวนคี่
เท็จ 4.2 4 < 10 ก็ต่อเมื่อ 7 > 14
จริง 4.3 ถ้า 3  5 เป็นเลขคู่ แล้ว 15 เป็นเลขคู่
จริง 4.4 5
เป็นจำนวนตรรกยะหรือจำนวนเต็ม
10
จริง 4.5 5 เป็นจำนวนจริงและจำนวนอตรรกยะ แต่ไม่เป็นจำนวนตรรกยะ
เท็จ 4.6 ถ้า 1 เดือนมี 30 วัน หรือ 31 วันแล้ว เดือนกุมภาพันธ์มี 30 วัน
จริง 4.7 ถ้า 2 + 3 = -5 และ 6 + 7  13 แล้ว (-2)3 = 8
เท็จ 4.8 2 และ 3 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ ก็ต่อเมื่อ 2 หรือ 3 เป็นจำนวนเฉพาะ

5. กำหนดให้ P, Q มีค่าความจริงเป็นจริง และ A, B, C มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้


ประพจน์ ค่าความจริง ประพจน์ ค่าความจริง
5.1 (P  Q) → A 5.2 A → (Q  B)
T T F F T F
เท็จ จริง
T F
T
F
ประพจน์ ค่าความจริง ประพจน์ ค่าความจริง
5.3 (A  B)  P 5.4 (C  P) → Q
F F T F T T
เท็จ จริง
F F
F T

5.5 ~A → (~P  Q) 5.6 ~(A  C)  P


~F ~T T F F
~F T
F จริง
T T จริง
T
T T

5.7 ~(P → A)  (Q  B) 5.8 (A  B)  ~(P → Q)


T F T T
~F T F F F ~T
F เท็จ จริง
T T F

F T

5.9 [(P  ~C) → A] → ~B 5.10 ~[(P → ~A)  (B → C)]


T ~F F ~F T ~F
T T F F
T จริง เท็จ
T T
T
F
~T
T
F
6. จงหาค่าความจริงของประพจน์
6.1 ถ้า (p  r) → (q  s) มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ p, q, r และ s
(p  r) → (q  s) เป็นเท็จ
F
T F
T T F F
ดังนั้น p, r เป็นจริง และ q, s เป็นเท็จ
6.2 ถ้า (p → q)  (r  s) มีค่าความจริงเป็นจริง และ q  s มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ p,
q, r และ s
จาก q  s เป็นเท็จ
q, s มีค่าความจริงเป็น F
และ (p → q)  (r  s) เป็นจริง
T
T T
F F T F
ดังนั้น p, q, s มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ r มีค่าความจริงเป็นจริง
6.3 ถ้า (q  r) → p มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ (p → r)  ~q
จาก q  r → p เป็นเท็จ
F
T F
T T
p เป็นเท็จ และ q, r เป็นจริง
(p → r)  ~q
F T ~T
T F
ดังนั้น (p → r)  ~q มีค่าความจริงเป็นเท็จ F
7. จงสร้างตารางแสดงค่าความจริงต่อไปนี้
7.1 ~p  p
p ~p ~p  p
T F F
F T F
7.2 p → (p  q )
p q pq p → (p  q)
T T T T
T F T T
F T T T
F F F T
7.3 (~p  q) → (p  ~q)

p q ~p ~q ~p  q p  ~q (~p  q) → (p  ~q)
T T F F T F F
T F F T F T T
F T T F T F F
F F T T T F F

7.4 p → (~q → r)
p q r ~q ~q → r p → (~q → r)
T T T F T T
T T F F T T
T F T T T T
T F F T F F
F T T F T T
F T F F T T
F F T T T T
F F F T F T

7.5 ( p  ~r) → (q  ~p)


p q r ~r p  ~r ~p q ~p (p  ~r) → (q ~p)
T T T F T F T T
T T F T T F T T
T F T F T F F F
T F F T T F F F
F T T F F T T T
F T F T T T T T
F F T F F T T T
F F F T T T T T
เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 5
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดเป็นประพจน์
ง. มีสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร
2. ประพจน์ต่อไปนี้ ข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข. 4<10 ก็ต่อเมื่อ 7>14
3. ข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง
ค. ถ้า 5 + 3  8 แล้ว -3 < -5
4. ถ้า P , Q มีค่าความจริงเป็นจริง R , S มีค่าความจริงเป็นเท็จ ประพจน์ต่อไปนี้ข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง
ก. ~PQ
5. จากข้อ 4 ข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข. (R  S)  P
6. ประพจน์ p  (q → r) มีค่าความจริงเป็นเท็จ ค่าความจริงของ p , q และ r ตรงกับข้อใด
ค. p เป็นเท็จ, q เป็นจริง และ r เป็นเท็จ
7. กำหนดให้ p มีค่าความจริงเป็นจริง, q และ r มีค่าความจริงเป็นเท็จ ข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
ง. q  ( p → q)
8. กำหนดให้ (p → q) v r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
และ ~ q → r มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข้อใดเป็นค่าความจริงของ p, q และ r
ข. p เป็นจริง, q เป็นเท็จ และ r เป็นเท็จ
9. กำหนดให้ p → q, ~r มีค่าความจริงเป็นเท็จ รูปแบบประพจน์ใดต่อไปนี้ มีค่าความจริงเป็นจริง
ค. (r v ~q)  p
10. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ง. I–3I = 3 หรือ 3 เป็นจำนวนตรรกยะ มีค่าความจริงเป็นจริง
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 6.1
1. จงสร้างตารางแสดงว่ารูปแบบของประพจน์ในข้อต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์
1.1 (p → q) → (~p  q)
p q p→q ~p ~p  q (p → q) → (~p  q)
T T T F T T
T F F F F T
F T T T T T
F F T T T T

ดังนั้น (p → q) → (~p  q) เป็น สัจนิรันดร์


1.2 (p  q) → (p  q)
p q pq pq (p  q) → (p  q)
T T T T T
T F F F T
F T F F T
F F F T T

ดังนั้น (p  q) → (p  q) เป็น สัจนิรันดร์

1.3 (p → q) → [(p  r) → (q  r)]


p q r p → q p  r q  r (p  r) → (q  r) (p → q)[(p  r) → (q  r)
T T T T T T T T
T T F T T T T T
T F T F T T T T
T F F F T F F T
F T T T T T T T
F T F T F T T T
F F T T T T T T
F F F T F F T T

ดังนั้น (p → q) → [(p  r) → (q  r)] เป็น สัจนิรันดร์


2. จงพิจารณาว่ารูปแบบของประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์ (Tautology) หรือข้อขัดแย้ง
2.1 ~(p  ~p)

p ~p p  ~p ~(p  ~p)
T F F T
F T F T

ดังนั้น ~(p  ~p) เป็น สัจนิรันดร์

2.2 (p → q)  (p  ~q)

p q p→q ~q p  ~q (p → q)  (p  ~q)
T T T F F F
T F F T T F
F T T F F F
F F T T F F
ดังนั้น (p → q)  (p  ~q) เป็น ข้อขัดแย้ง

2.3 (p  q)  ~r
p q r (p  q) ~r (p  q)  ~r
T T T T F F
T T F T T T
T F T F F F
T F F F T F
F T T F F F
F T F F T F
F F T F F F
F F F F T F
ดังนั้น (p  q)  ~r ไม่เป็นทั้ง สัจนิรันดร์ และ ข้อขัดแย้ง
เฉลยกิจกรรมที่ 6.1
จงแสดงว่า p → q สมมูลกับ ~p  q
p q p→q ~p ~p  q
T T T F T
T F F F F
F T T T T
F F T T T

จากตารางค่าความจริง p → q และ ~p  q มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี


ดังนั้น p → q  ~p  q

เฉลยกิจกรรมที่ 6.2
จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้
ข้อความ นิเสธของข้อความ
1. 4  10 1. 4  10 หรือ 4 > 10
2. 7 เป็นจำนวนเฉพาะ 2. 7 ไม่เป็นจำนวนเฉพาะ
3. สมสมรไม่ไปเชียงราย 3. สมสมรไปเชียงราย
4. 2 เป็นจำนวนเต็ม และเป็นจำนวนคู่ 4. 2 ไม่เป็นจำนวนเต็มหรือไม่เป็นจำนวนคู่
5. ถ้าอากาศร้อนวันเฉลิมจะว่ายน้ำ 5. อากาศร้อนแต่วันเฉลิมไม่ว่ายน้ำ

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 6.2
1. จงตรวจสอบว่ารูปแบบของประพจน์แต่ละคู่ต่อไปนี้สมมูลกันหรือไม่
1.1 p  q กับ ~p → q
p q pq ~p ~p →q
T T T F T
T F T F T
F T T T T
F F F T F
ดังนั้น pq  ~p → q
1.2 p  q กับ (p → q)  (q → p)
p q pq p→q q→p (p → q)  (q → p)
T T T T T T
T F F F T F
F T F T F F
F F T T T T

ดังนั้น p  q  (p → q)  (q → p)

1.3 p  q กับ ~(~p  ~q)


p q pq ~p ~q ~p  ~q ~(~p  ~q)
T T T F F F T
T F F F T T F
F T F T F T F
F F F T T T F
ดังนั้น pq  ~(~p  ~q)
1.4 ~(p  q) กับ (~p  ~q)
p q pq ~(p  q) ~p ~q ~p  ~q
T T T F F F T
T F F T F T F
F T F T T F F
F F T F T T T
ดังนั้น ~(p  q)  (~p  ~q)
2. จงตรวจสอบว่าข้อความ (a) กับข้อความ (b) แต่ละข้อสมมูลกันหรือไม่
2.1 (a) ถ้ารักษิณาเล่นเปียโนแล้ว เธอไม่เล่นยิมนาสติก
(b) รักษิณาเล่นเปียโนหรือยิมนาสติก
p : รักษิณาเล่นเปียโน
q : รักษิณาเล่นยิมนาสติก
(a) p → ~q ; (b) p  q
p q ~q p → ~q pq
T T F F T
T F T T T
F T F T T
F F T T F
ดังนั้น (a)  (b)
2.2 (a) สุภาจะอ่านหนังสือ ก็ต่อเมื่อสอบคณิตศาสตร์
(b) ถ้าสุภาอ่านหนังสือแล้วสุภาจะสอบคณิตศาสตร์ และถ้าสุภาสอบคณิตศาสตร์สุภาจะอ่านหนังสือ
p : สุภาอ่านหนังสือ
q : สุภาสอบคณิตศาสตร์
(a) p  q ; (b) (p → q)  (q → p)
p q pq p→q q→p p → q  (q → p)
T T T T T T
T F F F T F
F T F T F F
F F T T T T
ดังนั้น (a)  (b)
2.3 (a) ถ้าฝนไม่ตกสุชาติจะไปดูภาพยนตร์
(b) สุชาติไม่ไปดูภาพยนตร์
p : ฝนตก
q : สุชาติไปดูภาพยนตร์
(a) ~p → q ; (b) ~q

p q ~p ~q ~p → q
T T F F T
T F F T T
F T T F T
F F T T F
ดังนั้น (a)  (b)
2.4 (a) ถ้าฉันได้เงินมาฉันจะซื้อรถจักรยานยนต์
(b) ถ้าฉันไม่ซื้อรถจักรยานยนต์ ฉันจะไม่ได้เงิน
p : ฉันได้เงิน
q : ฉันซื้อรถจักรยานยนต์
(a) p → q ; (b) ~q → ~p
p q p→q ~q ~p ~q → ~p
T T T F F T
T F F T F F
F T T F T T
F F T T T T

ดังนั้น (a)  (b)


3. จงตรวจสอบว่ารูปแบบของประพจน์ (a) เป็นนิเสธของรูปแบบของประพจน์ (b) หรือไม่
3.1 (a) p  ~q (b) ~p  q
p q ~p ~q p  ~q ~p  q
T T F F T T
T F F T T F
F T T F F T
F F T T T T

ดังนั้น (a) ไม่เป็นนิเสธของ (b)

3.2 (a) ~p  q (b) ~p  ~q


p q ~p ~q ~p  q ~p  ~q
T T F F F T
T F F T T F
F T T F T F
F F T T F T

ดังนั้น (a) เป็นนิเสธของ (b)

3.3 (a) p  (p → q) (b) ~(p  q)


p q p→q p  (p → q) pq ~(p  q)
T T T T T F
T F F F F T
F T T F F T
F F T F F T

ดังนั้น (a) เป็นนิเสธของ (b)


3.4 (a) p → (q → r) (b) ~[(p  q) → r]
p q r q→r p → (q → r) pq (p  q) → r ~[(p  q) → r]
T T T T T T T F
T T F F F T F T
T F T T T F T F
T F F T T F T F
F T T T T F T F
F T F F T F T F
F F T T T F T F
F F F T T F T F
ดังนั้น (a) เป็นนิเสธของ (b)
เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 6

1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์
ค. [(p → q)  p] → p
2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์
ข. (~p r)  ~r  p
3. รูปแบบของประพจน์ใดเป็นข้อขัดแย้ง (Contradiction)
ง. ~(p v q)  ( p  q)
4. รูปแบบของประพจน์ใดเป็นข้อขัดแย้ง
ค. (p → q)  (p  ~ q)
5. ข้อใด ไม่ ถูกต้อง
ก. (p → q)  P  ~ q
6. ประพจน์ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นนิเสธกัน
ก. (p → q) กับ (p  ~q)
7. “ถ้าฝนตกแล้วถนนลื่น” นิเสธของข้อความนี้ตรงกับข้อใด
ค. ฝนตก และถนนไม่ลื่น
8. “น้ำท่วมฟ้า เมื่อปลากินดาว” ข้อความนี้สมมูลกับข้อใด
ข. น้ำไม่ท่วมฟ้าและปลาไม่กินดาว
9. p, q เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ง. ถูกต้องทั้งข้อ a, b และ c
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ข. (p  q)  ~ p เป็นสัจนิรันดร์
เฉลยกิจกรรมที่ 7.1
1. จงจับคู่เหตุที่กำหนดให้ทางซ้ายมือกับผลสรุปทางขวามือให้ได้การอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผล
ค 1.1 เหตุ 1. r → s ก. r
2. ~s ข. r → ~s
ง 1.2 เหตุ 1. ~q → r ค. ~r
2. p → ~q ง. p → r
จ 1.3 เหตุ 1. (q  r) → ~s จ. ~s
2. q  r
ก 1.4 เหตุ 1. p → q
2. r  p
3. ~q
ข 1.5 เหตุ 1. ~p  q
2. ~p → ~r
3. q → ~s
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 7.1
1. จงตรวจสอบว่า การอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่
1.1 เหตุ ถ้ายุพาทำงานแล้วเธอจะได้เงิน
ผล ยุพาได้เงิน
p แทน ยุพาทำงาน , q แทน ยุพาได้เงิน
เขียนในรูปสัญลักษณ์ได้ดังนี้
เหตุ p → q
ผล q
p q p→q (p → q) → q
T T T T
T F F T
F T T T
F F T F
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล (Invalid)
1.2 เหตุ 1. ถ้าเกิดอุบัติเหตุแล้วการจราจรติดขัด
2. ถ้านักศึกษาไปเรียนทันเวลาแล้วการจราจรจะไม่ติดขัด
3. นักศึกษาไปเรียนทันเวลา
ผล ไม่เกิดอุบัติเหตุ
p แทน เกิดอุบัติเหตุ
q แทน การจราจรติดขัด
r แทน นักศึกษาไปเรียนทันเวลา
เขียนในรูปสัญลักษณ์ได้ดังนี้
เหตุ 1. p → q
2. r → ~q
3. r
ผล ~p
แนวคิด 1 โดยการวิเคราะห์ค่าความจริง
เขียนรูปแบบของประพจน์ [(p → q)  (r → ~q)  r] → ~p สมมติให้เหตุทั้งหมดเป็นจริง นั่นคือ p
→ q, r → ~q, r เป็นจริง จากเหตุ r → ~q เป็นจริง จึงทำให้ ~q เป็นจริง จะได้ q เป็นเท็จ จากเหตุ p
→ q จึงทำให้ p เป็นเท็จ เมื่อวิเคราะห์ค่าความจริงจะได้ผล ~p เป็นจริง แสดงว่ารูปแบบของประพจน์เป็น
สัจนิรันดร์
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้จึงสมเหตุสมผล (Valid)

แนวคิด 2 ข้อความ เหตุผล


1. r → ~q 1. จากเหตุ 2
2. r 2. จากเหตุ 3
3. ~q 3. จาก 1, 2 และรูปแบบ [(r → ~q)  r] → ~q
4. p→q 4. จากเหตุ 1
5. ~p 5. จาก 3, 4 และรูปแบบ [(p → q)  ~q] → ~p
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้จึงสมเหตุสมผล (Valid)
1.3 เหตุ 1. ถ้าค่าแรงเพิ่มขึ้นแล้วจะมีการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
2. ถ้ามีการเกิดภาวะเงินเฟ้อ แล้วค่าครองชีพจะสูงขึ้น
3. ค่าแรงเพิ่มขึ้น
ผล ค่าครองชีพจะสูงขึ้น
p แทน ค่าแรงเพิ่มขึ้น
q แทน การเกิดภาวะเงินเฟ้อ
r แทน ค่าครองชีพสูงขึ้น
เหตุ 1. p → q
2. q → r
3. p
ผล r
ข้อความ เหตุผล
1. p→q 1. จากเหตุ 1
2. q→r 2. จากเหตุ 2
3. p→r 3. จาก 1, 2 และรูปแบบ [(p → q)  (q → r] → (p → r)
4. p 4. จากเหตุ 3
5. r 5. จาก 3, 4 และรูปแบบ [(p → r)  p] → r

ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล (Valid)


1.4 เหตุ 1. p→r
2. q→p
3. ~r
ผล ~q

ข้อความ เหตุผล
1. q→p 1. จากเหตุ 2
2. p→r 2. จากเหตุ 1
3. q→r 3. จาก 1, 2 และรูปแบบ [(q → p)  (p → r] → (q → r)
4. ~r 4. จากเหตุ 3
5. ~q 5. จาก 3, 4 และรูปแบบ [(q → r)  ~ r] → ~q
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล (Valid)
1.5 เหตุ 1. r→s
2. ~t → r
3. p → ~t
4. s → ~q
ผล p → ~q

ข้อความ เหตุผล
1. p → ~t 1. จากเหตุ 3
2. ~t → r 2. จากเหตุ 2
3. p→r 3. จาก 1, 2 และรูปแบบ [(p → ~t)  (~t → r] → (p → r)
4. r→s 4. จากเหตุ 1
5. p→s 5. จาก 3, 4 และรูปแบบ [(p → r)  (r → s)] → (p → s)
6. s → ~q 6. จากเหตุ 4
7. p → ~q 7. จาก 5, 6 และรูปแบบ [(p → s)  (s → ~q)] → (p → ~q)

ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล (Valid)


1.6 เหตุ 1. ~r → ~p
2. ~q
3. r→s
4. pq
ผล ~s

โดยการวิเคราะห์ค่าความจริง
เขียนรูปแบบประพจน์ [(~r → ~p)  ~q  (r → s)  (p  q)] → ~s
สมมติให้เหตุทั้งหมดเป็นจริง นั่นคือ ~r → ~p, ~q, r → s, p  q เป็นจริง
จึงทำให้ q เป็นเท็จ จากเหตุ p  q เป็นจริง จึงทำให้ p เป็นจริง, ~p เป็นเท็จ
จากเหตุ ~r → ~p เป็นจริง จึงทำให้ ~r เป็นเท็จ, r เป็นจริง จากเหตุ r → s เป็นจริง จึงทำให้ s เป็นจริง
เมื่อวิเคราะห์ค่าความจริงจะได้ผล ~s เป็นเท็จ
แสดงว่า รูปแบบของประพจน์ไม่เป็นสัจนิรันดร์
ดังนั้น การอ้างเหตุผลนี้ไม่สมเหตุสมผล (Invalid)

เฉลยกิจกรรมที่ 7.2
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นประพจน์หรือเป็นประโยคเปิด ถ้าเป็นประโยค เปิด ตัวแปรคืออะไร หรือ ไม่เป็นทั้ง
ประพจน์และประโยคเปิด
ไม่เป็นทั้งสอง
ข้อความ ประพจน์ ประโยคเปิด ตัวแปร
อย่าง
1. x เป็นจำนวนเต็ม ✓ x
2. 52 < 1 ✓
3. เธอเป็นนางสาวไทยประจำปีนี้ ✓ เธอ
4. x  0 ✓ x

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 7.2
1. จงเปลี่ยนข้อความต่อไปนี้เป็นประโยคสัญลักษณ์
1.1 จำนวนเต็มบางตัว เป็นจำนวนเฉพาะ
I(x) แทน x เป็นจำนวนเต็ม, P(x) แทน x เป็นจำนวนเฉพาะ
x [I(x)  P(x)]
1.2 จำนวนคู่ทุกตัวเป็นจำนวนเต็ม
E(x) แทน x เป็นจำนวนคู่, I(x) แทน x เป็นจำนวนเต็ม
x [E(x) → I(x)]
1.3 คนบางคนนับถือศาสนาอิสลาม
H(x) แทน x เป็นคน, L(x) แทน x เป็นคนนับถือศาสนาอิสลาม
x [H(x)  L(x)]
1.4 สี่เหลี่ยมมุมฉากบางรูปเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส
P(x) แทน x เป็นสี่เหลี่ยมมุมฉาก, S(x) แทน x เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส
x [P(x)  S(x)]
1.5 จำนวนเต็มทุกตัวเป็นจำนวนตรรกยะ
I(x) แทน x เป็นจำนวนเต็ม, Q(x) แทน x เป็นจำนวนตรรกยะ
x [I(x) → Q(x)]
1.6 สำหรับ x ทุกตัว x2-1 = (x-1) (x+1)
x [x2-1 = (x-1)(x+1)]
1.7 ทุกๆ ค่าของ x ที่เป็นจำนวนจริง ทำให้ x + 1  x
x [x+1  x] ; U = R
1.8 สำหรับ x และ y บางตัว x + 3 > y - 6
x y [x+3 > y-6]
1.9 มี x บางตัว ซึ่ง x+1 = 0 และ x = 1
x [x+1 = 0  x = 1]
1.10 มี x บางตัว สำหรับ y ทุกตัว ซึ่ง x-y = y-x
x y [x-y = y-x]
2. จงหาค่าความจริงข้อต่อไปนี้
2.1 x [x2  0] ; U = I 2.6 x [x < 3] ; U = { 1, 2, 3, 4, 5 }
เป็นจริง เป็นจริง
2.2 x [x+10 > 0] ; U = I 2.7 x [x < 3] ; U = { 4, 5, 6, 7, 8 }
เป็นจริง เป็นเท็จ
2.3 x [x + 1 = 0] ; U = I
2
2.8 x [x2 > 1] ; U = { 1, 2, 3, 4, 5 }
เป็นเท็จ เป็นเท็จ
2.4 x [x  0] ; U = I 2.9 x [x2 > 0] ; U = { -1, -2, -3, -4 }
เป็นจริง เป็นจริง
2.5 x [x+1 = 0] ; U = { -1, 0, 1 } 2.10 x [x+5 = x] ; U = { -1, 0, 1 }
เป็นจริง เป็นเท็จ

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 7.
1. กำหนดให้เหตุ 1. ~p → q 2. q → ~r 3. r
ถ้าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผล จงหาผลสรุปได้ตรงกับข้อใด
ก. p  s
2. การอ้างเหตุผลในข้อใดสมเหตุสมผล
ค. เหตุ 1. p → ~q
2. ~q → r
3. ~r
ผล ~p  s
3. S1 : ถ้าฉันอ่านหนังสือแล้วฉันจะไม่สอบตกคณิตศาสตร์
S2 : ถ้าฉันไม่เล่นฟุตบอลแล้วฉันจะอ่านหนังสือ
S3 : ฉันสอบตกคณิตศาสตร์
จากข้อมูลข้างต้นข้อสรุปใดถูกต้อง
ข. ฉันเล่นฟุตบอล
4. กำหนด (1) ถ้าฝนตกแล้วการจราจรจะคับคั่ง
(2) ถ้าน้อยมาทันเวลาแล้ว การจราจรไม่คับคั่ง
(3) น้อยมาทันเวลา
จะสรุปข้อความข้างต้นนี้อย่างไร
ง. ฝนไม่ตก
5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a. เหตุ 1. นายสมหมายเป็นคนขยันหรือนายสมหมายสอบได้ที่หนึ่งของห้อง
2. นายสมหมายเป็นคนไม่ขยัน
ผล นายสมหมายสอบได้ที่หนึ่งของห้อง
b. เหตุ 1. ถ้าสมศรีไม่เที่ยวชายทะเลแล้วสมศรีไม่สบาย
2. สมศรีไม่สบาย
ผล สมศรีไปเที่ยวชายทะเล
การอ้างเหตุผลใน a. และ b. ข้างต้น สมเหตุสมผลหรือไม่
ค. ข้อ a. สมเหตุสมผล ข้อ b. ไม่สมเหตุสมผล
6. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
1. เหตุ 1). p q 2. เหตุ 1). p q
2). q s 2). r q
3). ~s ผล p r
ผล ~p v s
ค. ข้อ 1) สมเหตุผล ข้อ 2) ไม่สมเหตุสมผล
7. ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นประพจน์
ข. x > 5
8. กำหนด U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
ค. x [X < 5]
9. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
ค. x [ x = x] ; U = { 1, 3, 5 }
10. กำหนดให้เอกภพสัมพัทธ์ U = {x  Ix  0} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
ข. x [x2 + 2x – 3 = 0]
เฉลยกิจกรรมที่ 8.1
1) x ≤ -2 2) y > 3

เฉลยทำกิจกรรมที่ 8.2
1. จงเขียนกราฟอสมการต่อไปนี้
1.1 4x+y ≥ 8 1.2 y ≤ 2x+2
x 0 2 x 0 -1
y 8 0 y 2 0
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 8.1
1. จงเขียนกราฟของอสมการต่อไปนี้
1.1 x > - 5 1.2 y ≤ 4

1.3 x -1 < 0 1.4 x + 2y ≤ 2


x 0 2
y 1 0

1.5 y -2x < 8


x 0 -4
y 8 0
เฉลยกิจกรรมที่ 8.3
เขียนกราฟระบบอสมการเชิงเส้นต่อไปนี้
x+y ≥ 4
5x+2y ≤ 20
y ≤ 5

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 8.2
1. จงเขียนกราฟของระบบอสมการต่อไปนี้
1.1 x ≥ 0 1.2 x+2y ≤ 8
y ≥ -3 x ≥ 0
y≤1 Y ≥ 0

1.3 x ≥ y 1.4 x + y ≥ 2
x ≥0 2x+3y ≤ 6
y≤ 4 x≥0
y≥0
1.5 x+3y ≥ 6
2x +y ≥ 8
0≤x≤7
0≤y≤7

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 8
1. กราฟของ x-2 ≤ 0 ตรงกับข้อใด
ข.

2. กราฟของ 5x+2y>-10 ตรงกับข้อใด


ค.

3. กราฟต่อไปนีเ้ ป็นกราฟของอสมการใด

ข. x+3y ≤ 6
4. กราฟของอสมการ x+y ≥ 4 ตรงกับข้อใด
ก.

5. กราฟต่อไปนีเ้ ป็นกราฟของอสมการใด

ก. x-2y ≥ 1
6. กราฟของระบบอสมการ 2x +5y ≤ 20; x ≥ 0 และ y ≥ 0 ตรงกับข้อใด
ง.

7. กราฟของระบบอสมการ 4x +3y ≤ 24, x+3y ≥ 15; x ≥ 0, y ≥ 0 ตรงกับข้อใด


ข.
8. กราฟของระบบอสมการตรงกับข้อใด

ก. x+2y ≥ 8, x+y ≥ 5, x ≥ 0 และ y ≥ 0


9. กราฟของระบบอสมการ x+y ≥ 6, x ≤ 4 และ y ≤ 3 ตรงกับข้อใด
ง.

10. กราฟของระบบอสมการตรงกับข้อใด

ค. 4x+y ≤ 16, x+y ≥ 8, x ≥ 0 และ y ≥ 0


เฉลยกิจกรรมที่ 9.1
จงหาค่าต่ำสุดของ C = 5x+3y ภายใต้อสมการข้อจำกัดที่กำหนดให้
2x+4y  80
5x+2y  80
x0
และ y 0
วิธีทำ

พิกัดของจุดมุมคือ (40,0) , (10,15) และ (0,40)


แทนค่าพิกัดของจุดมุมข้างต้นในฟังก์ชันจุดประสงค์ C = 5x+3y ได้ดังนี้
จุดมุม (x,y) C = 5x+3y
A (40,0) 200
B (10,15) 95 = ค่าต่ำสุด
C (0,40) 120
ดังนั้น ค่าต่ำสุดของ C = 5x+3y คือ 95
เฉลยแบบฝึกหัดที่ 9.1
1. จงหาค่าสูงสุดของ P ตามอสมการข้อจำกัดที่กำหนดให้
1.1 P = 12x+8y
4x+y  20
2x+2y  16
x0
และ y  0
จุดมุม (x,y) P = 12x+8y
(0,20) 160 = ค่าสูงสุด
(0,8) 64
(4,4) 80

ค่าสูงสุดของ P คือ 160


1.2 P = 24x+8y
2x+5y  40
4x+y  20
10x+5y  60
x0
และ y  0
จุดมุม (x,y) p = 24x+8y
(0,8) 64
(5,0) 120
(4,4) 128 = ค่าสูงสุด
(2.5,7) 116
(0,0) 0
ค่าสูงสุดของ P คือ 128

2. จงหาค่าต่ำสุดของ C ตามอสมการข้อจำกัดที่กำหนดให้
2.1 C = 9x+15y
3x+4y  25
x+3y  15
x0
และ y  0
หาจุดตัดของระบบสมการ
3x + 4y = 25 ...
x + 3y = 15 ...
(2) x 3 ; 3x + 9y = 45 ...
(3) – (2) ; 5y = 20
y = 4
แทนค่า y = 4 ใน 
3x+4(4) = 25
3x = 9
x = 3
จุดตัดคือ (3,4)
จุดมุม (x,y) c = 9x+15y
(15,0) 135
(0,6.25) 93.75
(3,4) 87 = ค่าต่ำสุด

ค่าต่ำสุดของ C คือ 87
2.2 C = 30x + 50y
6x+2y  30
3x+2y  24
5x+10y  60
X ³ 0 และ y ³ 0
หาจุดตัดของระบบสมการ
6x + 2y = 30 ...
3x + 2y = 24 ...
หาจุดตัดของระบบสมการ
3x + 2y = 24 ...
5x + 10y = 60 ...
-; 3x = 6 x5 ; 15x + 10y = 120 ...
x = 2 -; 10 x = 60
แทนค่า x = 2 ใน  x = 6
3(2)+2y = 24 แทนค่า x = 6 ใน 
6+2y = 24 3(6)+2y = 24
2y = 18 18+2y = 24
y = 9 2y = 6
จุดตัดคือ (2,9) y = 3
จุดตัดคือ (6,3)
จุดมุม (x,y) C = 30x+50y
(0,15) 750
(2,9) 510
(6,3) 330 = ค่าต่ำสุด
(12,0) 360
ค่าสูงสุดของ c คือ 330

3. ร้ า นค้ า แห่ ง หนึ ่ ง ผลิ ต ขนมปั ง สองชนิ ด โดยขายขนมปั ง ชนิ ด แรกราคาชิ ้ น ละ 12 บาท ชนิ ด ที ่ ส องราคาชิ ้ นละ
10 บาท ถ้าร้านค้าทำขนมปังชนิดแรก x ชิ้น และชนิดที่สอง y ชิ้น โดยมีอสมการข้อจำกัด ดังนี้
5x + 6y  15,000
3x + 2y  6,000
x  0 และ y  0
ร้านค้าจะขายขนมปังรายได้สูงสุดเมื่อขายขนมปังทั้งสองชนิด
อย่างละกี่ชน้ิ
ฟังก์ชนั จุดประสงค์ P = 12x + 10y
อสมการข้อจำกัด คือ
5x + 6y  15,000
3x + 2y  6,000
X  0 และ y  0
กราฟจากอสมการข้อจำกัด จะได้บริเวณแรเงาดังรูป
พิกัดของจุดมุม (0,0), (0 , 2,500), (750 , 1,875) และ (2,000 , 0)
แทนค่าพิกัดของจุดมุมข้างต้น ในฟังก์ชันจุดประสงค์ P = 12x+10y
จุดมุม (x,y) p = 12x+10y
(0,0) 0
(0 , 2,500) 25,000
(750 , 1,875) 27,750 = ค่าสูงสุด
(2,000 ,0) 24,000

ดังนั้น แม่ค้าจะขายขนมได้รายได้สูงสุด เมื่อขายขนมปังชนิดแรก 750 ชิ้น และ 1,875 ชิ้น


4. ชาวสวนปลูกส้มโอและมะม่วงรวมกันอย่างน้อย 10 ไร่ ส้มโอแต่ละไร่ใช้ปุ๋ย 3 ตัน ยาฆ่าแมลง 2 ถัง มะม่วงแต่ละไร่ใช้ปุ๋ย
1 ตัน ยาฆ่าแมลง 5 ถัง ควรปลูกส้มโอและมะม่วงอย่างละกี่ไร่ จึงจะได้กำไรสูงสุด เมื่อส้มโอกำไรไร่ละ 8,000 บาท
มะม่วงกำไรไร่ละ 6,500 บาท โดยที่ชาวสวนมีปุ๋ย 81 ตัน ยาฆ่าแมลง 119 ถัง
กำหนดให้ ปลูกส้มโอ x ไร่
ปลูกมะม่วง y ไร่
ฟังก์ชันจุดประสงค์ คือ P = 8,000x + 6,500y
อสมการข้อจำกัดคือ x+y  10 ปลูกส้มโอและมะม่วงอย่างน้อย 10 ไร่
3x+y  81 ใช้ปุ๋ยไม่เกิน 81 ต้น
2x+5y  119 ใช้ยาฆ่าแมลงไม่เกิน 119 ถัง
X  0 พื้นที่ปลูกส้มโอไม่เป็นจำนวนลบ
y  0 พื้นที่ปลูกมะม่วงไม่เป็นจำนวนลบ
หาจุดตัด (22,15) หาได้จากการแก้ระบบสมการ
3x + y = 81 ...
2x + 5y = 119 ...
(2) x (5) ; 15x + 5y = 405 ...
(3) – (2) ; 13x = 286
x = 286 13
= 22
แทนค่า x = 22 ในสมการ 
3(22) + y = 81
y = 81 – 66
= 15
จุดพิกัดของมุม (0,10), (0,23.8), (22,15), (27,0) และ (10,0)
แทนค่าพิกัดของจุดมุมข้างต้นในฟังก์ชันประสงค์
P = 8,000+6,500y
จุดมุม (x,y) p = 8,000x+6,500y
(0,10) 65,000
(0,23.8) 154,700
(22, 15) 273,500=ค่าสูงสุด
(27,0) 216,000
(10,0) 80,000
ดังนั้นชาวสวนควรปลูกส้มโอ 22 ไร่ ปลูกมะม่วง 15 ไร่
จึงจะได้กำไรสูงสุด

5. ตารางต่ อไปนี ้ แ สดงรายการอาหารเสริ มสำหรับ ทารก 2 ชนิ ด โดยทั ้ ง สองชนิ ด มีส่ วนผสมที ่จำเป็นอยู ่ 3 ชนิ ด คื อ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และวิตามิน โดยมีปริมาณต่ำสุดของสารอาหารที่จำเป็นและราคาต่อหน่ วยของอาหารแต่ ละชนิด
ดังตารางต่อไปนี้
ส่วนประกอบ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน ราคา
อาหารเสริม (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (มิลลิกรัม) (บาท)
ชนิดที่ 1 2 4 2 7
ชนิดที่ 2 4
3 1 6
ปริมาณต่ำสุด 20 24 14
จงหาว่าผู้ปกครองของเด็กทารก ควรจะเลือกอาหารเสริมทั้งสองชนิดนี้เป็นจำนวนอย่างละเท่าไรจึงจะทำให้ทารกได้รับ
สารอาหารครบตามต้องการและเสียค่าอาหารน้อยที่สุด โดยทารกที่รับประทานอาหารเสริมทั้งสองชนิดนี้จะได้รับปริมาณโปรตีนกี่
มิลลิกรัม
กำหนดจำนวนอาหารเสริมชนิดที่ 1 x หน่วย
กำหนดจำนวนอาหารเสริมชนิดที่ 2 y หน่วย
ฟังก์ชันจุดประสงค์ คือ P = 7x + 6y
อสมการข้อจำกัดคือ 2x+4y  20
4x+3y  24
2x+y  14
X0
y0
จุดมุม (x,y) p = 7x+6y
(0,14) 84
(6,2) 54 = ค่าต่ำสุด
(10,0) 70
หาจุดตัด (6,2) หาได้จากการแก้ระบบสมการ
2x + 4y = 20 ...
2x + y = 14 ...
(1) – (2) ; 3y = 6
y = 2
แทนค่า y = 2 ในสมการ 
2x+4(2) = 20
x = 6
ดังนั้น ผู้ปกครองของเด็กจะเสียค่าอาหารน้อยที่สุด 54 บาท
เมื่อเลือกอาหารเสริมชนิดที่ 1 6 หน่วย
เมื่อเลือกอาหารเสริมชนิดที่ 2 2 หน่วย
แทนค่า (6,2) ใน 4x+3y
4(6)+3(2) = 24+6 =30
โดยทารกที่รับประทานอาหารเสริมทั้งสองชนิดนี้จะได้รับโปรตีน 30 มิลลิกรัม

เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 9
1. อสมการข้อจำกัดคือ x+y  7
x  1
y  0
และฟังก์ชันจุดประสงค์ คือ P = 3x+5y ค่าสูงสุดของ P ตรงกับข้อใด
ง. 35
2. ฟังก์ชันจุดประสงค์ คือ P = 3x+2y โดยมี
อสมการข้อจำกัดคือ x+2y  40
3x+2y  60
x 0 และ y  0
พิกัดของจุดมุมที่ P = 3x+2y มีค่าสูงสุดตรงกับข้อใด
ข. (10,15)
3. ค่าต่ำสุดของ C ตรงกับข้อใด เมื่อ C = 3x+4y
โดยที่ x+ 2y  8
x  0 และ y  0
ค. 16
4. ค่าต่ำสุดของ C = 25x – 35y
โดยที่ x+y  6
x4
y3
ก. -30
คำชี้แจง โจทย์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 5-6
ข้อสอบฉบับหนึ่งมีทั้งปรนัยและอัตนัย ปรนัยข้อละ 1 คะแนน ใช้เวลาทำ 2 นาที อัตนัยข้อละ 10 คะแนน ใช้เ วลาทำ
20 นาที อยากทราบว่าควรทำข้อสอบปรนัยและอัตนัยอย่างละกี่ข้อ เพื่อที่จะให้คะแนนมากที่สุดภายในเวลา 3 ชั่วโมง โดยสมมติว่า
ข้อที่ทำถูกทุกข้อ
(ให้จำนวนข้อสอบปรนัยที่จะทำ x ข้อ และ จำนวนข้อสอบอัตนัยที่จะทำ y ข้อ)
5. ฟังก์ชันจุดประสงค์ตรงกับข้อใด
ก. P = x+10y
6. อสมการข้อจำกัดตรงกับข้อใด
ค. 2x+20y  180
x  0 และ y  0
คำชี้แจง ใช้ข้อมูลตอบคำถามข้อ 7-10
โรงงานแห่งหนึ่งผลิตรองเท้า 2 แบบ แต่ละแบบต้องผ่านขั้นตอนในการผลิต 3 ขั้นตอน ถ้าระยะเวลาที่ใช้สำหรับการผลิต
ในขั้นตอนต่างๆ และกำไรที่ได้รับต่อรองเท้า 1 คู่ เป็นดังนี้
ขั้นตอนการผลิต ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 กำไร
รองเท้า (นาที) (นาที) (นาที) (บาท)
แบบที่ 1 10 6 9 90
แบบที่ 2 5 12 9 110

อยากทราบว่า ทางโรงงานแห่งนี้ควรผลิตรองเท้าแบบที่ 1 และแบบที่ 2 วันละกี่คู่จึงจะได้กำไรมากที่สุด ถ้าแต่ละขั้นตอน


มีเวลาทำงานได้วันละไม่เกิน 450, 480 และ 450 นาที ตามลำดับ
(ให้ x และ y แทนจำนวนรองเท้าแบบที่ 1 และแบบที่ 2 ที่ผลิตได้ในแต่ละวัน ตามลำดับ)
7. อสมการจำกัดตรงกับข้อใด
ง. 10x+5y  450
6x+12y  480
9x+9y  450
x0,y0
8. พิกัดของจุดมุมที่สอดคล้องกับอสมการข้อจำกัดตรงกับข้อใด
ก. (0,0), (45,0), (40,10), (20,30), (0,40)
9. โรงงานแห่งนี้ควรผลิตรองเท้าแบบที่ 1 และแบบที่ 2 วันละกี่คู่ จึงจะได้กำไรมากที่สุด
ข. แบบที่ 1 20 คู่ แบบที่ 2 30 คู่
10. ถ้าต้นทุนในการผลิตรองเท้าแบบที่ 1 และแบบที่ 2 เท่ากับ 120 บาท และ 165 บาท ตามลำดับ เพื่อให้ได้กำไรสูงสุด บริษัท
ต้องใช้ต้นทุนในการผลิตเท่าไรในแต่ละวัน
ค. 7,350 บาท

You might also like